Yaga I

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 31

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง ยาแก้ไอจากมะกรูด

คณะผู้จัดทำ
1. นายณพกฤต ปริญญาพิมลพร เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (ประธาน)

2. นางสาวกันต์กนิษฐ์ วอนเพียร เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (รองประธาน)

3. นางสาวณัฐณิชา คุณสุวรรณ์ เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (เหรัญญิก)

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
4. นางสาวรัตติยาภรณ์ เสมา เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (เลขาฯ)

5. นายวรพล ชินวัฒนกาญจน์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

6. นายพีรณัฐ ฉินสวัสดิ์พันธุ์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

7. นางสาวธนัญชนก ปั ตณี เลขที่ 20 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

8. นางสาวไปรยา ศรีขาว เลขที่ 22 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นางสาวปั ทวรรณ เชื้อชาย

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของ รายวิชาสังคม


ปี การศึกษา 2566

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี 2
ใบอนุมัติโครงงาน
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง ยาแก้ไอจากมะกรูด
1. นายณพกฤต ปริญญาพิมลพร เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (ประธาน)

2. นางสาวกันต์กนิษฐ์ วอนเพียร เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (รองประธาน)

3. นางสาวณัฐณิชา คุณสุวรรณ์ เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (เหรัญญิก)

4. นางสาวรัตติยาภรณ์ เสมา เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (เลขาฯ)

5. นายวรพล ชินวัฒนกาญจน์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
6. นายพีรณัฐ ฉินสวัสดิ์พันธุ์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

7. นางสาวธนัญชนก ปั ตณี เลขที่ 20 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

8. นางสาวไปรยา ศรีขาว เลขที่ 22 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่

5/1 (สมาชิก)

ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นางสาวปั ทวรรณ เชื้อชาย

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของ รายวิชาสังคม


ปี การศึกษา 2566

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนี้สำเร็จขึ้นได้ด้วยความอนุเคราะห์และการ
สนับสนุนของผู้คนในท้องถิ่นได้ให้คำปรึกษา วัสดุอุปกรณ์ และ
สถานที่ในการจัดทำ จนกระทั่งโครงงานในครั้งนี้สำเร็จเรียบร้อย
ด้วยดี
ขอขอบคุณ คุณครู ปั ทวรรณ เชื้อชาย ที่ให้ความอนุเคราะห์
ในการแปลเอกสารโครงงาน
ขอขอบคุณเพื่อนในกลุ่มที่อำนวยความสะดวกและให้การ
ช่วยเหลือในการทำโครงงานในครั้งนี้
ท้ายสุดนี้ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็ น
ประโยชน์ต่อการศึกษาเกี่ยวกับการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงของผู้สนใจต่อไป

คณะผู้จัดทำ

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อเรื่องโครงงาน : ยาแก้ไอจากมะกรูด
หัวข้อโครงงาน : เศรษฐกิจพอเพียง
ประเภทของโครงงาน :  สำรวจ  ทดลอง  สิ่ง
ประดิษฐ์  อื่นๆ
ผู้จัดทำโครงงาน : 1. นายณพกฤต ปริญญาพิมลพร ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 7
2. นางสาวกันต์กนิษฐ์ วอนเพียร ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 10
3. นางสาวณัฐณิชา คุณสุวรรณ์ ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 19
4. นางสาวรัตติยาภรณ์ เสมา ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 23
5. นายวรพล ชินวัฒนกาญจน์ ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 4
6. นายพีรณัฐ ฉินสวัสดิ์พันธุ์ ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 9

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
7. นางสาวธนัญชนก ปั ตณี ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 20
8. นางสาวไปรยา ศรีขาว ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 22

ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นางสาวปั ทวรรณ เชื้อชาย


ปี การศึกษา : 2566

บทคัดย่อ

การจัดทำโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ลดค่าใช้จ่ายในการ


ซื้อยารักษาและพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชน โดยดำเนินการศึกษาสิ่งที่มีใน
ท้องถิ่น มาประดิษฐ์ยาแก้ไอ
ผลการศึกษาและจัดทำโครงงานพบว่า เราสามารถประดิษฐ์ยาแก้
ไอจากของในท้องถิ่นได้ โดยใช้ มะกรูด น้ำผึ้ง ในการจัดทำและสามารถ
นำสิ่งนี้เพื่อลดค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อยารักษา และ สามารถใช้ในการพัฒนา
เศรษฐกิจในชุมชน

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
1
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.4 สมมติฐาน
1.5 ตัวแปรที่ศึกษา
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
ข้อมูลผู้จัดทำ

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
ในยุคปัจจุบันที่มีการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทำให้ผู้ติดเชื่อ
มากมาย โดยอ้างอิงจากกรมอนามัย โดยทำให้มีอาการไอและเจ็บคอ ทำให้
ต้องไปซื้อยารักษาและเสียเงินมากมาย
จากปัญหาที่กล่าวมาทำให้บางครอบครัวไม่สามารถซื้อหรือหายารักษา
มาใช้ได้ ทางคณะผู้จัดทำจึงทำการศึกษาวัตถุดิบที่มีในชุมชนเพื่อนำมาประ
ดิษฐ์ยักษาหรือบรรเทาอาการไอ โดยสามารถประดิษฐ์ได้เองและลดค่าใช้ใน
การซื้อยารักษา
ทางคณะผู้จัดทำ จึงได้ประดิษฐ์ยาแก้ไอจากมะกรูด โดยใช้แค่ มะกรูด
และ น้ำผึ้ง ซึ่งสามารถหาวัตถุดิบเหล่านี้ได้ง่ายในชุมชน เพื่อใช้รักษาหรือ
บรรเทาอาการไอ และ ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อยารักษาอีกด้วย

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ จากวัตถุดิบภายในชุมชน เพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาภายในชุมชนตามหลัก เศรษฐกิจพอ
เพียง
1.2.2 เพื่อทดสอบยาแก้ไอจากมะกรูดในการรักษาหรือบรรเทาอาการ
เจ็บคอ

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
1.2 ขอบเขตของการศึกษา
ภายในชุมชน

1.4 สมมติฐาน
ยาแก้ไอจากมะกรูดสามารถรักษาหรือบรรเทาอาการไอได้ และ
เป็ นไปตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1.5 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น ยาแก้ไอจากมะกรูด
ตัวแปรตาม รักษาหรือบรรเทาอาการไอได้ และ เป็ นไปตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวแปรควบคุม วัตถุดิบภายในชุมชน และ เป็นไปตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเยง

1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (เขียนให้สอดคล้องกับหลักปรัชญา


เศรษฐกิจพอเพียง)
1) ยาแก้ไอจากมะกรูดที่ทำด้วยตนเองสามารถรักษาหรือบรรเทา
อาการไอได้
2) ค่าใช้จ่ายในการซื้อยารักษาลดลง

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
3) เศรษฐกิจภายในชุมชนเกิดการพัฒนา
4) ผู้คนในชุมชนสามารถทำยาแก้ไอจากมะกรูดได้
5) ผู้คนในชุมชนสามารถนำวัตถุดิบภายในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
มากขึ้น

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ประกอบด้วยเนื้อหา หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เช่น ความหมาย ที่มา องค์ประกอบของหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น
ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง ยาแก้ไอจากมะกรูด
คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามลำดับดังนี้
2.1 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุนคนสามารถ
พึ่งพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นจนเกิดความยั่งยืน คำว่า
พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลัก
สำคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมี
ภูมิคุ้มกันที่ดี
ความพอประมาณ คือ การดำรงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณในการหารายได้ และพอ

ประมาณในการใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้ คือ ทำงานหาราย

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
ได้ด้วยช่องทางสุจริต ทำงานให้เต็มความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วน
ความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะ
ความเป็ นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟื อยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกัน ก็
ใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และครอบครัวอย่างเหมาะสม ไม่อยู่อย่าง
ลำบาก และฝื ดเคืองจนเกินไป

ความมีเหตุผล ไม่ว่าจะเป็ นการทำธุรกิจ หรือการดำรงชีวิตประจำวัน

เราจำเป็ นต้องมีการตัดสินใจตลอดเวลา ซึ่งการตัดสินใจที่ดี ควรตั้งอยู่บน


การไตร่ตรองถึงเหตุ รวมทั้งคำนึงถึงผลที่อาจตามมาจากการตัดสินใจ
อย่างรอบคอบ ไม่ใช่ตัดสินใจตามอารมณ์ หรือจากสิ่งที่คนอื่นบอกมาโดย
ปราศจากการวิเคราะห์

การมีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลง

ในโลกที่ไม่มีอะไรแน่นอน ทั้งสภาพลม ฟ้ า อากาศที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการ


ทำเกษตร การเปลี่ยนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้างพนักงานในบริษัท
ใหญ่ หรือแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทั้งในและต่างประเทศที่
มีผลต่อการลงทุน เราจึงจำเป็ นต้องเรียนรู้ที่จะดำรงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพา
ตนเอง และตั้งอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ เช่น เตรียมแผนสำรอง
สำหรับแต่ละสถานการณ์ การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเสี่ยงในวันที่
ถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเสี่ยงในการลงทุน

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
2.2 ประโยชน์ของน้ำผึ้งทางการแพทย์
คนทั่วไปจะรู้จักน้ำผึ้งกันเป็นอย่างดี น้ำผึ้ง มีรสหวาน สรรพคุณ
บำรุงกำลัง แก้สะอึก ทำให้คอชุ่มชื้น แก้ไข้ เป็นยาอายุวัฒนะและช่วยวมาน
แผล น้ำผึ้งเป็นส่วนประกอบในตำหรับยาไทยหรือพิกัดยาไทยหลายขนาน
และยาที่ใช้ในการบำรุงร่างกาย ตำรับต่าง ๆ จะมีส่วนผสมของน้ำผึ้ง ซึ่ง
แพทย์แผนไทยใช้น้ำผึ้งในการแต่งรสยา เพื่อให้ยารับประทานง่ายขึ้น และ
สามารถนำน้ำผึ้งมาใช้แทนสารกันบูดได้แถมยังช่วยเพิ่มรสชาติให้อดีขึ้น
และหอมมากขึ้น

2.3 สมุนไพร แก้เจ็บคอด้วยธรรมชาติ


อาการไอ เจ็บคอ เป็ นอาการทั่วไปที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ยิ่งบาง
ช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ จนทำให้หลายคนที่เคยสุขภาพแข็งแรงก็
กลับอ่อนแอลงได้ วันนี้เรามีสาระดีๆ เรื่องสุขภาพเกี่ยวกับการบรรเทา
อาการเจ็บคอโดยใช้สมุนไพรไทย ซึ่งเป็ นวัตถุดิบจากธรรมชาติมาช่วย
บรรเทาการระคายเคืองให้ดีขึ้น ว่าแต่จะมีอะไรบ้างนั้น ตามไปดูกันค่ะ

 มะนาว กรดในน้ำมะนาวจะช่วยกระตุ้นให้มีการขับน้ำลายออก
มา ทำให้ลำคอมีความชุ่มชื้นมากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงช่วยลดอาการ
ไอลงได้ อีกทั้งรสเปรี้ยวในน้ำมะนาวยังจะช่วยให้ร่างกายขับ
เสมหะได้ง่ายขึ้นด้วย โดยสูตรมะนาวแก้ไอขับเสมหะให้คั้นน้ำ
มะนาว 1 ลูก เติมเกลือเล็กน้อย หรือจะผสมน้ำผึ้ง 1 ส่วนต่อน้ำ
มะนาว 3 ส่วนก็ได้ คนให้เข้ากันดี แล้วจิบบ่อย ๆ จนกว่าอาการ
ไอจะบรรเทาลง

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
 มะขามป้ อม มีรสเปรี้ยวอมฝาด รับประทานเป็ นยาบำรุง ทำให้
สดชื่น แก้กระหายน้ำ แก้หวัด แก้ไอ กระตุ้นน้ำลาย ช่วยให้ชุ่ม
คอ ละลายเสมหะ แก้เลือดออกตามไรฟั น ช่วยขับปั สสาวะและ
เป็ นยาระบายอ่อนๆ วิธีใช้ ใช้เนื้อผลแก่สด ครั้งละประมาณ 2-3
ผล โขลกพอแหลก แทรกเกลือเล็กน้อย อมหรือเคี้ยว รับ
ประทานวันละ 3-4 ครั้ง หรือใช้ผลสดฝนกับน้ำแทรกเกลือ จิบ
บ่อยๆ หรือใช้ผลสดจิ้มเกลือรับประทาน

 ไช้เท้า สูตรต้านหวัดตำรับจีน นำหัวไช้เท้าสดมาคั้นน้ำ เติม


น้ำตาลทรายแดงเล็กน้อยดื่มแก้ไอ แก้เจ็บคอ ช่วยละลายเสมหะ
แก้พิษ และลดความดันโลหิตได้ดี ดื่มวันละ 2-3 แก้วต่อวัน เพื่อ
บำรุงสุขภาพ

 มะกรูด ช่วยขับเสมหะ บรรเทาอาการไอ นำมะกรูดมาผ่าครึ่ง


แล้วนำไปลนไฟให้เปลือกนิ่ม แล้วค่อย ๆ บีบน้ำมะกรูดลงในคอที
ละน้อย ๆ ช่วยบรรเทาอาการไอและขับเสมหะได้ดี

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใส่ชื่อผู้ทำ วงเล็บปี พ.ศ. ที่ทำโครงงาน ชื่อเรื่อง


โครงงาน และตามด้วยบทคัดย่อ แบบสรุปของโครงงานที่เกี่ยวข้อง
.................................................................................................................................
......................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.............................................. .................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.......................................................................
.

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ

3.1 วัสดุ อุปกรณ์


3.1.1 ภาชนะบรรจุ
3.1.2 มะกรูด
3.1.3 น้ำผึ้ง

3.2 วิธีดำเนินการ (เขียนให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)


3.2.1 ศึกษาและสอบถามข้อมูลจากคนในชุมชน
3.2.2 เตรียมน้ำผึ้งจากบ้านของคนในชุมชน
3.2.3 เตรียมภาชนะบรรจุจากบ้านของคนในชุมชน
3.2.4 เตรียมมะกรูดจากบ้านของคนในชุมชน
3.2.5 ทำยาแก้ไอจากมะกรูดเพื่อช่วยเหลือคนในชุมชน

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 4
ผลการปฏิบัติ

จากการปฏิบัติ เรื่อง ยาแก้ไอจากมะกรูด


จากการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการประดิษฐ์ยาแก้ไอ
จากมะกรูดเพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการไอจาก Covid 19 และไข้หวัด
ต่าง ๆ โดยการนำวัตถุดิบภายในชุมชนมาใช้ให้เกิดปนะโยชน์มากยิ่งขึ้น ผู้
จัดทำ

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการปฏิบัติ
จากการจัดทำโครงงานพบว่ายาแก้ไอจากมะกรูดสามารถทำให้อาการไอลด
ลงไปได้และสามารถทำให้คอชุ่มชื้น ทำให้คนในชุมชนนำวัตถุดิบเหลือใข้มา
ทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5.2 อภิปรายผลการปฏิบัติ
จากการจัดทำโครงงานพบว่าชาวบานได้รับการถายทอดความรูเรื่อ
งการใชพืชสมุนไพรในการรักษาโรคมา ตั้งแต่ดั้งเดิมจากบิดามารดา ญาติ
พี่นอง และหมอพื้นบ้าน และจากการศึกษาคนควาด้วย การประชุมทาง
วิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครั้งที่ 3 446 ตนเอง จนถึงปจจุบัน สอดคลองกับการวิจัย (สุวรรณี ไชย
ชนะ, 2547 : 84-85) ที่ศึกษา กระบวนการสืบทอดภูมิปั ญญาด้านการ
จัดการความหลากหลายของพืชสมุนไพร
5.2.1 ปจจุบันชุมชนบานวังไผยังมีการใชประโยชนจากพืชสมุนไพรจํานวน
29 ชนิด ในการรักษาโรค ซึ่งมีสรรพคุณในการรักษาโรคระบบทางเดิน
อาหาร ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินปสสาวะ รักษาโรคผิวหนัง
และรักษาอาการเจ็บปวยอื่น ๆ ทั้งน ี้ เน ื่ องมาจาก ชาวบานไดรับกา
รถายทอดองคความรูมาจากบิดามารดา ญาติพี่นอง หมอพื้นบาน และ
จาก การศึกษาคนควาดวยตนเอง สอดคลองกับการวิจัย (วาธิณีภูธนะวีระ
ชาติ และสุภาภรณ พิทักษการ, 2548 :110 - 111) ที่ศึกษาเรื่อง ภู
มิปญญาทองถิ่นในการใชประโยชนจากพืช สมุนไพร

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
5.3 ข้อเสนอแนะ

ขอเสนอแนะทั่วไป / เชิงนโยบาย
1. ผูสูงอายุควรถายทอดภูมิปญญาดานการใชพืชสมุนไพรใหกับ
คนในครอบครัว
2. เจาหนาที่ของรัฐ ควรใหความรูแกประชาชนในเรื่องการปรับ
สภาพแวดลอม ในพื้นที่ของตนเองใหเอื้อตอการปลูกพืชสมุนไพร
3. คนในชุมชนควรศึกษาชนิด และสรรพคุณของพืชสมุนไพร เพื่อ
การนํามาใชรักษาโรคไดอยางถูกตองและปลอดภัย
4. คนในชุมชนควรศึกษาวิธีการปลูก การขยายพันธุ การบํารุงรักษา
พืชสมุนไพร จากผูรูและแหลงความรูตางๆกอนปลูกพืชสมุนไพรเพื่อ
ใหไดผลิตผลที่ดี และมีคุณภาพ
5. เจาหนาที่ของรัฐ ควรมีการประชาสัมพันธใหความรูเรื่องพืชสมุน
ไพรที่ใชใน งานสาธารณสุขพื้นฐาน เพื่อใหประชาชนพึ่งพาตนเองไดใน
การดูแลสุขภาพและลดภาระทาง เศรษฐกิจ

ขอเสนอแนะสำหรับการทำวิจัย

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
1. ควรมีการศึกษาสํารวจชนิดพันธุพืชสมุนไพรทุกชนิดที่มีอยูใน
ชุมชน ไม เฉพาะท ี่ใชรักษาโรคอยูในปจจุบันเทานั้น
2. ควรสนับสนุนใหชุมชนปลูกพืชสมุนไพร เพื่อเปนการสงวนรักษา
พันธุพืชที่หา ยากและคงไวซึ่งความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่่
อการใชประโยชนที่ยั่งยืน
3. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตภัณฑที่มาจากพืช
สมุนไพร เพื่อเป็ น ขอมุลในการสงเสริม พัฒนาและปรับปรุงผลิต
ภัณฑที่มาจากพืชสมุนไพรตอไป
4. ควรจัดทําสื่อประชาสัมพันธและเผยแพรพืชสมุนไพรทาง
สื่อมวลชน เพื่อให รูจักและมีการนําพืชสมุนไพรมาใชประโยชนมากขึ้น

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
(ตัวอย่าง)

เอกสารอ้างอิง
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2549). การออกแบบบนจอภาพ
คอมพิวเตอร์.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พัฒนเทคนิคศึกษา.
แมนสรวง แซ่ซิ้ม. (2552). ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม
Macromedia Flash. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://mansuang1978.spaces.live.com.
_______. (2552). การสร้างสื่อการเรียนรู้ด้วย Flash CS3.
(ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com.
_______. (2552). การสร้างแบบฝึ กหัดแบบจับคู่. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา : http://mansuang1978.spaces.live.com.
ภาคผนวก

ภาพที่ 1 ……………………..

ภาพที่ 2 ………………………..
(ภาคผนวก อาจมีมากกว่า)

โครงงานที่จัดทำ บูรณการกับหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ

1. พอประมาณ
ใช้วัตถุดิบที่มีอยู่แล้วภายในชุมชุม มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น
2. มีเหตุผล
การเลือกใช้วัตถุดิบภายในชุมชนที่คนในชุมชนสามารถหามาได้
มาใช้ในการแก้ปั ญหาภายในชุมชน
3. มีภูมิคุ้มกันที่ดี
สามารถนำมาใช้เมื่อมีอาการเจ็บป่ วยจากการไอ ซึ่งสามารถลดค่า
ใช้จ่ายภายในครอบครัวได้
4. ความรู้
ผู้คนในชุมชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปทำยาแก้ไอจากมะกรูด
5. คุณธรรม
ผู้คนในชุมชนแบ่งปั นวัตถุดิบในการทำยาแก้ไอซึ่งกันและกันและ
ช่วยเหลือแบ่งปั นยาแก้ไอจากมะกรูด
6. 4 มิติ (สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม)
ด้านสังคมผู้คนในชุมชนสื่อสารกันเพื่อทำกิจกรรมต่างๆ ด้าน
เศรษฐกิจมีการซื้อขายยาแก้ไอจากมะกรูดภายในและภายนอก

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
ชุมชน ด้านวัฒนธรรมเป็ นการส่งต่อความรู้ในการทำยาแก้ไอจาก
มะกรูดและผลิตภันฑ์ภายในชุมชน ด้านสิ่งแวดล้อมสามารถนำ
วัตถุดิบที่มีในชุมชนอยู่แล้วทำให้เกิดประโยชน์มากขึ้น

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
ข้อมูลผู้จัดทำ

ชื่อ .............................................. นามสกุล


.................................................
อายุ ........ ปี
ที่อยู่
รูปภาพ
...........................................................................................
ขนาด 1. 5 นิ้ว
........................
เบอร์โทรศัพท์ .......................................
Email : ........................................................... Line
ID : ...............................

ชื่อ .............................................. นามสกุล


..................................................
อายุ ........ ปี
ที่อยู่
รูปภาพ
...........................................................................................
ขนาด 1. 5 นิ้ว
........................
เบอร์โทรศัพท์ .......................................
Email : ........................................................... Line
ID : ................................

รูปภาพ ชื่อ .............................................. นามสกุล


ขนาด 1. 5 นิ้ว ..................................................
อายุ ........ ปี
ที่อยู่
...........................................................................................
........................
เบอร์โทรศัพท์ .......................................
Email : ........................................................... Line
ID : ................................

ชื่อ .............................................. นามสกุล


..................................................
อายุ ........ ปี
ที่อยู่
รูปภาพ
...........................................................................................
ขนาด 1. 5 นิ้ว
........................
เบอร์โทรศัพท์ .......................................
Email : ........................................................... Line
ID : ................................

รูปภาพ ชื่อ .............................................. นามสกุล


ขนาด 1. 5 นิ้ว ..................................................
อายุ ........ ปี
ที่อยู่
...........................................................................................
.........................
เบอร์โทรศัพท์ .......................................

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี
Email : ........................................................... Line
ID : .................................

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี

You might also like