You are on page 1of 56

บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 1

บทที่ 1.

หลักการทางเทอรโมไดนามิกส

1.1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส

เทอรโมไดนามิกสเปนหลักการที่กลาวถึงปรากฏการณของพลังงานที่เนนหนักใน 2 ปรากฏการณ
สําคัญคือ 1 ปรากฏการณการเปลี่ยนรูปและการอนุรักษของพลังงาน และ 2 หลักความเปนไปไดในการ
เปลี่ยนรูปและการถายเทพลังงาน หลักการทางเทอรโมไดนามิกสที่ไดอธิบายจากปรากฏการณทั้งสองจะ
ทําใหผูศึกษามีความรูความเขาใจในการเปลี่ยนรูปของพลังงานและจะสงผลใหเกิดพื้นฐานตอความเขาใจถึง
อิทธิพลของพลังงานที่มีตอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตางๆ ของสสาร ตลอดจนเขาใจถึง ระบบตางๆ ที่
เกี่ยวกับพลังงานอีกดวย อาทิเชน ระบบการผลิตกําลัง ระบบการทําความเย็น และ การเปลี่ยนไปของ
คุณสมบัติของสสารตางๆ เมื่อไดรับและสูญเสียพลังงาน เปนตน

การเปลี่ยนรูปพลังงานจากปรากฏการณที่กลาวไวขางตน อาจพิจารณาไดวา “พลังงานสามารถ


เปลี่ยนรูป จากพลัง งานชนิด หนึ่งกลายเปน พลังงานอีกชนิด หนึ่งไดและผลรวมสุทธิของพลัง งาน
ทั้งหมดจะยังคงเทาเดิม” จากหลักการนี้หากพิจารณาในรูปที่ 1.1 จะเห็นวาวัตถุอยูบนที่สูงมีพลังงานศักย
(Potential Energy) เทากับ 10 หนวย พลังงานจลน (Kinetic Energy) เทากับ 0 หนวย เมื่อวัตถุตกลงมาจาก
ที่สูง วัตถุมีพลังงานศักยลดลงเปน 7 หนวยและมีพลังงานจลนเพิ่มขึ้นเปน 3 หนวย ซึ่งก็จะทําใหพลังงาน
สุทธิของวัตถุกอนนี้เทากับ 10 หนวยเทาเดิม

รูปที่ 1.1 พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปไดและพลังงานสุทธิจะยังคงเทาเดิม


2 เทอรโมไดนามิกส

รูปที่ 1.2 แสดงน้ําในแกวรับพลังงาน 5 หนวย และสูญเสียพลังงานออกไป 4 หนวย ทําใหน้ําในแกว


มีพลัง งานเพิ่มขึ้น 1 หนวย นั่น แสดงวาพลัง งานที่น้ําไดรับจํานวน 5 หนวย จะมีพลังงาน 4 หนวยที่น้ํา
สูญเสียทิ้งออกไปและน้ําจะมีพลังงานเพิ่มจากเดิม 1 หนวย อาจกลาวไดวา “ผลตางระหวางพลังงานที่
สสารไดรับและสูญเสียออกไปจะเทากับพลังงานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในสสารนั้น” หลักการนี้เรียกวา
หลักการอนุรักษพลังงาน (Conservation of Energy) ซึ่งเปนกฎขอที่หนึ่งทางเทอรโมไดนามิกส (The
First law of Thermodynamics) อาจเขียนในรูปความสัมพันธทางคณิตศาสตรไดดังนี้

E in  E out  E sys 1.1

โดยที่

Ein แทน พลังงานที่ระบบหรือสสารไดรับ [kJ]

Eout แทน พลังงานที่ระบบหรือสสารสูญเสีย [kJ]

E sys แทน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงในระบบหรือสสารนั้น [kJ]

รูปที่ 1.2 การอนุรักษพลังงาน

------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.1 น้ําภายในหมอตมน้ําไดรับพลังงานความรอน 20 kJ ทําใหน้ําภายในหมอตมน้ํามีพลังงาน


เพิ่มขึ้น 15 kJ จงหาพลังงานความรอนที่น้ําในหมอสูญเสียสูสิ่งแวดลอม

วิธีทํา

พลังงานที่น้ําภายในหมอตมน้ําไดรับ Ein = 20 kJ
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 3

พลังงานที่น้ําในหมอตมน้ําเพิ่มขึ้น E sys = 15kJ

Eout  ?

E sys  15kJ

E in  20 kJ

ดังนั้นพลังงานความรอนที่น้ําในหมอสูญเสียสูสิ่งแวดลอม Eout = E in  E sys

Eout = 20 – 15 = 5 kJ

พลังงานความรอนที่น้ําในกาสูญเสียสูสิ่งแวดลอมคือ 5 kJ ตอบ

---------------------------------------------------------------------------

ดังกลาวขางตนทําใหทราบไดวาพลังงานสามารถเปลี่ยนแปลงจากพลังงานชนิดหนึ่งสูพลังงานอีก
ชนิด หนึ่ง ไดแ ละผลรวมสุทธิของพลัง งานจะยัง คงเทาเดิม เสมอซึ่ง เรียกวา หลักการอนุรักษพลัง งาน
อยางไรก็ตามยังคงมีขอจํากัดบางประการที่ไมสามารถพิจารณาเฉพาะหลักการอนุรักษพลังงานขางตนได
เนื่ อ งจากจํ า เป น ต อ งพิ จ ารณาถึ ง ความเปน ไปไดข องการเกิ ด ปรากฏการณ เปลี่ ย นรูป พลั ง งานด ว ย
ตัวอยางเชน ความรอนจะถายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสูวัตถุหรือสิ่งแวดลอมอื่นที่มีอุณหภูมิต่ํากวา
อยางอิสระเสมอ หมายความวาจะเปนไปไมไดที่ความรอนจะถายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ําไปสูวัตถุหรือ
สิ่งแวดลอมที่มีอุณหภูมิสูงกวาไดโดยอิสระ แสดงดังรูป 1.3ก เครื่องทําความรอนดวยพลังงานไฟฟาเมื่อรับ
พลังงานทางไฟฟาจะทําใหเกิดการคายพลังงานความรอนสูสงิ่ แวดลอม แตเปนไปไมไดหากใหความรอนแก
ลวดความรอนแลวจะทําใหเครื่องทําความรอนผลิตพลังงานไฟฟาเองไดแสดงดังรูปที่ 1.3ข เครื่องทําความ
เย็นของตูเย็นรับพลังงานไฟฟาแลวสามารถทําความเย็นโดยการดึงพลังงานความรอนจากหมู เห็ด เปด ไก
ที่แชเย็นไวภายในตูเย็นนั้นได และจะมีการคายความรอนบางสวนออกสูสิ่งแวดลอมโดยรอบเสมอ เปนไป
ไมไดที่เครื่องทําความเย็นของตูเย็นจะทํางานโดยไมมีการคายความรอนสูสิ่งแวดลอมเลย แสดงดังรูป 1.3ค
รถไฟพลังงานไอน้ําในอดีตรับพลังงานความรอนจากแหลงความรอน เชน แก็สความรอนสูงที่เกิดจากการ
เผาไหมของถานหินหรือไมฟน เพื่อการผลิตไอน้ํารอนที่มีความดันสูงไอน้ํารอนความดันสูงเหลานี้เขาไป
4 เทอรโมไดนามิกส

ผลักดันลูกสูบในกระบอกสูบ และสงกําลังมายังเพลาของเครื่องยนตไ อน้ําทําให เกิดพลัง งานกลในการ


ขับเคลื่อนรถไฟ เครื่องยนตไอน้ํานี้ก็จะตองคายความรอนบางสวนสูสิ่งแวดลอมเสมอ เปนไปไมไดที่จะไมมี
ความรอนคายออกสูสิ่งแวดลอมเลยแสดงดัง รูปที่ 1.3ง จากทั้ง 4 ตัวอยางที่ก ลาวขางตน เปนตัวอยาง
สําคัญที่แสดงใหเห็นถึงความเปนไปไมไดในการเปลี่ยนรูปพลังงานในลักษณะตางๆ

รูปที่ 1.3ก

รูปที่ 1.3ข

รูปที่ 1.3ค
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 5

รูปที่ 1.3ง

รูปที่ 1.3 ความเปนไปไดและเปนไปไมไดของการเปลีย่ นรูปและถายเทพลังงาน

 แทน เปนไปได X แทน เปนไปไมได

--------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.2 เครื่องทําความเย็นของตูเย็นดึงความรอนจากวัตถุที่ตองการทําความเย็นเทากับ 10 kJ โดย


ใชพลังงานไฟฟาในการทําความเย็นเทากับ 3 kJ จงประมาณความรอนที่ตูเย็นตองคายออกสูสิ่งแวดลอม
โดยสมมติใหไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในเครื่องทําความเย็น ถาไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานใน
เครื่องทําความเย็น E sys  0

วิธีทํา

จากการอนุรักษพลังงาน E in  E out  E sys

พลังงานที่เครื่องทําความเย็นไดรับคือพลังงานทางไฟฟาและพลังงานความรอนที่ดึงออก
จากวัตถุ ดังนั้น Ein = 3kJ + 10kJ = 13 kJ พลังงานความรอนที่เครื่องทําความเย็นคายออกจะ
เทากับ
6 เทอรโมไดนามิกส

คายความรอน
สูสิ่งแวดลอม

เครื่องทําความเย็น พลังงานไฟฟา=3kJ
ของตูเย็น

ความรอนที่ดึงออก
จากวัตถุ 10 kJ

E out  E in  E sys  13  0  13 kJ

พลังงานความรอนที่เครื่องทําความเย็นคายออกคือ 13 kJ ตอบ

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.3 เครื่องจักรกลไอน้ํารับความรอนจากแหลงความรอน 50 kJ ไดพลังงานกลเทากับ 60 kJ จง


หาพลังงานความรอนที่เครื่องจักรกลไอน้ํานี้คายออก โดยสมมติใหไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน
เครื่องจักรกลไอน้ํา ถาสมมติใหไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานในเครื่องจักรกลไอน้ํา E sys  0

วิธีทํา

จากการอนุรักษพลังงาน E in  E out  E sys

พลัง งานที่เครื่องจัก รกลไอน้ําไดรับ Ein = 50kJ หากกําหนดใหพลังงานความรอนที่


เครื่องจักรกลไอน้ําคายออกแทนดวย X ดัง นั้น พลังงานที่คายออกจากเครื่องจักรกลไอน้ําคือ
พลังงานกลที่เครื่องจักรผลิตไดและพลังงานความรอนที่คายออก Eout = 60 + X kJ จากหลักการ
อนุรักษพลังงานจะได
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 7

E in  E out  E sys  0  E in  E out

50 = 60 + X

X = -10 kJ

จะเห็นไดวาความสัมพันธขางตน ทําใหพลังงาน X < 0 (X=-10) ดังนั้นพลังงาน X จึงควร


เปนพลังงานที่เครื่องจักรกลไอน้ําไดรับ ซึ่งจะทําใหขัดแยงตอปรากฏการณการถายเทพลังงานของ
เครื่องจักรกลไอน้ําที่ไดกลาวมาแลว จึงสรุปไดวาเงื่อนไขที่ตัวอยางกําหนดเปนไปไมได ตอบ

ภายใตข อกํ าหนดของตัว อย างนี้ แ สดงให เห็ น ว า แมจ ะสอดคล อ งต อหลัก การอนุรั ก ษ
พลังงานจนทําใหไดผลลัพธ X ก็ตาม มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาถึงความเปนไปได
ของปรากฏการณการเปลี่ยนรูปพลังงานควบคูไปดวยเสมอ

---------------------------------------------------------------------------

1.2 ระบบและสิ่งแวดลอม

การวิเคราะห ศึกษา หรือ พิจารณาสสาร วัตถุ หรือมวลใดๆ ในทางเทอรโมไดนามิกส จะเรียก


สสาร วัตถุ หรือมวล นั้นๆ จะวา ระบบ(System) ในขณะที่ สสาร วัตถุ หรือ มวล อื่นใดที่อยูภายนอกระบบ
เรียกวา สิ่งแวดลอม (Surrounding) อาณาเขตที่แบงแยกระหวางระบบและสิง่ แวดลอมออกจากกันเรียกวา
8 เทอรโมไดนามิกส

ขอบเขตของระบบ (System Boundary) ซึ่งขอบเขตของระบบสามารถจําแนกตามความสามรถในการ


เคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบไดเปน 2 ประเภท คือ 1 ขอบเขตของระบบที่ไ มเคลื่อนที่ ทําใหร ะบบไม
สามารถเปลี่ยนรูปรางได และ 2 ขอบเขตของระบบที่สามารถเคลื่อนที่ไดทําใหระบบเปลี่ยนรูปรางไดเมื่อ
ขอบเขตของระบบมีการเคลื่อนที่

ระบบมีขอบเขตที่ไมเคลื่อนที่ระบบนั้นจะมีปริมาตรคงที่เสมอเพราะวาเมื่อขอบเขตของระบบไม
เคลื่อนที่ระบบจะคงรูปรางและปริมาตรเดิมของระบบไดเสมอ ในทางกลับกันถาระบบมีขอบเขตที่สามารถ
เคลื่อ นที่ไ ด จ ะทํ าให ร ะบบมี รูป ร างและปริม าตรเปลี่ ยนไปเมื่ อมี ก ารเคลื่ อ นที่ ของขอบเขตของระบบ
ตัวอยางเชน รูปที่ 1.4ก แสดงแท็งกที่มีผนังคงรูปโดยบรรจุแก็ส O2 อยูภายใน หากพิจารณาแก็ส O2 ภายใน
แท็งกเปนระบบ ขอบเขตของระบบคือพื้นผิวภายในของผนังดานตางๆ ของแท็งก เนื่องจากผนังของแท็งก
มีความแข็งแรงไมสามารถเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปได แก็ส O2 ในแท็งกซึ่งพิจารณาเปนระบบจะมีปริมาตร
คงที่เสมอแมแก็ส O2 นี้จะไดรับพลังงานหรือสูญเสียพลังงานเทาใดก็ตาม

รูปที่ 1.4ก รูปที่ 1.4ข

รูปที่ 1.4 ขอบเขตของระบบ

รูปที่ 1.4ข แสดงกระบอกสูบที่บรรจุแก็ส N2 อยูภายใน หากพิจารณาแก็ส N2 ที่อยูภายในเปนระบบ


ขอบเขตของระบบจะประกอบดวยพื้นผิวภายในของกระบอกสูบและพื้นผิวหนาของลูกสูบ เนื่องจากลูกสูบ
สามารถเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงไดเมื่อแก็ส N2 ไดรับหรือสูญเสียพลังงาน แสดงใหเห็นวาปริมาตรของแก็ส N2
ซึ่งแทนดวยระบบอาจมีปริมาตรเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงไดตามการเคลื่อนที่ของลูกสูบดวย
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 9

ระบบสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทคือ 1 ระบบปด (Closed System) คือระบบที่ไมมีมวลผาน


ขอบเขตของระบบเขามาภายในระบบหรือออกจากระบบ เนื่องจากระบบปดไมมีมวลเขาหรือออกจากระบบ
จึงเปนระบบที่มีมวลคงที่เสมอ ดังนั้นระบบปดอาจเรียกวาระบบควบคุมมวล (Fixed Mass System) ไดอีก
ดวย 2 ระบบเปด (Open System) คือระบบที่มีมวลผานขอบเขตของระบบเขามาภายในระบบหรือมวลจาก
ภายในระบบผานขอบเขตของระบบออกสูสิ่งแวดลอมของระบบได อาจกลาวไดวาระบบเปดเปนระบบที่มี
การถายเทมวลระหวางระบบและสิ่ง แวดลอม มวลของระบบเปดอาจเพิ่มขึ้น หรือลดลงได ขึ้น กับความ
แตกตางระหวางมวลเขาระบบและมวลออกจากระบบ โดยทั่วไปมักพบวาขอบเขตของระบบเปดจํานวน
มากไมมีการเคลื่อนที่ เรียกระบบเปดเหลานั้นวา ปริมาตรควบคุม (Control Volume) และเรียกขอบเขตของ
ระบบวา พื้นผิวควบคุม (Control Surface) รูปที่ 1.5 แสดงระบบปดและระบบเปด โดยขอบเขตของระบบ
จะแสดงดวยเสนประ และตอไปนี้ขอบเขตของระบบจะแสดงดวยเสนประเสมอตลอดทั้งเอกสารนี้

เคลื่อนที่ขึ้น
มวลเขา
พื้นผิวควบคุม หรือออกได
เคลื่อนที่ลง ระบบเปด
ขอบเขตเคลื่อนที่ได (ปริมาตรควบคุม)
ระบบปด พลังงานเขา พลังงานเขา
หรือออกได หรือออกได

ขอบเขตคงที่

รูปที่ 1.5 ระบบปด และ ระบบเปด

พลังงานชนิดตางๆ สามารถเคลื่อนที่ผานขอบเขตของระบบเขาสูระบบไดและพลังงานจากภายใน
ระบบจะสามารถเคลื่อนที่ผานขอบเขตของระบบออกสูสิ่งแวดลอมไดไมวาระบบนั้นจะเปนระบบเปดและ
ระบบปดก็ตาม ดังนั้นอาจกลาวไดวาระบบปดคือระบบที่ไมมีมวลผานขอบเขตเขาหรือออกจากระบบแต
พลังงานสามารถเขาสูระบบหรือออกจากระบบได และระบบเปดคือระบบที่มีทั้งมวลและพลังงานสามารถ
ผานขอบเขตเขาหรือออกจากระบบได ในกรณีที่ระบบปดที่ไมมีพลังงานเขาหรือออกจากระบบเลยจะเรียก
ระบบปดนี้วา ระบบโดดเดี่ยว (Isolates System)
10 เทอรโมไดนามิกส

การจําแนกระบบทางเทอรโมไดนามิกสเปนระบบปดและระบบเปดจะมีความแตกตางกันทั้งในดาน
การถายเทมวลและพลังงานระหวางระบบและสิ่งแวดลอมของระบบ ดังนั้นปฏิสัมพันธระหวางระบบและ
สิ่งแวดลอมของระบบทั้งสองชนิดภายใตก ระบวนการตางๆ จึงมีความแตกตางกัน ออกไป จึงทําใหการ
พิจารณาตัดสินระบบที่พิจารณาอยูนั้นวาเปนระบบชนิดใดจึงมีความสําคัญอยางมากและจะตองเปนสิ่งแรก
ที่ควรกระทําในการศึกษาและวิเคราะหทางเทอรโมไดนามิกสกับระบบนั้นๆ

--------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.4 เทียนไขถูกจุดไฟอยูภายใหหองปดอยางมิดชิดและที่ผนังหองทุกดานมีการหุมฉนวนไวอยาง


ดีแสดงดังรูป ถาพลังงานความรอนจากเทียนไขใหกับอากาศที่อยูแวดลอมภายในหองเทากับ 10 kJ จงหา
พลังงานความรอนที่ถายเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม

ก. ถาพิจารณาเทียนไขและเปลวไฟเปนระบบ
ข. ถาพิจารณาอากาศเปนระบบ
ค. ถาพิจารณาทั้งหมดภายในหองเปนระบบ

วิธีทํา

พิจารณาเทียนไขและเปลวไฟเปนระบบ แสดงวาอากาศภายในหองจึงเปนสิ่งแวดลอม พลังงาน


ความรอนถายเทจากเปลวเทียนซึ่งเปนสวนหนึ่งของระบบสูอากาศซึ่งเปนสิ่งแวดลอม ดังนั้นระบบจะคาย
พลังงานความรอนออกสูสิ่งแวดลอมเทากับ 10 kJ ตอบ ก

พิจารณาอากาศเปนระบบ แสดงวาเทียนไขและเปลวเทียนเปนสิ่งแวดลอม ดังนั้นระบบจะไดรับ


พลังงานความรอนจากสิ่งแวดลอมเทากับ 10 kJ ตอบ ข
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 11

พิจารณาทั้งหมดภายในหองเปนระบบ แสดงวาระบบจะประกอบดวย เทียนไข เปลวเทียน และ


อากาศ ที่อยูภายในหอง การถายเทพลังงานความรอนระหวางเปลวเทียนไขกับอากาศจึงเปนการถายเท
พลังงานความรอนภายในระบบ ในขณะเดียวกันหองมีผนัง เปนขอบเขตของระบบดังนั้น สิ่งแวดลอมของ
ระบบในกรณีนี้คือสิ่งแวดลอมตางๆ ที่อยูภายนอกหอง ขณะที่ผนังหองไมมีชองเปดและถูกหุมฉนวนไวอยาง
ดีจึงทําใหไมมีการถายเทพลังงานความรอนและมวลระหวางหองและสิ่ง แวดลอมตางๆ ที่อยูภายนอกเลย
ดังนั้นพลังงานความรอนที่ถา ยเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมจึงเทากับ 0 kJ และกลาวไดวาหองเปนระบบ
โดดเดี่ยว ตอบ ค

---------------------------------------------------------------------------
1.3 พลังงานของระบบ

พลังงานที่มีอยูในระบบมีหลายชนิดดวยกัน อาทิเชน พลังงานความรอน พลังงานกล พลังงานไฟฟา


พลังงานสนามแมเหล็กไฟฟา พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร พลังงานศักย และ พลังงานจลน เปนตน
ผลรวมของพลังงานทุกชนิดที่อยูใ นระบบเรียกวา พลังงานรวม (Total Energy) เนื่องจากพลังงานในระบบมี
ชนิดตางๆ จํานวนมาก ในทางเทอรโมไดนามิกสจงึ แบงพลังงานของระบบออกเปน 2 กลุมใหญๆ ดังตอไปนี้

กลุมที่ 1 พลังงานที่มีขนาดขึ้นกับตําแหนงอางอิงภายนอก (Macroscopic form of Energy) คือ


พลังงานที่มีขนาดขึ้นกับตําแหนงอางอิงภายนอกของระบบประกอบดวย พลังงานศักย (PE) และ พลังงาน
จลน (KE) จากรูปที่ 1.6 หากพิจารณากอนหินเปนระบบ ขนาดของพลังงานศักยและพลังงานจลนของกอน
หินจะขึ้นอยูกับตําแหนงความสูงของกอนหินนั้น สมการที่ 1.2 และ สมการที่ 1.3 แสดงพลังงานศักยและ
พลังงานจลน ตามลําดับ

PE  mgz 1.2
1
KE  mv e 2 1.3
2
12 เทอรโมไดนามิกส

โดยที่

PE แทน พลังงานศักย [J]

KE แทน พลังงานจลน [J]

m แทน มวลของระบบ [kg]

g แทน คาความเรงจากแรงโนมถวงของโลก [m/s2]

v e แทน ความเร็วของระบบ [m/s]

รูปที่ 1.6 พลังงานที่ขนึ้ กับตําแหนงอางอิงภายนอก พลังงานศักยและพลังงานจลน

กลุมที่ 2 พลังงานที่ไมขึ้นกับตําแหนงอางอิงภายนอก (Microscopic form of Energy) พลังงาน


ของระบบอื่ น ๆ ดั ง ที่ไ ด ก ลา วมาแล ว เชน พลัง งานความร อน พลั ง งานกล พลั ง งานไฟฟ า พลัง งาน
สนามแมเหล็กไฟฟา พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร ฯลฯ ผลรวมของพลังงานของระบบทั้งหมดที่ไมขึ้นกับ
ตําแหนงอางอิงภายนอก เรียกวา พลังงานภายใน (Internal Energy)

ดังนั้นพลังงานรวมของระบบในทางเทอรโมไดนามิกสก็คือผลรวมของพลังงานภายใน พลังงานศักย
และพลังงานจลน ซึ่งสามารถแสดงไดดังนี้

E  U  (PE  KE) [J] 1.4


บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 13

โดยที่

E แทน พลังงานรวมของระบบ [J]

U แทน พลังงานภายใน [J]

ถาแทนสมการที่ 1.2 และสมการที่ 1.3 ในสมการที่ 1.4 จะได


1
E  U  (mgz  mv e 2 ) [J] 1.5
2
หากพิจารณาพลังงานรวมตอหนวยมวลของระบบจะได
E U 1
  (gz  v e 2 )
m m 2
1
e  u  (gz  v e 2 ) [J/kg] 1.6
2
โดยที่

e แทน พลังงานรวมตอหนวยมวลของระบบ (e=E/m) [J/kg]

u แทน พลังงานภายในตอหนวยมวลของระบบ (u=U/m) [J/kg]

อยางไรก็ต ามถาพิ จ ารณาพลัง งานที่อ ยูภายในสสารใดๆ ที่ไ ม ไ ดถูก พิจ ารณาเป น ระบบ ก็จ ะ
สามารถพิจารณาพลังงานรวมของสสารนั้นๆ ในรูปพลังงานรวมจากหลักการที่ไดกลาวมาแลวขางตนได
เชนเดียวกัน

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.5 หัวมันสําปะหลังมีมวล 0.25 kg ตกลงมาจากความสูง 1 เมตร ดวยความเร็ว 2 m/s ดังรูป


หัวมันสําปะหลังมีพลังงานภายในตอหนวยมวลเทากับ 30 kJ/kg จงหาพลังงานรวมของหัวมันสําปะหลังนี้
14 เทอรโมไดนามิกส

2 m/s
z
1m

วิธีทํา

พลังงานรวมเปนผลรวมของพลังงานภายใน พลังงานศักย และ พลังงานจลน ดังนี้

พลังงานภายในของหัวมันสําปะหลัง U = mu =0.25 kg x 30 kJ/kg = 7.5 kJ

พลังงานศักยของหัวมันสําปะหลัง PE  mgz  0.25 kgx9.81 m / s 2 x1 m =2.45 J


2
1 2 1 2 m
พลังงานจลนของหัวมันสําปะหลัง KE  mv e  x 0.25 kg x2 2  0.5 J
2 2 s
ดังนั้นพลังงานรวมของมันสําปะหลังหัวนี้คือ

E  U  PE  KE  7.5x103  2.45  0.5 =7502.95 J

E=7.50295 kJ ตอบ

---------------------------------------------------------------------------

1.4 พลังงานภายใน

จากที่ไ ดก ลาวถึง พลัง งานภายในมาแลวขางตน ทําใหทราบว าพลัง งานภายในคือผลรวมของ


พลังงานชนิดตางๆ ที่ไมขึ้นกับตําแหนงอางอิงภายนอกของระบบหรือสสารใดๆ ที่พิจารณา พลังงานภายใน
จะมีความสัมพันธกับโครงสรางของโมเลกุลของสสารนั้นๆ ตลอดจนมีอิทธิพลตอการเคลื่อนที่ของโมเลกุล
ของสสารนั้นๆ ดวย
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 15

การเคลื่อนที่ของโมเลกุลภายในสสารตางๆ จะมีการเคลื่อนที่ในหลายลักษณะดวยกัน เชน การ


เคลื่อนที่เชิงเสน การสั่น และ การหมุน การเคลื่อนที่ในลักษณะตางๆ เหลานี้เกิดจากพลังงานจลนของ
โมเลกุลตางๆ ภายในสสารนั้นๆ ผลรวมของพลังงานจลนจากการเคลื่อนที่ในลักษณะตางๆ ของโมเลกุล
ของสสารเรียกวา พลังงานสัมผัส (Sensible Energy) และความเร็วของการเคลื่อนของโมเลกุลของสสาร
เหลา นั้น จะสัมพั น ธกับ อุณ หภูมิของสสารนั้น ๆ ด วย กลาวคือ เมื่อสสารนั้ น ๆ มีอุณ หภูมิสู ง จะทําให
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของโมเลกุลในสสารนั้นสูง ซึ่งจะสงผลใหพลังงานจลนของโมเลกุลในสสารนั้นสูง
ดวย ทําใหพลังงานสัมผัสก็จะมีแนวโนมที่สูงขึ้นและจะสงผลใหพลังงานภายในจะมีคาสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิ
ของสสารนั้นสูงขึ้นดวยเชนกัน รูปที่ 1.7 แสดงการเคลื่อนที่ของโมเลกุลภายในสสารในลักษณะตางๆ ซึ่ง
ประกอบดวย การเคลื่อนที่เชิงเสน การหมุน และ การสั่น ตามลําดับ

เคลื่อนที่เชิงเสน หมุน
สั่น

รูปที่ 1.7 การเคลื่อนที่ของโมเลกุลภายในสสารในลักษณะตางๆ

พลังงานภายในนอกจากจะขึ้น กับการเคลื่อนที่ของโมเลกุลภายในสสารแลว แรงดึงดูดระหวาง


โมเลกุล ก็จะมีอิทธิพลตอพลังงานภายในดวยเชนกัน เนื่องจากสสารในสถานะของแข็งจะคงรูปรางและ
ปริมาตรของสสารนั้นได สสารในสถานะของเหลวจะยังคงปริมาตรของสสารนั้นได แตรูปรางจะเปลี่ยนไป
ตามภาชนะที่บรรจุ และสสารในสถานะแก็ส ทั้งปริมาตรและรูปรางจะแปรเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
เนื่องจากรูปรางของสารในสถานะของเหลวและแก็สจะเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะบรรจุ ดังนั้นจึงเรียกสาร
ที่อยูในสถานะของเหลวและแก็สวา ของไหล (Fluid)

แรงดึง ดูดระหวางโมเลกุลของสสารในสถานะของแข็งยอมมีแ รงดึงดูดระหวางโมเลกุล สูง ที่ สุด


รองลงมาคือสถานะของเหลว และสสารในสถานะแก็ส จะมีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุล ต่ํา ที่สุด พลังงาน
ภายในที่ขึ้นกับแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลเรียกวา พลังงานแฝง (Latent Energy) รูปที่ 1.8 แสดงแผนภูมิ
การเปลี่ยนสถานะของสารเมื่อมีการใหพลังงานแกสสารนั้น
16 เทอรโมไดนามิกส

เปลี่ยนสถานะ เปลี่ยนสถานะ
ของแข็ง
แก็ส
ของเหลว

ใหพลังงาน
ใหพลังงาน

รูปที่ 1.8 แผนภูมกิ ารเปลี่ยนสถานะของสารภายใตความตองการพลังงาน

ถาตองการใหสสารในสถานะของแข็งเปลี่ยนสถานะใหเปนของเหลวจําเปนตองใหพลังงานแกสสาร
นั้น หากตองการใหสสารในสถานะของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนแก็สก็จะตองใหพลังงานแกสสารนั้น ดวย
เชนกันเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวใหเปนแก็ส ดังนั้นจึงกลาวไดวาสสารในสถานะแก็สจะมี
พลังงานแฝงสูงที่สุด รองลงมาคือสสารในสถานะของเหลว และสสารในสถานะของแข็งจะมีพลั งงานแฝง
ต่ําที่สุด จากผลดังกลาวจึงทําใหสสารที่อยูในสถานะแก็สมีพลังงานภายในสูงที่สุด รองลงมาคือสสารใน
สถานะของเหลวและ สสารในสถานะของแข็ง ตามลําดับ

พลังงานเคมีคือพลังงานที่เกี่ยวของกับพันธะระหวางอะตอมภายในโมเลกุลของสสาร และพลังงาน
นิวเคลียร คือพลัง งานที่เกี่ ยวของกับพันธะที่แ ข็งแรงมากในนิวเคลียสของอะตอมซึ่ง จัดวาเปนสวนของ
พลังงานภายในดวยเชนกัน ดังนั้นพลังงานภายในก็คือผลรวมระหวางพลังงานสัมผัส พลังงานแฝง พลังงาน
เคมี และพลังงานนิวเคลียรดังนี้

U  E sen  Elat  E chem  E nuclear 1.7

โดยที่

U แทน พลังงานภายใน [J]

Esen แทน พลังงานสัมผัส [J]

Elat แทน พลังงานแฝง [J]

Echem แทน พลังงานเคมี [J]


บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 17

Enuclear แทน พลังงานนิวเคลียร J

1.5 ความรอน (Heat)

ความรอนเปนพลังงานที่ถายเทหรือแลกเปลี่ยนระหวางวัตถุตางๆ ที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน หาก


พิจารณาวัต ถุ 2 ชนิดที่มีอุณ หภูมิแ ตกตางกัน ความรอนจะถ ายเทจากวัต ถุที่มีอุณหภูมิสูง ไปยังวัตถุที่มี
อุณหภูมิต่ํากวาเสมอ การถายเทความรอนนี้จะยังคงดําเนินตอไปจนกวาวัตถุทั้งสองจะมีอุณหภูมิเทากัน ใน
สภาวะที่ วั ต ถุ ทั้ ง สองมี อุ ณ หภู มิ เ ท า กั น จะเรี ย กสภาวะนี้ ว า สภาวะสมดุ ล ทางความร อ น (Thermal
Equilibrium State) เมื่อระบบไดรับหรือสูญเสียพลังงานความรอน พลังงานความรอนจะสามารถแสดงอยู
ในรูปตอหนวยมวลของระบบไดดังนี้
Q
q 1.8
m
โดยที่

Q แทน พลังงานความรอน kJ

q แทน พลังงานความรอนตอหนวยมวลของระบบ kJ/kg

ในทางปฏิบัติมักพบวาการไดรับหรือการสูญเสียความรอนของระบบจะอางอิงดวยอัตราการถายเท
ความรอน (Rate of Heat Transfer) ภายใตชวงเวลาของการถายเทความรอนหนึ่งๆ พลังงานความรอนสุทธิ
ที่ระบบไดรับหรือสูญเสียตลอดชวงเวลานั้นๆ จะหาไดจาก
t2
Q   Q dt 1.9
t1
18 เทอรโมไดนามิกส

โดยที่

Q แทน อัตราการถายเทความรอน [kJ/s หรือ kW]

t1 แทน เวลาเริ่มตนของการถายเทความรอน [s]

t2 แทน เวลาสิ้นสุดของการถายเทความรอน [s]

การถา ยเทความรอนแบ ง ออกเปน 3 ชนิ ด ใหญ ๆ คื อ การนํา ความร อน (Conduction Heat


Transfer) การพาความรอน (Convection Heat Transfer) และ การแผรังสีความรอน (Radiation Heat
Transfer) การถายเทความรอนทั้ง 3 ชนิดจะศึกษาโดยละเอียดในวิชาการถายเทความรอน (Heat Transfer)
ในที่นี้ จ ะกลา วเฉพาะหลัก การสํา คัญ เพื่ อ ให เข าใจถึง ปรากฏการณ ก ารถา ยเทความรอ นทั้ ง 3 ชนิ ด
โดยสังเขปเทานั้น

การนํา ความรอน คือการถายเทความรอนผานโมเลกุล ของสารที่อยูชิดติด กัน โดยตรง โดยมี


ทิศทางของการถายเทความรอนจากโมเลกุลที่มีอุณหภูมิสูงไปยังโมเลกุลที่อยูติดกันและมีอุณหภูมิต่ํากวา
เสมอ ดังนั้นการนําความรอนจะเกิดขึ้นไดในสารทุกสถานะทั้งของแข็ง ของเหลว และ แก็ส ความรอนจาก
การนําความรอนจะขึ้นกับคุณสมบัติดานการนําความรอนของสารแตละชนิดเรียกคุณสมบัตินั้นวา สภาพ
การนําความรอน (Thermal Conductivity) และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตอระยะความหนาของวัตถุ
ในทิศทางการถายเทความรอน รูปที่ 1.9 แสดงการนําความรอนใน 1 มิติคือเปนการถายเทความรอนผาน
วัตถุที่มีความหนา x อัตราการนําความรอนผานวัตถุสามารถพิจารณาภายใตกฎของฟูริเอร (Fourier ‘s
Law) ไดดังนี้
dT
Q cond  kA 1.10
dx
โดยที่

Q cond แทน อัตราการนําความรอน W

k แทน สภาพการนําความรอนของวัตถุ W/m2 K


บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 19

A แทน พื้นที่พื้นผิวตั้งฉากกับทิศทางการถายเทความรอนของวัตถุ m2

dT
แทน ความลาดเอียงของอุณหภูมิตอระยะความหนา (x) ของวัตถุ
dx
ในทิศทางการถายเทความรอน K/m

A
T1
Q cond T2

L x

รูปที่ 1.9 การนําความรอนใน 1 มิติ

เหตุที่สมการที่ 1.10 มีเครื่องหมายลบเพราะวาความรอนถายเทในทิศทางที่อุณหภูมิลดลง ดังแสดง


ในรูปที่ 1.9 และถาอุณหภูมิมีการแจกแจงแบบเชิงเสนจะไดวา

dT T2  T1

dx L
ทําใหอัตราการถายเทความรอนจากการนําความรอนจะเทากับ

T1  T2 T
Q cond  kA k
L L
---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.6 จงหาความรอนที่ถายเทผานแผนโลหะพื้นที่ 0.5 m2 หนา 0.02 m โลหะนี้มีสภาพการนํา


ความรอนเทากับ 70 W/m ๐C โดยอุณหภูมิที่ผนังดานหนึ่งเทากับ 60 ๐C และอีกดานหนึ่งเทากับ 20๐C
แสดงดังรูป
20 เทอรโมไดนามิกส

วิธีทํา

การถายเทความรอนนี้เปนการถายเทความรอนผานโมเลกุลของโลหะที่อยูติดกันจากตําแหนง x=0
อุณหภูมิ 60๐C ไปยังตําแหนง x=0.02 m อุณหภูมิ 20๐C ปรากฏการณนี้จึงเปนการถายเทความรอนแบบ
การนําความรอน อัตราความรอนที่ถายเทผานแผนโลหะหาไดจากสมการที่ 1.10
dT
Q cond  kA
dx
สมมติฐานใหแผนโลหะมีความบางมากจนประมาณไดวาการแจกแจงอุณหภูมิตลอดความหนาของ
แผนโลหะเปนแบบเชิงเสน ดังนั้น

dT T2  T1

dx L
อัตราความรอนที่ถายเทผานแผนโลหะโดยการนําความรอนคือ
dT T T 60  20
Q cond  kA  kA 1 2  70x0.5x  70,000W
dx L 0.02
อัตราความรอนที่ถายเทผานแผนโลหะเทากับ 70 kW ตอบ

---------------------------------------------------------------------------
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 21

การพาความรอน คือการถายเทความรอนระหวางพื้น ผิวของแข็งกับของไหลในขณะที่กําลัง


เคลื่อนที่หรือไหลผานพื้นผิวของแข็ง เมื่อพื้นผิวของแข็งและของไหลมีอุณหภูมิที่แตกตางกัน ความรอนจะ
ถายเทระหวางพื้นผิวของแข็งและของไหลดวยกลไกการพาความรอน การพาความรอนเกิดจากอิทธิพล
รวมระหวางการนําความรอนภายในของไหลนับจากของไหลที่อยูใกลพื้นผิวของแข็งไปสูของไหลที่อยูไกล
ออกไปและลักษณะการไหลของของไหล

ve v T  T

ve 0 T  Ts

รูปที่ 1.10 รูปแบบการแจกแจงความเร็วและอุณหภูมิของของไหล

ที่เคลื่อนที่ผานพื้นผิวของแข็งที่อยูน ิ่งและมีอุณหภูมิสงู

จากรูปที่ 1.10 แสดงการแจกแจงความเร็วและการแจกแจงอุณหภูมิของของไหลที่เคลื่อนที่ผาน


พื้นผิวของแข็งที่อยูนิ่งและมีอุณหภูมิสูง จากรูปจะเห็นวาเนื่องจากความหนืดของของไหลความเร็วของของ
ไหลที่บริเวณใกลพื้นผิวของแข็งจะมีคานอยมากจนมีคาเขาใกลศูนยและจะเพิ่มขึ้นตามลําดับจนมีความเร็ว
คงที่คาหนึ่งซึ่งเรียกความเร็วคงที่ v  นี้วา ความเร็วของไหลอิสระ (Free Stream Velocity) ในขณะที่กรณี
ของไหลไหลผานพื้นผิวของแข็งที่มีอุณหภูมิสูง กวา อุณหภูมิของของไหลจะมีคาสูงเขาใกลอุณหภูมิของ
พื้น ผิ วของแข็ ง และจะมีแ นวโนมลดลงสํา หรับ ของไหลที่อยู หา งจากพื้น ผิวของแข็ง ออกไปตามลํ าดั บ
จนกระทั่งมีอุณหภูมิคงที่ T เรียกอุณหภูมินี้วาอุณหภูมิของไหลอิสระ (Free Stream Temperature)

ลักษณะการไหลของของไหลจะมีอิทธิพลตอการเกิดรูปแบบของการแจกแจงอุณหภูมิของของไหล
ดวย เชน ถาของไหลมีการไหลอยางปนปวน (Turbulent Flow) อุณหภูมิของไหลที่อยูหางพื้นผิวของแข็ง
ออกไปจะมีอุณหภูมิที่แตกตางจากของไหลที่อยูใกลพื้นผิวของแข็งมากกวาอุณหภูมิของของไหลในตําแหนง
เดียวกันแตมีลักษณะการไหลที่ราบเรียบ (Laminar Flow) กวา ลักษณะการไหลของของไหลจะมีลักษณะ
ปน ปวนหรือราบเรียบอยางไรนั้น ขึ้น กับ คุณ สมบัติ แ ละชนิด ของของไหลนั้น ๆ และรูป แบบการแจกแจง
ความเร็วของของไหล
22 เทอรโมไดนามิกส

อัตราความรอนจากการพาความรอนหาไดโดยกฎการทําความเย็นของนิวตัน (Newton‘s Law of


Cooling) แสดงดังสมการที่ 1.11

Q conv  hA ( T  Ts ) 1.11

โดยที่

Q conv แทน อัตราการถายเทความรอนจากการพาความรอน [W]

h แทน สัมประสิทธิ์การพาความรอน (Convective Heat Transfer Coefficient) W/m2 K

A แทน พื้นที่ผิวของแข็งที่สัมผัสของไหล [m2]

T แทน อุณหภูมิของไหลอิสระ [K หรือ ๐C]

Ts แทน อุณหภูมิพื้นผิวของแข็ง [K หรือ ๐C]

สัมประสิทธิ์การพาความรอนไมใชคุณสมบัติของของไหลแตจะมีคาขึ้นกับ 2 ปจจัยสําคัญคือ

1. ลักษณะการไหลของของไหล ประกอบดวย ความเร็วของของไหล และรูปลักษณของ


พื้นผิว ตัวอยางเชน เมื่อนอนแชน้ําอุนอุณหภูมิประมาณ 50๐C ในอางอาบน้ําจะรูสึกรอนใน
ระดับที่พอทนได แตหากมีการกวนน้ําในอางนั้นใหของไหลมีความเร็วสูงขึ้นสัมผัสผิวหนัง
ของเราจะทํา ใหเรารูสึก รอ นมากขึ้น จากเดิมอยางมากจนอาจทนแชน้ํา ตอไปอีก ไมไ ด
ปรากฏการณนี้เกิดจากลักษณะการไหลที่ปนปวนขึ้นเมื่อความเร็วของของไหลสูงขึ้น ทําให
สัมประสิทธิ์การพาความรอนของน้ําสูงขึ้น และสงผลใหเกิดการพาความรอนจากน้ําเขาสู
รางกายของเราสูงขึ้นนั่นเอง
2. คุณสมบัติของของไหล ประกอบดวย ความหนาแนน ความหนืด สภาพการนําความรอน
และ ความรอนจําเพาะ คุณสมบัติของของไหลเหลานี้มีอิทธิพลตอการไหลและการถายเท
ความรอนของของไหลนั้นๆ ดวยเชนกัน ตัวอยางเชน เมื่อเราอบสมุนไพรอยูในตูอบไอน้ํา
อุณหภูมิประมาณ 60๐C จะทําใหเรารูสึกรอนในระดับที่พอทนได แตเราไมสามารถนอนแช
ในอางน้ํารอนอุณหภูมิ 60๐C ได เนื่องจากไอน้ําในตูอบสมุนไพรและน้ําในอางอาบน้ํามี
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 23

สถานะแตกตางกัน จึงทําใหคุณสมบัติดานการถายเทความรอนจึงแตกตางกันดวย ซึ่งมี


อิทธิพลทําใหความรอนจากการพาความรอนที่รางกายไดรับแตกตางกันออกไป

พิจารณาสมการที่ 1.11 จะเห็นไดวาถา Q conv เปนลบแสดงวาความรอนถายเทจากพื้นผิวของแข็งสู


ของไหลและในทางกลับกันหาก Q conv มีคาเปนบวกแสดงวาความรอนจะถายเทจากของไหลสูของแข็ง

การพาความร อ นที่ เ กิ ด จากของไหลที่ มี ก ารเคลื่ อ นที่ โ ดยอุ ปกรณ ท างกลต า งๆ เช น พั ด ลม


คอมเพรสเซอร หรือ เครื่อ งสูบ เรียกการพาความรอนนี้ว า การพาความรอ นแบบบั ง คั บ (Forced
Convection) การพาความรอนที่เกิดขึ้นจากการไหลของของไหลเคลื่อนที่ดวยแรงลอยตัว (Buoyancy Force)
ที่เกิดจากความแตกตางของความหนาแนนของตัวของไหลนั้นๆ เอง ความแตกตางของความหนาแนนของ
ของไหลเปนผลมาจากความแตกตางของอุณหภูมิของของไหลที่ตําแหนงตางๆ เรียกการพาความรอนนี้วา
การพาความรอนแบบอิสระ (Free Convection)

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.7 อากาศรอนอุณหภูมิ 150๐C ไหลผานพื้นผิวของแข็งที่มีอุณหภูมิ 50๐C ภายใตสภาพการ


ไหลและการถายเทความรอนทําใหคาสัมประสิทธิ์การพาความรอนเทากับ 75 W/m2 ๐C จงหาอัตราการ
ถายเทความรอนจากการไหลของอากาศรอนเขาสูพื้นผิวนี้ หากพื้นที่ผิวของแข็งเทากับ 2 m2

วิธีทํา

ปรากฏการณการถายเทความรอนนี้เกิดขึ้นจากการไหลอากาศรอนผานพื้นผิวของแข็งที่มีอุณหภูมิ
แตกตางกัน ดังนั้นจึงเปนถายเทความรอนแบบการพาความรอนโดยความรอนจะถายเทจากอากาศรอนสู
พื้นผิวของแข็ง อัตราการถายเทความรอนจากการพาความรอนคือ

Q conv  hA ( T  Ts )

Q conv  75x2 x(150  50)  15000W

อัตราการถายเทความรอนจากการไหลของอากาศรอนเขาสูพื้นผิวเทากับ 15kW ตอบ

---------------------------------------------------------------------------
24 เทอรโมไดนามิกส

การแผรัง สีค วามรอน คือการถายเทความรอนที่เกิดจากความแตกตางระหวางอุณ หภูมิของ


พื้น ผิวตางๆ จะทําใหพื้น ผิวเหลานั้น มีการถายเทความรอนซึ่งกันและกัน พลัง งานความรอนที่ถายเท
ระหวางพื้นผิวตางๆนั้น จะถายเทในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Waves) โดยไมตองอาศัยสาร
ใดๆ เปนตัวกลางในการถายเทความรอนเลย ซึ่งแตกตางจากการนําความรอนและการพาความรอนที่
จะตองอาศัยสารตัวกลางทําใหเกิดกลไกการถายเทความรอนเหลานั้น เนื่องจากการแผรังสีความรอนไม
ตองการสารตัวกลางในการเกิดกลไกการถายเทความรอน จึงทําใหกลไกลการถายเทความรอนชนิดนี้เกิด
ไดแ มใ นสภาวะสุ ญญากาศ เชน การสง ผานรัง สี ความรอนจากพื้น ผิวดวงอาทิต ยที่มีอุ ณ หภูมิสูง ผา น
สุญญากาศมายังพื้นผิวของโลกได เปน ตน เนื่องจากการแผรังสีความรอนขึ้น กับความแตกตางระหวาง
อุณ หภูมิร ะหวางพื้น ผิ วต างๆ ดัง นั้น รัง สี ความร อนจึ ง มี ลัก ษณะที่ แ ตกตา งจากการแผรัง สีใ นรูป คลื่ น
แมเหล็กไฟฟาอื่นๆ เชน รังสีแกมมา (Gamma Ray) รังสีไมโครเวฟ (Microwave) รังสีเอ็กเรย (X-Ray) และ
รังสีอัลตราไวโอเรท (Ultraviolet Ray) เปนตน

เมื่อพื้นผิวใดๆ มีอุณหภูมิแตกตางจากพื้นผิวอื่นไมวาพื้นผิวนั้นเปนพื้นผิวของสารในสถานะใดก็จะ
สามารถแผรัง สีความรอนไปยัง พื้น ผิวอื่น ๆ ไดทั้ง สิ้น นอกจากนั้น รัง สีความรอนจากพื้นผิวใดๆ เมื่อตก
กระทบบนพื้นผิวหนึ่งๆ ยังคงสามารถ ดูดซึม สะทอน และ ทะลุผาน พื้นผิวนั้นไดเชนกัน ความสามารถใน
การแผรังสีความรอนของพื้นผิวใดขึ้นกับคุณสมบัติดานการแผรังสีของพื้นผิวนั้น เรียกวา สัมประสิทธิ์การ
แผรังสี (Emissivity) คาสัมประสิทธิ์การแผรังสีของพื้นผิวตางๆ จะมีคาอยูระหวาง 0 ถึง 1 เสมอ อัตรา
ความรอนจากการแผรังสีของพื้นผิวสามารถแสดงไดดังสมการที่ 1.12 ตอไปนี้

Q emit  ATs 4 1.12

โดยที่

Q emit แทน อัตราความรอนสําหรับการแผรังสีของพื้นผิว [W]

 แทน สัมประสิทธิ์การแผรังสีของพื้นผิว

 แทน คาคงที่ของ สเตฟรานส โบสแมนต (Stefan Boltzmann Constant)

  5.67  10 8 W/(m2 K4)


บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 25

A แทน พื้นที่ของพื้นผิวแผรังสี [m2]

Ts แทน อุณหภูมิสมบูรณของพื้นผิว [K]

เมื่อรังสีความรอนตกกระทบลงบนพื้นผิวใด รังสีความรอนเหลานั้นจะถูก ดูดซึม ทะลุผาน และ


สะทอน บนพื้นผิวนั้น รูปที่ 1.11 แสดงกลไกการดูดซึม ทะลุผาน และ สะทอน เมื่อรังสีความรอนตกกระทบ
ลงบนพื้นผิว สัด สวนการดูดซึม ทะลุผาน และ สะทอน ตอ รังสีความรอนที่ต กกระทบบนพื้น ผิวใดๆ จะ
ขึ้นกับคุณสมบัติการ ดูดซึม ทะลุผาน และ สะทอน ของพื้นผิวนั้นๆ ในรูป สัมประสิทธิ์การดูดซึม

Q inc Q ref

Q abs

Q tran

รูปที่ 1.11 กลไกการดูดซึม ทะลุผาน และ สะทอน

เมื่อรังสีความรอนตกกระทบลงบนพื้นผิว

(Absorptivity) สัม ประสิท ธิ์ก ารทะลุผ าน (Transmitivity) และ สั มประสิ ทธิ์ ก ารสะท อน (Reflectivity)
ตามลําดับ กลาวคือ

Q abs
 1.13
Q inc

Q tran
 1.14
Q inc

Q ref
 1.15
Q inc

โดยที่

 แทน สัมประสิทธิ์การดูดซึมรังสีความรอน
26 เทอรโมไดนามิกส

 แทน สัมประสิทธิ์การทะลุผานรังสีความรอน

 แทน สัมประสิทธิ์การสะทอนรังสีความรอน

Q int แทน อัตรารังสีความรอนตกกระทบพื้นผิว [W]

Q abs แทน อัตรารังสีความรอนดูดซึม [W]

Q tran แทน อัตรารังสีความรอนทะลุผานพื้นผิว [W]

Q ref แทน อัตรารังสีความรอนสะทอนออกจากพื้นผิว [W]

สัมประสิทธิ์การดูดซึม สัมประสิทธิ์การทะลุผาน และ สัมประสิทธิ์การสะทอน จะมีคาอยูระหวาง


0 ถึง 1 เสมอ สําหรับพื้นผิวทึบแสงจะมีคาสัมประสิทธิ์การทะลุผานเทากับศูนยเสมอ อยางไรก็ตามสําหรับ
พื้นผิวใดๆ ผลรวมของอัตรารังสีความรอนดูดซึม อัตรารังสีความรอนทะลุผานพื้นผิว และ อัตรารังสีความ
รอนสะทอนออกจากพื้นผิวจะตองเทากับอัตรารังสีความรอนตกกระทบพื้นผิวเสมอ ดังนั้น

Q int  Q abs  Q tran  Q ref

จากสมการที่ 1.13 สมการที่ 1.14 และ สมการที่ 1.15 จะได

Q int  Q int  Q int  Q int

ดังนั้น

 1 1.16

จากสมการที่ 1.16 จะเห็นไดวาสําหรับพื้นผิวใดๆ ผลรวมของสัมประสิทธิก์ ารดูดซึม สัมประสิทธิ์


การทะลุผาน และ สัมประสิทธิ์การสะทอน จะเทากับ 1 เสมอ และในทํานองเดียวกันเนื่องจากวัตถุทึบแสงมี
คาสัมประสิทธิก์ ารทะลุผานเทากับ 0 ดังนัน้ สําหรับพื้นผิวทึบแสง     1 เสมอ

วัตถุดํา (Blackbody) คือวัตถุที่มีพื้นผิวเปนอุดมคติภายใตกลไกการแผรังสีความรอน กลาวคือ


คุณสมบัติของวัตถุดําประกอบดวย 3 ประการสําคัญคือ 1. เปนวัตถุที่ดูดกลืนรังสีที่ตกกระทบไดทั้งหมด
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 27

โดยไมทะลุผานหรือไมสะทอน 2. เปนวัตถุที่มีอัตราการแผรังสีสูงสุดเมื่อเทียบกับวัตถุอื่น นั่นคือ  = 1 และ


3. รังสีความรอนของวัตถุดําจะแผออกในทุกทิศทุกทางและไมขึ้นกับทิศทาง ดังนั้นจึงสามารถอนุมานไดวา
ปริมาตรปด (Enclosure) ที่มีอุณหภูมิของพื้นผิวคงที่ถือเปนวัตถุดํา วัตถุเทา (Gray body) คือวัตถุที่มีคา
ของสัมประสิทธิ์การแผรังสีความรอนเทากับคาของสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีความรอน กลาวคือ  =
 จากรูปที่ 1.12 แสดงการถายเทรังสีความรอนระหวางปริมาตรปด ซึ่งมีอุณหภูมิของพื้นผิวคงที่เทากับ Ts
ถายเทรังสีความรอนกับวัตถุขนาดเล็กภายในซึ่งมีอุณหภูมิพื้นผิวเทากับ T1 โดยพื้นผิวของปริมาตรปดนี้
สมมติฐานใหเปนวัตถุดําและวัตถุขนาดเล็กภายในสมมติฐานใหเปนวัตถุเทา

Q emitt  1A 1T14 Q abs  1Q int  1 (A1Ts )


4

รูปที่ 1.12 การถายเทรังสีความรอนระหวางปริมาตรปดและวัตถุที่อยูภายใน

จากรูปที่ 1.12 จะเห็นไดวาอัตรารังสีความรอนสุทธิของวัตถุที่อยูภายในปริมาตรปดไดรับจะเทากับ


ผลตางระหวางอัตรารังสีความรอนที่วัตถุดูดซึมโดยการแผรังสีความรอนจากพื้นผิวของปริมาตรปดและ
อัตราการแผรังสีความรอนที่วัตถุที่อยูภายในนั้นคายออกดังนั้น

Q rad  Q abs  Q emit

Q rad   1 A 1 (Ts 4 )   1 A 1 T1 4

โดยที่

Q rad แทน อัตรารังสีความรอนสุทธิที่วัตถุไดรับ [W]

ตัวหอย 1 และ s แทน วัตถุและพื้นผิวปริมาตรปด ตามลําดับ


28 เทอรโมไดนามิกส

แตเนื่องจากสมมติฐานใหวัตถุภายในปริมาตรปดเปนวัตถุเทา (1 = 1) ดังนั้น

Q rad   1 A 1 (T1 4  Ts 4 ) 1.17

สมการที่ 1.17 มีประโยชนมากในทางปฏิบัติสําหรับการวิเคราะหอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิ


สําหรับการถายเทรังสีความรอนระหวางพื้นผิวที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน

จากที่ไ ดก ลาวมาแลวขางตนทําใหทราบวาการถายเทความรอนแบบการนําความรอน การพา


ความรอน และ การแผรัง สี เปน พลัง งานที่เกิด จากความแตกตางระหวางอุณ หภูมิของวัต ถุต างๆ ถา
พิจ ารณาใหวัต ถุห นึ่ง ๆ เปน ระบบจะทําใหวัต ถุอื่น ๆ กลายเปน สิ่ง แวดลอมของวัต ถุนั้น ดัง นั้น จะทําให
สามารถหาพลังงานในรูปของความรอนแบบตางๆ ที่ถายเทระหวางระบบหรือวัตถุที่ตองการพิจารณากับ
สิ่งแวดลอมของวัตถุนั้นได

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.8 แผนกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.2 m พื้นผิวของแผนกลมดานหนึ่งหุมฉนวน อีกดาน


หนึ่งไมหุมฉนวนและมีอุณหภูมิ 550 K พื้นผิวนี้มีสัมประสิทธิ์ก ารแผรัง สีเทากับ 0.9 พื้น ผิวกลมนี้ถูก
ลอมรอบดวยผนังปดที่พื้นผิวของผนังปดมีอุณหภูมิ 300 K จงหาอัตราการถายเทความรอนระหวางพื้นผิว
ของแผนกลมและพื้นผิวที่แวดลอมแผนกลมนี้

วิธีทํา

การถายเทความรอนนี้เปนปรากฏการณการถายเทความรอนระหวางพื้นผิวที่มีอุณหภูมิแตกตาง
กันระหวางพื้นผิวของแผนกลมและพื้นผิวของปริมาตรปดโดยไมอาศัยสารตัวกลาง ดังนั้นการถายเทความ
รอนนี้เปนการถายเทความรอนแบบแผรังสี
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 29

พื้นผิวแวดลอมแผนกลมที่อยูภายในถือไดวาเปนปริมาตรปดและแผนกลมภายในปริมาตรปดเปน
วัตถุเทา (1 = 1) ดังนั้นอัตราการแผรังสีความรอนสุทธิระหวางแผนกลมและปริมาตรปดคือ

Q rad   1 A 1 (T1 4  Ts 4 )


Q rad  0.9x5.67 x10 8 x x0.2 2 (550 4  300 4 )
4 
Q rad  133.7 W

อัตราการถายเทความรอนระหวางพื้นผิวของแผน กลมและพื้นผิวที่แ วดลอมแผนกลม เทากับ


133.7 W ตอบ

ตัวอยางนี้บอกใหทราบวาพื้นผิวใดๆ ที่อยูแวดลอมวัตถุที่พิจารณา พื้นผิวนั้นจะถือวาเปนปริมาตร


ปด และจะมีสภาพคลายวัตถุดํา สวนวัตถุที่พิจารณาภายในจะประมาณไดวามี สภาพเปนวัตถุเทา ในการ
พิจารณาวัตถุที่อยูแวดลอมดวยสิ่งแวดลอม ยอมสามารถประมาณไดวาสิ่งแวดลอมทั้งหมดของวัตถุนั้น
เปนปริมาตรปดดวย

---------------------------------------------------------------------------

ในสากลนิยมกําหนดทิศทางของความรอนถายเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมดวยการกําหนดดวย
สัญลักษณเครื่องหมายบวก (+) หรือเครื่องหมายลบ (-) นําหนาปริมาณความรอนที่วิเคราะหได เพื่อบง
บอกวาระบบไดรับความรอนหรือสุญเสียความรอน กลาวคือหากระบบไดรับความรอนจะใชเครื่องหมาย
บวกนํ า หน า ปริ ม าณความร อ นที่ ร ะบบได รั บ และหากระบบสู ญ เสี ย ความร อ นหรื อ คายความร อ นสู
สิ่งแวดลอมจะกําหนดเครื่องหมายลบนําหนาปริมาณความรอนที่ระบบสูญเสียเสมอ หรืออาจกลาวไดวา
หากระบบไดรับความรอนจะกําหนดใหความรอนมีขนาดมากกวาศูนย และถาระบบสูญเสียความรอนจะ
กําหนดใหความรอนมีขนาดนอยกวาศูนยไดเชนกัน

เนื่องจากความรอนไมวาจะเปน ความรอนแบบการนําความรอน การพาความรอน หรือ การแผ


รังสีความรอน ความรอนจะถายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํา ดัง นั้น หากระบบมี
อุณหภูมิสูงกวาสิ่งแวดลอมยอมหมายความวาความรอนจากระบบถายเทใหกับสิ่งแวดลอมพลังงานความ
30 เทอรโมไดนามิกส

รอนที่วิเคราะหไดจะเปนลบเสมอ และถาระบบมีอุณหภูมิต่ําวาสิ่งแวดลอมแสดงวาความรอนถายเทจาก
สิ่งแวดลอมใหกับระบบความรอนที่วิเคราะหไดจะมีคาบวกเสมอ

1.6 งาน (Work)

กอนที่จะศึกษาในเรื่องของพลังงานในรูปของงาน จะตองทําความเขาใจกอ นวาวัตถุหนึ่งๆ หาก


พิจารณาเปนระบบ ระบบนั้นจะไดรับพลังงานจากสิง่ แวดลอมหรือสูญเสียพลังงานใหสิ่งแวดลอมไดอยางไร
หากพิจารณาการถายเทพลังงานระหวางระบบและสิ่งแวดลอมจะเกิดขึ้นไดจาก 3 ปจจัยดวยกันคือ

ปจจัยที่ 1 การถายเทมวลระหวางระบบและสิ่งแวดลอม ระบบไดรับหรือสูญเสียพลังงานจาก


การถายเทมวลระหวางระบบและสิ่งแวดลอมเนื่องจากพลังงานภายในมวลเหลานั้น กลาวคือ เมื่อมีมวล
ขามผานขอบเขตของระบบจากสิ่งแวดลอมเขาสูระบบ จะทําใหระบบไดรับพลังงานภายในมวลที่เคลื่อนที่
เขาเหลานั้น ในทางกลับกันถามวลภายในระบบเคลื่อนที่ผานขอบเขตของระบบออกสูสิ่งแวดลอมจะทําให
ระบบสูญเสียพลังงานภายในมวลเคลื่อนที่ออกเหลานั้น ดวย กรณีระบบปดไมมีการถายเทมวลระหวาง
ระบบและสิ่งแวดลอมปจจัยนี้จึงไมเกิดขึ้นในระบบปด ดังนั้นปจจัยนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะระบบเปดเทานั้น

ปจจัยที่ 2 การถายเทความรอนระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม เมื่ออุณหภูมิของสิ่งแวดลอมสูง


กวาระบบความรอนจะถายเทจากสิ่งแวดลอมเขาสูระบบ ในทางกลับกันหากอุณหภูมิของระบบสูงกวา
สิ่งแวดลอมความรอนจะถายเทจากระบบออกสูสิ่งแวดลอม การถายเทความรอนอาจเกิดขึ้นภายใตกลไก
การถายเทความรอนแบบการนําความรอน การพาความรอน หรือการแผรังสี รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งก็ได
หรืออาจเกิดพรอมๆ กันหลายรูปแบบก็ไดเชนกัน ขึ้นอยูกับปจจัยระหวางระบบและสิ่งแวดลอมวาจะทําให
เกิดการถายเทความรอนรูปแบบใด การถายเทพลังงานสําหรับปจจัยนี้จะเกิดไดทั้งระบบเปดและระบบปด

ปจจัยที่ 3 การถายเทงานระหวา งระบบและสิ่งแวดลอม งานเปน พลังงานอีกชนิดหนึ่งคลาย


ความรอนแตจะเปนพลังงานที่ไมขึ้นกับความแตกตางระหวางอุณหภูมิของระบบและสิ่งแวดลอม พลังงาน
ในรูปของงานชนิด ตางๆ ที่ถายเทระหวางระบบและสิ่ง แวดลอมจะศึก ษาตอไปในหัวขอนี้ การถายเท
พลังงานสําหรับปจจัยนี้จะเกิดไดทั้งระบบเปดและระบบปด
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 31

ดังนั้นระบบเปดจะเกิดการถายเทพลังงานทั้ง 3 ปจจัยดวยกันคือการถายเทพลังงานจากปจจัยการ
ถายเทมวล ปจ จัยการถายเทความรอน และ ปจจัยการถายเทงาน ระหวางระบบและสิ่งแวดลอม และ
ระบบปดจะเกิดการถายเทพลังงานใน 2 ปจจัยคือการถายเทพลังงานจากปจจัยการถายเทความรอน และ
ปจจัยการถายเทงาน ระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม รูปที่ 1.13 แสดงแผนภูมิการถายเทพลังงานของระบบ
เปดและระบบปด

รูปที่ 1.13 การถายเทพลังงานของระบบเปดและระบบปด

งาน คือพลังงานในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากพลังงานในรูปแบบความรอนและงานไมใชพลังงาน


ที่อยูภายในมวลของวัตถุตางๆ ดวย ดังนั้นหากพิจารณาวัตถุหนึ่งเปนระบบปดพลังงานที่ระบบไดรับหรือ
สูญเสียที่ไมไดเกิดจากความแตกตางระหวางอุณหภูมิของระบบกับสิ่งแวดลอมพลังงานเหลานั้นคืองาน
งานตอหนวยมวลของระบบสามารถแสดงไดดังนี้
W
w 1.18
m
โดยที่

W แทน งาน [J]

m แทน มวลของระบบ [kg]

w แทน งานตอหนวยมวลของระบบ [J/kg]

ในทางปฏิบัติพบวาอุปกรณทางวิศวกรรมตางๆ ที่ตองการงานเปนพลังงานในการทํางาน เชน พัด


ลม เครื่องสูบ (Pump) ตูเย็น ฯลฯ และอุปกรณที่ใหหรือผลิตงานเชน เทอรไบ (Turbine) เครื่องยนต ฯลฯ
32 เทอรโมไดนามิกส

จะอางอิงงานในรูปตอหนวยเวลา และเรียกงานตอหนวยเวลาวา กําลังงาน (Power) หมายถึงอัตราของ


งานที่อุปกรณนั้นๆ ไดรับหรือที่อุปกรณนั้นๆ ผลิตได ซึ่งสามารถพิจารณากลับใหอยูในรูปของงานไดโดย
t2
W   W dt 1.19
t1

โดยที่

W แทน กําลังงาน kJ/s หรือ W

t1 แทน เวลาเริ่มตนทํางานของอุปกรณ s

t2 แทน เวลาสิ้นสุดการทํางานของอุปกรณ s

ในสากลนิยมกําหนดใหทิศทางการถายเทงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมดวยการใชสัญลักษณ
บวก (+) นําหนางานที่ระบบผลิตงานไดหรือใหงานกับสิ่งแวดลอม และใชสัญลักษณเครื่องหมายลบ (-)
นําหนางานที่ระบบไดรับจากสิง่ แวดลอมเสมอ หรืออาจกลาวไดวางานที่ระบบผลิตไดหรือใหกบั สิ่งแวดลอม
จะเปนบวกเสมอและงานที่ระบบไดรับจากสิ่งแวดลอมจะเปนลบเสมอเชนเดียวกัน

ในกรอบเนื้อหาของเทอรโมไดนามิกสสามารถแบงงานออกเปน 2 กลุมใหญๆ คือ 1 งานทางไฟฟา


(Electrical Work) และ 2 งานทางกล (Mechanical Work)

งานทางไฟฟา คืองานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน (Electrons) เคลื่อนที่ผานขอบเขตของ


ระบบ การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้เกิดจากความตางศักยไฟฟา กําลังงานไฟฟา (Electrical Power) เกิด
จากอิทธิพลของจํานวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ตอหนวยเวลาหรืออาจเรียกวา กระแสไฟฟา (Current) และ
ความตางศักยไฟฟา ดังนี้

W e  VI 1.20
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 33

โดยที่

W e แทน กําลังงานไฟฟา [W]

V แทน ความตางศักยไฟฟา [V]

I แทน กระแสไฟฟา [A]

ดังนั้นงานไฟฟาจะหาไดจาก
t2
We   VIdt 1.21
t1

โดยที่

We แทน งานไฟฟา [J]

โดยทั่วไปคาความตางศักยและกระแสจะคงที่ตลอดระยะเวลาทํางานของระบบ ทําให VI = คงที่


จากสมการที่ 1.21 จะได

We  VIt 1.22

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.9 ในการตรวจสอบการใชพลังงานของเครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งพบวา เมื่อเครื่องทํางาน


ภายใตภาระ (Onload) พบวาใชกระแสไฟฟา 6 A ความตางศักย 230 V เครื่องปรับอากาศนี้ตองทํางาน
ภายใตภาระ 8 ชั่วโมงตอวัน วันทํางานทั้งหมด 260 วันตอป จงหาพลังงานตอปที่เครื่องปรับอากาศนี้ใช

วิธีทํา

เครื่องปรับอากาศนี้ใชพลังงานในรูปของงานทางไฟฟา ดังนั้นกําลังงานไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศนี้
ใชคือ

W e  VI  230x6  1380W  1.38kW


34 เทอรโมไดนามิกส

จากขอกําหนดของตัวอยางจะเห็น ไดวาเครื่องปรับอากาศใชกําลัง งานไฟฟาคงที่คือ 1.38 kW


ชั่วโมง วัน
จํานวนชั่วโมงทั้งหมดในการทํางานตลอดทั้งปคือ t  8 x260 =2080 hr = 7.488 x 106 s
วัน ป
ดังนั้น
t2 2
We   VIdt   W e dt  1.38 t
t1 1

We = 1.38 kW x (7.488 x 106) s = 10.33 x 106 kJ

งานทางไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศนี้ใชตอปคือ 10.33 x 106 kJ ตอบ

หากพิจารณาเครื่องปรับอากาศเครื่องนี้เปนระบบ จะเห็นไดวาระบบรับงานไฟฟาจากสิ่งแวดลอม
ดังนั้นอาจกลาวไดวางานทางไฟฟาที่ระบบไดรับจะเทากับ -10.33 x 106 kJ

ปจจุบันการรายงานพลังงานไฟฟาที่เครื่องใชไฟฟาตางๆ ใชตอปไมนิยมใชหนวย J หรือ kJ จะนิยม


ใชในหนวย kW.hr แทน ซึ่งพลังงานไฟฟาของเครื่องปรับอากาศนี้ใชตลอดทั้งปจะเทากับ We = 1.38 kW x
2080 hr/year =2,870.4 kW.hr /year

---------------------------------------------------------------------------

งานทางกล คือพลังงานที่ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในทิศทางของแรงที่มากระทํา ดังนั้นการถายเท


งานกลระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมจะเกิดขึ้นจาก 2 ปจจัยตอไปนี้

1. แรงกระทําตองกระทําที่ขอบเขตของระบบ
2. ขอบเขตของระบบจะตองเคลื่อนที่

จากปจจัยทั้งสองสามารถกลาวไดวาการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบโดยแรงกระทําซึ่งทําให
เกิดงานทางกลนั้นอาจเกิดไดใน 2 กรณีคือ กรณีที่ 1 เมื่อมีแรงมากระทํากับขอบเขตของระบบ จะทําให
ขอบเขตของระบบเคลื่อนที่จนทําใหระบบนั้นมีรูปรางและปริมาตรเปลี่ยนไป เชน ถาพิจารณาใหอากาศ
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 35

ภายในลูกโปง ทั้งหมดเปน ระบบ หากมีก ารเติมอากาศเขา ไปในลูกโปง เพิ่มขึ้น จะทําใหเกิดความดัน ของ


อากาศภายในลูกโปงสูงขึ้น ทําใหมีแรงดันพื้นผิวภายในลูกโปงสูงขึ้น แรงดันเหลานี้เปนแรงกระทําที่ขอบเขต
ที่ทําใหรูปรางและปริมาตรของระบบเปลี่ยนไป และ กรณีที่ 2 เมื่อมีแรงกระทําที่ขอบเขตของระบบแลวทํา
ใหระบบเคลื่อนที่จากตําแหนงหนึ่งไปยังอีกตําแหนงหนึ่ง ซึ่งถือไดวาขอบเขตของระบบมีการเคลื่อนที่ตาม
ทิศทางของแรงเชนกัน เมื่อระบบไดรับหรือสูญเสียงานทางกลกับสิ่งแวดลอมอาจเกิดขึ้นเฉพาะในกรณีใด
กรณีหนึ่งหรือเกิดขึ้นทั้ง 2 กรณีพรอมๆ กันได นั้นคืองานทางกลอาจทําใหระบบมีรูปรางเปลี่ยนไปเชนกรณี
ที่ 1 หรืออาจทําใหระบบมีการเคลื่อนที่เชนกรณีที่ 2 ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอกําหนดและปจจัยแวดลอมของ
ระบบและสิ่งแวดลอมในแตละกรณีไป งานทางกลหากพิจารณาจากขอกําหนดและปจจัยแวดลอมของ
ระบบและสิ่งแวดลอมสามารถจําแนกไดเปน 5 ชนิดคือ

1. งานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบ (Moving Boundary Work)


2. งานเนื่องจากแรงโนมถวง (Gravitational Work)
3. งานเนื่องจากความเรง (Acceleration Work)
4. งานเพลา (Shaft Work)
5. งานสปริง (Spring Work)

งานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบ คืองานทางกลที่ทําใหขอบเขตของระบบมี
การเคลื่อนที่จนทําใหรูปรางและปริมาตรของระบบเปลี่ยนไป จากรูปที่ 1.14 แสดงกระบอกสูบบรรจุแก็ส

รูปที่ 1.14 งานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบ


36 เทอรโมไดนามิกส

O2 โดยพิจารณาใหแก็ส O2 ภายในกระบอกสูบเปนระบบ เมื่อแรง F ดันลูกสูบขึ้น จะทําใหลูกสูบเคลื่อนที่


ขึ้นในระยะ ds โดยการเคลื่อนที่ขึ้นของลูกสูบภายใตแรง F จะทําใหปริมาตรของลูกสูบเพิ่มขึ้นดวย งาน
เนื่องจากการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบจึงมีความสัมพันธกับแรง F และระยะการเคลื่อนที่ ds ดังนี้

Wb  Fds

แรง F เปนแรงที่เกิดจาก O2 ความดัน P ผนักดันลูกสูบพื้นที่หนาตัด A ดังนั้น

Wb  Fds  (PA)ds  Pd( sA )

จากสมการขางตนจะเห็นไดวา d(sA) คือ ปริมาตรของระบบที่เปลี่ยนไป d(sA)=dV ดังนั้น

Wb  Pd( V )

งานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของขอบเขตของระบบสุทธิภายใตการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของระบบ
dV ภายใตปริมาตรเริ่มตนของระบบ V1 และปริมาตรสุดทายของระบบ V2 คือ
2
Wb   PdV 1.23
1

โดยที่

Wb แทน งานเนื่องจากขอบเขตของระบบ [kJ]

P แทน ความดันภายในระบบ [kPa]

V แทน ปริมาตรของระบบ [m3]

จากรูปที่ 1.14 เมื่อพิจารณารวมกับสมการที่ 1.23 จะเห็นไดวาเมื่อแรงเนื่องจากความดัน P ภายใน


ระบบผลักดันลูกสูบทําใหลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นและจะทําใหปริมาตรของระบบเพิ่มขึ้น เนื่องจากแรงที่ผลักดัน
ลูกสูบนี้เปนแรงของระบบภายใตความดัน P ภายในระบบจึงกลาวไดวา งานเนื่องจากขอบเขตของระบบดัง
รูปที่ 1.14 เปน งานที่เ กิด จากการกระทํา ของระบบใหกั บสิ่ ง แวดลอม นั่ น คื อระบบสูญ เสีย งานใหกั บ
สิ่งแวดลอม และเมื่อปริมาตรของระบบเพิ่มขึ้น V2 > V1 จากสมการที่ 1.23 จะเห็นไดวา Wb จะเปนมีคา
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 37

มากกวาศูนย (+) เสมอ ในทางกลับกันหากระบบไดรับ งานเนื่อ งจากขอบเขตของระบบจากสิ่งแวดลอม


ปริมาตรของระบบจะลดลง V2 < V1 และจากสมการที่ 1.23 เห็นไดวา Wb จะมีคานอยกวาศูนย (-) เสมอ

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.10 แท็งกคงรูป (Rigid Tank) บรรจุอากาศความดัน 500 kPa และ อุณหภูมิ 150๐C ถายเท
ความรอนกับสิ่งแวดลอมโดยรอบทําใหความดันและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปเปน 400 kPa และ 65๐ C
ตามลําดับ จงหางานเนื่องจากขอบเขตของปรากฏการณนี้

วิธีทํา

P1 = 500kPa แท็งกคงรูป
T1 = 150๐C
Q
อากาศ
P2 = 400 kPa
T2 = 65๐C

กําหนดใหอากาศภายในแท็ง กทั้ง หมดเปน ระบบ เนื่องจากอากาศภายในแท็ ง กเปนสถานะแก็ส


ดังนั้นปริมาตรของอากาศจึงเทากับปริมาตรของแท็งก แท็งกนี้เปนแท็งกคงรูปหมายถึงแท็งกนี้จะไมมีการ
เปลี่ยนแปลงรูปรางหรือปริมาตรเลยไมวาจะอยูภายใต ปรากฏการณ ใ ดทางเทอรโ มไดนามิก ส ดัง นั้น
ปริมาตรอากาศภายในแท็งกจึงไมมีการเปลี่ยนแปลงดวยตลอดปรากฏการณที่โจทยกําหนด ดังนั้นอากาศ
ภายในแท็งกจึงมี V  0 (dV = 0) งานเนื่องจากขอบเขตคือ
2
Wb   PdV และ dV  0
1

Wb = 0 kJ

งานเนื่องจากขอบเขตเทากับ 0 kJ ตอบ

ตัวอยางขอนี้ทําใหทราบวาถากําหนดใหสสารภายในแท็งกคงรูปเปนระบบและสสารนั้นมีสถานะ
แก็ส ปริมาตรของระบบจะคงที่เสมอไมวาระบบจะอยูภายใตปรากฏการณทางเทอรโมไดนามิกสใด
38 เทอรโมไดนามิกส

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.11 กระบอกสูบไมมีความเสียดทานและลูกสูบมีน้ําหนักนอยมากบรรจุไอน้ํามวล 2 kg ความ


ดัน 100kPa อุณหภูมิ 150๐C ความหนาแนน 0.5164 kg/m3 เมื่อไดรับความรอนจากสิ่งแวดลอมทําใหมี
อุณหภูมิสูงขึ้นเปน 200๐C ความหนาแนน 0.460 kg/m3 และมีความดันเทาเดิมคือ 100 kPa จงหางาน
เนื่องจากขอบเขตของปรากฏการณนี้

วิธีทํา

กําหนดใหไอน้ําภายในกระบอกสูบเปนระบบ ตลอดปรากฏการณที่โจทยกําหนดกระบวกสูบไมได
รับไอน้ําเพิ่มขึ้นหรือสูญเสียไอน้ําดังนั้นมวลของไอน้ําจึงคงที่ m1=m2= 2 kg จากขอกําหนดของตัวอยางจะ
เห็นไดวากอนและหลังไดรับความรอนไอน้ํามีความหนาแนน จึงสงผลใหปริมาตรของไอน้ํากอนและหลัง
ไดรับความรอนเปลี่ยนไปดวยดังนี้
m1 2 kg 3
ปริมาตรไอน้ํากอนไดรับความรอน V1    3. 87 m
 1 0.5164 kg / m 3
m2 2 kg
ปริมาตรไอน้ําหลังไดรับความรอน V2   3
 4.348 m3
 2 0.460 kg / m

ตลอดกลไกการถายเทความรอนระบบมีความดันคงที่คือ P1 = P2 = P = 100 kPa เนื่องจากระบบ


มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร เนื่องจากการเคลื่อนที่ของลูกสูบจึงทําใหขอบเขตของระบบมีการเคลื่อนที่ จึง
เกิดงานเนื่องจากขอบเขตขึ้น กลาวคือ
2
Wb   PdV  P( V2  V1 )  100kPa( 4.348  3.87 )m 3
1
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 39

Wb = 47.8 kJ

ปริมาตรภายในระบบสูงขึ้นจากการที่ระบบผลักดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเปนงานเนื่องจาก
ขอบเขตที่ระบบใหกับสิ่งแวดลอมมีคาเทากับ 47.8 kJ ตอบ

ในทางกลับกันหากปริมาตรของระบบลดลงแสดงวาสิ่งแวดลอมภายนอกกระบอกสูบเปน ฝาย
ผลักดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ อาจกลาวไดวาเปนงานเนื่องจากขอบเขตที่ระบบไดรับจากสิ่งแวดลอม

ขอสังเกตของตัวอยางนี้จะเห็นวาตลอดปรากฏการณที่กําหนดความดันของไอน้ําในกระบอกสูบจะ
คงที่ เนื่องจากสมมติฐานใหกระบอกสูบไมมีความเสียดทานและลูกสูบมีน้ําหนักนอยมาก ดังนั้นในขณะ
ระบบมีปริมาตรเปลี่ยนไปเนื่องจากการเคลื่อนที่ของลูกสูบจะไมปรากฏแรงตานใดๆ ขึ้น สงผลใหลูกสูบ
เคลื่อนที่โดยอิสระตามการขยายตัวของสารที่อยูภายในระบบ จึงทําใหความดัน ของสารภายในระบบคงที่
ดวย ตลอดทั้งเอกสารนี้หากพิจารณาใหลู กสูบเคลื่อนที่ภายในกระบอกสูบอยางไมมีความเสียดทาน ไร
น้ําหนัก และไมปรากฏแรงตานอื่นใด เพื่อใหเกิดความกระชับในเอกสารนี้ข อใหคําจํากัดความลูกสูบนี้วา
ลูกสูบอิสระ ซึ่งสามารถพิจารณาไดวาความดันของสารในสถานะแก็สภายในกระบอกสูบที่มีลูกสูบอิสระ
จะมีความดันคงที่เสมอไมวาสารนั้นจะอยูภายใตกระบวนการใด

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.12 ในกระบวนการอัดหรือขยายตัวของแก็สจริง ความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตร


จะอยูในรูปสมการ PVn = C โดยที่ n และ C เปนคาคงที่ ในกระบวนการอัดหรือขยายตัวของแก็สกําหนดให
P1 และ V1 แทนความดันและปริมาตรของแก็สเมื่อเริ่มตนกระบวนการ และ P2 และ V2 แทนความดันและ
ปริมาตรของแก็สเมื่อเริ่มสิ้นสุดกระบวนการ จงแสดงงานเนื่องจากขอบเขตภายใตความสัมพันธนี้

วิธีทํา

จากความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตรของกระบวนการอัดและขยายตัวของแก็สจริง คือ
PVn = C ดังนั้น

C
P
Vn
40 เทอรโมไดนามิกส

งานเนื่องจากขอบเขตคือ
2
C
2
V2  n 1  V1  n 1
Wb   PdV   n dV  C
1 1 V n1

เพราะวา C = P1V1n=P2V2n ดังนั้น


P2 V2  P1 V1
Wb 
1n

ในความเปนจริงกระบวนการอัดและขยายตัวของแก็สจริงจะมีความสัมพันธระหวางความดันและ
ปริมาตรเขาใกลความสัมพันธ PVn = C ตามที่กําหนดในตัวอยางนี้ทุกประการ กระบวนการอัดและขยายตัว
ภายใตกระบวนการนี้เรียกวา กระบวนการโพลีโทรปก (Polytropic Process)

---------------------------------------------------------------------------

งานเนื่องจากแรงโนมถวง คืองานทางกลที่ทําใหระบบเกิดการเคลื่อนที่จากแรงโนมถวงหรืองาน
ที่ทําใหระบบเกิดการเคลื่อนที่ตานแรงโนมถวง แรงโนมถวงที่กระทําตอระบบสามารถแสดงดวยกฎการ
เคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton s Law of Motion) ดังนี้

F  mg
โดยที่

F แทน แรงโนมถวง [N]

m แทน มวลของระบบ [kg]

g แทน ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง [m/s2]

รูปที่ 1.15 แสดงการเคลื่อนที่ของระบบตานแรงโนมถวงจากระดับ z1 ไปยัง ระดับ z2 ซึ่งงาน


เนื่องจากแรงโนมถวงของระบบนี้คือ
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 41
2 2
Wg   Fdz  mg  dz  mg(z 2  z 1 ) 1.24
1 1

โดยที่

Wg แทน งานเนื่องจากแรงโนมถวง [kJ]

รูปที่ 1.15 งานเนื่องจากแรงโนมถวง

เมื่อระบบเคลื่อนที่ในทิศทางตานแรงโนมถวงดังแสดงใน รูปที่ 1.15 จากสมการที่ 1.24 จะเห็นไดวา


Wg จะมีคามากกวาศูนย ในทางกลับกันหากระบบเคลื่อนที่ตามทิศทางของแรงโนมถวง Wg จะมีคานอยกวา
ศูนยเสมอซึ่งถือไดวาเปนงานที่ระบบถูกกระทําโดยสิ่งแวดลอม

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.13 กลองขนาด 5 kg ดังรูป ถูกยกขึ้นใหสูงขึ้น 1 m จงหางานที่ผูยกตองใช

วิธีทํา

ผูยกยกกลองสูงขึ้น 1 m แสดงวาผูยกใหงานเนื่องจากแรงโนมถวงใหกับกลอง ดังนั้น

Wg  mg( z 2  z 1 )  mgz  5 x 9.81x1  49.05 J

งานที่ผูยกตองใชเทากับ 49.05 J ตอบ


42 เทอรโมไดนามิกส

หากกําหนดใหผูยกกลองเปนระบบแสดงวาเปนงานที่ระบบใหกับกลองซึ่งเปนสิ่งแวดลอม ดัง นั้น


งานเนื่องจากแรงโนมถวงนี้จึงเปนบวกคือ 49.05 J ในทางกลับกันถาพิจารณากลองเปนระบบจะถือไดวาผู
ยกกลองเปนสิ่งแวดลอม ดังนั้นงานเนื่องจากแรงโนมถวงนี้จึงเปนลบคือ -49.05 J

ขอสัง เกตของตัวอยางนี้จะเห็นวาผูยกยกกลองใหสูงขึ้น โดยใชง านเนื่องจากแรงโนมถวงเทากับ


49.05 J ในขณะที่กลองมีระดับสูงขึ้น 1 m ดังนั้นกลองจะมีพลังงานศักยเพิ่มขึ้นเปน 49.05 J เชนกัน ถา
พิจารณาใหกลองเปนระบบ แสดงวาระบบจะรับงานเนื่องจากแรงโนมถวงเทากับ -49.05 J และงานนี้จะ
เปลี่ยนรูปเปนพลังงานศักยของระบบ ทําใหระบบมีพลังงานในรูปของพลังงานศักยเพิ่มขึ้นในขนาดที่เทากัน

---------------------------------------------------------------------------

งานเนื่องจากความเรง คืองานทางกลที่ทําใหร ะบบมีค วามเร็วเปลี่ยนแปลงไป จากกฎการ


เคลื่อนที่ของนิวตัน แรงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วของระบบจะเทากับ

F  ma
โดยที่

F แทน แรงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วของระบบ [N]

a แทน ความเรงของระบบ [m/s2]

m แทน มวลของระบบ [kg]

ความเรง ของระบบหมายถึ ง อัต ราการเปลี่ย นแปลงความเร็ ว เที ย บต อ เวลา หากเขีย นในรู ป
ความสัมพันธเชิงอนุพันธของความเร็วและการขจัด (Displacement) ตอเวลาจะได

dv e d 2 s
a  2
dt dt
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 43

โดยที่

s แทน การขจัด [m]

ความสัมพันธเชิงอนุพันธระหวางความเร็วและการขจัดเทียบตอเวลาคือ ds  v e dt ดังนั้นงาน
เนื่องจากการความเรงจะแสดงไดดังนี้
2 2
dv
Wa   Fds    m e v e dt  1.25
1 1 dt 
ถาระบบมีมวลคงที่ (m = คงที่) ดังนั้น
2
1
Wa  m  v e dv e  m(v e 2 2  v e1 2 ) 1.26
1 2

โดยที่

ve1 แทน ความเร็วในเวลาเริ่มตนของระบบ [m/s]

ve2 แทน ความเร็วในเวลาสุดทายของระบบ [m/s]

งานเนื่องจากความเรงจะเกิดขึ้นเมื่อระบบมีความเรงเกิดขึ้นและจะเทากับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
จลนของระบบเสมอ เมื่อระบบมีความเรงทําใหมีความเร็วสูงขึ้นถือวาระบบเปนผูใหงาน ซึ่งจะทําให Wa ที่
ไดจากผลลัพธของสมการที่ 1.25 หรือ สมการที่ 1.26 มีคามากกวาศูนย ในทางกลับกันเมื่อระบบอยูภายใต
ความหนวงซึ่งจะทําใหความเร็วของระบบลดลงถือไดวาระบบไดรั บงานจากสิ่งแวดลอมจะทําให Wa มีคา
นอยกวาศูนย
44 เทอรโมไดนามิกส

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.14 จงหากําลังงานที่ทําใหรถยนตมวล 900 kg มีความเร็วเพิ่มขึ้นจากหยุดนิ่งเปน 80 km/hr


ในระยะเวลา 20 s ดังรูป

วิธีทํา

พลังงานที่ทําใหรถซึ่งวิ่งบนถนนในแนวระดับมีความเร็วเปลี่ยนไปคืองานเนื่องจากความเรง รถวิ่ง
จากหยุดนิ่ง 0 m/s เปน 80km/hr = 22.22 m/s เมื่อรถมีมวลคงที่ ดังนั้น

1 1
Wa  m(v e 2 2  v e 1 2 )  900(22.22 2  0 2 )
2 2

Wa = 222177.78 J = 222.178 kJ

กําลังงานของงานเนื่องจากความเรงนี้ในเวลา 20 s พิจารณาไดจาก
t2
Wa   W a dt
t1

Wa 222.178
W a  
t 20
W a  11.1 kW ตอบ

งานเนื่องจากความเรงนี้เปนงานที่รถกระทํา หากพิจารณารถเปนระบบก็หมายความวาเปนงานที่
ระบบใหกับสิ่งแวดลอม และทําใหรถหรือระบบมีพลังงานจลนเปลี่ยนไปดวยขนาดเทากันคือ 222.178 kJ

---------------------------------------------------------------------------
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 45

งานเพลา คืองานทางกลที่เกิด จากการหมุนของเพลาเมื่อเพลาเปนระบบหรือเปนสวนหนึ่งของ


ระบบ ถาใหโมเมนตบิด (Torque) ที่กระทําบนเพลาคงที่ จะทําใหแรงที่กระทําบนเพลามีขนาดคงที่ดวย ดัง
สมการตอไปนี้

F
r

โดยที่
.
 แทน โมเมนตบิดที่กระทําบนเพลา [N m]

r แทน รัศมีในทิศตั้งฉากกับแรง [m]

ภายใตแ รง F ถากําหนดใหเพลาหมุน n รอบ จะทําใหร ะยะการเคลื่อนที่เชิงเสนของเพลา (s)


เทากับผลคูณระหวางเสนรอบวงของเพลากับจํานวนรอบที่เพลาหมุน s  ( 2 r )n ดังนั้นจะทําใหไดงาน
เพลาคือ


Wsh  Fs    2 rn   2 n 1.27
r
โดยที่

Wsh แทน งานเพลา [J]

W sh  2 n

รูปที่ 1.16 งานเพลาเปนสัดสวนโดยตรงกับโมเมนตบดิ และจํานวนรอบการหมุน


46 เทอรโมไดนามิกส

จากภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection) รูปที่ 1.16 แสดงงานเพลาดังสมการที่ 1.27


เปนสัดสวนโดยตรงกับโมเมนตบิดและจํานวนรอบการหมุนของเพลา จากสมการที่ 1.27 ทําใหไดวางาน
เพลาตอหนวยเวลาหรือกําลังงานเพลาจะสัมพันธระหวางอัตรารอบการหมุนของเพลาและโมเมนตบิดบน
เพลาคือ

W sh  2 n 1.28

โดยที่

W sh แทน กําลังงานเพลา [W]

n แทน จํานวนรอบการหมุนตอเวลา [rev/s]

ถาใหเพลาเปนระบบหรือเปนสวนหนึ่งของระบบ หากระบบเปนตนกําลังในการหมุนเพลา งานเพลา


และกําลังงานเพลาดังแสดงในสมการที่ 1.27 และ สมการที่ 1.28 จะมีเครื่องหมายเปนบวกหรือมากกวา
ศูนยและในทางกลับกันหากสิ่งแวดลอมเปนตนกําลังในการหมุนเพลางานเพลาจะมีคาเปนลบหรือนอยกวา
ศูนย

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.15 เพลาของรถยนตคันหนึ่งมีโมเมนตบิดเทากับ 200 N m เมื่อเพลาหมุนดวยอัตราความเร็ว


รอบ 4000 rev/min จงหากําลังงานของรถยนตคันนี้

วิธีทํา

กําหนดใหรถยนตเปนระบบ และใชเครื่องยนตเปนตนกําลังทําใหเพลาหมุนได เครื่องยนตและเพลา


ของรถคันนี้เปนสวนหนึ่งของระบบ ดังนั้นกําลังงานเพลาก็คือกําลังงานของรถยนตนี้ดวย ดังนั้น

W sh  2 n  2 x 4000x200  5026.548kJ / min

W sh  83.775 kW

กําลังงานของรถยนตนี้คือ 83.775 kW ตอบ


บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 47

เมื่อพิจารณาใหรถยนตเปนระบบแสดงวางานนี้เปนงานที่ระบบเปนผูกระทํา หรือ อาจกลาวไดวา


ระบบใหงานนี้กับสิ่งแวดลอม ดังนั้นกําลังงานของรถยนตคันนี้ควรมีเครื่องหมายเป นบวก (+83.775 kW)
ในทางกลับกันหากมีงานจากสิ่งแวดลอมเปนตนกําลังมาหมุนเพลาทําใหรถยนตนี้เคลื่อนที่ ไดจะแสดงวา
เปนงานที่สิ่งแวดลอมกระทําใหกับระบบและควรกําหนดเครื่องหมายของงานนี้ใหเปนลบ (-83.775 kW)

---------------------------------------------------------------------------

งานสปริ ง คื องานทางกลที่ทํ าใหส ปริง มีค วามยาวเพิ่ม ขึ้ น หรือ ลดลงภายใต แ รงกระทํ าหาก
พิจารณาใหสปริงเปนระบบหรือสวนหนึ่งของระบบ เมื่อมีแรงมากระทํากับสปริงจะทําใหสปริง ยืดออกหรือ
หดเขาจากความสัมพันธเชิงเสนตอไปนี้

F  kx 1.29

โดยที่

F แทน แรงกระทําตอสปริง [N]

K แทน คาคงที่ของสปริง [N.m]

x แทน ระยะยืดออกหรือระยะหดเขาของสปริง [m]

ดังนั้นงานสปริงจะแสดงไดดังตอไปนี้
2 2
Wspring   Fdx   kxdx 1.30
1 1

โดยที่

Wspring แทน งานสปริง [J]

ถาใหสปริงมีคาคงที่ของสปริงคงที่ (k = คาคงที่) จากสมการที่ 1.30 จะได


2
1
Wspring  k  xdx  k ( x 2 2  x 1 2 ) 1.31
1 2
48 เทอรโมไดนามิกส

โดยที่

x1 แทน ความยาวเริ่มตนของสปริง [m]

x2 แทน ความยาวสุดทายของสปริง [m]

หากระบบเปนตนกําลังของแรง F แสดงระบบเปนผูใหงานสปริงงานสปริง ควรกําหนดใหงานสปริง


มีเครื่องหมายเปนบวก แตหากระบบไดรับแรง F จากสปริง แสดงระบบเปนไดรับงานสปริง ควรกําหนดให
งานสปริงมีเครื่องหมายเปนลบ

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 1.16 แก็สชนิดหนึ่งบรรจุอยูภายในกระบอกสูบมีปริมาตร 0.05 m3 ความดัน 200 kPa เมื่อ


ไดรับความรอนทําใหปริมาตรและความดันของแก็สเพิ่มขึ้นเปน 0.1 m3 และ 320 kPa ตามลําดับ ในขณะที่
แก็สภายในกระบอกสูบขยายตัวโดยการเคลื่อนที่ของลูกสูบ ในขณะที่ลูกสูบ เริ่มเคลื่อนที่จากการขยายตัว
ของแก็สจะถูกตานดวยสปริงที่ติดตั้งไวดังรูป ซึ่งจะทําใหสปริงยุบตัวลง 0.2 m โดยสปริงมีคาคงที่สปริง
เทากับ 150 kN/m จงหางานสุทธิของแก็สภายในกระบอกสูบและงานสปริง สมมติวาการเคลื่อนที่ของ
ลูกสูบไมมีความเสียดทานและเปนลูกสูบไรน้ําหนัก

P(kPa)
k=150kN/m
320 2

220 1

แก็ส
Q
V(m3)
0.05 0.1

วิธีทํา

กําหนดใหแก็สภายในกระบอกสูบเปนระบบ เมื่อสมมติฐานใหก ารเคลื่อนที่ของลูกสูบไมมีความ


เสียดทานและเปนลูกสูบไรน้ําหนัก ดังนั้นเมื่อแก็ส มีการขยายตัวระบบจะถูกตานโดยแรงสปริง เนื่องจาก
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 49

แรงต านของสปริง มี ผลทํา ให ค วามดั น ของแก็ส ในกระบอกสูบ เพิ่ มขึ้ น จากความดัน เริ่ มต น 220 kPa
กลายเปน 320 kPa

เมื่อใหแก็สภายในกระบอกสูบเปนระบบ ดัง นั้น งานของระบบคืองานที่ทําใหขอบเขตของระบบ


เคลื่ อนที่ โ ดยการขยายตั ว ของแก็ ส จนทํา ให ปริ ม าตรของระบบเปลี่ย นไป คื องานเนื่ อ งจากขอบเขต
2
Wb   PdV จากรูปจะเห็นไดวางานเนื่องจากขอบเขตคือพื้นที่ใตกราฟ P-V ของการดําเนินกระบวนการ
1

จากสภาพเริ่มตนจนถึงสภาพสิ้นสุดกระบวนการดังนั้น

1
Wb  (320  220)x(0.1  0.05)  220x(0.1  0.05)  2.5  11 kJ
2
Wb  13.5 kJ

งานสุทธิของแก็สที่กระทําตอสิ่งแวดลอมคือ 13.5 kJ ตอบ

เมื่อแก็สภายในระบบขยายตัวจะทําใหสปริงยุบตัวลง 0.2 m ดังนั้นงานสปริงจะเทากับ


1 1
Wspring  k ( x 2 2  x 1 2 )  x150x(0.2 2  0 2 )
2 2
Wspring  2.5 kJ

งานที่แก็สกระทําตอแรงตานของสปริงคือ 2.5 kJ ตอบ

พิจารณาจากตัวอยางนี้จะเห็นไดวาหากลูกสูบเปนลูกสูบอิสระ โดยไมเกิดแรงตานใดๆ ความดัน


ของแก็สจะคงที่ตลอดกระบวนการขยายตัวของกระบอกสูบคือมีความดันเทากับ 220 kPa จึงทําใหกลาวได
วาแรงตานจากสปริงมีอิทธิพลตอการเพิ่มขึ้นของความดันแก็สในขณะขยายตัว ด วยเหตุนี้จึงสังเกตุไดวา
งานเนื่องจากขอบเขตในสวนพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉากบนแผนภูมิ P-V ที่ระบบกระทํานั้นก็เพื่อเอาชนะงาน
สปริงที่ตานการเคลื่อนที่ของลูกสูบในขณะระบบกําลังขยายตัวซึ่งก็คือ 2.5 kJ

---------------------------------------------------------------------------
50 เทอรโมไดนามิกส

1.7 คุณสมบัติ สภาวะและกระบวนการ

คุณลักษณะของระบบสามารถอธิบายไดดวยคุณสมบัติของระบบ (Properties) เชน ความดัน P


อุณหภูมิ T ปริมาตร V และ มวล m เปนตน โดยคุณสมบัติของระบบบางชนิดอาจขึ้นตอกันได เชน ความ
หนาแนน หมายถึง สัดสวนของมวลตอปริมาตร

m
 1.32
V
โดยที่

 แทน ความหนาแนน [kg/m3]

ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume) คือ สัดสวนของปริมาตรตอมวล ซึ่งเปนสวนกลับของความ


หนาแนน กลาวคือ

V 1
v  1.33
m 
โดยที่

v แทน ปริมาตรจําเพาะ [m3/kg]

ความหนาแนนสัมพัทธ (Relative Density) คือสัดสวนของความหนาแนนของสารที่พิจารณาตอ


ความหนาแนนของสารมาตรฐานชนิดหนึง่ ภายใตอุณหภูมิที่กําหนด (เชน ความหนาแนนของน้ําที่อุณหภูมิ 4

C ซึ่งเทากับ H O = 1000 kg/m3) โดยทั่วไปนิยมเรียกวา ความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) กลาวคือ
2


s  1.34
 H2O

คุณ สมบัติข องระบบสามารถจํา แนกไดเป น 2 กลุม คือ 1 คุณ สมบัติ ที่ขึ้น กับขนาด (Extensive
Properties) และ 2 คุณสมบัติที่ไมขึ้นกับขนาด (Intensive Properties)
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 51

กลุมที่ 1 คุณสมบัติที่ขึ้นกับขนาด หมายถึง คุณสมบัติของระบบที่มีคาเปลี่ยนไปเมื่อขนาดของ


ระบบมีการเปลี่ยนแปลง เชน มวล m ปริมาตร V และ พลังงานรวม E เปนตน

กลุมที่ 2 คุณสมบัติที่ไมขึ้นกับขนาด หมายถึง คุณสมบัติที่มีคาไมเปลี่ยนแปลงเมื่อขนาดของ


ระบบเปลี่ยนแปลงไป เชน ความดัน P อุณหภูมิ T และ ความหนาแนน  เปนตน

การพิจ ารณาคุณสมบั ติชนิด หนึ่งวาเปน คุณ สมบัติก ลุม ใด อาจพิจ ารณาไดโ ดยการแบง ระบบ
ออกเปน สวนเทาๆ กัน หากคุณ สมบัติใ ดยังคงมีคาไมเปลี่ยนแปลงไปตามสวนของระบบที่ถูกแบงนั้นจะ
สามารถพิ จ ารณาได ว า คุ ณ สมบั ติ นั้ น เป น คุ ณ สมบั ติ ที่ ไ ม ขึ้ น กั บ ขนาดและหากมี คุ ณ สมบั ติ ใ ดมี ค า
เปลี่ยนแปลงไปตามสวนตางๆ ที่ถูกแบงนั้นจะถือไดวาเปนคุณสมบัติที่ขึ้นกับขนาด แสดงดังรูปที่ 1.17

รูปที่ 1.17 การพิจารณาคุณสมบัติที่ขนึ้ กับขนาดและไมขึ้นกับขนาด

เปน การยุงยากในทางปฏิบัติใ นการพิจารณาคุณ สมบัติที่ขึ้น กับขนาดเมื่อขนาดของระบบมีการ


เปลี่ยนแปลงไปเพราะคุณสมบัติเหลานี้จะมีคาเปลี่ยนแปลงตามไปดวย เพื่อลดความยุง ยากดังกลาวจึง
พิจ ารณาคุณสมบัติที่ขึ้นกับขนาดเหลานี้ใ นรูปตอหนวยมวลของระบบซึ่ง เรียกวา คุณสมบัติจํา เพาะ
(Specific Properties) และเปลี่ยนอักษรตัวพิมพใหญที่ใชแทนคุณสมบัติที่ขึ้นกับขนาดของระบบเหลานั้นให
เปนอักษรเดียวกันตัวพิมพเล็กแทน เชน ปริมาตรจําเพาะ (v=V/m) พลังงานรวมจําเพาะ (e=E/m) และ
พลังงานภายในจําเพาะ (u=U/m)

สภาวะของระบบ (System State) คือชุดคุณสมบัติของระบบเพื่อใชในการอธิบายถึงสภาพของ


ระบบที่ทําการพิจารณา เชน อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตรจําเพาะ พลังงานรวมของระบบ เปนตน ในสภาวะ
52 เทอรโมไดนามิกส

หนึ่งๆ คุณสมบัติของระบบทั้งหมดจะคงที่ หากคุณสมบัติใดคุณสมบัติหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจะถือไดวา


สภาวะของระบบนั้ น เปลี่ยนแปลงไป โดยที่ก ารเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบเรีย กวา กระบวนการ
(Process) เมื่อระบบมีการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะหนึ่งและกําลังดําเนินอยางตอเนื่องสูอีกสภาวะหนึ่งใน
ระหวางกระบวนการเรียกวา เสนทางการดําเนินกระบวนการ (Process Path) รูปที่ 1.17 แสดงสภาวะเริ่น
ตนสภาวะที่ 1 สภาวะสุดทายสภาวะที่ 2 และ เสนทางการดําเนินกระบวนการ

รูปที่ 1.17 สภาวะเริ่นตน สภาวะสิ้นสุด และ เสนทางการดําเนินกระบวนการ

การระบุสภาวะของระบบสามารถระบุไดดวยคุณสมบัติที่ไมขึ้นตอกันของระบบอยางนอย 2 ชนิด
เชน การระบุสภาวะของระบบดวยอุณหภูมิแ ละปริมาตรจําเพาะ การระบุสภาวะของระบบดวยความดัน
และปริมาตรจําเพาะ เปนตน

การระบุสภาวะของระบบดวยอุณหภูมิและความดันสามารถทําไดเฉพาะในกรณีที่สารภายในระบบ
ไมมีการเปลี่ยนสถานะหรือสารภายในระบบมีเพียงสถานะเดียวเพราะวา อุณหภูมิและความดันของสารจะ
ขึ้นตอกันในขณะที่สารในระบบมีการเปลี่ยนสถานะ เชน หากพิจารณาใหน้ําเปนสารภายในระบบจะพบวา
น้ําที่ระดับน้ําทะเล(Sea Level) ความดัน 101.3 kPa จะเดือดที่อุณหภูมิ 100๐C ในขณะที่ น้ําที่ความดัน 200
kPa จะเดือดที่อุณหภูมิ 120.23๐C เปนตน แสดงวาในขณะที่สารเปลี่ยนสถานะความดันและอุณหภูมิของ
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 53

สารจะขึ้นตอกันกลาวคือ T=f(P) ในขณะเดียวกันหากคุณสมบัติที่ไมขึ้นตอกันเหลานี้มีการเปลี่ยนแปลงจะ


สามารถกลาวไดวาระบบอยูภายใตกระบวนการ

สภาวะสมดุล (Equilibrium State) คือ สภาวะใดๆ ของระบบที่ไมมีปจจัยใดๆ ที่ทําใหระบบมีการ


เปลี่ ย นแปลง กล า วคื อ การที่ร ะบบจะมี ส ภาวะสมดุ ล ได นั้ น ระบบจะต อ งไมไ ด รั บ อิท ธิ พ ลใดๆ จาก
สิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามในทางเทอรโมไดนามิกสบางระบบอาจไมอยูภายใตสภาวะสมดุลตามความหมาย
ขางตนอยางสมบูรณ แตเปนระบบที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติบางอยางก็จะเรียกสภาวะนั้นวาสภาวะ
สมดุลไดเชนกัน เชน สภาวะสมดุลทางความรอน (Thermal Equilibrium State) คือ ระบบที่มีอุณหภูมิคงที่
ไมเปลี่ยนแปลงและอุณหภูมิของทุกสวนภายในระบบจะตองเทากัน สภาวะสมดุลทางกล (Mechanical
Equilibrium State) คือระบบที่มีความดันภายในสวนตางๆ ของระบบคงที่ไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา สภาวะ
สมดุลทางเคมี (Chemical Equilibrium State) คือระบบที่มีองคประกอบทางเคมีคงที่ สภาวะสมดุล
สถานะ (Phase Equilibrium State) คือ ระบบที่มีมวลในแตละสถานะของระบบคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตาม
เวลา ทั้งนี้สภาวะสมดุลสถานะสามารถพิจารณาไดเฉพาะระบบที่มีมากกวา 1 สถานะเทานั้น

กระบวนการใดที่ทําใหระบบอยูภายใตสภาวะใกลเคียงกับสภาวะสมดุลในทุกๆ เวลาระหวางการ
ดําเนินกระบวนการจะเรียกกระบวนการนั้น วา กระบวนการสมดุลควอไซ (Quasi-Equilibrium State)
กระบวนการสมดุล ควอไซอาจเกิด ขึ้น ไดหากการดําเนิน กระบวนการนั้น เปน ไปอยางชาๆ เพื่อใหระบบ
สามารถปรับคุณสมบัติภายในระบบใหมีความเทากันในทุกๆ สวนภายในระบบ รูปที่ 1.18 แสดงการดําเนิน
กระบวนการอัดอยางชาๆ เปรียบเทียบกับการดําเนินกระบวนการอยางรวดเร็วของกระบอกสูบ โดยใหแกส
ที่อยูภายในกระบอกสูบเปนระบบ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ในทิศทางการอัดอยางรวดเร็วจะทําใหไมมีเวลาเพียง
พอทีจ่ ะทําใหอานุภาคของแก็สกระจายอยางสม่ําเสมอภายในกระบอกสูบ ซึ่งทําใหเกิดความหนาแนนของ
แก็สมากในบริเวณใกลผิวหนาของลูกสูบ สงผลใหสวนของระบบที่อยูใกลผิวหนาลู กสูบมีความดันสูงกวา
ความดันของแก็สในกระบอกสูบในสวนที่อยูหา งจากผิวหนาของลูกสูบออกไป ดังนั้นจะเห็นไดวาการดําเนิน
กระบวนการอัดอยางรวดเร็วจะทําใหระบบไมอยูในสภาวะสมดุล เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ในทิศทางอัดอยางชาๆ
อานุภาคของแก็สจะมีเวลาเพียงพอที่จะกระจายอยางสม่ําเสมอตลอดทั้งกระบอกสูบมีผลใหความดันของ
แก็สภายในระบบมีความสม่ําเสมอและเทากันตลอดทั้งระบบซึ่งจะถือไดวาเปนกระบวนการสมดุลควอไซ
54 เทอรโมไดนามิกส

การอัดแบบชาๆ (สมดุลควอไซ) การอัดแบบรวดเร็ว

รูปที่ 1.18 การดําเนินกระบวนการอัดอยางชาๆ และการดําเนินกระบวนการอัดอยางรวดเร็ว

ในความเปนจริงการเกิดกระบวนการทางเทอรโมไดนามิกสนั้นเปนการยากที่จะทําใหกระบวนการ
นั้นๆ เปนกระบวนการสมดุลแบบควอไซ อยางไรก็ตามการดําเนินกระบวนการจริงจํานวนมากสามารถ
อนุมานใหเปนกระบวนการสมดุลแบบควอไซไดโดยมีความคลาดเคลื่อนไปจากกระบวนการจริง อยูใ น
เกณฑที่ยอมรับได การสมมติฐานใหกระบวนการจริงเปนกระบวนการสมดุลแบบควอไซนั้นจะทําใหการ
วิเคราะหกระบวนการมีความงายขึ้น เพราะจะสามารถกําหนดเสน ทางการดําเนิน กระบวนการไดอยาง
ชัดเจน

กระบวนการทางเทอรโมไดนามิกสที่ใชคํานําหนากระบวนการวา ไอโซ (Iso) เปนกระบวนการที่จะ


รักษาคุณสมบัติบางคุณสมบัติของระบบใหคงที่ เชน กระบวนการไอโซเทอรมอล (Isothermal Process)
คือกระบวนการอุณ หภูมิคงที่ หมายถึง ตลอดทั้ง กระบวนการระบบจะมีอุณ หภูมิคงที่ไ มเปลี่ยนแปลง
กระบวนการไอโซบาริก (Isobaric Process) คือกระบวนการความดันคงที่ และ กระบวนการไอโซคลอ
ริก (Isochoric Process) คือ กระบวนการปริมาตรจําเพาะคงที่ เปนตน

วัฏ จักร (Cycle) คือการดําเนิน กระบวนการมากกวา 1 กระบวนการโดยสภาวะสุด ทายของ


กระบวนการหนึ่งจะเปนสภาวะเริ่มตนของกระบวนการถัดไปและสภาวะสุดทายของกระบวนการสุดทายจะ
กลับไปสูสภาวะเริ่มตนของกระบวนการแรก รูปที่ 1.19 แสดงวัฏจักรภายใตกระบวนการ 4 กระบวนการ
บทที่ 1 หลักการทางเทอรโมไดนามิกส 55

รูปที่ 1.19 วัฏจักรภายใตกระบวนการ 4 กระบวนการ

ถาพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจําเพาะสุทธิของวัฏจักร v cycle ซึ่งหมายถึงผลรวมของการ


เปลี่ยนแปลงปริมาตรจําเพาะของแตละกระบวนการดังแสดงในรูปที่ 1.19 จะไดวา

v cycle  v 12  v 23  v 3 4  v 4 1

v cycle  ( v 2  v 1 )  (v 3  v 2 )  (v 4  v 3 )  (v 1  v 4 )

v cycle  0

 dv  v cycle  0 1.35

จากสมการที่ 1.35 จะเห็นไดวาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจําเพาะสุทธิของวัฏจักรจะเทากับศูนย ใน


การพิจารณาการเปลี่ยนแปลงสุทธิของคุณสมบัติอื่นๆ ของวัฏจัก รก็จ ะสามารถพิจารณาไดผลลัพธใ น
ทํานองเดียวกัน ดังนั้นอาจกลาวไดวาการเปลี่ยนแปลงสุทธิของคุณสมบัติใดๆ ของวัฏจักรจะเทากับศูนย
เสมอ จากผลสรุปดังกลาวแสดงในรูปสมการไดดังนี้

 dy y cycle  0 1.36

โดยที่

y แทน คุณสมบัติที่พิจารณาใดๆ
56 เทอรโมไดนามิกส

1.8 กฎขอที่ศูนยทางเทอรโมไดนามิกส (The Zero Law of Thermodynamics)

ถาพิจารณาสสาร 2 ชนิดมีการถายเทความรอนซึ่งกันและกันจะพบวาความรอนจะถายเทจากวัตถุ
ที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา การถายเทความรอนจะดําเนินไปจนกวาวัตถุทั้งสองชนิดจะมี
อุณหภูมิเทากัน สภาวะที่วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเทากันนี้คือสภาวะสมดุลทางความรอน หรืออาจกลาวไดวา
วัต ถุทั้งสองชนิดหากเกิดสมดุลทางความรอนซึ่งกัน และกันก็ตอเมื่อวัตถุทั้ง สองมีอุณ หภูมิเทากัน จาก
ปรากฏการณดังกลาวจะนําไปสูความเขาใจหลักการของกฎขอทีศ่ ูนยทางเทอรโมไดนามิกส ซึ่งไดกลาว
ไวดังนี้ หากวัตถุ 2 ชนิดตางอยูในสภาวะสมดุลความรอนตอวัตถุชนิดที่ 3 ดวยกัน ก็จะหมายความ
วาวัตถุทั้ง 2 ชนิดนั้นจะอยูในสภาวะสมดุลความรอนตอกันดวย

แบบฝกหัดทายบทที่ 1

ขอที่ 1. ถังน้ํารอนไดรับความรอน 20 kJ เพื่อรักษาอุณหภูมิของน้ําภายในถังใหคงที่เทากับ 90๐C สูญเสีย


ความรอนสูบรรยากาศโดยรอบ 5 kJ จงหาการเปลี่ยนแปลงพลังงานของน้ําภายในถังน้ํารอนนี้

ขอที่ 2. ลูกกระสุนปนมวล 0.1 kg ถูกยิงออกจากกระบอกปน ในขณะที่พิจารณาลูกปนวิ่งในแนวระดับดวย


ความเร็ว 250 m/s มีพลังงานรวมเทากับ 100 kJ จงหาพลังงานภายในของลูกปนในขณะพิจารณานี้

ขอที่ 3. กระบอกสูบไมมีความเสียดทานและลูกสูบไรน้ําหนัก บรรจุของไอน้ํามวล 1 kg อุณหภูมิ 150๐C


ความดัน 100 kPa ความหนาแนน 0.5164 kg/m3 สูญเสียความรอนสูสิ่งแวดลอมทําใหไอน้ําในกระบอกสูบ
มีอุณหภูมิ 100๐C ความหนาแนน 0.59 kg/m3 จงหางานเนื่องจากขอบเขตและจงอธิบายเหตุผลที่ปริมาตร
ไอน้ําในกระบอกสูบนี้เพิ่มขึ้นหรือลดลง

ขอที่ 4. จงอธิบายความแตตางระหวาการถายเทความรอนแบบการนําความรอน การพาความรอน และ


การแผรังสี ใหชัดเจน

ขอที่ 5. คุณ สมบัติที่ขึ้น กับขนาดและคุณ สมบัติที่ไ มขึ้น กับขนาดแตกตางกันอยางไรและใหยกตัวอยาง


ประกอบใหชัดเจน

You might also like