เทอร์โมไดนามิกส์ 7

You might also like

You are on page 1of 74

บทที่ 6 เอนโทรป 233

บทที่ 6.

เอนโทรป

6.1 อสมการของคลอเซียส

กฎขอที่สองทางเทอรโมไดนามิกสกลาวถึงความไมเทากันของประสิทธิภาพของเครื่องจักรความ
รอน เครื่องทําความเย็น และ ป มความร อน กล าวคือ เครื่องจัก รความร อนแบบย อนกลับไมไ ดจ ะมี
ประสิทธิภาพเชิงความรอนนอยกวาเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไดที่ถายเทความรอนระหวางแหลง
ความรอนอุณหภูมิสูงและแหลงความรอนอุณหภูมิต่ําเดียวกันเสมอ เครื่องทําความเย็นหรือปมความรอน
แบบยอนกลับไมไดจะมีสัมประสิทธิ์ เชิงสมรรถนะนอยกวาเครื่องทําความเย็นหรือปมความรอนที่ถายเท
ความรอนระหวางแหลงความรอนอุณหภูมิสงู และแหลงความรอนอุณหภูมิต่ําเดียวกันเสมอ ความไมเทากัน
ที่สําคัญอีก ประการหนึ่ง ในทางเทอรโมไดนามิกสคือ ความไมเทากันของคลอเซียส ซึ่ง เปน พื้น ฐานที่จ ะ
นําไปสูการวิเคราะหระดับของปจจัยยอนกลับไมไดของกระบวนการหรือวัฏจักรตางๆ เรียกวา อสมการ
ของคลอเซียส (Clausius Inequality Equation) ดังนี้

Q
 0 6.1
T
แปรความหมายของอสมการของคลอเซียส สมการที่ 6.1 ไดวา ผลรวมสุทธิของความรอนตอ
Q
อุณหภูมิสมบูรณที่ขอบเขตของระบบที่ทํางานเปนวัฏจักร (  ) จะตองนอยกวาหรือเทากับศูนย
T
เสมอ ความไมเทากันของคลอเซียสนี้เปนจริงกับทุกๆ ระบบที่ทํางานเปนวัฏจักร ไมวาจะเปนเครื่องจักร
ความรอน เครื่องทําความเย็น และ ปมความรอน ทั้งที่ทํางานแบบยอนกลับไดหรือยอนกลับไมไดก็ตาม
หลักการความไมเทากันของคลอเซียสนี้ไดมาจากพื้นฐานของกฎขอที่สองทางเทอรโมไดนามิกส ซึ่งจะได
พิจารณาเปนลําดับดังนี้
234 เทอรโมไดนามิกส

จากรูปที่ 6.1 แสดงเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได (เครื่องจักรความรอนแบบคารโน) ซึ่ง


ทํางานเปนวัฏจักรถายเทความรอนระหวางแหลงความรอนอุณหภูมิสูง TH และแหลงความรอนอุณหภูมิต่ํา

รูปที่ 6.1 พิสูจนอสมการของคลอเซียสสําหรับเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได

TL จะเห็นไดวาเครื่องจักรความรอนไดรับความรอนเท ากับ QH และคายความรอนเทากับ QL เนื่องจาก


อุณหภูมิของแหลงความรอน TH และ TL คงที่และพิจารณาใหอยูในหนวยอุณหภูมิสมบูรณ ซึ่งจะตองมีคา
มากกวาศูนยเสมอ และจากหลักการของคารโนในบทที่ 5 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนความรอน
ที่ถ ายเทระหว างเครื่อ งจัก รความร อนและแหล ง ความรอ นทั้ ง สองของเครื่อ งจั ก รความรอ นนั้ น และ
อัตราสวนอุณหภูมิสมบูรณของแหลงความรอนทั้งสองสําหรับวัฏจักรยอนกลับไดในรูป ของสเกลอุณหภูมิ
Q T Q Q
คือ H  H  H  L  0
Q L TL TH TL

QH  QL 
    0 6.2
TH  TL 

จากสมการที่ 6.2 จะเห็น ไดวาเทอมดานซายมือของสมการคือผลรวมสุทธิของความรอนตอ


อุณหภูมิสมบูรณของแหลงความรอนทั้งสองที่ถายเทความรอนกับเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได
จะตองเทากับศูนยเสมอ นั่นคือ
บทที่ 6 เอนโทรป 235

Q QH  Q L 
 T       0
rev TH  TL 

Q
 0 6.3
T rev
หากพิจ ารณาทํานองเดี ยวกับขางต น โดยพิจ ารณาเครื่องทําความเย็ น หรือปมความรอนแบบ
ยอนกลับได ก็จะไดความสัมพันธดัง สมการที่ 6.3 เชนเดียวกัน ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาผลรวมสุทธิของ
ความรอนตออุณหภูมิสมบูรณของแหลงความรอนทั้งสองที่ถายเทความรอนตอกันของวัฏจักรยอนกลับได
จะเทากับศูนยเสมอ และยังบอกเปนนัยไดวาอิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไ ด ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวนการ
Q
ตางๆ ของวัฏจักรยอนกลับไมไดจะทําใหเกิดความไมเทากันขึ้นในสมการที่ 6.3 คือ   0 แตจะ
T irrev
มากกวาศูนยหรือนอยกวาศูนยอยางไรนั้นจะพิจารณาในอันดับตอไป

th,rev  th,irrev Wirrev  Wrev Q L,irrev  Q L,rev

รูปที่ 6.2 พิสจู นอสมการของคลอเซียสสําหรับเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไมได

จากรูปที่ 6.2 แสดงการเปรียบเทียบระหวางเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไดและยอนกลับ


ไมไดที่ถายเทความรอนระหวางแหลงความรอนอุณหภูมิสูง TH และแหลงความรอนอุณหภูมิต่ํา TL เดียวกัน
236 เทอรโมไดนามิกส

โดยเครื่องจักรความรอนทั้งสองรับความรอนจากแหลงความรอนอุณหภูมิสูงในปริมาณเทากับ QH เทากัน
จากหลักการของคารโนทําใหทราบไดวาเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได จะมีประสิทธิภาพเชิงความ
รอนสูงกวาเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไมไดกลาวคือ th,rev  th,irrev ซึ่งจะสงผลให Wirrev  Wrev
และ QL,irrev  QL,rev ดังนั้นถาพิจารณาผลรวมสุทธิของความรอนของเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได
และยอนกลับไมไดจะแสดงไดตามลําดับดังนี้

 Q rev  Q H  Q L,rev และ  Q irrev  Q H  Q L,irrev


เนื่องจากเครื่องจักรความรอนทั้งสองรับ QH เทากัน และ QL,irrev  QL,rev ดังนั้น

 Q rev   Q irrev
พิจารณาอุณหภูมิของแหลงความรอนทั้งสองในรูปอุณหภูมิสมบูรณและจากสมการที่ 6.3 จะแสดงไดวา

Q Q
 0
T rev T irrev
Q
 0 6.4
T irrev
หากพิจ ารณาเปรียบเทียบระหวางเครื่องทําความเย็นหรือปมความรอนแบบยอนกลับไดแ ละ
ยอนกลับไมไดเชนเดียวกับการพิจารณาเปรียบเทียบสําหรับเครื่องจักรความรอนดังรูปที่ 6.2 ขางตน ก็จะ
ทําใหไดผลของการพิจารณาเชนเดียวกับสมการที่ 6.4 ทุกประการ ดังนั้นจากสมการที่ 6.4 อาจกลาวไดวา
ผลรวมสุทธิของความรอนตออุณหภูมิสมบูรณของแหลงความรอนทั้ง สองที่ถายเทความรอนกับวัฏจัก ร
ยอนกลับไมไดจะนอยกวาศูนยเสมอ

ดังนั้นจากการวิเคราะหทั้งหมดขางตน จึงสามารถบงชี้ความสัมพันธของอสมการของคลอเซียส
สําหรับวัฏจักรยอนกลับไดและยอนกลับไมไดไดดังนี้
บทที่ 6 เอนโทรป 237

 0 เกิดขึ้นสําหรับวัฏจักรยอนกลับไมได
Q 
  0 เกิดขึ้นสําหรับวัฏจักรยอนกลับได
T 
 0 ไมสามารถเกิดขึ้นได

การพิจารณาขางตนทําใหทราบวาความไมเทากันของอสมการของคลอเซียสในสมการที่ 6.1 เกิด


จากอิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดในกระบวนการตางๆ ของวัฏจักรยอนกลับไมได ดัง นั้น ถาทําการ
ปรับปรุงอสมการของคลอเซียสใหอยูในรูปสมการเทากัน (Equality Equation) อาจเขียนใหมไดดังนี้

Q
S gen ,cycle    6.5
T
โดยที่

Sgen,cycle แทน เอนโทรปเจนเนอเรชัน (Entropy Generation) ของวัฏจักร

จะเห็นไดวา เอนโทรปเจนเนอเรชัน ของวัฏจักร (Sgen,cycle) คือพารามิเตอรที่เปนดัชนีบง ชี้ถึง


ผลรวมของอิทธิพลจากปจจัยยอนกลับไมไ ดใ นทุกกระบวนการของวัฏจักร หมายความวาถาวัฏ จักรที่
พิจารณามี Sgen,cycle เกิดขึ้นมากแสดงวาอิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดจะเกิดขึ้นภายในกระบวนการตางๆ
ของวัฏจัก รนั้น มากดวย และหากพบวาวัฏจักรใดมี Sgen,cycle เขาใกลศูนยแ สดงวาวัฏจักรนั้นเปนวัฏจัก ร
ยอนกลั บไดเ นื่อ งจากทุ ก กระบวนการของวัฏ จัก รนั้ น ไมมี ปจ จั ยย อนกลั บไมไ ดเกิ ด ขึ้ น เลย นั่ น คื อทุ ก
กระบวนการของวัฏจักรเปนกระบวนการยอนกลับไดทั้งหมด และเมื่อเปรียบสมการที่ 6.5 กับสมการที่ 6.1
จะเห็นวาเอนโทรปเจนเนอเรชันของวัฏจักรจะมีคามากกวาหรือเทากับศูนยเสมอ ( S gen,cycle  0 ) กลาวคือ

 0 เปนวัฏจักรยอนกลับไมได

S gen ,cycle  0 เปนวัฏจักรยอนกลับได

 0 เปนไปไมได
238 เทอรโมไดนามิกส

---------------------------------------------------------------------------

Q
ตัวอยางที่ 6.1 จงพิสูจนสมการที่ 6.3 คือ   0 สําหรับเครื่องทําความเย็นแบบยอนกลับได
T rev

วิธีทํา

พิจารณาเครื่องทําความเย็นแบบยอนกลับไดดงั รูป จากสเกลอุณหภูมิสําหรับวัฏจักรแบบยอนกลับ


ได สมการที่ 5.17 จะได

 QH  T
   H
 Q L  rev TL
QH QL
 0
TH TL

Q Q  Q 
  H    L   0 ตอบ
T rev TH  TL 

---------------------------------------------------------------------------

Q
ตัวอยางที่ 6.2 จงพิสูจนสมการที่ 6.4 คือ   0 สําหรับเครื่องทําความเย็นแบบยอนกลับไมได
T irrev

วิธีทํา

พิจารณาเปรียบเทียบเครื่องทําความเย็นทํางานแบบยอนกลับไดและยอนกลับไมไดที่ถายเทความ
รอนกับแหลงความรอนคูเดียวกัน โดยเครื่องทําความเย็นทั้งสองรับความรอนจากแหลงความรอนอุณหภูมิ
ต่ํา QL เทากัน ดังรูป จากกฎขอที่สองทางเทอรโมไดนามิกสพบวา COPrev > COPirrev เสมอ ดังนั้นจึงทําให
Wrev < Wirrev และ QH,rev < QH,irrev ดังนั้นผลรวมสุทธิของความรอนที่เครื่องทําความเย็นทํางานแบบยอนกลับ
ไดและยอนกลับไมไดไดรับ แสดงไดดังนี้ตามลําดับ
บทที่ 6 เอนโทรป 239

COPR,rev  COPR,irrev Wrev  Wirrev Q H ,irrev  Q H ,rev

 Q rev  Q L  Q H,rev และ  Q irrev  Q L  Q H,irrev


เนื่องจากเครื่องทําความเย็นทั้งสองรับความรอน QL เทากัน และ QH,rev < QH,irrev ดังนั้น

 Q rev   Q irrev
พิจารณาอุณหภูมิในหนวยอุณหภูมิสมบูรณ และเครื่องทําความเย็นทั้งสองถายเทความรอนกับแหลงความ
รอนคูเดียวกันดังนั้น

Q Q
 T 
rev T irrev

Q
จากสมการที่ 6.3 ทราบวา   0 นั่นคือ
T rev

Q
 T  0 ตอบ
irrev

---------------------------------------------------------------------------
240 เทอรโมไดนามิกส

ตัวอยางที่ 6.3 เครื่องจักรความรอนไดรับความรอนจากแหลงความรอนอุณหภูมิสูง ที่อุณหภูมิ 1000 K


ปริมาณ 600 kJ ผลิตงานได 150 kJ และคายความรอนปริมาณ 450 kJ สูแหลงความรอนอุณหภูมิต่ําที่
อุณหภูมิ 300 K จงวิเคราะหขอกําหนดของเครื่องจักรความรอนนี้โดยหลักการของกฎขอที่สองทางเทอรโม
ไดนามิกสตอไปนี้

ก. หลักความไมเทากันของคลอเซียส
ข. หลักการของคารโน
วิธีทํา
จากขอกําหนดของตัวอยาง สามารถรางแผนภูมิการถายเทพลังงานของเครื่องจักรความรอนได
ดังนี้
พิจารณาหลักความไมเทากันของคลอเซียส
Q
 0
T
QH  QL 
    0
TH  TL 
600 450
 0
1000 300
 0.9  0  เปนจริง
เครื่องจักรความรอนนี้เกิดขึ้นไดจริงโดยสอดคลองกับหลัก
ความไมเทากันของคลอเซียส ตอบ

ขอสังเกตสําคัญ พิจารณาจากสมการที่ 6.5 จะทําใหทราบวา Sgen,cycle ของเครื่องจักรความรอนนี้เทากับ


0.9 ซึ่งบงถึงระดับของอิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดสุทธิที่เกิดขึ้นในกระบวนการตางๆ ของวัฏจักรของ
เครื่องจักรความรอนนี้ ซึ่งบงบอกวาเครื่องจักรความรอนนี้เปนเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไมได
กลาวคือ

Q
S gen,cycle     (0.9)  0.9 kJ/K
T
บทที่ 6 เอนโทรป 241

พิจารณาหลักการของคารโน

คารโนใหหลักการสําคัญวา ประสิทธิภาพเชิงความรอนของเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได
จะสูง กวาประสิทธิภาพเชิงความรอนของเครื่องจัก รความรอนแบบยอนกลับไมไดเสมอหากเครื่องจัก ร
ความรอนทั้งสองถายเทความรอนกับแหลงความรอนคูเดียวกัน ประสิทธิภาพเชิงความรอนของเครื่องจักร
ความรอนนี้คือ
Wnet 150
 th    0.25
Q H 600

ถาพิจารณาเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไดถายเทความรอนกับแหลงความรอนคูเดียวกับ
เครื่องจักรความรอนนี้ ประสิทธิภาพเชิงความรอนของเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไดจะสามารถ
พิจารณาดังสมการที่ 5.18 คือ
TL 300
 th,rev  1   1  0.7
TH 1000

ดังนั้นจะเห็นไดวา th  th,rev แสดงใหเห็นวาขอกําหนดของเครื่องจักรความรอนนี้สอดคลอยตอ


หลักการของคารโน และผลการวิเคราะหได บงชี้วาเครื่องจักรความรอนนี้เปนเครื่องจักรความรอนแบบ
ยอนกลับไมได ตอบ

---------------------------------------------------------------------------

6.2 เอนโทรป

หลัก ความไมเทากัน และอสมการของคลอเซียสในหัวขอที่ผานมาจะเปน พื้น ฐานในการศึก ษา


คุณสมบัติของสารชนิดใหมเรียกวา เอนโทรป (Entropy) ซึ่งจะไดกลาวถึงในหัวขอนี้

จากการที่ไดเรียนรูถึงความหมายและนิยามของวัฏจักรในบทที่ 1 ทําใหทราบไดวาผลรวมสุทธิของ
การเปลี่ยนแปลงคุณ สมบัติของของไหลทํางานของทุก กระบวนการในวัฏจัก รจะตองเทากับศูนยเสมอ
242 เทอรโมไดนามิกส

กลาวคือถาพิจ ารณาให y เปน คุณ สมบัติ ใ ดๆ ของของไหลทํางานของวัฏจัก ร ผลรวมสุทธิของการ


เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ y จะเทากับศูนยเสมอ โดยไมขึ้นกับเสนทางการดําเนินกระบวนการภายในวัฏจักร
ดังแสดงในสมการที่ 1.38 คือ

 dy y cycle  0

รูปที่ 6.3 วัฏจักรแบบยอนกลับไดของกระบวนการ A และ กระบวนการยอนกลับ B

เพื่อการวิเคราะหความเปนคุณสมบัติของเอนโทรป

จากรู ป ที่ 6.3 แสดงวั ฏ จั ก รแบบย อ นกลั บ ได ซึ่ ง ประกอบด ว ยกระบวนการย อ นกลั บ ได 2
กระบวนการ คือ กระบวนการ A และกระบวนการยอนกลับ B โดยกระบวนการทั้งสองมีเสนทางการ
ดําเนินกระบวนการที่แตกตางกัน เนื่องจากเปนวัฏจักรยอนกลับไดดังนั้น

Q 2
Q 1
Q
 T  T  0
rev 1 rev , A 2 T rev ,B

2
Q 2
Q
 T   T 6.6
1 rev ,A 1 rev ,B

จากสมการที่ 6.6 จะเห็นไดวาภายใตกระบวนการการยอนกลับไดของวัฏจัก ร ผลรวมของการ


Q
เปลี่ยนแปลงความรอนตออุณหภูมิสมบูรณ (  ) ของทั้งสองกระบวนการเทากันแมเสนทางการดําเนิน
T
บทที่ 6 เอนโทรป 243

กระบวนการของทั้งสองกระบวนการจะแตกตางกัน จึงกลาวไดวาการเปลี่ยนแปลงความรอนตออุณหภูมิ
สมบูรณ ( Q / T ) จะคงที่เสมอ โดยไมขึ้นกับไมขึ้นกับเสนทางการดําเนินกระบวนการแตจะขึ้นกับสภาวะ
เริ่มตนและสภาวะสิ้นสุดของแตละกระบวนการเทานั้น จึงถือไดวา Q / T เทียบเทากับการเปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติ ขอพิจารณานี้ไดคนพบโดย Clausius ในป 1865 และไดบัญญัติคุณสมบัติของสารในทางเทอรโม
ไดนามิก สชนิด ใหมขึ้น ชื่อวา เอนโทรป โดยกําหนดใหก ารเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงความรอนตอ
อุณหภูมิสมบูรณ ( Q / T ) คือการเปลี่ยนแปลงของเอนโทรป กลาวคือ

Q
dS  [kJ/K] 6.7
T rev
เอนโทรปเปนคุณสมบัติที่ขึ้นกับขนาดของระบบ มีหนวยเปน kJ/K แทนดวย S และเอนโทรปตอหนวยมวล
หรือเอนโทรปจําเพาะ (Specific Entropy) ซึ่งจัดวาเปนคุณสมบัติที่ไมขึ้นกับขนาด มีหนวยเปน kJ/kg K แทน
ดวย s และจากสมการที่ 6.7 ทําใหพิจารณาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปสําหรับกระบวนการยอนกลับไดคือ
2
Q
S  S 2  S 1   6.8
1 T rev

เหตุผลของการวิเคราะหเพื่อหาขอสรุปวาเอนโทรปเปน คุณ สมบัติขางตน ใชห ลัก การคือ การ


เปลี่ยนแปลงของเอนโทรปนั้น ขึ้นกับสภาวะไมขึ้นกับเสน ทางการดําเนินกระบวนการ โดยการวิเคราะห
ขางตนไดทําการวิเคราะหกระบวนการยอนกลับได 2 กระบวนการดัง รูปที่ 6.3 นอกจากการวิเคราะห
ดังกลาวแลวในขณะนี้จะทดลองการวิเคราะหวัฏจักร 2 วัฏจักร วัฏจักรแบบยอนกลับได A-B และ วัฏจักร
ยอนกลับไมได A-C ซึ่ง ประกอบดวยกระบวนการยอนกลับได A กระบวนการยอนกลับได B และ
กระบวนการยอนกลับไมได C ดัง รูปที่ 6.4 โดยการพิสูจนความเปนคุณสมบัติของเอนโทรปโดยอาศัย
หลักการวาถาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการ B และกระบวนการ C เทากัน จะแสดงวาเอน
โทรปเปนคุณสมบัติ โดยทั้งกระบวนการ B และ กระบวนการ C มีเสนทางการดําเนินกระบวนการและมี
อิทธิพลของการยอนกลับไมไดที่แตกตางกัน
244 เทอรโมไดนามิกส

รูปที่ 6.4 การพิจารณาวัฏจักรแบบยอนกลับไดและยอนกลับไมได

เพื่อการวิเคราะหความเปนคุณสมบัติของเอนโทรป

พิจารณาวัฏจักรยอนกลับได A-B

วัฏจักร A- B ประกอบดวยกระบวนการยอนกลับได A และกระบวนการยอนกลับได B จาก


อสมการของคลอเซียสสําหรับวัฏจักรยอนกลับได คือ

Q 2 Q 1
Q
 T  T  T 0
1 A 2 B

พิจารณาวัฏจักรยอนกลับไมได A-C

วัฏจักร A- C ประกอบดวยกระบวนการยอนกลับได A และกระบวนการยอนกลับไมได C


จากอสมการของคลอเซียสสําหรับวัฏจักรยอนกลับไมได คือ

Q 2 Q 1
Q

 T  T   T 0
1 A 2 C

ดังนั้น
1
Q 1
Q
 T   T
2 B 2 C
บทที่ 6 เอนโทรป 245

เนื่องจาก B เปนกระบวนการยอนกลับได จากสมการที่ 6.7 ดังนั้น

1 1 Q 1 1 Q 1
 dS     dS B     dS C
2 T
2 rev 2 T
2 B 2
1
Q
1

 dS C  
2 2 T C

จากสมการขางตนจะเห็นไดวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะขึ้นกับสภาวะเริ่มตนและสภาวะสิ้นสุด
ของกระบวนการไมวากระบวนการที่ดําเนินอยูนั้นจะเปนกระบวนการยอนกลับไดหรือยอนกลับไมไดก็ตาม
หรืออาจกลาวไดวาคาของเอนโทรปจ ะขึ้น กับสภาวะของสารเชนเดียวกับคุณ สมบัติของสารอื่นๆ ดวย
เช น กั น ยิ่ ง กว า นั้ น ยั ง สรุ ป ได ว า ไม ว า จะเป น กระบวนการย อ นกลั บ ได ห รื อ ย อ นกลั บ ไม ไ ด ก็ ต ามการ
เปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการสามารถหาไดจากการอินทิเกรต Q / T โดยสมมติใหกระบวนการที่
พิจารณานั้นเปนกระบวนการยอนกลับไดเสมอ

ในบทที่แลวเรากลาวถึงปจ จัยยอนกลับไมไดชนิดตางๆ และพิ จารณาปจจัยยอนกลับไมไดแตละ


ชนิด ทั้ง ที่เปน ปจ จัยที่เกิดขึ้นภายในระบบและปจ จัยที่เกิด ขึ้น ภายนอกระบบในขณะดําเนิน กระบวนการ
กระบวนการที่ไ มมีปจ จัยยอนกลับไมไ ดเกิดขึ้น ภายในระบบ เรียกวา กระบวนการยอนกลับไดภายใน
(Internal Reversibility Process) กระบวนการที่ไมมีปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกระบบ
เรียกวากระบวนการยอนกลับได (Reversibility Process) หรือ เรียกวากระบวนการยอนกลับไดรวม (Total
Reversibility Process) การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปภายในระบบภายใตกระบวนการใดๆ จากสมการที่ 6.7
และสมการที่ 6.8 ในรูปความสัมพันธกับ Q / T ของกระบวนการยอนกลับได กระบวนการยอนกลับไดที่
อางถึงในทั้งสองสมการจึงพิจารณาไดทั้งกระบวนการยอนกลับไดรวมหรือกระบวนการยอนกลับไดภายใน
แบบใดแบบหนึ่งไดเชนเดียวกัน กลาวคือ

Q Q
dS  
T rev T int rev

Q 2 2
Q
S  S 2  S 1   
1 T rev 1 T int rev
246 เทอรโมไดนามิกส

กระบวนการถายเทความรอนในขณะอุณหภูมิค งที่ ถือไดวาเปน กระบวนการยอนกลับได


ภายในเนื่องจากไมมีปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นภายในระบบในขณะดําเนินกระบวนการ นั่นคือ ไมปรากฏ
ความเสียดทาน และ การอัดและการขยายตัวอยางรวดเร็ว เกิดขึ้นในขณะดําเนินกระบวนการ ดังนั้นจึง
สามารถเรีย กกระบวนการนี้ว า กระบวนการไอโซเทอร ม อลแบบย อ นกลับ ได ภ ายใน (Internally
Reversible Isothermal Process) จะเห็นไดวากระบวนการนี้พบไดเสมอสําหรับแหลงความรอนตางๆ ซึ่งที่มี
อุณ หภูมิคงที่แ ละถายเทความรอนกับอุปกรณห รือ ระบบตางๆ ถาพิจ ารณาใหแ หลง ความรอนหนึ่ง มี
อุณหภูมิ T0 และมีการถายเทความรอน Q กับระบบ วัฏจักร หรืออุปกรณตางๆ การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป
ของแหลงความรอนนี้คือ

Q
2 2
Q 1 2
S       Q
1 T int rev 1 T0 T0 1
Q
S  6.9
T0

สมการที่ 6.9 บงบอกถึงการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแหลงความรอนที่มีอุณหภูมิคงที่ตางๆ ที่


ถายเทความรอนกับ ระบบ วัฏจักร หรืออุปกรณตางๆ และจะเห็นไดวาเอนโทรปของแหลงความรอนที่
พิจารณานั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อแหลงความรอนนี้ไดรับความรอนและจะลดลงเมื่อแหลงความรอนคายความรอน

นอกจากการถายเทความรอนในขณะอุณหภูมิคงที่ของแหลงความรอนตางๆ แลว กระบวนการไอ


โซเทอรมอลแบบยอนกลับไดยงั เปนกระบวนการสําคัญของวัฏจักรคารโนอีกดวย คือ กระบวนการขยายตัว
ขณะอุณ หภูมิคงที่แ บบยอนกลับได และ กระบวนการอัด ตัวขณะอุณ หภูมิคงที่แ บบยอนกลับได อาจ
เรียกวา กระบวนการขยายตัวแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได (Reversible Isothermal Expansion
Process) และ กระบวนการอัดตัวแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได (Reversible Isothermal Compression
Process) ตามลําดับ

กระบวนการที่ไมมีการถายเทความรอนแบบยอนกลับได หากในขณะดําเนินกระบวนการไมมี
การถายเทความรอน (Q = 0) และเปนกระบวนการยอนกลับไดจะเรียกกระบวนการนั้นวา กระบวนการไอ
บทที่ 6 เอนโทรป 247

เซนโทรปก (Isentropic Process) เนื่องจากกระบวนการไมมีการถายเทความรอนแบบยอนกลับไดดังนั้น


การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการคือ
2
Q
S   0
1 T int rev

S  S 2  S 1  0

S 1  S 2  คงที่

จะเห็นไดวาเอนโทรปจะไมเปลี่ยนแปลงสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปก กระบวนการไอเซนโทรปกเปน
กระบวนการสําคัญในวัฏจักรคารโนซึ่งไดกลาวถึงในบทที่ 5 คือ กระบวนการอัดตัวโดยไมถายเทความรอน
แบบยอ นกลับได และ กระบวนการขยายตั วแบบไมถ ายเทความร อนแบบยอ นกลับ ได ซึ่ง อาจเรีย ก
กระบวนการทั้ง สองวา กระบวนการอัด ตัวแบบไอเซนโทรปก (Isentropic Compression Process) และ
กระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปก (Isentropic Expansion Process) ตามลําดับ

6.3 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเอนโทรปของวัฏจักรคารโน

วัฏจักรคารโนของเครื่องจักรความรอนประกอบดวยกระบวนการยอนกลับได 4 กระบวนการดังรูป
ที่ 6.5 คือ

P T
1 QH QH
1 2
2 TH
wnet TH = คง
ที่
wnet
4
TL = คง TL
QL 3 ที่ 4 3
QL
v S1 = S4 S2 = S3 S

รูปที่ 6.5 ความสัมพันธ P-v และ T-S ของวัฏจักรคารโนของเครื่องจักรความรอน


248 เทอรโมไดนามิกส

1. กระบวนการขยายตั ว แบบไอโซเทอร ม อลแบบย อ นกลั บ ได (กระบวนการ 1-2)


กระบวนการรับความรอน 1 Q 2  Q H จากแหลงความรอนอุณหภูมิสูง TH และเปนกระบวนการอุณหภูมิ
คงที่แบบยอนกลับได ดังนั้น
Q
2
1 2 Q Q
S  S 2  S 1     Q  1 2  H
1 T rev TH 1 TH TH
S2  S1
2. กระบวนการขยายตั ว แบบไอเซนโทรป ก (กระบวนการ 2-3) กระบวนการนี้ เ ป น
กระบวนการขยายตัวแบบยอนกลับได โดยไมมีการถายเทความรอนกับแหลงความรอนในระหวางดําเนิน
กระบวนการ ( 2 Q 3  0 ) ดังนั้น
3
Q
S  S 3  S 2   0
2 T rev

S3  S2
3. กระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได (กระบวนการ 3-4) กระบวนการนี้
เปน กระบวนการคายความรอน 3 Q 4  Q L สูแ หลง ความรอนอุณหภูมิต่ํา TL และเปน กระบวนการ
ยอนกลับได ในขณะอุณหภูมิคงที่ ดังนั้น
Q
4
1 4 Q  QL
S  S 4  S 3     Q  3 4 
3 T rev TL 3 TL TL
S4  S3
4. กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก (กระบวนการ 4-1) กระบวนการนี้เปนกระบวนการอัด
ตัวแบบยอนกลับได โดยไมมีการถายเทความรอนกับแหลงความรอนในระหวางดําเนินกระบวนการ (
4 Q 1  0 ) ดังนั้น
1
Q
S  S 1  S 4   0
4 T rev

S1  S4
บทที่ 6 เอนโทรป 249

การวิเคราะหขางตน จึงทําใหไดความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเอนโทรปของกระบวนการยอนกลับได
ทั้ง 4 กระบวนการ ของวัฏจักรคารโนของเครื่องจักรความรอน ดังแสดงใน รูปที่ 6.5 นอกจากนี้ถาเรา
พิจารณาถึงกฎการอนุรักษพลังงานของเครื่องจักรความรอนจะไดวา

Wnet  Q H  Q L

จากกระบวนการ 1-2 จะได Q H  TH ( S 2  S 1 )

จากกระบวนการ 4-3 จะได Q L  TL (S 4  S 3 )  Q L  TL (S 3  S 4 )

ดังนั้น

Wnet  Q H  Q L  TH (S 2  S 1 )  TL (S 3  S 4 )

แตเนื่องจาก S 2  S 3 และ S 1  S 4 จึงไดงานสุทธิคือพื้นที่ภายในวงลอมของเสนกระบวนการของวัฏจักร


ในแผนภูมิ T-S ดังสมการ

Wnet  (TH  TL )(S 2  S 1 )

ถาพิจารณาประสิทธิภาพเชิงความรอนของเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับได จะทําใหไดประสิท ธิภาพ


เชิ ง ความร อ นอยู ใ นรู ป ความสั ม พั น ธ ข องอุ ณ หภู มิ ข องแหล ง ความร อ นทั้ ง สอง th,rev  f( TH , TL )
เชนเดียวกันกับสมการที่ 5.18 ซึ่งไดจากหลักการของคารโน คือ
Wnet ( TH  TL )(S 2  S 1 ) T
 th,rev    1 L
QH TH (S 2  S 1 ) TH

วัฏจักรคารโนของเครื่องทําความเย็นและปมความรอนประกอบดวยกระบวนการยอนกลับได 4
กระบวนการ แสดงดังรูปที่ 6.6 คือ

1. กระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปก (กระบวนการ 1-2)


2. กระบวนการขยายตัวแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได (กระบวนการ 2-3)
3. กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก (กระบวนการ 3-4)
4. กระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได (กระบวนการ 4-1)
250 เทอรโมไดนามิกส

P T
1 QH QH
1 4
4 TH
wnet TH = ค
งที่
wnet
2
TL = คง TL
QL 3 ที่ 2 3
QL
v S1 = S2 S3 = S4 S

รูปที่ 6.6 ความสัมพันธ P-v และ T-S ของวัฏจักรคารโน

ของเครื่องทําความเย็นและปมความรอน

กระบวนการยอนกลับไดทั้ง 4 กระบวนการของวัฏจักรคารโนของเครื่องทําความเย็นและปมความ
รอน หากพิจารณาโดยหลักการเดียวกันกับเครื่องจักรความรอนแบบยอนกลับไดที่พิจารณาขางตน จะได
ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเอนโทรปของแตละกระบวนการดังแสดงในรูปที่ 6.6 อีกทั้งยังพบวางาน
สุทธิที่เครื่องทําความเย็นหรือปมความรอนแบบยอนกลับไดตองการจะเทากับพื้นที่ภายในวงลอมของเสน
กระบวนการทั้ง 4 ในแผนภูมิ T-S อีกดวย กลาวคือ

พิจารณาการอนุรักษพลังงานของเครื่องทําความเย็นหรือปมความรอนจะได

Wnet  Q H  Q L

พิจารณากระบวนการ 4-1 คือกระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได ซึ่งคายความรอน QH ที่


อุณหภูมิคงที่ TH เนื่องจากเปนกระบวนการยอนกลับไดดังนั้น
1
Q 1 1 Q  QH
S  S 1  S 4     Q  4 1 
4 T rev TH 4 TH TH

Q H  TH ( S 4  S 1 )
บทที่ 6 เอนโทรป 251

พิจารณากระบวนการ 2-3 คือ กระบวนการขยายตัวแบบไอโซเทอรมอลแบบยอนกลับได ไดรับความรอน


QL ที่อุณหภูมิคงที่ TL เนื่องจากเปนกระบวนการยอนกลับไดดังนั้น

Q 3
1 1 Q Q
S  S 3  S 2     Q  2 3  L
2 T rev TL 4 TL TL

Q L  TL (S 3  S 2 )

จะไดงานสุทธิที่วัฏจักรตองการคือ

Wnet  Q H  Q L  TH (S 4  S 1 )  TL (S 3  S 2 )

เนื่องจากกระบวนการ 1-2 และ กระบวนการ 3-4 เปนกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปก (S1 = S2)


และกระบวนการอัดตัวแบบไอเซนโทรปก (S3 = S4) ดังนั้น

Wnet  ( TH  TL )(S 4  S 1 )

จากสมการจะเห็นไดวา Wnet จะเทากับพื้นที่ภายในวงลอมของกระบวนการยอนกลับไดทั้ง 4 กระบวนการ


ในแผนภูมิ T-S และถาพิจารณาถึงสัมประสิทธิ์เชิงสมรรถนะของเครื่องทําความเย็นและสัมประสิทธิ์เชิง
สมรรถนะของปมความรอนแบบยอนกลับได จะอยูในรูปความสัมพันธกับอุณหภูมิ TH และ TL เชนเดียวกับ
การวิเคราะหโดยหลักการของคารโน ในสมการที่ 5.19 และ สมการที่ 5.20 ตามลําดับ กลาวคือ

พิจารณาสัมประสิทธิ์เชิงสมรรถนะของเครื่องทําความเย็นแบบยอนกลับได
QL T (S  S )
COPR,rev   L 3 2
Wnet ( TH  TL )(S 4  S 1 )

แต S 3  S 2  S 4  S 1 ดังนั้น
1
COPR,rev  T
H
1
TL
252 เทอรโมไดนามิกส

พิจารณาสัมประสิทธิ์เชิงสมรรถนะของปมความรอนแบบยอนกลับได
QH T (S  S )
COPHP,rev   H 4 1
Wnet (TH  TL )(S 4  S 1 )
1
COPHP ,rev  TL
1
TH

6.4 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปด

ในหัวขอนี้จะพิจารณาถึงอิทธิพลที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปด โดยเริ่มตน
จากการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของวัฏจักรในฐานะที่วัฏจักรเปนระบบปด ดังรูปที่ 6.7 วัฏจักร
ดังรูปประกอบดวยกระบวนการ 2 กระบวนการคือ กระบวนการ 1-2 พิจารณาใหเปนกระบวนใดๆ ซึ่งอาจ
เปน กระบวนการยอนกลับไดหรือกระบวนการยอนกลับไมไ ดอยางหนึ่ง อยางใด และกระบวนการ 2-1
พิจารณาใหเปนกระบวนการยอนกลับได จากหลักการการไมเทากันของคลอเซียส จะได

รูปที่ 6.7 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปด


บทที่ 6 เอนโทรป 253

Q 2
Q 1 Q
 T  0 ดังนั้น  T  T 0
1 2 rev

แทนสมการที่ 6.8 ในสมการขางตน จะได


2
Q
  S1  S2  0
1 T
ดังนัน้
2
Q
S 2  S1   6.10
1 T

จากการวิเคราะหเริ่มตนจนไดมาซึ่งสมการที่ 6.10 สามารถพิจารณากระบวนการ 1-2 ไดใน 2 กรณี คือ

กรณีที่ 1. กระบวนการ 1-2 เปนกระบวนการยอนกลับได การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะเปนดังนี้


2
Q
กระบวนการยอนกลับได  S 2  S 1  
1 T

กรณีที่ 2. กระบวนการที่ 1-2 เปนกระบวนการยอนกลับไมได การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะเปน


ดังนี้
2
Q
กระบวนการยอนกลับไมได  S 2  S 1  
1 T

ถาพิจารณาเอนโทรปในสภาวะสิ้นสุดกระบวนการ (สภาวะที่ 2) ของกระบวนการ 1-2 จะพบวา


อิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดในกระบวนการ 1-2 (กรณีที่ 2) จะมีผลทําใหเอนโทรป S2 มีคาสูงกวาใน
กรณีที่กระบวนการ 1-2 เปนกระบวนการยอนกลับได (กรณีที่ 1) ดังนั้นจึงกลาวไดวาปจจัยยอนกลับไมได
ของกระบวนการจะสง ผลตอการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการโดยทําใหเอนโทรปมีแ นวโนม
เพิ่มขึ้น ดัง นั้น อิทธิพลที่ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปด ภายใตก ระบวนการใดๆ จึง
ประกอบดวย 2 อิทธิพลคือ
254 เทอรโมไดนามิกส

Q 2
1. อิทธิพลของการถายเทความรอนที่ระบบไดรับในรูป  ถาระบบไดรับความรอน (+Q) จะ
1 T
ทําใหเอนโทรปมีแ นวโนมสูงขึ้น และถาระบบสูญเสียความรอน (-Q) จะทําใหเอนโทรปมี
แนวโนมลดลง
2. อิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดที่เกิดขึ้นในขณะดําเนินกระบวนการ มีผลทําใหเอนโทรปสูงขึ้น
เสมอ อิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดของกระบวนการซึ่ งจะทําใหเอนโทรปมีแนวโนมสูงขึ้น
เรียกวา เอนโทรปเจนเนอเรชัน (Sgen)
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการใดๆ ของระบบปด สามารถแสดงไดดังนี้
Q
2
S  S 2  S 1    S gen 6.11
1 T

โดยที่ Sgen จะมีคามากกวาหรือเทากับศูนยเสมอ ( S gen  0 ) ถาในระหวางดําเนินกระบวนการมี


ปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นมาก Sgen จะมีคามาก ถาระหวางดําเนินกระบวนการมีปจจัยยอนกลับไมได
เกิดขึ้นนอย Sgen จะมีคานอย และถาเปนกระบวนการยอนกลับได นั่นคือไมมีปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นใน
ระหวางดําเนินกระบวนการเลย Sgen จะมีคาเขาใกลศูนย

หากพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบตอหนวยเวลา (dS/dt) จะแสดงไดดังนี้

dS 2 Q
   S gen 6.12
dt 1 T
ถาพิจารณาระบบที่ไมมีการถายเทความรอนและมวลกับสิ่งแวดลอมซึ่งเรียกวา ระบบโดดเดี่ยว
(Isolated System) จึงถือไดวาเปนระบบปด โดยภายในระบบโดดเดี่ยวที่พิจารณาจะประกอบดวยระบบ
ยอยๆ จํานวน n ระบบอยูภ ายใน ดังแสดงในรูปที่ 6.8 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบโดดเดี่ยวจะตอง
มากกวาศูนยเสมอเพราะระบบโดดเดี่ยวไมมีก ารถายเทความรอนระหวางระบบและสิ่งแวดลอม ทําให
ปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบโดดเดี่ยวจึงเปนปจจัยเดียวที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของ
ระบบโดยรูปของเอนโทรปเจนเนอเรชัน ของระบบ โดยจะทําใหเอนโทรปของระบบเพิ่มขึ้น และจาก
รูปการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบโดดเดี่ยวจะเทากับผลรวมของการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบ
ยอยทั้งหมด กลาวคือ
บทที่ 6 เอนโทรป 255
n
S isolated  S gen,isolated   S i  0 6.13
i 1

n
S isolated  S gen,isolated   S i  0
i 1

รูปที่ 6.8 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบโดดเดี่ยว

ซึ่งประกอบดวยระบบยอยๆ อยูภายใน

ถาพิจารณาใหทั้งระบบและสิ่งแวดลอมทั้งหมดของระบบนั้นเปนระบบยอย ดังแสดงในรูปที่ 6.9


จากรูปจะเห็นไดวาระบบรวมที่พิจารณานั้นเปนระบบโดดเดี่ยว นั่นคือการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบ
รวมจะตองมากกวาหรือเทากับศูน ยเสมอ ซึ่ง จะทําใหเอนโทรปของระบบรวมมีแนวโนมสูง ขึ้นเสมอจาก
อิทธิพลของปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบรวมในรูปเอนโทรปเจนเนอเรชัน Sgen และจะตองเทากับ
ผลรวมของการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบ S sys และการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของสิ่งแวดลอม
S surr ในฐานะทีเปนระบบยอยอยูภายใน กลาวคือ

S total  S gen  S sys  S surr  0 6.14


256 เทอรโมไดนามิกส

ระบบรวม (ระบบโดดเดี่ยว)

สิ่งแวดลอม
Qout Ssurr
Qin Wout
Win ระบบ
Ssys mout
min

รูปที่ 6.9 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบรวม

โดยประกอบดวยระบบและสิ่งแวดลอมเปนระบบยอย

เอนโทรปเจนเนอเรชันรวม Sgen ในสมการที่ 6.14 เกิดจากปจจัยยอนกลับไมไดที่เกิดขึ้นภายใน


ระบบและสิ่งแวดลอม โดยปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบจะอยูในรูป Sgen,sys นั่นคือถาระบบอยูภายใต
กระบวนการยอนกลับไดภายใน หมายถึงกระบวนการที่ไมเกิดปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบจะทําให
Sgen,sys=0 ในขณะที่ปจจัยยอนกลับไมไดภายนอกระบบจะเกิดขึ้นภายในสิ่งแวดลอมของระบบในรูป Sgen,surr
นั่นคือถาไมปรากฏปจจัยยอนกลับไมไดภายในสิ่งแวดลอมในขณะดําเนินกระบวนการจะทําให Sgen,surr = 0
ดังนั้นจากสมการที่ 6.14 เอนโทรปเจนเนอเรชันรวม Sgen คือ

 2 Q   2 Q 
S total  S gen    sys  S gen ,sys     R  S gen ,surr  6.15
 1 Tsys  sys  1 TR  surr

โดยที่

Qsysแทน ความรอนที่ระบบไดรับ (สัญลักษณของ Qsys พิจารณาอางอิงกับระบบ)

QR แทน ความรอนที่สิ่งแวดลอมไดรบั (สัญลักษณของ QR พิจารณาอางอิงกับสิ่งแวดลอม)

Tsys และ TR แทน อุณหภูมิสมบูรณของระบบและอุณหภูมิสมบูรณของสิ่งแวดลอม


บทที่ 6 เอนโทรป 257

ถ า ความร อ นที่ ร ะบบได รั บ ทั้ ง หมดเท า กั บ ความร อ นทั้ ง หมดที่ สิ่ ง แวดล อ มสู ญ เสี ย นั่ น คื อ
Q sys  Q R และในระหวางดําเนิน กระบวนการไมปรากฏปจจัยยอนกลับไมไดทั้งภายในระบบและ
ภายในสิ่งแวดลอม ทําให Sgen,sys= 0 และ Sgen,surr = 0 ตามลําดับ จากสมการที่ 6.15 อาจกลาวไดวา
เอนโทรปเจนเนอเรชันรวม Sgen จะขึ้นอยูกับการถายเทความรอนเนื่องจากความแตกตางระหวางอุณหภูมิ
ของระบบและสิ่งแวดลอม

ถาระบบและสิ่งแวดลอมไมมีการถายเทความรอนระหวางกันและในระหวางดําเนินกระบวนการไม
ปรากฏปจจัยยอนกลับไมไดทั้งภายในระบบและภายในสิ่งแวดลอม ทําให Sgen,sys=0 และ Sgen,surr = 0
พิจารณาจากสมการที่ 6.15 จะเห็นวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปเจนเนอเรชันรวมเทากับศูนย Sgen =0

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแหลงความรอน บอยครั้ง ที่พบวาระบบถายเทความรอนกับ


สิ่งแวดลอมที่มีอุณหภูมิคงที่ (TR) โดยสิ่งแวดลอมเหลานั้นมีฐานะเปนแหลงความรอน เชน การถายเทความ
รอนระหวาง เครื่องจัก รความรอน เครื่องทําความเย็น หรือ ปมความรอน กับแหลง ความรอนตางๆ
โดยทั่วไปถือวาไมปรากฏปจ จัยยอนกลับไมไดภายในแหลงความรอนเหลานั้น ทําให Sgen,surr = 0 ถา
กําหนดใหความรอนสุทธิที่แหลงความรอนไดรับแทนดวย QR จะไดการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแหลง
ความรอน ดังนี้

Q R
S surr    S gen , surr
TR

เนื่องจาก Sgen,surr = 0 และ TR = คงที่ ดังนั้น


QR
S surr  6.16
TR

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.4 แท็งกคงรูปหุมฉนวนอยางดีบรรจุอากาศมวล 5 kg อุณหภูมิ 15๐C ความดัน 100 kPa


ไดรับความรอนจากลวดความรอนจนอากาศมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเปน 40๐C จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป
อากาศจากกระบวนการนี้
258 เทอรโมไดนามิกส

วิธีทํา

พิจารณาอากาศภายในแท็งกคงรูปเปนระบบ ดังนั้นจึงระบบที่พิจารณาจึงเปนระบบปดและพบวา
ไมมีปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นภายในระบบ ทําใหเอนโทรปเจนเนอเรชันของระบบเทากับศูนย S gen,air  0
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศหาไดจากสมการที่ 6.11 ดังนี้
2
Q
S air  S 2  S 1    S gen, air
1 T

เนื่องจาก S gen , air  0 ดังนั้น


2
Q
S air  
1 T

อากาศไดรับความรอนจากลวดความรอนโดยการเปลี่ยนงานทางไฟฟาใหเปนความรอนโดยตรง
จนทําใหอากาศมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจาก 15๐C เปน 40๐C ดังนั้นในกระบวนการที่พิจารณาจึงไมปรากฏ
งาน (W = 0) แตจะปรากฏความรอนที่เกิดจากการเปลี่ยนรูปของงานแทน จากกฎขอที่หนึ่งทางเทอรโม
ไดนามิกสสําหรับระบบปดในรูปสมการอนุพันธจะได

Q  W  dU
เนื่องจาก W  0 ดังนั้น

Q  dU
จากสภาวะของอากาศที่พิจารณาถือไดวาอากาศเปนแก็สอุดมคติ ทําให dU  mC v dT ดังนั้น
บทที่ 6 เอนโทรป 259
2
Q 2 mC v dT T
S air      mC v ln 2
1 T 1 T T1
313
S air  5x0.717 x ln  0.3 kJ/K ตอบ
288
---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.5 ในระหวางดําเนินกระบวนการระบบสูญเสียความรอน 7.5 kJ ใหกับอากาศในสิ่งแวดลอม


อุณหภูมิ 350 K จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศในสิ่งแวดลอม

วิธีทํา

พิจารณาใหอากาศในสิ่งแวดรอนมีอุณหภูมิคงที่ TR = 350 K ตลอดการดําเนินกระบวนการของ


ระบบ และพบวาไมมีปจจัยยอนกลับไมไดเกิดขึ้นภายในสิ่งแวดลอม S gen,surr air  0 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลง
เอนโทรปของอากาศในสิ่งแวดลอมคือ

Q R
S surr air    S gen ,surr air
TR

เนื่องจากอากาศในสิ่งแวดรอนมีอุณ หภูมิคงที่ TR = 350 K ไดรับความรอน QR = 7.5 kJ และ


S gen,surr air  0
260 เทอรโมไดนามิกส

ดังนั้น

1 Q 7.5
S surr air   Q R  R   0.021 kJ/K ตอบ
TR TR 350

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.6 ลูกสูบและกระบอกสูบที่ไรความเสียดทานดังรูป ภายในกระบอกสูบบรรจุน้ําในสถานะของ


ผสมเหลวและไออิ่มตัว อุณหภูมิ 100๐C ในระหวางกระบวนการความดันคงที่น้ําคายความรอน 600 kJ
ใหกับอากาศในสิ่งแวดลอมอุณหภูมิ 25๐C ซึง่ ทําใหไอน้ําบางสวนกลั่นตัว จงตอบคําถามตอไปนี้

ก.จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ํา

ข.จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศในสิ่งแวดลอม

ค.จงพิจารณาการเกิดกระบวนการตามขอกําหนดของตัวอยางวา เปนกระบวนการยอนกลับได
หรือ กระบวนการยอนกลับไมได หรือ เปนไปไมไดที่จะเกิดกระบวนการดังกลาว

วิธีทํา

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ํา กําหนดใหน้ําภายในกระบอกสูบเปนระบบ ทําให


ระบบที่พิจารณาเปนระบบปด ในขณะที่น้ําคายความรอนมีไอน้ําบางสวนกลั่นตัวอยางชาๆ จึงทําใหลูกสูบ
เคลื่อนที่อยางไรแรงเสียดทานในทิศทางการอัดอยางชาๆ แสดงวาไมเกิดปจจัยยอนกับไมไดภายในระบบใน
ระหวางดําเนินกระบวนการ จึงถือวากระบวนการเปนกระบวนการยอนกลับไดภายในทําให S gen ,water  0
ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ําคือ

Q
S water    S gen , water
T
แตเนื่องจาก S gen ,water  0 และน้ําใหความรอน Q = -600kJ ในขณะอุณหภูมิคงที่ T = 100๐C นั่นคือ

Q 1 Q  600
S water     Q    1.609 kJ/K ตอบ
T T T 100  273
บทที่ 6 เอนโทรป 261

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศในสิ่งแวดลอม อากาศในสิ่งแวดลอมไดรับ
ความรอน Q = +600 kJ จากน้ํา ในขณะที่อากาศมีอุณหภูมิคงที่ Tair = 25๐C ไมมีปจจัยยอนกลับไมไดใดๆ
กับอากาศในสิ่งแวดลอมขณะดําเนินกระบวนการ S gen,air  0 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศ
ในสิ่งแวดลอมคือ

Q
S air    S gen ,air
T
แตเนื่องจาก S gen,air  0 และอากาศในสิ่งแวดลอมไดรับความรอน Q = +600 kJ จากน้ํา ในขณะที่อากาศ
มีอุณหภูมิคงที่ Tair = 25๐C ตลอดกระบวนการ ดังนั้น

Q 1 Q  600
S air     Q    2.01 kJ/K ตอบ
Tair Tair Tair 25  273

พิ จ ารณาการเกิ ด กระบวนการ ถ า กระบวนการตามเงื่ อ นไขของตั ว อย า งเป น จริ ง การ


เปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมของกระบวนการจะตองมากกวาหรือเทากับศูนยเสมอ ดังแสดงในสมการที่ 6.14
กลาวคือ

S total  S gen  S sys  S surr  0

ในที่นี้พิจารณาระบบเปนนําภายในกระบอกสูบและอากาศเปนสิ่งแวดลอม คือ

S sys  S water  1.609 kJ/K และ S surr  S air  2.01 kJ/K ตามลําดับ ดังนั้น

S total  S gen  1.609  2.01  0.401  0

จากสมการขางตนจะเห็นวาสมการเปนจริง แสดงวากระบวนการตามเงื่อนไขของตัวอยางมีความ
เปนไปได และ เอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการมากกวาศูนย ( S total  S gen  0.401  0 ) จึง
ถือไดวาเปนกระบวนการยอนกลับไมได ตอบ
262 เทอรโมไดนามิกส

อิทธิพลยอนกลับไมไดที่เกิดขึน้ ในระหวางดําเนินกระบวนการคือ การถายเทความรอนจากความ


แตกตางของอุณหภูมิระหวางระบบ(น้ํา) และสิง่ แวดลอม(อากาศ) เปนสาเหตุใหเอนโทรปเจนเนอเรชันรวม
ของกระบวนการมากกวาศูนย

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.7 แหลงความรอนอุณหภูมิสูง 800 K ใหความรอน 2000 kJ กับแหลงความรอนอุณหภูมิต่ํา


ดังนี้ ก) แหลงความรอนอุณหภูมิต่ําอุณหภูมิ 500 K และ ข) แหลงความรอนอุณหภูมิต่ําอุณหภูมิ 750 K
ดังรูป จงพิจารณาวากระบวนการถายเทความรอนกระบวนการใดเกิดปจจัยยอนกลับไมไดมากกวากัน

วิธีทํา

การถายเทความรอนในขณะอุณหภูมิคงที่ของแหลงความรอนทั้งหมดที่พิจารณาไมปรากฏปจจัย
ยอนกลับไมไดเกิดขึ้นภายในแหลงความรอนเหลานั้น ถาพิจารณาใหแหลงความรอนอุณหภูมิสูง แทนดวย
Source และ แหลงความรอนอุณหภูมิต่ํา แทนดวย Sink ดังนั้น Sgen,source = 0 และ Sgen,sink = 0 ตามลําดับ

ก) พิจารณาแหลงความรอนอุณหภูมิสูง 800 K ถายเทความรอน 2000 kJ ใหกับแหลงความรอน


อุณหภูมิต่ําอุณหภูมิ 500 K ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมคือ

Q Q
S total  S source  S sin k     S gen ,source      S gen , sin k 
 T  source  T  sin k

Q Q Q Q
S total          
 T  source  T  sin k Tsource Tsin k
บทที่ 6 เอนโทรป 263

2000 2000
S total    2.5  4.0  1.5 kJ/K
800 500
ข) พิจารณาแหลงความรอนอุณหภูมิสูง 800 K ถายเทความรอน 2000 kJ ใหกับแหลงความรอน
อุณหภูมิต่ําอุณหภูมิ 750 K ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมคือ
2000 2000
S total    2.5  2.7  0.2 kJ/K
800 750
จะเห็นไดวากระบวนการถายเทความรอนทั้งสองกระบวนการมีความเปนไปไดเนื่องจากทั้งสอง
กระบวนการ S total  0 สาเหตุที่ทั้งสองกระบวนการ S total  0 เพราะปจจัยยอนกลับไมไดจากการ
ถายเทความรอนของแหลงความรอนที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน และจะเห็ นไดวากระบวนการถายเทความ
รอ นในข อ ก) มี อิท ธิ พลของป จ จั ยย อนกลับ ไม ไ ด ใ นระหว างดํ าเนิน กระบวนการสูง กว า เพราะมี ก าร
เปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมสูงกวากระบวนการในขอ ข) ตอบ

ตัวอยางนี้ทําใหสังเกตไดวากระบวนการถายเทความรอนที่เกิดจากความแตกตางระหวางอุณหภูมิ
มากจะทําใหเกิดปจ จัยยอนกลับไมไ ด ใ นกระบวนการมากกวากระบวนการถายเทความรอนที่มีความ
แตกตางระหวางอุณหภูมิที่นอยกวา และกระบวนการถายเทความรอนแบบยอนกลับไดจะเกิดขึ้นเมื่อความ
แตกตางระหวางอุณหภูมิของแหลง ความรอนทั้งสองเทากัน นั่นคือ S total  0 ซึ่งหมายถึง แหลงความ
รอนทั้งสองที่ถายเทความรอนระหวางกันมีอุณหภูมิเทากัน

---------------------------------------------------------------------------

6.5 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบเปดหรือปริมาตรควบคุม

ที่ผานมาเราทราบวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปดเกิดจาก 2 ปจจัย คือ การถายเทความ


รอนระหวางระบบและสิ่งแวดลอม และ ปจจัยยอนกลับไมไดที่เกิดขึ้นภายในระบบ ในหัวขอนี้จะเนนหนักใน
การพิจารณาถึงปจจัยตางๆ ที่ทําใหเอนโทรปของระบบเปดเปลี่ยนแปลง เปนที่ทราบดีแลววาระบบเปด
แตกตางจากระบบปดตรงที่ระบบเปดมีการถายเทมวลระหวางระบบและสิ่งแวดลอม อีกทั้งเอนโทรปเปน
คุณสมบัติชนิดหนึ่ง ดังนั้นระบบเปดจะไดรับเอนโทรปจากมวลที่เขาสูระบบและสูญเสียเอนโทรปจากมวลที่
264 เทอรโมไดนามิกส

ออกจากระบบดวย นอกเหนือจากปจจัยทั้ง 2 ปจจัยที่ทําใหเอนโทรปของระบบปดเปลี่ยนแปลง โดยสรุป


อาจกลาวไดวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบเปดจึงเกิดจาก 3 ปจจัย คือ

1. การถายเทความรอนระหวางระบบและสิ่งแวดลอม
2. ปจจัยยอนกับไมไดที่เกิดขึ้นภายในระบบ
3. การถายเทมวลระหวางระบบและสิ่งแวดลอม
Q
m e s e

m i s i S gen ,CV

รูปที่ 6.10 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบเปด


จากรูปที่ 6.10 แสดงอิทธิพลของปจ จัยทั้ง 3 ที่ทําใหเอนโทรปของระบบเปด เปลี่ยนแปลง ถา
พิจารณาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปตอเวลาของปริมาตรควบคุม (dSCV/dt) จากปจจัยทั้ง 3 พิจารณาได
ดังนี้
dS CV Q
  k   m i s i   m e s e  S gen,CV 6.17
dt Tk
จากสมการที่ 6.17 จะเห็นไดวาอัตราการเปลี่ยนแปลเอนโทรปของปริมาตรควบคุม dSCV / dt ของ
กระบวนการใดๆ จะเทากับผลรวมของปจจัยทั้งสามขางตนคือ
1. อัต ราการถายเทเอนโทรปเนื่องจากการถายเทความรอน (  Q k / Tk )โดยที่ Tk อุณ หภูมิ
สมบูรณที่ขอบเขตของระบบ ณ. ตําแหนงที่มีการถายเทความรอน Q k การระบุเครื่องหมาย
ของอัตราความรอน Q k จะพิจารณาโดยอางอิงกับระบบเปนสําคัญ
2. อัต ราการถายเทเอนโทรปเนื่องจากการเคลื่อนที่เขาและเคลื่อนที่ ออกจากระบบโดยมวล
(  m i s i   m o s o )
3. ปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบในรูปของอัตราการเกิดเอนโทรปเจนเนอเรชันภายในปริมาตร
ควบคุม ( S gen,CV ) ถาระบบอยูภายใตกระบวนการยอนกลับไดภายในจะทําให S gen ,CV  0
บทที่ 6 เอนโทรป 265

การหาอัตราการเกิดเอนโทรปเจนเนอเรชันรวม อาจเรียกวาอัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป
รวมของกระบวนการ สามารถวิเคราะหไดโดยพิจารณาทั้งระบบและปริมาตรควบคุมเปนระบบในรูปของ
ระบบโดดเดี่ยวดังนี้ พิจารณาปริมาตรควบคุมหนึ่งมีการถายเทความรอนกับสิ่งแวดลอมอุณหภูมิคงที่ TR
ดวยอัตราความรอน Q R และสมมติใหอุณหภูมิที่ขอบเขตของระบบเทากับอุณหภูมิของสิ่งแวดลอม (Tk =
TR) ณ.ตําแหนงที่มีการถายเทความรอน Q R อยูนั้น ดังแสดงในรูปที่ 6.11

Q k  Q R
m e s e

m i s i S gen ,CV

รูปที่ 6.11 การพิจารณาเอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการสําหรับระบบเปด

เนื่องจากภายในสิ่งแวดลอมดังรูปที่ 6.11 ไมปรากฏปจจัยยอนกลับไมได ดังนั้น S gen , surr  0 จึงทํา


ใหปจจัยยอนกลับไมไดภายในเกิดขึ้นเฉพาะภายในปริมาตรควบคุม นั่นคือ S gen  S gen ,CV ในขณะที่อัตรา
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของสิ่งแวดลอมจะเทากับ

dS surr Q
  R  S gen , surr
dt TR

แตเนื่องจาก S gen , surr  0 ทําให

dS surr Q
 R
dt TR

จัดรูปสมการที่ 6.17 จะได


dS CV Q
S gen  S gen,CV   m e s e   m i s i   k
dt Tk
266 เทอรโมไดนามิกส

Q k Q
จากการพิจารณาดังแสดงในรูปที่ 6.11 จะเห็นไดวา    R ดังนั้น
Tk TR
dS Q
S gen   m e s e   m i s i  CV   R  0 6.18
dt TR
สมการที่ 6.18 แสดงใหเห็นถึงอัตราการเพิ่มขึ้นของเอนโทรปรวมของปริมาตรควบคุมหรือระบบ
เปด ( S gen ) สําหรับปริมาตรควบคุมในเงื่อนไขของกระบวนการสภาวะคงตัวและการไหลคงตัว (Steady
State-Steady Flow Process, SSSF) ซึ่งหมายถึงเปนกระบวนการที่อัตราการเปลี่ยนแปลเอนโทรปภายใน
ปริมาตรควบคุมจะเทากับศูนย ( dSCV / dt  0 ) ดังนั้นสําหรับกระบวนการ SSSF อัตราการเพิ่มขึ้นของเอน
โทรปรวมของกระบวนการคือ
Q R
S gen   m e s e   m i s i  
0 6.19
TR
และสําหรับกระบวนการ SSSF ที่ปริมาตรควบคุมมีทางเขา 1 ทาง และทางออก 1 ทาง ซึ่ง จะทําให
m i  m e  m สมการที่ 6.19 จะอยูในรูปดังนี้
Q R
S gen  m ( s e  s i )   0 6.20
TR
สมการที่ 6.20 สามารถเขียนใหอยูในรูปตอหนวยมวลไดโดย
q
s gen  ( s e  s i )   R  0 6.21
TR
กระบวนการการไหลแบบเอกรูป (Uniform Flow Process) กระบวนการการไหลแบบเอกรูป
หมายถึงกระบวนการที่คุณสมบัติของสารภายในปริมาตรควบคุมมีคาเทากันตลอดทั้งปริมาตรควบคุม แต
อาจมีคาที่เปลี่ยนแปลงไดตามเวลาของการดําเนินกระบวนการ และคุณสมบัติของสารที่ไหลเขาหรือไหล
ออกจากปริมาตรควบคุมจะตองมีคาเทากันตลอดทั้งชองทางไหลเขาและไหลออกจากปริมาตรควบคุมและ
จะตองคงที่ไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังนั้นถาพิจารณาเอนโทรปเจนเนอเรชันของการไหลแบบเอกรูป จาก
สมการที่ 6.19 ในชวงเวลา t จะได
QR
S gen   m e s e   m i s i  (S 2  S 1 ) CV   0 6.22
TR
บทที่ 6 เอนโทรป 267

โดยที่ ตัวหอย 1 แทน สภาวะเริ่มตนของปริมาตรควบคุม และ ตัวหอย 2 แทน สภาวะสุดทายของ


ปริมาตรควบคุม

6.6 แผนภูมิคุณสมบัติที่เกี่ยวกับเอนโทรป
จากการศึกษากฎขอที่สองทางเทอรโมไดนามิกสและเอนโทรปที่ผานมาจะเปนการงายถา แผนภูมิ
คุณ สมบั ติของสารอางอิง ดวยเอนโทรป เพราะว าจะทํา ให ก ารพิจ ารณาความเปน ไปไดข องการเกิ ด
กระบวนการ ตลอดจนการพิ จ ารณาอิ ท ธิ พ ลของป จ จั ย ย อ นกลั บ ไม ไ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว า งดํ า เนิ น
กระบวนการ จะพิจารณาไดงายถาทราบการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการนั้นๆ เมื่อเทียบกับ
แผนภูมิ P-v และ แผนภู มิ T-v ที่ไ ดทําการศึกษาผานมาแลว แผนภูมิคุณสมบัติที่เกี่ยวกับเอนโทรป
ประกอบดวย 2 แผนภูมิ คือ
1. แผนภูมิอุณหภูมิและเอนโทรปจําเพาะ (T-s Diagram)
2. แผนภูมิเอนทาลปจําเพาะและเอนโทรปจําเพาะ (h-s Diagram)
แผนภูมิอุณหภูมิและเอนโทรปจําเพาะ จากที่ทราบวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะอยูในรูป
ความสัมพัน ธดั ง สมการที่ 6.7 ภายใตก ารดําเนิน กระบวนการของกระบวนการยอนกลับไดร วมหรอ
กระบวนการยอนกลับไดภายในอยางใดอยางหนึ่ง คือ
Q int rev  TdS 6.23
ดังนั้นความรอนทั้งหมดที่เกิ ดขึ้นในระหวางการดําเนินกระบวนการยอนกลับได จากสภาวะเริ่มตน คือ
สภาวะที่ 1 และสภาวะสุดทาย คือ สภาวะที่ 2 คือการอินทิเกรตสมการที่ 6.23 ตลอดกระบวนการ 1-2 นั่น
คือ
2
Q int rev   TdS kJ/K 6.24
1

เขียนสมการที่ 6.24 ในรูปตอหนวยมวล คือ


2
q int rev   Tds kJ/kg K 6.25
1
268 เทอรโมไดนามิกส

จากสมการที่ 6.24 จะเห็นไดวาการถายเทความรอนระหวางการดําเนินกระบวนการยอนกลับไดหรือ


ย อ นกลั บ ได ภ ายในทั้ ง หมดต อ หน ว ยมวลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากสภาวะที่ 1 ไปสู ส ภาวะที่ 2 คื อ พื้ น ที่ ใ ต เ ส น
กระบวนการที่พิจารณาบนแผนภูมิ T-s ดังแสดงในรูปที่ 6.12

2
q int rev   Tds
1

รูปที่ 6.12 การถายเทความรอนตอหนวยมวล


ของกระบวนการยอนกลับไดหรือยอนกลับไดภายในบนแผนภูมิ T-s
ความร อ นต อ หน ว ยมวลที่ ถ า ยเทในระหว า งการดํ า เนิ น กระบวนการไอโซเทอร ม อลแบบ
ยอนกลับได สามารถพิจารราไดดังนี้ เนืองจากกระบวนการไอโซเทอรมอล เปนกระบวนการที่ระบบมี
อุณหภูมิคงที่ตลอดการดํานินกระบวนการ กลาวคือถาใหระบบมีอุณหภูมิ T0 = คงที่ ดังนั้นจากสมการที่
2
6.25 จะได q int rev  T0  ds  T0 s
1

ความรอนตอหนวยมวลที่ถายเทในระหวางการดําเนิน กระบวนการไอเซนโทรปก สามารถ


พิจารณาไดดังนี้ เนื่องจากกระบวนการไอเซนโทรปกเปนกระบวนการยอนกลับไดที่ระบบไมมีการถายเท
ความรอนระหวางกระบวนการและสิ่งแวดลอม ดังนั้น จากสมการที่ 6.25 จะได s  0 หรือ s 1  s 2
ดังนั้นวัฏจักรคารโนของเครื่องจักรความรอน ดังแสดงในรูปที่ 6.5 และวัฏจักรคารโนของเครื่องทํา
ความเย็นหรือปมความรอน รูปที่ 6.6 ซึ่งพิจารณาในรูปความสัมพันธ T-S สามารถกระบวนการของวัฏ
จักรทั้งสองบนแผนภูมิ T-s ไดดังรูปที่ 6.13
บทที่ 6 เอนโทรป 269

รูปที่ 6.13 วัฏจักรคารโนของเครื่องจักรความรอนและ


วัฏจักรคารโนของเครื่องทําความเย็นหรือปมความรอน

รูปที่ 6.14 แสดงแผนภูมิ T-s ของน้ําบริสุทธิ์ ในเขตสถานะของเหลวอัดตัว เขตสถานะของผสม


ของเหลวและไออิ่มตัว และ เขตสถานะไอรอนยิ่งยวด ซึ่งจะปรากฏเสนปริมาตรคงที่ และความดันคงที่พาด
ผานเขตสถานะตางๆ ในเขตสถานะของผสมของเหลวและไออิ่มตัวเสนความดันคงที่จะวางตัวขนานกับแกน
เอนโทรปซึ่งเปนแกนนอนของแผนภูมิ ในเขตสถานะของเหลวอัดตัวเสนความดันคงที่จะวางตัวเกือบทับกับ
เสนของเหลวอิ่มตัว นั่นคือการวางตัวของเสนความดันคงที่จะมี ทิศการวางตัวคลายคลึงกับแผนภูมิ T-v
มาก
270 เทอรโมไดนามิกส

รูปที่ 6.14 แผนภูมิ T-s ของน้ําบริสทุ ธิ์


Thermodynamics an Engineering Approach 2nd Edition, Yunus A. Cengel, McGraii-Hill, 1994.

แผนภูมิเอนทาลปจํา เพาะและเอนโทรปจํา เพาะ แผนภูมินี้จ ะมีประโยชนอยางมากในการ


วิเคราะหพลังงานที่เกิดขึ้นในระหวางดําเนินกระบวนการในรูปการเปลี่ยนแปลงเอนทาลป h และอิทธิพล
ของปจ จัยยอนกลับไมไ ดในระหวางดําเนิน กระบวนการในรูปการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป s สําหรับ
อุปกรณที่มีการไหลแบบคงตัว (Steady Flow Device) และเปนอุปกรณที่ไมมีการถายเทความรอนกับ
สิ่งแวดลอม ซึ่งเรียกวากระบวนการไหลแบบคงตัวแบบอะเดียแบติก (Adiabatic Steady Flow Process)
เชน เทอรไบ และ คอมเพรสเซอร เปนตน จากรูปที่ 6.15 พิจารณากระบวนการไหลแบบคงตัวแบบอะเดีย
แบติกของปริมาตรควบคุม ซึ่งสภาวะที่ 1 แทน สภาวะที่ปากทางเขาปริมาตรควบคุม และ สภาวะที่ 2 แทน
สภาวะที่ทางออกของปริมาตรควบคุม พิจารณาอัตราการเกิดเอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการ
จากสมการที่ 6.18 ดังนี้

dS CV Q
S gen   m 2 s 2   m 1 s 1   R 0
dt TR

เนื่องจากเปนกระบวนการไหลแบบคงตัวแบบอะเดียแบติก นั่นคือ dS CV / dt  0 และ  Q R / TR  0


ตามลําดับ ดังนั้น
บทที่ 6 เอนโทรป 271

S gen   m e s e   m i s i  0

h W
slope  
s S gen h

s

รูปที่ 6.15 กระบวนการไหลแบบคงตัวแบบอะเดียแบติก

ของปริมาตรควบคุม เชน เทอรไบ และ คอมเพรสเซอร

พิจารณาคอมเพรสเซอรหรือเทอรไบ ซึ่งมีทางเขา 1 ทาง และ ทางออก 1 ทาง เปนปริมาตรควบคุม ดังนั้น

m  m 2  m 1 ทําใหไดอัตราการเกิดเอนโทรปเจนเนอเรชันรวม คือ

S gen  m ( s 2  s 1 )  m s  0 6.26

ในขณะเดียวกันถาพิจารณากฎขอที่ 1 ทางเทอรโมไดนามิกสกับปริมาตรควบคุมแสดงไดดังนี้
dE CV
Q  W    m 2 h 2   m 1h 1
dt
เนื่องจากพิจ ารณากระบวนการไหลแบบคงตัวแบบอะเดียแบติก นั่น คือ dE CV / dt  0 และ Q  0
ตามลําดับ ดังนั้น

W   m 2 h 2   m 1h 1

พิจารณาคอมเพรสเซอรหรือเทอรไบ ซึ่งมีทางเขา 1 ทาง และ ทางออก 1 ทาง เปนปริมาตรควบคุม ดังนั้น

W  m (h 2  h 1 )  m h 6.27
272 เทอรโมไดนามิกส

จากสมการที่ 6.26 และ สมการที่ 6.27 จะเห็ น ไดว า ความชั น ของเสน กระบวนการไหลแบบคงตั ว
แบบอะเดียแบติก ดังรูปที่ 6.15 ของอุปกรณเชน คอมเพรสเซอร หรือ เทอรไบ คือสัดสวนของงานตอเอน
โทรปเจนเนอเรชันรวมกระบวนการสําหรับอุปกรณนั้นๆ กลาวคือ

h W
slope   6.28
s S gen

รูป A-10 แสดงแผนภูมิ h-s ของน้ําบริสุทธิ์ จะปรากฏเสน อุณหภูมิคงที่ เสนความดันคงที่ และ


เสนคุณภาพในเขตสถานะของผสมของเหลวและไออิ่มตัว ในเขตสถานะไอรอนยิ่งยวดเสนอุณหภูมิคงที่จะ
วางตัวเกือบขนานกันแกนเอนโทรปซึ่งเปนแกนนอนของแผนภูมิ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในบริเวณที่ไอรอน
ยิ่งยวดมีความดันต่ําและหางจากเสนไออิ่มตัวออกไป เนื่องจากในบริเวณนั้นเปนบริเวณที่ไอรอนยิ่งยวดมี
คุณสมบัติคลายแก็สอุดมคติ ซึ่งทําใหเอนทาลปขึ้นกับอุณหภูมิเพียงคุณสมบัติเดียว และในเขตสถานะของ
ผสมของเหลวและไออิ่มตัวเสนอุณหภูมิคงที่จะมีแนวโนมเกือบเปนเสนตรง

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.8 น้ําความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 30๐C อัตราการไหล 0.5 kg/s ผสมอยางคงตัวกับไอน้ํา
ความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 150๐C ในหองผสม ภายหลังจากการผสมมีน้ําความดัน 100 kPa อุณหภูมิ 80

C ไหลออกจากหองผสม ในระหวางการผสมมีความรอนคายออกสูสิ่งแวดลอมอุณหภูมิ 20๐C ดวยอัตรา
2 kW สมมติฐานใหในการไหลของน้ําที่ทางเขาและที่ทางออกไมมีความแตกตางของพลัง งานศักยและ
พลังงานจลน จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการ

m 1  0 . 5 kg / s Q  2 kW
P1  100 kPa
T1  30 o C P3  100 kPa
T3  80 o C

P2  100 kPa
T2  150 o C
บทที่ 6 เอนโทรป 273

วิธีทํา

พิจารณาสิ่งแวดลอมและหองผสมเปนระบบ พิจารณาคุณสมบัติของน้ําที่ทางเขาที่ 1 ทางเขาที่ 2


และ ทางออกที่ 3 ดังนี้

สภาวะที่ทางเขาที่ 1 : P1 = 100 kPa T1 = 30๐C จะได h1 = hf = 125.74 kJ/kg s1 = sf = 0.4368 kJ/kg K

สภาวะที่ทางเขาที่ 2 : P2 = 100 kPa T2 = 150๐C จะได h2 =2776.6 kJ/kg s2 = 7.6148 kJ/kg K

สภาวะที่ทางออกที่ 3 : P3 = 100 kPa T3 = 80๐C จะได h3 = hf =335.02 kJ/kg s3 = sf = 1.0756 kJ/kg K

เนื่องจากหองผสมถือไดวาเปนอุปกรณการไหลแบบคงตั ว จากกฎการอนุรักษมวลและกฎการอนุรัก ษ
พลังงานจะพิจารณาไดตามลําดับดังนี้

กฎการอนุรักษมวล m 1  m 2  m 3

0.5  m 2  m 3 A

กฎการอนุรักษพลังงาน Q  W   m o h o   m ih i

Q  m 3 h 3  m 1h 1  m 2 h 2

2  335.02 m 3  0.5 x125.84  2776.6m 2 B

จากสมการ A และ สมการ B จะได m 2  0.0437 kg/s และ m 3  0.5437 kg/s

จากสมการที่ 6.18 เอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการคือ

dS CV Q
S gen   m e s e   m i s i   R 0
dt TR

เนื่องจากหองผสมที่พจิ ารณาเปนอุปกรณการไหลแบบคงตัว dS CV / dt  0 ดังนัน้


274 เทอรโมไดนามิกส

Q R
S gen  m 3 s 3  m 1 s 1  m 2 s 2 
TR
(2)
S gen  0.5437x1.0756  0.5x0.4368  0.0437x 7.6148 
20  273
S gen  0.0404 kW/K

พิจารณาตัวอยางนี้จะเห็นไดวาอัตราการเกิดเอนโทรปเจนเนอเรชันรวมของกระบวนการมากกวา
ศูนย เปนผลมาจาก 2 อิทธิพลคือ 1. การถายเทมวลของน้ําระหวางหองผสมและสิ่งแวดลอม และ 2. การ
ถายเทความรอนระหวางหองผสมและสิ่งแวดลอมเนื่องจากความแตกตางของอุณหภูมิ นั่นคืออิทธิพลทั้ง
2 ทําใหเกิดการยอนกลับไมไดของกระบวนการที่พิจารณา

---------------------------------------------------------------------------

6.7 ความสัมพันธ Tds

จากที่ผานมาทราบวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการตางๆ ขึ้นกับการถายเทความรอน
Q
ของกระบวนการยอนกลับได ( dS  ) ดังนั้นการพิจารณาความสัมพันธ Tds ในที่นี้จึงเริ่มจากการ
T int rev
พิจารณาสมการอนุรักษพลังงานของระบบปดในรูปอนุพันธสําหรับกระบวนการยอนกลับไดภายใน โดยที่
พิจารณาใหระบบบรรจุสารอัดตัวไดอยูภายใน คือ

Q int,rev  Wint,rev  dU

แต Q int, rev  TdS และ Wrev ,int  PdV

ดังนั้น TdS  PdV  dU จัดรูปสมการจะได

TdS  dU  PdV 6.29

เขียนสมการที่ 6.29 ในรูปตอหนวยมวลคือ

Tds  du  Pdv 6.30


บทที่ 6 เอนโทรป 275

สมการที่ 6.30 เรียกวา Gibbs Equation และจาก h = u + Pv ดังนั้น

dh  du  Pdv  vdP

du  dh  Pdv  vdP
แทนในสมการที่ 6.30 จะได

Tds  (dh  Pdv  vdP)  Pdv


Tds  dh  vdP 6.31

จะเห็นวาสมการที่ 6.30 และ สมการที่ 6.31 แสดงอยูในรูปความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลง


เอนโทรป ข องระบบที่ ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ลจากการเปลี่ ย นแปลงคุ ณ สมบั ติ อื่ น ๆ ของระบบ จึ ง กล า วได ว า
ความสัมพัน ธดังแสดงในสมการทั้ง สองนี้ขึ้น กับสภาวะไมขึ้น กับเสนทางการดําเนิน กระบวนการ ทําให
ความสัมพันธเหลานี้สามารถใชพิจารณาได โดยไมจํากัด ชนิด ของกระบวนการและไมจํากัดรูปแบบของ
เสนทางการดําเนินกระบวนการ อีกทั้งสมการทั้งสองยังสามารถใชพิจารณาไดทั้งระบบเปดและระบบปด
อีกดวย จัดรูปสมการทั้งสองใหมจะได
du Pdv
ds   6.32
T T
dh vdP
และ ds   6.33
T T
การหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการสามารถทําไดโดยการอินทิเกรตสมการที่ 6.32
หรือ สมการที่ 6.33 จากสภาวะเริ่มตนถึงสภาวะสิ้นสุดกระบวนการ ดังที่จะไดกลาวในหัวขอตอไป

6.8 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแก็สอุดมคติ

เมื่อสารที่พิจารณามีพฤติกรรมคลายแก็สอุดมคติ นั่นคือ du = CvdT และ P = RT/v แทนในสมการ


ที่ 6.32 จะได
276 เทอรโมไดนามิกส

C v dT R
ds   dv
T v
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแก็สอุดมคติสําหรับกระบวนการใดๆ หาไดโดยการอินทิเกรตตั้งแต
สภาวะเริ่มตนจนถึงสภาวะสุดทายคือ
2 2
C v ( T )dT 2 R
 ds   T
  dv
1 1 1 v

2
C v ( T )dT v
s2  s1    R ln 2 6.34
1 T v1

ทํานองเดียวกันหากแทนความสัมพันธของคุณสมบัติของแก็สอุดมคติ คือ dh = CpdT และ v = RT/P ใน


สมการที่ 6.33 จะได
C p dT R
ds   dP
T P
2 C p ( T )dT P
s2  s1    R ln 2 6.35
1 T P1

สิ่งที่นาสังเกตคือการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแก็ส อุดมคติจะขึ้นกับความดันและอุณหภูมิดัง
แสดงในสมการที่ 6.35 หรือ ขึ้นกับปริมาตรจําเพาะและอุณหภูมิดังแสดงในสมการที่ 6.34 ซึ่งแตกตางจาก
การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปและการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในของแก็สอุดมคติที่จะขึ้นกับอุณหภูมิเทานั้น

ความรอนจําเพาะ Cv และ Cp ดังปรากฏในสมการที่ 6.34 และ สมการที่ 6.35 ขึ้นกับอุณหภูมิของ


แก็ส อุด มคติ ซึ่ ง แสดงสัญลัก ษณ Cv(T) และ Cp(T) ในสมการทั้ง สองตามลําดับ การวิเคราะหก าร
เปลี่ยนแปลงเอนโทรปจากสมการทั้งสองทําไดโดย 2 วิธีการ ดังนี้
บทที่ 6 เอนโทรป 277

วิธีที่ 1. การประมาณคาความรอนจําเพาะใหเปนคาคงที่

วิธีการนี้เปนการประมาณคาความรอนจําเพาะใหเปนคาคงที่ในรูปคาความรอนจําเพาะเฉลี่ย (Cp,av
หรือ Cv,av) คาความรอนจําเพาะเฉลี่ยเหลานี้ไ ดมาจากคาความรอนจําเพาะที่อุณ หภูมิเฉลี่ย Tav ของ
อุณหภูมิในสภาวะเริ่มตนกระบวนการและอุณหภูมิในสภาวะสิ้นสุดกระบวนการ กลาวคือ

C p, av  C p ( Tav )  คงที่ และ C v ,av  C v (Tav )  คงที่


T1  T2
เมื่อ Tav 
2
วิธีการนี้อาจมีความคาดเคลื่อนอยูบาง แตหากกระบวนการมีความแตกตางของอุณหภูมิเริ่มตน T1 และ
อุณหภูมิสุดทาย T2 ไมมากเกินไปนัก ความคาดเคลื่อนของวิธีนี้จะอยูในเกณฑที่ยอมรับได ดังนั้นโดยวิธีการ
นี้การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจากสมการที่ 6.34 และ สมการที่ 6.35 จะแสดงไดดังนี้ตามลําดับ

T2 v
s 2  s 1  C v, av ln  R ln 2 [kJ/kg K] 6.36
T1 v1
T2 P
s 2  s 1  C p,av ln  R ln 2 [kJ/kg K] 6.37
T1 P1

ถาทําการคูณมวลโมเลกุล (M) ของแก็สอุดมคติที่พิจารณาทั้งสองดานของสมการที่ 6.36 และสมการที่


6.37 จะไดความแตกตางของเอนโทรปตอหนวยโมลของแก็ส ตามลําดับดังนี้

T2 v
s 2  s 1  C v, av ln  R u ln 2 [kJ/kmol K] 6.38
T1 v1
T2 P
s 2  s 1  C p,av ln  R u ln 2 [kJ/kmol K] 6.39
T1 P1

วิธีที่ 2. การพิจารณาความรอนจําเพาะแปรผันตามอุณหภูมิ

เมื่อกระบวนการมีความแตกตางของอุณหภูมิมากความรอนจําเพาะของแก็สอุดมคติจะแปรผัน
แบบไม เปน เสน ตรง (Nonlinear) กับอุณ หภูมิ ดัง นั้น การใชวิธีก ารประมาณแบบวิธี ที่ 1 จะทํา ใหก าร
278 เทอรโมไดนามิกส

เปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการมีความคลาดเคลื่อนอยางมาก หากทําการอิน ทิเกรตความรอน


จําเพาะในรูปฟงกชันของอุณหภูมิดังที่เคยศึกษาไวแลวในบทที่ 2 ก็จะทําใหยุงยากอยางมาก เพื่อหลีกเลี่ยง
ปญหาทั้งหมดขางตนสําหรับกรณีดังกลาวการหาความแตกตางของเอนโทรปของกระบวนการสําหรับแก็ส
อุดมคติจะหาไดโดยวิธีการตอไปนี้
dT
วิธีก ารนี้เริ่ มจากการพิจ ารณาฟ ง กชั น s o โดย s o ได จ ากการอิ น ทิ เกรตเทอม C p
ตั้ ง แต
T
อุณหภูมิศูนยองศาสมบูรณ (0 K) ถึงอุณหภูมิ T ที่สนใจ ดังแสดงในสมการที่ 6.40 โดยคา s o ของอากาศ
ในสภาพแก็สอุดมคติจะแสดงในตาราง A-17

o
T
dT
s   Cp 6.40
0 T
2C p (T )dT
ดัง นั้น เทอม  ในสมการที่ 6.35 จึงอยูใ นรูปผลตางระหวางคา s o ที่อุณ หภูมิ T1 และ s o ที่
1 T
อุณหภูมิ T2 กลาวคือ
2
dT o o
 Cp T
 s2  s1 6.41
1

ทําใหสามารถเขียนสมการที่ 6.35 ใหมไดดังนี้

P2
s 2  s 1  s 2o  s 1o  R ln [kJ/kg K] 6.42
P1

อาจแสดงสมการที่ 6.42 ใหอยูในรูปตอหนวยโมลไดดังนี้


P2
s 2  s 1  s 2o  s 1o  R u ln [kJ/kmol K] 6.43
P1

การหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปในรูปความสัมพันธของปริมาตรจําเพาะและอุณหภูมิดังสมการที่
6.34 โดยวิธีการนี้สามารถทําไดในแนวทางเดียวกันกับขางตน โดยเริ่มตนจากการกําหนดฟงกชันใหมขึ้นมา
ในทํานองเดียวกับ s o ในสมการที่ 6.40 และทําการสรางตารางความสัมพันธของฟงกชันที่สรางขึ้นใหมนี้ที่
บทที่ 6 เอนโทรป 279

อุณหภูมิตางๆ ของแก็สอุดมคติ อยางไรก็ตามในเอกสารนี้ไดใหต ารางความสัมพันธของฟงกชัน s o เพียง


ฟงกชันเดียว ดังนั้นจึงไมขอกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปในรูปความสัมพันธของปริมาตรจําเพาะและ
อุณหภูมิสําหรับวิธีการนี้

กระบวนการไอเซนโทรปกของแก็สอุดมคติ กระบวนการไอเซนโทรปกเปนกระบวนการยอนกลับไดและ
ไมมีการถายเทความรอนระหวางดําเนินกระบวนการ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการจึง
เทากับศูน ย s  0 ในที่นี้จะทําการพิจารณาความสัมพันธระหวาง ความดัน อุณ หภูมิ และ ปริมาตร
จําเพาะ ของแก็สอุดมคติสําหรับกระบวนการไอเซนโทรปกจากการพิจารณาทั้งสองวิธีขางตน

วิธีที่ 1. การประมาณคาความรอนจําเพาะใหเปนคาคงที่

พิจารณากระบวนการไอเซนโทรปกของแก็สอุดมคติ ดังนั้นจากสมการที่ 6.34 สําหรับกระบวนการ


ไอเซนโทรปก s  0 คือ
2
C v ( T )dT v
0  R ln 2
1 T v1

พิจารณาให Cv = คงที่ ดังนั้น


T v
0  C v ln 2  R ln 2
T1 v1
T2 R v
ln   ln 2
T1 Cv v1
R / Cv
T2  v 1 
 
T1  v 2 

แต R  C p  C v ดังนั้น
Cp Cv

T2  v 1  Cv
 
T1  v 2 
280 เทอรโมไดนามิกส

กําหนดให k  C p / C v และเรียกวาอัตราสวนความรอนจําเพาะ(Specific Heat Ratio) จึงทําให


k 1
T2 v 
  1  6.44
T1 s  const .  v2 
RT
จาก v  แทนในสมการที่ 6.44 จะได
P
k 1 k 1 k 1
T2  RT1 P2  P   T1 
     2   
T1  P1 RT2   P1   T2 
k k 1
 T2   P2 
    
 T1   P1 
k 1
T2 P  k
  2  6.45
T1 s const .  P1 
แทนสมการที่ 6.45 ในสมการที่ 6.44 จะได
k
P2 v 
  1  6.46
P1 s  const .  v2 
สามารถแสดงสมการที่ 6.44 ถึง สมการที่ 6.46 ในรูปยอไดตามลําดับดังนี้

Tv k  1  คงที่ 6.47ก

TP ( 1k ) / k  คงที่ 6.47ข

Pv k  คงที่ 6.47ค

คาอัตราสวนความรอนจําเพาะ k จะแปรผันตามอุณหภูมิ ดังนั้นในการวิเคราะหกระบวนการไอเซนโทรปก


สําหรับแก็สอุดมคติจะตองเปนคาเฉลี่ยซึ่งไดจากอุณหภูมิเฉลี่ยของกระบวนการ
บทที่ 6 เอนโทรป 281

วิธีที่ 2. การพิจารณาความรอนจําเพาะแปรผันตามอุณหภูมิ
เมื่อมีความแตกตางของอุณหภูมิมากในการดําเนินกระบวนการไอเซนโทรปก การวิเคราะห แบบ
ความรอนจําเพาะคงที่ดังเชนวิธีที่ 1 ขางตนจะมีความคลาดเคลื่อนมาก การวิเคราะหความสัมพันธ ความ
ดัน อุณหภูมิ และ ปริมาตรจําเพาะ ของกระบวนการไอเซนโทรปกสําหรับแก็สอุดมคติจึงตองวิเคราะหโดย
พื้นฐานของสมการที่ 6.42 กลาวคือสําหรับกระบวนกาไอเซนโทรปก s  0 ดังนั้น
P
0  s o2  s 1o  R ln 2
P1
P
s 2o  s 1o  R ln 2 6.48
P1
จัดรูปสมการที่ 6.48 จะได
P2 s o2  s 1o
 exp
P1 R
P2 exp(s o2 / R)

P1 exp(s 1o / R)
เทอม exp(s o / R) เรียกวา ความดันสัมพัทธ (Relative Pressure) แทนดวย Pr และจะเห็นไดวา Pr เปนตัว
แปรไรมิติ และขึ้นกับอุณหภูมิ เพราะวา s o เปนฟงกชันของอุณหภูมิเทานั้นดังแสดงในสมการที่ 6.40 คา Pr
ของอากาศในสภาพแก็สอุดมคติที่อุณหภูมิตางๆ แสดงในตาราง A-17 และจากสมการขางตน จะได
P2 Pr 2
 6.49
P1 s  const .
Pr 1
จากสมการสภาวะของแก็สอุดมคติ จะได
Pv P v P v
R  1 1  2 2
T T1 T2
ดังนั้น
v 2 T2 P1

v 1 T1 P2
282 เทอรโมไดนามิกส

แทนสมการที่ 6.49 ในสมการขางตนจะได


v 2 T2 Pr 1 T2 / Pr 2
 
v 1 T1 Pr 2 T1 / Pr 1

จากสมการขางตนจะเห็นไดวาเทอม T / Pr เปนฟงกชันของอุณหภูมิเทานั้น และเรียกเทอมนี้วา ปริมาตร


จําเพาะสัมพัทธ (Relative Specific Volume) แทนดวย vr สําหรับอากาศในสภาพแก็สอุดมคติแสดงใน
ตาราง A-17 นั่นคือ

v2 vr 2
 6.50
v1 s const .
vr 1

สิ่งสําคัญสําหรับความสัมพันธ ความดัน อุณหภูมิ และ ปริมาตรจําเพาะ ของแก็สอุดมคติจาก


สมการที่ 6.44 ถึง สมการที่ 6.50 ที่จะลืมไมไดคือ

1. ตองเปนแก็สอุดมคติ
2. ตองเปนกระบวนการไอเซนโทรปก

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.9 แก็สไนโตรเจน N2 ถูกอัดโดยคอมเพรสเซอรจากสภาวะ P1 = 100 kPa T1 = 17๐C เปน P2 =


600 kPa T2 = 57๐C จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการ

วิธีการ

เนื่องจากสภาวะของไนโตรเจนที่พิจารณามีความดันต่ําและอุณหภูมิสูง P2  600kPa

เมื่อเทียบกับสภาวะวิก ฤติ ดัง นั้น จึง ถือไดวาไนโตรเจนที่พิจ ารณามี T2  57 o C (330K )

สภาพเปนแก็สอุดมคติ จากความสัมพันธ Tds จะได


dh v
ds   dP P1  100kPa
T T
T1  17 o C ( 290K )
บทที่ 6 เอนโทรป 283
2
1 2 2
v
 ds   T dh   T dP
1 1 1

RT
เนื่องจากพิจารณาเปนแก็สอุดมคติ ดังนั้น dh  C p dT และ v  แทนในสมการขางตน จะได
P
2 Cp 2
2
R
 ds   dT   dP
1 1 T 1 P

แก็สไนโตรเจนมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไมมากในกระบวนการอัดดังนั้น จึงเลือกใชวิธีการประมาณคาความ
รอนจําเพาะใหเปนคาคงที่ กลาวคือ
2 2
1 2
1
 ds  C p , av  dT  R  dP
1 1 T 1 P

C p, av  C p ( Tav )  คงที่
T1  T2 290  330
เมื่อ Tav    311.5K
2 2
สําหรับแก็สไนโตรเจน จากตาราง A-1 จะได R = 0.2968 kJ/kg K และ จากตาราง A-2b ที่ Tav = 311.5 K
จะได C p,av  C p (311.5)  1.03946 kJ/kg K ดังนั้น
330 600
s 2  s 1  1.03946ln  0.2968ln
290 100
s  s 2  s 1  0.397 kJ/kg K ตอบ

ผลลัพธที่ผานมาไดจากการหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปดวยวิธีการประมาณคาความรอนจําเพาะ
ใหเปนคาคงที่ ในที่นี้จะลองพิจารณาใหคาความรอนจําเพาะแปรผันตามอุณหภูมิดูบาง เพื่อจะไดผลลัพธที่
แทจริงของการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจากกระบวนการที่พิจารณาจากสมการที่ 6.43 ดังตอไปนี้
P2
s 2  s1  s 2o  s1o  Ru ln
P1
284 เทอรโมไดนามิกส

จากตารางที่ A-18 ที่อุณหภูมิ T1 = 290 K จะได s 10  190.695 kJ/kmol K และที่อุณหภูมิ T2 = 330 K


จะได s 20  194.459 kJ/kmol K และจากตาราง A-1 Ru = 8.31447 kJ/kmol K ดังนั้น
600
s 2  s 1  194.459  190.695  8.31447 ln
100
s 2  s 1  -11.1335 kJ/kmol K

( s 2  s 1 )  11.1335
s2  s1    0.3974 kJ/kg K
M 28.013
จะเห็นไดวาผลลัพธจากการหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปดวยวิธีการประมาณคาความรอนจําเพาะ
เปนคาคงที่มีคาใกลเคียงกับผลลัพธจากการหาการเปลีย่ นแปลงเอนโทรปดว ยการพิจารณาใหคาความรอน
จําเพาะแปรผันตามอุณหภูมิซึ่งเปน วิธีที่ไดผลลัพธที่เที่ยงตรงกวา เนื่องจากความแตกตางของอุณหภูมิ
สําหรับกระบวนการที่พิจารณามีความแตกตางไมมาก

---------------------------------------------------------------------------

6.9 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของของแข็งและของเหลว

จากการศึกษาที่ผานมาแลวในบทที่ 2 ทําใหทราบวาของแข็งและของเหลวถือไดวาเปนสารที่อัดตัว
ไมได (Incompressible Substance) นั่นคือในกระบวนการใดๆ ของแข็งและของเหลวจะมีปริมาตรคงที่เสมอ
ดังนั้น สําหรับของแข็งและของเหลว dv = 0 จากสมการที่ 6.32 จะได
du
ds 
T
สําหรับของแข็งและของเหลว Cp = Cv = C ทําให du  CdT ดังนั้น
CdT
ds 
T
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปจะไดจ ากการอิน ทิเกรตสมการขางตน จากสภาวะเริ่มตน ถึง สภาวะสิ้น สุด
กระบวนการ กลาวคือ
บทที่ 6 เอนโทรป 285
2
C( T )
s2  s1   dT 6.51
1 T
โดยทั่วไปความรอนจําเพาะของของแข็งและของเหลวจะขึ้นกับอุณหภูมิ อยางไรก็ตามจะสามารถประมาณ
คา C ในรูปความรอนจําเพาะเฉลี่ย Cav โดยพิจารณาจากคาอุณหภูมิเฉลี่ยของกระบวนการได ซึ่งจะทําให
สมการที่ 6.51 อยูในรูปดังนี้

T2
s 2  s 1  C av ln 6.52
T1

กระบวนการไอเซนโทปกของของแข็งและของเหลว สําหรับกระบวนการไอเซนโทรปก s1 = s2
ดังนั้น
T2
0  C av ln
T1

T2  T1 6.53

จากสมการที่ 6.53 แสดงวา ของแข็งและของเหลวจงมีอุณ หภูมิคงที่เสมอสําหรับกระบวนการไอเซน


โทรปก ซึ่งอาจกลาวไดวากระบวนการไอเซนโทรปกสําหรับสารอัดตัวไมไดจะถือไดวาเปนกระบวนการไอ
โซเทอรมอล(กระบวนการอุณหภูมิคงที่) ดวย

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.10 แทงเหล็กน้ําหนัก 50 kg อุณหภูมิ 500 K ถูกโยนลงไปในทะเลสาบขนาดใหญที่มีอุณหภูมิ


285 K ทําใหแทงเหล็กถายเทความรอนกับน้ําในทะเลสาบจนกระทั่งเขาสูสภาวะสมดุลความรอน สมมติให
ความรอนจําเพาะเฉลี่ยของแทงเหล็กตลอดกระบวนการถายเทความรอนนี้เทากับ 0.45 kJ/kg K จงหา

ก. การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแทงเหล็ก
ข. การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ําในทะเลสาบ
ค. การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมของกระบวนการ
286 เทอรโมไดนามิกส

วิธีทํา
แทงเหล็กมวล 50 kg ถายเทความรอนกับน้ําภายในทะเลสาบ เนื่องจากทะเลสาบมีขนาดใหญจึง
ถือวาน้ําในทะเลสาบเปนแหลงความรอนซึ่งจะมีอุณหภูมิคงที่ตลอดกระบวนการถายเทความรอน ดังนั้น

แทงเหล็กจึงมีอุณหภูมิเริ่มตน T1 = 500 K และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการแทงเหล็กจะมีอุณหภูมิเทากับน้ําใน


ทะเลสาบ คือ T2 = 285 K การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแทงเหล็กจะหาไดจากสมการที่ 6.52 ดังนี้
T2 285
s iron  s 2  s 1  C av ln  0.45x ln  0.253 kJ/kg K
T1 500

S iron  m iron s iron  50 x (0.253)  12.648 kJ/K ตอบ

จะสังเกตไดวาแทงเหล็กใหความรอนกับน้ําในทะเลสาบ จึงสงผลใหการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของแทง
เหล็กมีแนวโนมลดลง ถาสมมติฐานใหแทงเหล็กไมมกี ารเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยและพลังงานจลน ถา
พิจารณาแทงเหล็กเปนระบบ ปริมาณความรอนทีแ่ ทงเหล็กคายออกใหกับน้ําหาไดจากกฎขอที่หนึ่งทาง
เทอรโมไดนามิกสสําหรับระบบปด ตอไปนี้

Q iron  Wiron  U  KE  PE

ไมมีการถายเทงานระหวางแทงเหล็กกับสิงแวดลอม Wiron = 0 และ KE = PE = 0 ดังนั้น

Q iron  U  m iron C av ( T2  T1 )  50x 0.45x (285  500)

Q iron  4,837.5 KJ

น้ําในทะเลสาบรับความรอนในปริ มาณเทากั บปริมาณความรอนที่แ ท ง เหล็ก คายออก ดัง นั้ น


ปริมาณความรอนที่น้ําในทะเลสาบไดรับคือ Q lake  4,837.5 kJ ไมมีปจจัยยอนกลับไมไดภายในเกิดขึ้นใน
ระหวางดําเนินกระบวนการ นั่นคือ S gen ,lake  0 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ําในทะเลสาบ คือ
2
Q
S lake    S gen,lake
1 T
บทที่ 6 เอนโทรป 287

เนื่องจากน้ําในทะเลสาบมีอุณหภูมิคงที่ Tlake  285 K และ S gen ,lake  0 ดังนั้น

1 2
Q 4,837.5
S lake   Q  lake   16.97 kJ/K ตอบ
Tlake 1 Tlake 285

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมของกระบวนการ คือ

S total  S iron  S lake  12.648  16.97  4.326 kJ/K

จะเห็นวาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปรวมของกระบวนการมีสัญลักษณเปนบวก นัน่ แสดงวาเปน


กระบวนการยอนกลับไมได โดยปจจัยยอนกลับไมไดในกระบวนการนี้คือการถายเทความรอนในขณะที่
อุณหภูมิของแทงเหล็กและอุณหภูมิของน้ําแตกตางกัน

---------------------------------------------------------------------------

6.10 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของสารบริสุทธิ์

ความสัมพันธ Tds ในการศึกษาที่ผานมาสามารถใชวิเคราะหไดกับสารในทุกสถานะรวมไปถึงสาร


ในสถานะของผสมvอิ่มตัวดวย อยางไรก็ตามการประยุกตใชความสัมพันธ Tds สําหรับสารบริสุทธิ์เพื่อ
วิเคราะห du หรือ dh และความสัมพันธระหวาง P-v-T มีความซับซอน ดังนั้นการหาความแตกตางของ
เอนโทรปของสารบริสุทธิ์จึงทําไดโดยอาศัยขอมูลจากการวัดจากตารางคุณสมบัติเชนเดียวกับ เอนทาลป
ปริมาตรจําเพาะ หรือ พลังงานภายใน จะเปนการสะดวกกวา

คาเอนโทรปที่แสดงในตารางคุณสมบัติของสารบริสุทธเปนคาที่ไดจากการเปรียบเทียบกับสภาวะ
อางอิง ตัวอยางเชน คาเอนโทรปของไอน้ําจะมีคาเทากับศูนยที่สภาวะของเหลวอิ่มตัวอุณหภูมิ 0.01 ๐ C
สําหรับสารทําความเย็น R-134a กําหนดใหคาเอนโทรปเทากับศูนยที่สภาวะของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมิ -40

C ดังนั้นคาเอนโทรปของสารบริสุทธจะมีคาเปนลบเสมอเมื่อ มีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิในสภาวะอางอิง
การหาคาเอนโทรปของสารบริสุทธิ์จะสามารถหาไดโดยวิธีการเดียวกับคุณสมบัติอื่นๆ อาทิเชน เอนทาลป
ปริมาตรจําเพาะ หรื อ พลัง งานภายใน เปน ตน นั่นคือ คาเอนโทรปของสารบริสุทธิ์ใ นสภาวะที่ตองการ
สําหรับสถานะของเหลวอัดตัวและสถานะไอรอนยิ่งยวดจะสามารถหาไดโดยตรงจากตาราง ในขณะที่คา
288 เทอรโมไดนามิกส

เอนโทรปในสถานะของผสมอิ่มตัวจะสามารถหาไดจากตารางคุณสมบัติอิ่มตัวคือ sf และ sfg และ คา


คุณภาพ x ของสภาวะของสารที่พิจารณานั้น โดยพิจารณาจากสมการที่ 6.54

s  s f  xs fg 6.54

ในทํานองเดียวกับคุณสมบัตขิ องสารบริสทุ ธิ์อื่นๆ ที่กลาวไวในบทที่ 2 กลาวคือ เอนโทรปของสารบริสุทธิ์ใน


สถานะของเหลวอัดตัวสามารถประมาณใหเทากับเอนโทรปของสารในสถานะของเหลวอิ่มตัวที่อุณหภูมิ
เดียวกันไดนั่นคือ

s @ P ,T  s f @ T 6.55

เพราะวาเอนโทรปเปน คุณสมบัติชนิด หนึ่ง ทําใหก ารเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของสารบริสุทธิ์ใ น


กระบวนการตางๆ จะเทากับผลตางระหวางคาเอนโทรปในสภาวะสิ้นสุดกระบวนการและสภาวะเริ่มตน
กระบวนการ

S  m(s 2  s 1 ) [kJ/K] 6.57

s  ( s 2  s 1 ) [kJ/kg K] 6.58

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการไอเซนโทรปกของสารบริสุทธิ์ ในที่นี้ควรจะทราบ
ดีแลววากระบวนการไอเซนโทรปกคือกระบวนการยอนกลับได ( S gen  0 ) และไมมีการถายเทความรอน
ในระหวางดําเนินกระบวนการ ( Q  0 ) เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนดังนั้นจึงจะทําการวิเคราะหแยก
ออกเปน 2 กรณี คือ การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการไอเซนโทรปก ของระบบปด และการ
เปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการไอเซนโทรปกของระบบเปด โดยในที่นี้จะพิจารณาระบบเปดเฉพาะ
ในกรณีเงื่อนไขของกระบวนการ SSSF เทานั้น ซึ่งมักเปนเงื่อนไขที่ถูกนํามาพิจารณาบอยๆ สําหรับอุปกรณ
การไหลคงตัวตางๆ กลาวคือ

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการไอเซนโทรปกของระบบปด

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบปดจะเกิดจาก 2 ปจจัยคือการถายเทความรอน และปจจัย


ความยอนกลับไมไดที่เกิดขึ้นภายในระบบในระหวางดําเนินกระบวนการ กลาวคือ
บทที่ 6 เอนโทรป 289

Q
S  S 2  S 1    S gen
T
เนื่องจากเปนกระบวนการไอเซนโทรปก ดังนั้น Q  0 และ S gen  0 ทําให

S  S 2  S 1  0

S 2  S 1 [kJ/K] 6.59

และ ระบบปดมีมวลคงที่ ดังนั้น

s 2  s 1 [kJ/kg K] 6.60

จากสมการที่ 6.59 และ สมการที่ 6.60 จะเห็ น ได ว า ระบบป ด จะมี เ อนโทรป ค งที่ สํ า หรั บ
กระบวนการไอเซนโทรปก นั้นคือเอนโทรปของระบบในสภาวะเริ่มตนกระบวนการ (s1) จะเทากับเอนโทรป
ของระบบในสภาวะสิ้นสุดกระบวนการ (s2) เสมอ

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของกระบวนการไอเซนโทรปกของระบบเปด

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของระบบเปดเกิดจาก 3 ปจจัย คือ การถายเทความรอน การถายเท


มวล และ ปจจัยยอนกลับไมไดภายในระบบในระหวางดําเนินกระบวนการ นั่นคือ

dS CV Q
  k   m i s i   m e s e  S gen,CV
dt Tk

จากเงื่อนไขของกระบวนการ SSSF ดัง นั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปภายในระบบจึงเทากับศูน ย


dS CV / dt  0 และเนื่องจากเปนกระบวนการไอเซนโทรปก Q k  0 และ S gen,CV  0 ดังนั้น

0   m e s e   m i s i

 m e s e   m i s i 6.61

ถาระบบมีทางเขา 1 ทาง และทางออก 1 ทาง ทําให m i  m e  m จึงทําให

si  se 6.62
290 เทอรโมไดนามิกส

จะเห็นไดวากระบวนการไอเซนโทรปกสําหรับเงื่อนไข SSSF เอนโทรปของสารที่เขาสูระบบ (si) จะ


เทากับเอนโทรปของสารที่ออกจากระบบ (se) ดังสมการที่ 6.62

ผูศึกษาความใหความระมัดระวังและเขาใจถึงความแตกตางระหวางสมการที่ 6.60 และสมการที่


6.62 ใหเปนอยางดี เนื่องจากรูปแบบของสมการมีความคลายกันจนทําใหอาจเกิดความสับสนไดโดยงาย

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.11 แท็งกคงรูปมีผนังหุมฉนวนอยางดี บรรจุน้ํา 2 kg ในสภาวะของผสมของเหลวและไออิ่มตัว


ที่ความดัน 100 kPa โดยที่มีมวล 3/4 ของมวลทั้งหมดเปนของเหลวอิ่มตัว จากนั้นทําการเปดเครื่องทํา
ความรอนจนกระทั่งน้ําในสถานะของเหลวอิ่มตัวทั้งหมดกลายเปนไอ จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของ
น้ําในกระบวนการนี้

น้ํา Sat. Vapor

น้ํา Sat. Liquid

วิธีทํา

พิจารณาน้ําทั้งหมดภายในแท็งกเปนระบบ พิจารณาสภาวะที่ 1 แทน สภาวะเริ่มตน และสภาวะที่


2 แทน สภาวะสิ้นสุดกระบวนการ ระบบที่พิจารณาเปนระบบปด นั่นคือ m1 = m2 = m เนื่องจากน้ําบรรจุ
อยูภายในแท็งกคงรูป ดังนั้นน้ําจะมีปริมาตรคงที่ตลอดการดําเนินกระบวนการซึ่งเทากับ เทากับปริมาตร
ของแท็งก กลาวคือ P
P2 2
V1  V2  Vtan k

หารมวลของน้ํา m ตลอดทั้งสมการ จะได


P1 1

v1 = v2 v
บทที่ 6 เอนโทรป 291

V1 V2 Vtan k
 
m m m
v1  v2

จากการวิเคราะหขางตนจะเห็นไดวาเปนกระบวนการปริมาตรจําเพาะคงที่

พิจารณาสภาวะที่ 1 น้ํามีสถานะของผสมของเหลวและไออิ่มตัว ความดัน P1 = 100 kPa มีมวล


ทั้งหมด m = 2 kg ซึ่งประกอบดวยมวลในสถานะของเหลวอิ่มตัว mf = (3/4) x 2 = 1.5 kg และ มวลใน
สถานะไออิ่มตัว mg = 2 – 1.5 = 0.5 kg จะไดคาคุณภาพ x  m g / m  0.5 / 2  0.25 จากตาราง A-5
ที่ P1 = 100 kPa จะได vf = 0.001043 m3/kg vg = 1.6941 m3/kg sf = 1.3028 kJ/kg K และ sg = 7.3589
kJ/kg K ดังนั้น

v 1  v f  x 1 v fg  0.001043  0.25(1.6941  0.001043)  0.4243 m3/kg

ดังนั้น v 1  v 2  0.4243 m3/kg

s 1  s f  x 1 s fg  1.3028  0.25( 7.3589  1.3028)  2.817 kJ/kg K

S 1  ms 1  2 x2.817  5.633 kJ/K

พิจารณาสภาวะที่ 2 น้ํามีสถานะเปนไออิ่มตัว และ v2 = 0.4243 m3/kg จากตาราง A-5 ที่ vg =


0.4243 m3/kg จะได P2 = 439.3 kPa และ s2 = 6.8645 kJ/kg K ดังนั้น

S 2  ms 2  2 x6.8645  13.729 kJ/K

การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของน้ําในกระบวนการนี้คือ

S  S 2  S 1  13.729  5.633  8.096 kJ/K ตอบ

---------------------------------------------------------------------------
292 เทอรโมไดนามิกส

6.11 งานของกระบวนการไหลคงตัวแบบยอนกลับได

ปริมาณความรอนและงานที่เกิดขึ้นในระหวางดําเนินกระบวนการจะขึ้น อยูกับเสนทางการดําเนิน
กระบวนการและสภาวะสิ้นสุดของกระบวนการ ในที่นี้จะเริ่มตนจากการวิเคราะหงานเนื่องจากขอบเขต
แบบยอนกลับไดหรืออาจเรียกไดวาเปนงานในสภาวะสมดุลแบบควอไซของระบบปดซึ่งจะสามารถเขียนอยู
ในรูปสภาวะเริ่มตนและสภาวะสิ้นสุดกระบวนการได นั่นคือ
2
Wb  Wrev   PdV [kJ] 6.63
1

จากกฎขอที่สองทางเทอรโมไดนามิกสทําใหทราบไดวางานในสภาวะสมดุลแบบควอไซที่พิจารณานี้จะเปน
งานที่มีคาสูงสุดเมื่อระบบใหงาน และเปนงานที่มีคานอยที่สุดเมื่องระบบไดรับงาน เพราะวาเมื่อการดําเนิน
กระบวนการภายใตสภาวะสมดุลแบบควอไซจะทําใหไมปรากฏปจจัยยอนกลับไมไดภายในกระบวนการ

สําหรับการพิจารณาระบบเปดสําหรับอุปกรณก ารไหลแบบคงตัวจะสามารถพิจารณางานของ
กระบวนการยอนกลับไดโดยการพิจารณาสมการอนุรักษพลังงานในรูปอนุพันธของกระบวนการยอนกลับ
ได ดังนี้

q rev  w rev  dh  dke  dpe

แต q rev  Tds และ Tds  dh  vdP ดังนั้นจะได q rev  dh  vdP นําไปแทนในสมการขางตนโดย
การกําจัดเทอม dh ทิ้งไปจะได

 w rev  vdP  dke  dpe [kJ/kg] 6.64

และถาความแตกตางของพลังงานศักยและพลังงานจลนในระหวางชองทางเขาและชองทางออกจากระบบ
นอยมาก จะทําให dke  dpe  0 นั่นคือ

w rev   vdP
2
w rev    vdP [kJ/kg] 6.65
1
บทที่ 6 เอนโทรป 293

การวิเคราะหขางตนอาจกลาวโดยสรุปไดวาสมการที่ 6.63 คืองานของกระบวนการยอนกลับได


ของระบบปด และงานที่แสดงในสมการที่ 6.65 คืองานของกระบวนการยอนกลับไดสําหรับอุปกรณการ
ไหลแบบคงตัว สัญลักษณเครื่องหมายลบ (-) ในเทอมขวามือของสมการที่ 6.65 แสดงใหเห็นวางานจะมี
คาเปน บวกจากกระบวนการขยายตัว (P2 < P1) สําหรับกระบวนการไหลผานเทอรไบ และสําหรับ
กระบวนการอัดสําหรับกระบวนการไหลผานคอมเพรสเซอร (P2 > P1) จะทําใหงานที่ไดมีสัญลักษณเปนลบ

จากสมการที่ 6.65 จะพบวาปริมาตรจําเพาะของของไหลทํางานมีอิทธิพลตอปริมาณงานที่เกิดขึ้น


อยางมาก กลาวคือถาปริมาตรจําเพาะของของไหลทํางานมีคาสูงขึ้นจะทําใหกระบวนการยอนกลับไดให
งานสูงขึ้นหรือจะตองใชงานมากขึ้นทั้งนี้ขึ้นกับอุปกรณการไหลแบบคงตัวนั้นๆ ที่จะทําใหเกิดกระบวนการ
ขยายตัวหรือกระบวนการอัด ดังนั้นแนวทางหนึ่งที่ทาํ ใหคอมเพรสเซอรใชงานลดลงคือการควบคุมปริมาตร
จําเพาะของของไหลทํางานใหมีคาต่ํา (มีความหนาแนนสูง) ในระหวางกระบวนการอัด ในขณะที่ถาตองการ
ใหเทอรไบใหปริมาณงานไดมากขึ้นก็ควรที่จะควบคุมใหปริมาตรจําเพาะของของไหลทํางานมีคานอยใน
ระหวางกระบวนการขยายตัว

ถาพิจารณาใหของไหลทํางานเปนสารในสภาพอัดตัวไมได (สถานะของเหลว) ในกรณีนี้จะทําให


ปริมาตรจําเพาะคงที่ (v = คงที่) เมื่อพิจารณาจากสมการที่ 6.64 จะได

w rev  v(P1  P2 )  ke  pe [kJ/kg] 6.66

สําหรับอุปกรณการไหลแบบคงตัวที่ไมใหงานและไมรับงาน เชน ทอลูเขา ทอลูออก หรือ ระบบทอตางๆ


เปนตน ซึ่งมีของไหลทํางานในสถานะของเหลว นั่นคือ

0  v(P1  P2 )  ke  pe

v 2e ,2  v 2e,1
v(P2  P1 )   g( z 2  z 1 )  0 6.67
2
สมการที่ 6.67 เรียกวา Bernoulli Equation ซึ่งในที่นี้ไดจากการวิเคราะหกระบวนการยอนกลับได
ภายในสําหรับของไหลอัดตัวไมได ดังนั้นจึงไมปรากฏปจจัยยอนกลับไมไดในสมการ อาทิเชน ความเสียด
ทานในระหวางการไหล เปนตน
294 เทอรโมไดนามิกส

6.12 การพิสูจนความไมเทากันของงานของกระบวนการยอนกลับไดและงานของกระบวนการจริง

ในบทที่ 5 ไดทําการพิสูจนทราบวางานที่วัฏจักรการทําความเย็นแบบยอนกลับได ตองใชจะนอย


กวางานที่ใชในวัฏจักรทําความเย็นจริง และงานที่ผลิตไดจากวัฏจักรของเครือ่ งจักรความรอนแบบยอนกลับ
ไดจะตองมากกวางานที่ผลิตไดจากวัฏจักรเครื่องจักรความรอนจริงเสมอ ในหัวขอนี้จะทําการพิจารณา
เปรียบเทียบงานที่ไดจากกระบวนการขยายตัวของเทอรไบ และงานที่คอมเพรสเซอรตองใชในกระบวนการ
อัดระหวางกระบวนการยอนกลับไดและกระบวนการยอนกลับไมไดจะมีความแตกตางกันอยางไร อยางไรก็
ตามอุปกรณทั้งสองชนิดที่กําลังพิจารณานั้นถือไดวาเปนอุปกรณการไหลแบบคงตัว

พิจ ารณาอุปกรณ 2 อุปกรณที่ทํางานในเงื่อนไขการไหลแบบคงตัว อุปกรณห นึ่ง ทํางานแบบ


ยอนกลับได และอีกอุปกรณหนึ่งทํางานในสภาพจริง โดยใหอุปกรณทั้งสองทํางานในสภาวะทางเขาและ
สภาวะที่ทางออกของอุปกรณเดียวกัน สมการอนุรักษพลังงานของอุปกรณทั้งสองจะแสดงในรูปอนุพันธได
ดังนี้

ทํางานในสภาพจริง : q act  w act  dh  dke  dpe

ทํางานแบบยอนกลับได : q rev  w rev  dh  dke  dpe

เนื่องจากทั้งสองอุปกรณทํางานที่ส ภาวะทางเขาและสภาวะทางออกเดียวกัน ดังนั้น เทอมทั้ง หมดดาน


ขวามือของทั้งสองอุปกรณจึงเทากัน จึงทําให

q act  w act  q rev  w rev

w rev  w act  q rev  q act

แต q rev  Tds ดังนั้นจึงสามารถจัดรูปสมการขางตนใหอยูในรูปดังนี้

w rev  w act q
 ds  act
T T
q act
แตเนื่องจาก ds  นั่นคือ
T
บทที่ 6 เอนโทรป 295

w rev  w act q
 ds  act  0
T T
เพราะวา T แทน ดวยอุณหภูมิสมบูรณที่ขอบเขตของระบบ ดังนั้นจึงมีคาเปนบวกเสมอ จึงพิสูจนไดวา

w rev  w act หรือ w rev  w act 6.68

จากสมการที่ 6.68 อธิบายไดวา อุปกรณที่ใหงาน เชน เทอรไบ งานจะมีสัญลักษณเปนบวก (+w) นั่นคือ


เทอรไบทํางานแบบยอนกลับไดจะใหงานมากกวาหรือเทากับเทอรไบทํางานในสภาพจริง ในขณะที่อุปกรณ
ที่ตองใชงานในการทํางาน เชน ปม หรือ คอมเพรสเซอร งานจะมีสัญลักษณเปนลบ (-w) ดังนั้นปมหรือ
คอมเพรสเซอรที่ทํางานแบบยอนกลับไดจะตองการงานนอยกวาหรือเทากับงานที่ปมหรือคอมเพรสเซอร
ทํางานในสภาพจริงตองการ

6.13 กระบวนการอัดที่ทําใหคอมเพรสเซอรใชงานนอยที่สุด

จากการพิจารณาขางตนทําใหทราบวาในการอัดของไหลความดัน P1 ใหเปน P2 โดยที่ความ


แตกตางของพลังงานศักยและพลังงานจลนของการไหลที่ทางเขาและทางออกนอยมาก งานที่นอยที่สุดที่
คอมเพรสเซอรตองใชจะเปนไปตามสมการที่ 6.65 นั่นคือ
2
w rev    vdP
1

ทางหนึ่งที่ทําใหคอมเพรสเซอรใชงานในการอัดใหเขาใกลงานที่นอยที่สุดที่คอมเพรสเซอรตองการ
คือการลดปจจัยยอนกลับไมไดตางๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางกระบวนการอัดและรักษาปริมาตรจําเพาะของ
แก็สในระหวางดําเนินกระบวนการใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได ซึ่งหมายถึงรักษาอุณหภูมิของแก็สในระหวาง
กระบวนการอัดใหมีคาต่ําที่สุดเทาที่ทําไดนั่นเองเพราะวาอุณหภูมิแปรผันตรงกับปริมาตรจําเพาะของแก็ส
เสมอ จากหลัก การขางตน อาจทําไดโดยการคายความรอนหรือการทําความเย็น ใหกับแก็สในระหวาง
กระบวนการอั ด ดั ง นั้ น ในที่ นี้ จ ะทํ า การศึ ก ษาอิ ท ธิพ ลของการคายความร อ นให กั บ แก็ ส ในระหว า ง
กระบวนการอัดดวยการเปรียบเทียบงานที่ไดจาก 3 กระบวนการอัด คือ
296 เทอรโมไดนามิกส

1. กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก เปนกระบวนการที่ไมมีก ารคายความรอนในระหวาง


ดําเนินกระบวนการ
2. กระบวนการอัด แบบโพลีโทรปก เปน กระบวนการอัด ที่มีก ารคายความรอนบางสวนใน
ระหวางดําเนินกระบวนการ
3. กระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอล เปนกระบวนการอัด ที่มีการคายความรอนในระหวาง
การดําเนินกระบวนการ จนทําใหอุณหภูมิของแก็สคงที่ตลอดกระบวนการอัด
พิจารณากระบวนการอัดทั้ง 3 กระบวนการขางตนจากความดันในสภาวะเริ่มตน P1 และความดัน
ในสภาวะสิ้นสุดกระบวนการ P2 โดยทั้ง 3 กระบวนการมีสมมติฐานดังนี้
1. กระบวนการทั้งหมดเปนกระบวนการแบบยอนกลับไดภายใน
2. แก็สในกระบวนการอัดมีสภาพเปนแก็สอุดมคติ นั่นคือ Pv = RT

กระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก เนื่องจากแก็สมีสภาพเปนแก็สอุดมคติ ดังนั้นจากสมการที่


6.47 จะได Pv k  C เมื่อ C = คาคงที่ โดยที่ k = Cp/Cv ดังนั้นจากสมการที่ 6.65 งานเนื่องจากการอัด
สําหรับกระบวนการแบบยอนกลับได คือ
1/k
2 2
C
w Comp ,Isen    vdP      dP
1 1P

( k  1) / k
kR(T  T ) kRT   P  
w Comp ,Isen  1 2  1 1   2   6.69
k 1 k  1   P1  
กระบวนการอัดแบบโพลีโทรปก ภายใตกระบวนการโพลีโทรปกของแก็สอุดมคติ ความสัมพันธ
ระหวางความดันและปริมาตรจําเพาะจะอยูในรูป Pvn = C เมื่อ C และ n เปนคาคงที่ โดยที่ 1 < n < k จาก
สมการที่ 6.65 งานเนื่องจากการอัดสําหรับกระบวนการแบบยอนกลับได คือ
1/ n
2 2
C
w Comp ,Poly    vdP      dP
1 1P
บทที่ 6 เอนโทรป 297
( n 1) / n
nR( T1  T2 ) nRT1   P2  
w Comp ,Poly   1     6.70
n1 n  1   P1  
กระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอล เนื่องจากเปนกระบวนการอุณหภูมิคงที่ (T = คงที่) และ
แก็สมีสภาพเปนแก็สอุดมคติ ทําให Pv = RT = C โดยที่ C เปนคาคงที่ ( Pv  C ) จากสมการที่ 6.65 งาน
เนื่องจากการอัดสําหรับกระบวนการแบบยอนกลับได คือ
2 2
C
w Comp,Isothermal    vdP     dP
1 1P

P1
w Comp,Isothermal  RT ln 6.71
P2

ถาทําการสรางเสนกระบวนการอัด จากทั้งสามกระบวนการขางตนในแผนภูมิ P-v เสนของการ


ดําเนินกระบวนการของกระบวนการทัง้ สามแสดงดังรูปที่ 6.16 จากรูปจะเห็นไดวาพื้นที่ดา นซายมือระหวาง
ความดัน P1 และ P2 ของเสนกระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอลจะนอยที่สุด รองลงมาคือกระบวนการอัด
แบบโพลีโทรปกและกระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปกมีพื้นที่ ดานซายมือของเสนกระบวนการสูงสุด นั่น
แสดงวา w Comp,Isothermal  w comp,Poly  w Comp,Isen จะสังเกตกระบวนการอัดแบบโพลีโทรปก (Pvn = คงที่) ไดวา
ในระหวางกระบวนการอัดหากคายความรอนหรือทําความเย็นใหกบั แก็สคา n จะมีแนวโนมลดลงจนกระทัง่
คา n จะมีคาเขาใกล 1 นั่นคือแก็สจะมีอุณหภูมิคงที่ตลอดกระบวนการอัด และหากไมมีการคายความรอน
เลยในระหวางกระบวนการอัดคา n จะเขาใกลคา k หรือเปนกระบวนการไอเซนโทรปก จากรูปจะเห็นวาคา
n ที่เหมาะสมตองานที่ตองใชในกระบวนการอัดเมื่อคา n เทากับ 1 หมายถึงเปนกระบวนการอัดแบบไอโซ
เทอรมอลซึ่งเปนกระบวนการอัดที่ตองการใชงานนอยที่สุดในการดําเนินกระบวนการ
298 เทอรโมไดนามิกส

2
w comp    vdP
1

รูปที่ 6.16 การเปรียบเทียบเสนกระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก

กระบวนการอัดแบบโพลีโทรปก และ กระบวนการอัดแบบไอโซเทอรมอล

6.14 ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกสําหรับอุปกรณการไหลแบบคงตัว

จากการศึก ษาที่ ผานมาควรทราบดีแ ล ววา อิทธิพ ลของปจ จั ยยอนกลับ ไมไ ด ยอมมีผลอยางมี


นั ย สํ า คั ญ ต อ ประสิ ท ธิ ภ าพด า นพลั ง งานของอุ ป กรณ ก ารไหลแบบคงตั ว ต า งๆ เช น เทอร ไ บ ป ม
คอมเพรสเซอร และ ทอลูเขา วิธีการที่จะใชในการพิจารณาผลกระทบจากอิทธิพลดังกลาวทําไดโดยการ
เทียบระหวางพลังงานที่ไดห รือพลังงานที่ตองใชในกระบวนการจริงสําหรับอุปกรณนั้น ๆ ที่พิจารณากับ
พลังงานที่ไดรับหรือพลังงานที่ตองใชในกระบวนการทางอุดมคติ

อยางไรก็ตามการถายเทความรอนและปจจัยยอนกลับไมไดที่เกิดขึ้นในระหวางกระบวนการของ
อุปกรณก ารไหลแบบคงตัว เหลานี้เปน สิ่งที่ควรหลีก เลี่ยงหรือทําใหเกิด ขึ้นนอยที่สุด ในระหวางดําเนิน
กระบวนการ ดังนั้นกระบวนการทางอุดมคติที่ใชในการพิจารณาจึงควรเปนกระบวนการอะเดียแบติกแบบ
ยอนกลับได นั่นคือ กระบวนการไอเซนโทรปก หรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งวาถากระบวนการของอุปกรณการ
ไหลแบบคงตัวเหลานี้มีกระบวนการที่เขาใกลกระบวนการไอเซนโทรปกแลวยอมบงชี้ไดถงึ สมรรถนะที่ดีของ
บทที่ 6 เอนโทรป 299

อุ ป กรณ เ หล า นั้ น พารามิ เ ตอร ที่ ใ ช พิ จ ารณาสมรรถนะของอุ ป กรณ โ ดยหลั ก การดั ง กล า วเรี ย กว า
ประสิ ทธิภาพไอเซนโทรปก (Isentropic Efficiency) หรือ อาจเรียกว า ประสิทธิ ภาพอะเดีย แบติ ก
(Adiabatic Efficiency) สําหรับอุปกรณการไหลคงตัวตางๆ จะกลาวตามลําดับดังนี้

ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของเทอรไบ คือ อัตราสวนระหวางงานที่ไดจากกระบวนการขยายตัวผาน


เทอรไบสําหรับกระบวนการจริง (wa) ตองานที่ไดจากกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปก (ws) สําหรับ
สภาวะที่ทางเขาของของไหลทํางานเดียวกันและความดันที่ทางออกเดียวกัน กลาวคือ
wa
T  6.72
ws

โดยที่

T แทน ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของเทอรไบ

จากรูปที่ 6.17 แสดงเสน กระบวนการขยายตัวจริง เทียบกับกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปกของ


เทอรไ บ เมื่อพิจ ารณาใหความแตกตางของพลัง งานศัก ยแ ละพลัง งานจลนของของไหลที่ทางเขาและ
ทางออกของเทอรไบนอยมาก จะทําให w a  h 1  h 2 a และ w s  h 1  h 2 s จึงสามารถเขียนสมการที่
6.72 ไดดังนี้
h1  h 2a
T  6.73
h1  h 2s

โดยที่

h2a แทน เอนโทรปของของไหลทํางานที่ทางเขาเทอรไบ

h2s แทน เอนทาลปของของไหลทํางานที่ทางออกของเทอรไบ


300 เทอรโมไดนามิกส

รูปที่ 6.17 แผนภูมิ h-s ของกระบวนการขยายตัวจริง

และกระบวนการขยายตัวแบบไอเซนโทรปกของเทอรไบ

ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของคอมเพรสเซอรและปม คอมเพรสเซอรและปมเปนอุปกรณที่ใชสําหรับ
เพิ่มความดัน ใหกับของไหลทํางาน ถาของไหลทํางานมีส ถานะแก็ส อุปกรณ ที่ใ ชเพิ่มความดัน เรียกวา
คอมเพรสเซอร และปมเปนอุปกรณที่ใชเพิ่มความดันใหกับของไหลทํางานในสถานะของเหลว กระบวนการ
เพิ่มความดันของคอมเพรสเซอรและปม เรียกวา กระบวนการอัด ซึ่งจะตองการงานสําหรับการดําเนิน
กระบวนการ ดัง นั้น ประสิทธิ ภาพไอเซนโทรปก ของคอมเพรสเซอรแ ละปม คื อ อัต ราสว นของงานที่
คอมเพรสเซอรหรือปมตองการในกระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก (ws) ตองานที่คอมเพรสเซอรหรือปม
ตองการในกระบวนการอัด จริง (wa) สําหรับสภาวะที่ทางเขาเดียวกันและความดัน ของของไหลทํางาน
เดียวกันที่ทางออกจากอุปกรณ โดยกระบวนการทั้งสองแสดงดังรูปที่ 6.18 ดังนั้น ถาพิจารณาใหความ
แตกตางระหวางพลังงานศักยและพลังงานจลนของของไหลทํางานที่ทางเขาและทางออกของอุปกรณทั้ง
สองนอยมาก ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของคอมเพรสเซอรและปมแสดงไดดังนี้

w s h2s  h1
C   6.74
w a h 2a  h1
บทที่ 6 เอนโทรป 301

รูปที่ 6.18 แผนภูมิ h-s สําหรับกระบวนการอัดจริง

และกระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปกของของไหลทํางานผานคอมเพรสเซอรหรือปม

ของไหลทํางานผานปมมีสถานะเปนของเหลวซึ่งถือเปนของไหลอัดตัวไมได ดังนั้นปริมาตรจําเพาะ
ของของไหลทํางานตลอดกระบวนการอัดของปมจึงคงที่ จากความสัมพันธ Tds สามารถพิจารณางาน
สําหรับกระบวนการอัดแบบไอเซนโทรปก (ds = 0) ของปมไดจาก Tds  dh  vdP ทําให dh  vdP
ดังนั้น
2s 2s

 dh   vdP
1 1

เนื่องจากของไหลทํางานผานปมเปนของไหลอัดตัวไมได v = คงที่ และจากรูปที่ 6.18 P2s = P2 จะได

w s  h 2 s  h 1  v(P2  P1 )

ดังนั้นสามารถแสดงประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของปมไดดังนี้
w s v (P2  P1 )
C   6.75
w a h2a  h1
302 เทอรโมไดนามิกส

ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของทอลูเขา วัตถุประสงคของทอลูเขาคือการเรงความเร็วของของไหล
ทํางานที่ไ หลผานใหมีความเร็วสูงขึ้น ดัง นั้น ประสิทธิภาพไอเซนโทรปก ของทอลูเขาคืออัตราสวนของ
พลังงานจลนในกระบวนการจริงตอพลังงานจลนที่ไดในกระบวนการไอเซนโทรปกสําหรับการไหลผานทอลู
เขาที่สภาวะของของไหลทํางานที่ทางเขาเดียวกันและความดันเดียวกันที่ทางออกของทอลูเขา กลาวคือ

v 2e, 2 a
N  2 6.76
v e ,2 s

ถาสมมติฐานใหในระหวางการไหลของของไหลทํางานผานทอลูเขาไมมีการถายเทความรอนและ
งานระหวางของไหลทํางานและสิ่งแวดลอม (q = w = 0) และพิจารณาใหการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย
ของของไหลทํางานที่ทางเขาและทางออกมีความแตกตางนอยมาก (pe = 0) ดังนั้นจากสมการอนุรักษ
พลังงานของระบบเปดสําหรับอุปกรณการไหลแบบคงตัว จะได

q  w  (h 2  h 1 )  ke  pe

v 2e , 2 a  v 2e ,1
2 2
v e,2 s v e,1 2
2

รูปที่ 6.19 แผนภูมิ h-s สําหรับกระบวนการไหลจริงผานทอลูเขา

และกระบวนการไหลผานทอลูเขาแบบไอเซนโทรปก
บทที่ 6 เอนโทรป 303

เนื่องจาก q = w = pe = 0 ดังนั้น

v 2e,2  v 2e,1
h 1  h 2  ke  6.77
2
จากรูปที่ 6.19 แสดงกระบวนการไหลจริงของของไหลทํางานผานทอลูเขาและกระบวนการไหลผานทอลู
เขาแบบไอเซนโทรปก สามารถเขียนการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลนของกระบวนการทั้งสองไดตามลําดับ
ดังนี้

v 2e,2 a  v 2e,1
กระบวนการจริง : h 1  h 2 a  ke a 
2
v 2e,2 s  v 2e,1
กระบวนการไอเซนโทรปก : h 1  h 2 s  ke s 
2
ถาพิจารณาใหทั้งสองกระบวนการมีความเร็วของของไหลทํางานที่ทางเขานอยกวาความเร็วของของไหล
v 2e,2 a  v 2e ,1 v 2e,2 a v 2e, 2 s  v 2e,1 v 2e, 2 s
ทํ า งานที่ ท างออกอย า งมาก กล า วคื อ  และ  จะทํ า ให
2 2 2 2
ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของทอลูเขามีคาโดยประมาณดังนี้
h1  h 2a
N  6.78
h1  h 2s

---------------------------------------------------------------------------

ตัวอยางที่ 6.12 ไอน้ําเขาสูเทอรไบที่ความดัน 3 MPa และ 400๐C ออกจากเทอรไบที่ความดัน 50 kPa


อุณหภูมิ 100๐C ถากําลังงานที่เทอรไบผลิตไดเทากับ 2 MW และความแตกตางของพลังงานจลนที่ทางเขา
และทางออกของเทอรไบนอยมาก จงหา

ก. ประสิทธิภาพไอเซนโทรปก
ข. อัตราการไหลโดยมวลของไอน้ํา
304 เทอรโมไดนามิกส

วิธีทํา

พิจารณาเทอรไบเปนระบบ และสมมติฐานให

1. ไมมีการถายเทความรอนระหวางกระบวนการ
2. เทอรไบเปนอุปกรณการไหลแบบคงตัว
3. ความแตกตางของพลังงานศักยและพลังงานจลนที่ทางเขาและทางออกของเทอรไบ
นอยมาก

W  2 MW

พิจารณาสภาวะที่ 1. ไอน้ําที่ P1 = 3 MPa T1 = 400๐C จากตาราง A-6 จะได h1 = 3230.9 kJ/kg


s1 = 6.9212 kJ/kg K
พิจารณาสภาวะที่ 2a ไอน้ํา P2a = 50 kPa T2a = 100๐C จากตาราง A-6 จะได h2a = 2682.5
kJ/kg K
พิจารณาสภาวะที่ 2s ไอน้ํา P2s = 50 kPa s2s = s1 = 6.9212 kJ/kg K จากตาราง A-5 ที่ความดัน
P2s = 50 kPa จะได sf = 1.092 kJ/kg K และ sg = 7.593 kJ/kg K hf = 340.54 kJ/kg และ hg = 2645.2
kJ/kg ดังนั้น s f  s 2 s  s g แสดงวามีสถานะเปนของผสมของเหลวและไออิ่มตัว คาคุณภาพจะหาไดจาก
s 2 s  s f  x 2 s s fg
s  s 6.9212  1.092
x 2s  2s f   0.904
sg  s f 7.539  1.092
บทที่ 6 เอนโทรป 305

h 2 s  h f  x 2 s h fg  340.54  0.904(2645.2  340.54)  2,424 kJ/kg


จากสมการที่ 6.73 ประสิทธิภาพไอเซนโทรปกของเทอรไบคือ
h 1  h 2 a 3230.9  2682.5
T    0.68 หรือ 68% ตอบ
h1  h2s 3230.9  2424

จากสมการอนุรักษพลังงานสําหรับอุปกรณการไหลแบบคงตัวที่มีทางเขา 1 ทาง และทางออก 1 ทางคือ

Q  W  m ( h  ke  pe)
จากสมมติฐานจะได Q  0 ke  0 และ pe  0 ดังนัน้

 W  W  2000kW
m     3.647 kg/s ตอบ
h h 2 a  h 1 (2682.5  3230.9)kJ / kg

---------------------------------------------------------------------------

แบบฝกหัดทายบทที่ 6

ขอที่ 1. อากาศเขาสูวาลวลดความดัน (Expansion valve) ความดัน 650 kPa และ อุณหภูมิ 60 ๐C ออก
จากวาลวลดความดัน ความดัน 100 kPa และ อุณหภูมิ 20 ๐C จงตอบคําถามตอไปนี้

1. หาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรป (Entropy) ของกระบวนการ


2. ถากระบวนการลดความดันนี้ไมมกี ารถายเทความรอนระหวางกระบวนการกับสิง่ แวดลอม
กระบวนการลดความดันนี้มีความเปนไปไดหรือไม เพราะอะไร
P1 = 650 kPa
T1=60๐C

P2 = 100kPa
T2=20๐C

สําหรับอากาศ Tcr = 132.5 k, Pcr = 3,771 kPa


306 เทอรโมไดนามิกส

ขอที่ 2. กาซไนโตรเจน (N2) มวล 1.2 kg อยูในกระบอกสูบความดัน 120 kPa อุณหภูมิ 27๐C เมื่อกาซถูกอัด
ภายใตความสัมพันธ PV1.3 = คงที่ (P1V11.3 = P2V21.3) เมื่อสิ้นสุดกระบวนการอัดกาซภายในกระบอกสูบ
ปริมาตรลดลงครึ่งหนึง่ ของปริมาตรเริ่มตน (V2 = V1/2) จงหา

2.1 อุณหภูมิของกาซ N2 เมื่อสิ้นสุดกระบวนการ

2.2 การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป ( S ) ของกาซ N2 จากกระบวนการนี้

กาซ N2 : Pcr = 3.39 MPa , Tcr = 126.2 K , R = 0.2968 kPa m3/kg K

ขอที่ 3. แท็งกคงรูปบรรจุอากาศมวล 5 kg อุณหภูมิ 15๐C ความดัน 100 kPa ไดรับความรอนจนอากาศ


ภายในแท็งกมีอุณหภูมิสงู ขึ้นเปน 40๐C จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของอากาศภายในแท็งก

สําหรับอากาศ Tcr = 132.5 k, Pcr = 3,771 kPa

อากาศ
T1 = 15 C -> T2 = 40๐C

You might also like