Infographic เคมี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

การคำนวณปริมาณสารในปฎิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน

ปฏิกิริยาเคมีบางชนิดอาจมีหลายขั้นตอน จึงมีสมการเคมีที่เกี่ยวข้องหลายสมการ เช่น การถลุงโลหะสังกะสี ทำได้โดยนำซิงค์ออกไซด์และผงคาร์บอนไปเผาที่อุณหภูมิประมาณ 1120 องศาเซลเซียส ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมี 2 ขั้นตอน เขียนสมการเคมีได้ดังนี้

จะเห็นว่าสมการ (1) และ (2) มีความเกี่ยวข้องกัน โดยมีสาร CO ที่เป็นตัวร่วมของทั้ง 2 สมการ ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน ถ้าต้องการรวมสมการเคมีทั้งสองทำได้โดยทำจำนวนโมลของสารที่เป็นตัวร่วมของทั้ง 2 สมการให้เท่ากัน แล้วนำไปหักล้างกัน ดังนี้
สมการ (2) × 2 ;
สมการ (1) + (3) ;

จากความสัมพันธ์ของทั้ง 2 สมการดังกล่าว ถ้าทราบปริมาณของสารใดสารหนึ่งในสมการหนึ่ง จะสามารถหาปริมาณของสารในอีกสมการหนึ่งได้ ดังตัวอย่าง


แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) สามารถเตรียมได้ดังนี้ (ยังไม่ดุลสมการ)

ถ้าใช้แก๊สออกซิเจน (O2) 15.0 ลิตร จะเกิดแก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์กี่ลิตร


วิธีทำ
ดุลและรวมสมการเคมี ระบุแฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่จะใช้
( จากสมการเคมีอัตราส่วนโดยโมลของ O2 : HCN = 5 : 4 )

คำนวณปริมาตรของ HCN
รวมสมการเคมีโดย ทำจำนวนโมลของสารที่เป็นตัวร่วมของทั้ง 2 สมการให้เท่ากัน ในที่นี้คือ NO จึงคูณสมการ (2) ด้วย 2 ดังนี้ ปริมาตรของ HCN =
สมการ (2) × 2 ; =
สมการ (1) + (3) ; ดังนั้นถ้าใช้แก๊สออกซิเจน 15.0 ลิตรจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนไซไนส์ 12.0 ลิตร

สารกำหนดปริมาตร
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันหรือในอุตสาหกรรม การผลิตสารเคมีชนิดต่างๆ โดยทั่วไป จะมีปริมาตรของสารตั้งต้นบางชนิดมากกว่าอัตราส่วนที่ทำปฏิกิริยาพอดีกันตามสมการเคมี สารตั้งต้นที่ทำปฏิกิริยาหมดก่อนสารอื่น
จะเป็นสารที่กำหนดปริมาณที่เกิดขึ้น เรียกว่า " สารกำหนดปริมาตร " ส่วนสารตั้งต้นที่มีปริมาตรมากเกินพอดี จะทำปฏิกิริยาไม่หมดและเหลืออยู่ในปฏิกิริยา ซึ่งเราสามารถใช้สารกำหนดปริมาณเพื่อคำนวณปริมาณผลิตภัณฑ์และสารที่เหลือได้ ดังตัวอย่าง

ถ้าโลหะแมกนีเซียม (MG) จำนวน 6.000 โมล ทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน (O2) จำนวน 2.500 โมล จงคำนวณ
วิธีทำ
1) สารกำหนดปริมาณ และจำนวนโมลของสารที่เหลือ 2) มวลของแมกนีเซียมออกไซด์ที่เกิดขึ้น
หาสารกำหนดปริมาณ หาสารกำหนดปริมาณ
จากสมการเคมี MG : O2 = 2 : 1 ดังนั้นคำนวณจำนวนโมลของ O2 เมื่อใช้ MG 6.000 MOL ได้ดังนี้ จากข้อ 1) สารกำหนดปริมาณคือ O2 จึงใช้จำนวนโมลของ O2 ในการคำนวณ
โมลของ O2 = ระบุแฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วยที่จะใช้

= ( จากสมการเคมี อัตราส่วนโดยมวลระหว่าง MGO : O2 = 2 : 1 )


นั่นคือ ถ้าใช้โลหะแมกนีเซียม 6.000 โมล จะใช้แก๊สออกซิเจน 3.000 โมล
ซึ่งมากกว่าปริมาณแก๊สออกซิเจนที่โจทย์กำหนดไว้ ; แก๊สออกซิเจนคือ สารกำหนดปริมาณ
( จากมวลต่อโมลของ MGO เท่ากับ 40.30 G/MOL )
หรืออาจคำนวณจำนวนโมลของ MG เมื่อใช้ O2 2.500 MOL ได้ดังนี้

โมลของ MG = คำนวณมวลของ MGO

= มวลของ MGO =
นั่นคือ ถ้าใช้แก๊สออกซิเจน 2.500 โมล ต้องใช้โลหะแมกนีเซียม 5.000 โมล =
ซึ่งน้อยกว่าปริมาตรที่โจทย์กำหนดไว้ ; มีโลหะแมกนีเซียมเหลืออยู่ ดังนั้นแก๊สออกซิเจนเป็นสารกำหนดปริมาณ ดังนั้น แมกนีเซียมออกไซด์ที่เกิดขึ้นมีมวล 201.5 กรัม
หาจำนวนโมลของสารที่เหลือ
จากข้อ 1. พบว่าต้องใช้โลหะแมกนีเซียม 5.000 โมล และมีโลหะแมกนีเซียม 6.000 โมล
; มีโลหะแมกนีเซียมเหลือ 6.000 MOL - 5.000 MOL = 1.000 MOL

ผลได้ร้อยละ
ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่คำนวณได้จากสารกำหนดปริมาณตามสมการเคมี เรียกว่า " ผลได้ตามทฤษฎี " แต่ในทางปฏิบัติปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจริง เรียกว่า " ผลได้จริง " ส่วนใหญ่มีค่าน้อยกว่าผลได้ตามทฤษฎีซึ่งอาจเกิดได้จากหลายปัจจัย
ประสิทธิภาพของการทำปฏิกิริยาอาจวัดได้จากการเปรียบเทียบ ผลได้จริงกับผลได้ตามทฤษฎีเป็นร้อยละ เรียกว่า " ผลได้ร้อยละ " ซึ่งมีความสัมพันธ์ดังนี้ ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริง (กรัมหรือกิโลกรัม)
× 100
ตัวอย่าง ผลได้ตามทฤษฎี (กรัมหรือโมล)
ถ้านำเบนซิน (C6H6) จำนวน 15.6 กรัม มาทำปฏิกิริยากับกรดไนทริก (HNO3) จำนวนมากเกินพอ พบว่าเกิดไนโตรเบนซิน (C6H5NO2) 18.0 กรัม จงหาผลได้ร้อยละ

วิธีทำ
หามวลของไนโตรเบนซินตามทฤษฎี
คำนวณมวลของ C6H5NO2 จาก C6H6 15.6 G ได้ดังนี้
มวลของ C6H5NO2 =

=
นั่นคือ มวลของไนโตรเบนซินตามทฤษฎีเท่ากับ 24.6 กรัม
หาผลได้ร้อยละ
ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริง (กรัมหรือกิโลกรัม)
× 100
ผลได้ตามทฤษฎี (กรัมหรือโมล) นางสาวสุวภัทร สัสดีเดช เลขที่4 ม.4/6
=

=
ดังนั้น ปฏิกิริยานี้มีผลได้ร้อยละเท่ากับ 73.2

You might also like