เกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2565 ECO

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

เกณฑ์มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA ECO STANDARD)


ฉบับที่ 01/2565 วันที่ 10 ก.พ.2565

เกณฑ์มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA ECO STANDARD) ฉบับนี้ได้พัฒนามาจากเกณฑ์


การประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office) กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อให้เป็นกรอบการดำเนินงานให้กับสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เพื่อรักษามาตรการการจัดการสิ่งแวดล้อมภายใน
สำนักงาน
2. เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หลังจากได้รับการรับรอง
สำนักงานสีเขียว (Green office) จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มั่นใจว่าสำนักงานได้ให้ความสำคัญและ
สามารถดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมได้อย่างต่อเนื่องภายใต้เกณฑ์มาตรฐานฉบับนี้

การจัดการสิ่งแวดล้อมของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA ECO) หมายถึง สำนักงานที่มีการบริหารจัดการที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


น้อยที่สุด และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยมีการคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างรู้คุณค่า
การจัดการของเสียและมลพิษต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้สำนักงาน และการบริการที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน

เกณฑ์ตัวชี้วัด : ๖ หมวด รวม 42 ตัวชี้วัด รวม 90 คะแนน ดังนี้


หมวด (๑) การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จำนวน 11 ข้อ คิดเป็น 22 คะแนน
หมวด (๒) การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก จำนวน 5 ข้อ คิดเป็น 12 คะแนน
หมวด (๓) การใช้ทรัพยากรและพลังงาน จำนวน 8 ข้อ คิดเป็น 18 คะแนน
หมวด (๔) การจัดการของเสีย จำนวน 6 ข้อ คิดเป็น 14 คะแนน
หมวด (๕) สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย จำนวน 7 ข้อ คิดเป็น 14 คะแนน
หมวด (๖) การจัดซื้อและจัดจ้าง จำนวน 5 ข้อ คิดเป็น 10 คะแนน

วิธีการประเมินคะแนน มี 3 ระดับ
0 คะแนน หมายถึง ไม่ได้ดำเนินการ
1 คะแนน หมายถึง ดำเนินการได้เพียงบางส่วน หรือดำเนินการแล้วไม่ถูกต้อง
2 คะแนน หมายถึง ดำเนินการครบถ้วนและถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่กำหนด

วิธีการประเมินคะแนน กรณีสัมภาษณ์ความเข้าใจของพนักงาน มี 5 ระดับ โดยการพิจารณาคะแนนจะคิดเทียบจากพนักงานหรือบุคคล


ที่ตอบคำถามได้จากจำนวนที่สุ่มสัมภาษณ์ (สุ่มสัมภาษณ์อย่างน้อย 5 คน ขึ้นไป)
0 คะแนน ไม่สามารถตอบคำถามได้
1 คะแนน ตอบคำถามได้ เพียง 2 คน และถูกต้องชัดเจน
2 คะแนน ตอบคำถามได้ เพียง 3 คน และถูกต้องชัดเจน
3 คะแนน ตอบคำถามได้ เพียง 4 คน และถูกต้องชัดเจน
4 คะแนน ตอบคำถามได้ 5 คน และเป็นทีม และถูกต้องชัดเจน

ระดับการรักษามาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ 80 คะแนน ขึ้นไป ระดับทอง
70-79 คะแนน ระดับเงิน
60-69 คะแนน ระดับทองแดง
ต่ำกว่า 60 คะแนน ไม่ผ่านมาตรฐาน

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
1 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หมายเหตุ :
(๑) เอกสาร แบบฟอร์ม สามารถปรับเปลี่ยนได้ แต่จะต้องมีความครอบคลุมรายละเอียดเกณฑ์ตัวชี้วัดในแต่ละข้อของ PEA ECO
STANDARD
(๒) ผลการดำเนินงานทุกตัวชี้วัดแต่ละหมวด ได้แก่ เอกสารที่จะต้องจัดทำตามเกณฑ์ตัวชี้วัด ภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นถึงการจัดการ
ทางกายภาพ สภาพแวดล้อม เป็นต้น จะต้องลงในระบบ PEA Green Office Dashboard ตามรอบความถี่ที่กำหนด
(๓) เอกสารสามารถจัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศ Green Office (PEA Green Office Dashboard) และสามารถแสดงผลในระบบ PEA
Green Office Dashboard ดังกล่าวได้ โดยไม่จำเป็น ต้องแสดงด้วยกระดาษ

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
2 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
หมวด 1 การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จำนวน 11 ข้อ คิดเป็น 22 คะแนน
1. การกำหนดบริบทองค์กรและขอบเขต - เอกสารที ่ แ สดงขอบเขตทางกายภาพ 2 บริ บ ทองค์ ก รและขอบเขตของ
ของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน และกิจกรรมของสำนักงานที่ดำเนินการ การจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม จะต้ อ ง
(๑) มี ก ารกำหนดขอบเขตพื ้ น ที ่ ข อง จั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มวั น ที ่ แ ละ พิจารณา
สำนักงาน ลงนามอนุมัติจากผู้บริหาร ๑. กิจกรรมและพื้นที่จะต้องอยู่ภายใน
(๒) มี ก ารกำหนดขอบเขตกิ จ กรรมของ และภายนอกอาคารสำนั ก งาน
สำนักงาน เป็ น ที ่ ป ฏิ บ ั ต ิ ง านด้ า นเอกสาร
ด ้ า น ก า ร ป ร ะ ช ุ ม แ ล ะ ก า ร จั ด
นิ ท รรศการ รวมไปถึ ง พื ้ น ที ่ ใ ช้
ประโยชน์อื่นๆภายใน ได้แก่ พื้นที่
รับประทานอาหาร พื้นที่ประกอบ
อาหาร ห้องน้ำ ลานจอดรถ พื้นที่
สีเขียว พื้นที่รองรับของเสีย ระบบ
บำบัดของเสีย
๒. กิจกรรมที่เกิดจากบุคลากรภายใน
องค์ ก ร หรื อ หน่ ว ยงานภายนอก
หรื อ ผู ้ ร ั บ จ้ า งที ่ เ ข้ า มาปฏิ บ ั ต ิ ง าน
ภายในองค์ ก ร เช่ น ร้ า นกาแฟ
ร้ า นอาหาร ร้ า นถ่ า ยเอกสาร
เป็นต้น
๓. กิจกรรมและพื้นที่ก่อให้เกิดปัญหา
สิ่งแวดล้อม
๔. กิ จ กรรมและพื ้ น ที ่ ม ี แ นวโน้ ม จะ
ส่ ง ผลกระทบด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม
แก่พื้นที่ภายนอกโดยรอบ
๕. กิ จ กรรมและพื ้ น ที ่ ท ี ่ เ คยได้ รั บ
การร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
2. การกำหนดนโยบายสิ ่ งแวดล้ อมจาก - หลั ก ฐานข้ อ (๑) มี ก ารแจ้ ง เวี ย นหรื อ 2 ๑. นโยบายสิ ่ งแวดล้ อมจากผู ้ บริ หาร
ผู ้ บริ หารระดั บส ู ง(ผวก.) แ ล ะ ก า ร ประกาศนโยบายสิ่งแวดล้อมจาก ผวก. ระดั บ สู ง (ผวก.) เ ป ็ น น โ ย บ า ย
ประยุกต์ใช้ เป็ น นโยบายฯของสำนั ก งานในการ สิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ ม ี ร ายละเอี ย ด
(๑) มีการนำนโยบายสิ่งแวดล้อมจาก ผวก. จั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม โดยผ่ า นช่ อ งทาง สอดคล้ อ งกั บ เกณฑ์ ก ารกำหนด
เป็ น นโยบายฯของสำนั ก งาน และ การสื่อสาร ของสำนักงาน นโยบายสิ ่ ง แวดล้ อ ม ของกรม
พนักงานรับทราบ - หลักฐานข้อ (๒) ผู้บริหาร/คณะทำงาน ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๒) ผู ้ บ ริ ห ารของสำนั ก งานแต่ ล ะแห่ ง มี ค วามเข้ า ใจในนโยบายสิ ่ ง แวดล้ อ ม ๒. สำนักงานแต่ละแห่งจะต้องติดตาม
จะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์ จาก ผวก. การเปลี่ยนแปลงนโยบายฯ
แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ย ุ ก ต ์ ใ ช ้ น โ ย บ า ย - หลั ก ฐานข้ อ (๓) รายงานการประชุ ม จากผวก. อย่างสม่ำเสมอ หากมีการ
สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับบริบทของ ประจำเดือน หรือ รายงานการประชุม เปลี ่ ย นแปลง สำนั ก งานจะต้ อ ง
สำนักงาน ทบทวนฝ่ายบริหาร หรือการสัมภาษณ์ มี ก ารจั ด ประชุ ม เพื ่ อ กำหนด
(๓) ผู ้ บ ริ ห ารของสำนั ก งานแต่ ล ะแห่ ง ผู้บริหาร หรืออื่นๆ ที่สามารถแสดงให้ แนวทางปฏิ บ ั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ
จะต้ อ งมี ส ่ ว นในการติ ด ตามผล เห็ น ได้ ช ั ด เจนว่ า มี ก ารติ ด ตามผลการ นโยบายฯ และสื่อสารให้รับทราบ
การปฏิ บ ั ติ ตามนโยบายสิ ่งแวดล้อม ปฏิบัติตามนโยบายได้จริง อย่างทั่วถึงกัน
ของ ผวก.

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
3 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
หมายเหตุ : กฟภ. ทั ้ ง ส่ ว นกลางและ
ส่ ว นภู ม ิ ภ าคทุ ก หน่ ว ยงาน ให้ ใ ช้ น โยบาย
สิ่งแวดล้อมโดย ผวก. เพียงฉบับเดียวเท่านั้น
ในการจัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
3. การกำหนดแผนดำเนิ น การจั ด การ - เอกสารแผนดำเนินการจัดการ 2
สิ่งแวดล้อมประจำปี สิ ่ งแวดล้ อ มประจำปี พร้ อ มวั น ที ่ แ ละ
(๑) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการ ลงนามอนุมัติจากผู้บริหาร
ดำเนินงานหรือกิจกรรมครบถ้วนทุก หมายเหตุ เอกสารสามารถปรั บ เปลี่ยน
หมวด ได้ตามความเหมาะสมขององค์กร
(๒) มี ก ารกำหนดเวลาหรื อ ความถี ่ ข อง
การดำเนินการหรือกิจกรรมของแต่ละ
หมวด
(๓) แผนดำเนิ น การจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม
จะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
4. การกำหนดเป้ า หมาย และตั ว ชี ้ วั ด - เอกสารกำหนดเป้าหมายด้าน 2 ๑. การกำหนดเป้ า หมายสิ ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม พร้อมวันที่และลงนามอนุมตั ิ จะต้องอยู่ในบริบทและขอบเขตของ
(๑) การใช้ไฟฟ้า จากผู้บริหาร การจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
(๒) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง - สั ม ภาษณ์ ผ ู ้ บ ริ ห ารหรื อ ผู ้ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง ๒. เป้าหมายปริมาณขยะสามารถเลือก
(๓) การใช้น้ำ ในการร่ ว มกำหนด เป้ า หมาย 6 ด้ า น กำหนดประเภทขยะได้ตาม
(๔) การใช้กระดาษ พร้ อ มให้ เหตุ ผลถึ งที ่ มาในการกำหนด ความเหมาะสม
(๕) ปริมาณขยะ เ ป ้ า ห ม า ย ตามหนั ง สื อ แจ้ ง เวี ย น
(๖) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก แนวทางการกำหนดเป้าหมายโครงการฯ
ของ กฟภ.
5. การแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีม งาน เอกสารประกาศแต่ งตั้ งคณะกรรมการด้ าน 2 คณะกรรมการหรือทีมงาน
ด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ฉบับปัจจุบัน พร้อมวันที ่ และ ด้านสิ่งแวดล้อมแต่ละหมวด ควรมา
(๑) ผู ้ บริ หารแต่ งตั ้ งคณะกรรมการหรื อ ลงนามอนุมัติจากผู้บริหาร จากบุ ค ลากร/ผู ้ แ ทนจากทุ ก ฝ่ า ย
ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นลาย ในหน่วยงาน
ลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ
(๒) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้ า ที่
รั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการอย่ า ง
ชัดเจน
6. การประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อมและการ - หลักฐานข้อ (๑)-(๗) เอกสารระบุ และ 2 ๑. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรง หมายถึง
วางแผน ประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม ปั ญ หาสิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ เ กิ ด จาก
(๑) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงาน โดยผู้รับผิดชอบจะต้องสามารถอธิบาย กา ร ด ำ เนิ นการของ พนั ก งาน
ครบถ้ ว นภายใต้ บ ริ บ ทและขอบเขต แนวทางดำเนินงานได้อย่างชัดเจน ทุกระดับของ PEA
ข อ ง ก า ร จ ั ด ก า ร ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม - หลั ก ฐานข้ อ (7) ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบจะต้ อ ง ๒. ปัญหาสิ่งแวดล้อมทางอ้อม หมายถึง
ในสำนักงาน แสดงเกณฑ์การประเมินปัญหา ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากบุคคล/
(๒) มี ก ารกำหนดผู้ รั บผิ ดชอบเหมาะสม สิ่งแวดล้อมและมีความเข้าใจ หน่วยงานภายนอกสำนักงาน เช่น
และมีความเข้าใจ - หลั ก ฐานข้ อ (๘) สามารถใช้ แ ผน ผู้รับเหมา ผู้รับจ้างช่วง ผู้เข้ามาใช้
(๓) ระบุ ป ั จ จั ย นำเข้ า : Input (การใช้ ดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมประจำปี บริการ เป็นต้น
พลั ง งาน ทรั พ ยากร วั ต ถุ ด ิ บ ) และ ในการแสดงข้อมูล ๓. ปั ญ หาสิ ่ ง แวดล้ อ มสภาวะปกติ
ปั จ จั ย นำออก : Output (มลพิ ษ - หลั ก ฐานข้ อ (9) แสดงหลั ก ฐาน หมายถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิด
การวิ เ คราะห์ แ ละแนวทางการแก้ ไ ข
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
4 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
ของเสีย) ของแต่ละกิจกรรมจะต้ อ ง ปั ญ หาสิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ ม ี น ั ย สำคั ญ เช่ น เป็นประจำทุกครั้งเมื่อทำกิจกรรม
ครบถ้วน การกำหนดมาตรการ คู ่ ม ื อ แนวทาง นั้นๆ
(๔) ระบุ ป ั ญ หาสิ่ งแวดล้ อ มทางตรงและ ปฏิ บ ั ต ิ การจั ด ทำแผนงาน/โครงการ ๔. ปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะผิ ด ปกติ
ทางอ้อมครบถ้วน เป็นต้น หมายถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิด
(๕) ระบุ ป ั ญ หาสิ ่ งแวดล้ อ มสภาวะปกติ - หลั ก ฐานข้ อ (10) แสดงหลั กฐานการ เป็ น ครั ้ ง คราว เช่ น สารเคมี
ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน กำ ห นด ม า ต ร กา ร ป ้ องกั นป ั ญ ห า หกรั่วไหลปริมาณไม่มาก ท่อน้ำแตก
(๖) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้ อ ม สิ่งแวดล้อมสภาวะผิดปกติอย่างครบถ้วน เป็ น ต้ น (จั ด การโดยใช้ ม าตรการ
ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ทุกประเด็น เชิงป้องกัน)
อย่างครบถ้วนและถูกต้อง - หลักฐานข้อ (10) แสดงหลักฐานแผน ๕. ปั ญ หาสิ ่ งแวดล้ อ มสภาวะฉุ ก เฉิ น
(๗) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ ระงั บ เหตุ ฉ ุ ก เฉิ น และผลฝึ ก ซ้ อ ม หมายถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน้
ของปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามแผนอย่างสม่ำเสมอ เป็ น ครั ้ ง คราวและมี ค วามรุ น แรง
(๘) มี ห ลั ก ฐานการกำหนดระยะเวลา มากกว่ า สภาวะผิ ด ปกติ เช่ น
ในการทบทวนการประเมิ น ปั ญ หา เพลิงไหม้ สารเคมีหกรั่วไหลปริมาณ
สิ ่ งแวดล้ อ ม อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ ๑ ครั้ ง (ทั้งนี้สามารถดำเนินการจัดทำ aspect มาก ก๊าซพิษรั่วไหล(จัดการโดยใช้
หรือเมื่อบริบทมีการเปลี่ยนแปลง ในภาพรวมของ สายงาน/สำนัก/กฟข/ แผนระงับเหตุฉุกเฉิน และฝึกซ้อม
(๙) การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไข กฟฟ.ชั้น 1-3/กฟส. ที่ดำเนินโครงการ แผนอย่างสม่ำเสมอ)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ เช่น ได้ โดยจะต้ อ งมี ก ิ จ กรรมครบถ้ ว น ๖. ปั ญ หาสิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ ม ี น ั ย สำคั ญ
การกำหนดมาตรการ คู่มือ แนวทาง ทุกส่วนงาน และไม่จำเป็นจะต้องทำเป็น หมายถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับ
ปฏิบัติ การจัดทำแผนงาน โครงการฯ ของแผนก กองหรือฝ่าย) ปานกลาง (M) ขึ้นไป
เป็นต้น
(๑๐) กำ ห นด ม า ต ร กา ร กา ร จ ั ด กา ร
เชิงป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะ
ผิดปกติ และฉุกเฉินอย่างครบถ้ วน
ทุกประเด็น
7. การรายงานปริมาณก๊าซเรือนกระจก - เอกสารคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก 2 ๑. ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ ์ ก ารปลดปล่ อ ย
(1) ปัจจัยที่ใช้ในการคำนวณปริมาณก๊าซ - เอกสารหลั ก ฐานแสดงการวิ เ คราะห์ ก๊าซเรือนกระจก(Emission Factor ;
เรือนกระจก ข้อมูล สาเหตุของการนำไปสู่การบรรลุ EF) สามารถสืบค้นค่าปัจจุบันได้จาก
- ปริมาณการใช้ไฟฟ้า และไม่บรรลุเป้าหมาย องค์ ก ารบริ ห ารก๊ า ซเรื อ นกระจก
- ปริ ม าณการใช้ เ ชื ้ อ เพลิ ง สำหรั บ หมายเหตุ : ในกรณีที่มีการควบคุมการใช้ http://www.tgo.or.th/
การเดินทาง พล ั งงา น ทร ั พย า กร แ ล ะ ของเ สี ย ๒. ปริมาณการเกิดของเสีย (ฝังกลบ)
- ปริมาณการใช้น้ำประปา โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือ หมายถึ ง ขยะทั ่ ว ไปหรื อ ขยะที่
- ปริมาณการใช้กระดาษ ๑. กรณีที่ 1 ลดลง และบรรลุเป้าหมายได้ องค์กรพิจารณาแล้วว่าไม่สามารถ
- ปริมาณการเกิดของเสีย (ฝังกลบ) 2 คะแนน นำกลับไปใช้ประโยชน์ จะต้องเข้าสู่
- ปริมาณมีเทนจากการบำบั ดน้ ำเสี ย ๒. กรณีที่ 2 ไม่บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ฝ ั ง ก ล บ โ ด ย มี
แบบไม่เติมอากาศ - ม ี แ นวโ น้ มลด ลงแต่ ไม่ บ รรลุ หน่วยงานมารับไปสู่หลุมฝังกลบ
(2) การวิ เ คราะห์ ป ริ ม าณก๊ า ซกระจก เป้าหมาย
เปรียบเทียบเป้าหมาย - ไม่ลดลง และไม่บรรลุเป้าหมาย
- มีการเก็บข้อมูลทุกเดือน จะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาดู
- สรุ ปและวิ เคราะห์ สาเหตุ ท ี ่ นำไปสู่ ถึงสาเหตุของการไม่บรรลุเป้ าหมาย
การบรรลุ ห รื อ ไม่ บ รรลุ เ ป้ า หมาย เช่ น ไม่ ล ดลงเนื ่ อ งจากมี ก ารเพิ่ ม
เพื ่ อ การปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้า มีการจัด
ไตรมาสละ 1 ครั้ง ประชุม มีการขยายพื้นที่ เพิ่มบุคลากร
ถื อ ว่ า ได้ 2 คะแนน แต่ ถ ้ า สาเหตุ
เกิดจากขาดความตระหนักจากการใช้
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
5 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
หรื อ มาตรการไม่ ไ ด้ ผ ล จะได้ เ พี ย ง
0-1 คะแนน ทั้งนี้ต้องแสดงหลักฐาน
การวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ร่วมด้วย
8. กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - หนังสือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านกฎหมาย 2 ๑. แหล่งสืบค้นกฎหมาย จะต้องเป็น
(1) มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและ และการประเมินความสอดคล้อง แหล่งที่น่าเชื่อถือ เช่น หน่วยงาน
ความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับบริบทของ - การสัมภาษณ์ความเข้าใจผู้รับผิดชอบ ราชการ website รวบรวมกฎหมาย
สำนักงานและกฎหมายท้องถิ่น อย่าง ในการค้นหากฎหมาย พร้อมระบุแหล่ง โดยเฉพาะ
น้อยปีละ ๑ ครั้ง สืบค้น รวมถึงการประเมินความสอดคล้อง ๒. การปฏิบัติตามกฎหมาย แบ่งเป็น
(2) ประเมินความสอดคล้องของกฎหมาย ของกฎหมาย - สอดคล้องกับกฎหมาย หมายถึง
กั บ กา ร ด ำ เ นิ นงา นกา ร จ ั ด กา ร - เอกสารทะเบียนกฎหมาย ที่มีกฎหมาย สำนั ก งานมี ก ารปฏิ บ ั ต ิ เ ป็ นไป
สิ่งแวดล้อมของสำนักงาน อย่างน้อย ครบถ้วนตามบริบทและปัญหา ตามที่กฎหมายนั้นๆ ได้กำหนด
ปีละ 1 ครั้ง สิ่งแวดล้อมของสำนักงาน และเป็นฉบับ ไว้ และจะต้องอ้างอิงหลักฐาน
ปั จ จุ บ ั น และมี ห ลั ก ฐานการประเมิ น ของการปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมาย
ความสอดคล้องของกฎหมาย โดยสามารถอ้างอิงจากภาพถ่าย
- กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่สอดคล้อง เอกสารการดำเนินงาน
กับกฎหมาย จะต้องมีการวิเคราะห์ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมายเรื ่ อ ง
สาเหตุ และกำหนดแนวทางการแก้ไข นั้นๆ
(ถ้ามี) - ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ กฎหมาย
- สามารถใช้ทะเบียนกฎหมายของ กฟภ. ห ม า ย ถ ึ ง ส ำ น ั ก ง า น ไ ม ่ มี
ส่ ว นกลาง จากเว็ บ ไซต์ พ.ร.บ. ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ เ ป ็ น ไ ป ต า ม ที่
กฎ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ของ กฟภ. กฎหมายนั ้ น ๆ ได้ ก ำหนดไว้
ตามช่องทาง URL/ QR CODE ที่แนบ หรื อ ปฏิ บ ั ต ิ ผ ิ ด กฎหมาย หรื อ
นี้ ไ ด้ โดยให้ เ พิ ่ ม เติ ม เฉพาะกฎหมาย ละเมิดกฎหมาย
ท้ อ งถิ ่ น ของแต่ ล ะสำนั ก งานและ - เพื ่ อ ทราบ หมายถึ ง กฎหมาย
ทบทวนความสอดคล้องต่างๆ ที ่ ไ ม่ ไ ด้ ม ี บ ทใช้ บ ั ง ค ั บ กั บ
ให้ครบถ้วน สำนักงาน แต่สามารถนำมาใช้
https://bit.ly/36na02l เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้

9. มี ก ารจั ด ทำแผนงาน/โครงการด้ า น - หลักฐานข้อ (๑) สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2 นวัตกรรม หมายถึง การทำสิ่งต่ า งๆ


สิ่งแวดล้อม จะต้องมีการดำเนินการดังนี้ ถึงความเข้าใจในการกำหนวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีใหม่ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง
(๑) วั ต ถุ ป ระสงค์ เป้ า หมาย จะต้ อ ง เป้าหมายและแผนงาน ทางความคิด กระบวนการทำงาน หรือ
สอดคล้ อ งกั บ นโยบายสิ ่ ง แวดล้ อ ม - หลักฐานข้อ (๑)-(๕) ใช้เอกสารโครงการ เทคโนโลยี เพื ่ อ นำไปสู ่ ก ารพั ฒ นา
หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ สิ่งแวดล้อม ต่อยอด
หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม - หลักฐานข้อ (๓) จะต้องพิจารณาเพิ่มเติม
(๒) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถวัด ว่ า กิ จ กรรม/นวั ต กรรมในโครงการ
ผลได้ สิ ่ ง แวดล้ อ มจะต้ อ งมี ค วามแตกต่ า ง

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
6 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
(๓) กิ จ กรรม/นวั ต กรรมที ่ ก ำหนดใน จากกิจกรรม มาตรการ หรือแนวทางเดิม
โครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้อง ทีเ่ คยปฏิบัติภายในสำนักงาน
กับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย หมายเหตุ : กรณีที่สำนักงานไม่มีกิจกรรม
(๔) ระยะเวลาการทำโครงการมี ค วาม มาตรการหรื อ แนวทางการปฏิ บั ติ ใ นการ
เหมาะสม จั ด การปั ญ หาสิ ่ ง แวดล้ อ มที ่ ม ี น ั ย สำคั ญ
(๕) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบอย่าง มาก่ อ น สามารถอ้ า งอิ ง กิ จ กรรมที ่ ถู ก
ชัดเจน และจะต้องมีความเข้าใจ กำหนดในตัวโครงการ

ทั้งนี้ สามารถใช้โครงการด้านสิ่งแวดล้อม
ที ่ กฟภ. ส่ ว นกลางจั ด ทำ ตามช่ อ งทาง
URL/ QR CODE ที ่ แ นบนี้ ทดแทนการ
ดำเนินการได้

https://drive.google.com/drive/folde
rs/1_IMt1b8RXW3qTsHsaZ5Z3OIlEYP
vVRSX?usp=sharing

10. ผลสำเร็ จ ของวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ - หลั ก ฐานข้ อ (๑),(2) เอกสารแผนงาน 2


เป้ า หมาย แนวทางการปรั บ ปรุ ง อย่ า ง โครงการและกิจกรรม
ต่อเนื่องและยั่งยืน - หลั ก ฐานข้ อ (3) เอกสารรายงาน
(๑) ม ี แผนการดำเนิ นโครงการหรื อ ความคืบหน้าของโครงการ หรือรายงาน
นวั ตกรรมที ่ ช ั ดเจน และดำเนิ น การ การประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร อ้างอิง
ตามแผนที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง วาระที่ ๔ การติดตามผลการดำเนินงาน
(๒) มีการกำหนดความถี่ในการติดตามผล - หลักฐานข้อ (4) เอกสารสรุปผลโครงการ
และปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง โดยจะต้ อ งมีก ารวั ดผลการดำเนินงาน
(๓) มีการติดตามความคืบหน้าของโครงการ เทียบเป้าหมาย
(๔) มี ก ารสรุ ป ผลการดำเนิ น โครงการ - หลั ก ฐานข้ อ (5) อธิ บ ายแนวทาง
(กรณี ท ี ่ ไ ม่ บ รรลุ เ ป้ า หมายมี ก าร การดำเนินงานเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง
ท บ ท ว น เ พ ื ่ อ ห า ส า เ ห ต ุ แ ล ะ หลังจบโครงการ
แนวทางแก้ไข) กรณี ท ี ่ บ รรลุ ผ ล จะต้ อ งเสนอแนวทาง
(๕) มี แ นวทางในการดำเนิ น การอย่ า ง เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง เช่น นำกิจกรรม
ต่ อ เนื ่ อ งหลั ง จากโครงการเสร็ จ สิ้ น ห ร ื อนวั ต กร ร ม ห ร ื อ แ นวทา งกา ร
เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ดำเนินการไปเพิ่มเติมในมาตรการเดิมที่มี
เป็นต้น
กรณีไม่บรรลุผล จะต้องแสดงหลักฐานการ
ห า ส า เ ห ต ุ แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
7 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
ซึ ่ งสามารถใช้ ใ บขอให้ แ ก้ ไ ขและป้ อ งกั น
ข้อบกพร่องร่วมได้
11. การประชุ ม ทบทวนฝ่ า ยบริ ห าร/ - หลักฐานข้อ (๑)-(๒) ใบลงชื่อเข้าร่ ว ม 2 วาระการประชุ มจะต้ องมี อ ย่ างน้อย
ติดตาม ด้านสิ่งแวดล้อม ประชุ ม หรื อ ระบบ PLMS หรื อ ระบบ 6 วาระ ดังนี้
(๑) มี ต ั ว แทนของแต่ ล ะฝ่ า ย/แผนก/ อื่นๆที่แสดงหลักฐานได้ วาระที่ 1 การติดตามผลการประชุม
ส่ ว นงานที ่ ม ี ค วามเกี ่ ย วข้ อ งกั บ - หลักฐานข้อ (3) สัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ทบทวนฝ่ายบริหารทีผ่ ่านมา
การดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วม แนวทางการรายงานผลการประชุม หรือ วาระที ่ 2 การทบทวนนโยบาย
ประชุม แสดงหลั ก ฐานการเวี ย นรายงา น สิ่งแวดล้อม
(๒) จำนวนผู ้เข้ าร่ ว มการประชุ มจะต้อง การประชุ ม ซึ ่ ง อาจจะอยู ่ ใ นรู ป ของ วาระที่ 3 การทบทวนประสิทธิภาพ
มากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู ้ ที่ เอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ของคณะกรรมการหรื อ ที ม งาน
เป็นคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมของแต่ - หลักฐานข้อ (4) รายงานการประชุม ด้านสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและ
ละสายงาน พร้อมหลักฐานการลงนาม ความเหมาะสม)
เข้าร่วมประชุม (ทั้งนี้ สามารถประชุม วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงาน
ผ่านช่องทางออนไลน์ได้) ด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม การสื ่ อ สารและ
(๓) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติ
เข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผล ตามกฎหมาย รวมถึ ง แนวทางการ
การประชุ ม ให้ ร ั บ ทราบ พร้ อ มรั บ แก้ไขปรับปรุงและพัฒนา
ข้อเสนอแนะ วาระที่ 5 การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผล
(๔) มี ก ารสรุ ป ผลการประชุ ม ครบถ้ ว น กระทบต่อความสำเร็จในการ
ตามวาระต่างๆ ที่กำหนด ดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 6 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม
และวิสัยทัศน์ แนวคิดของผู้บริหารของ
การดำเนิ น งานด้ า นสิ ่ งแวดล้ อ มของ
สำนักงานอย่างต่อเนื่อง

หมวดที่ ๒ การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก จำนวน 5 ข้อ คิดเป็น 12 คะแนน


1. การกำหนดหลักสูตรและวางแผนการ - หลักฐานข้อ (1) – (๓) แผนการฝึกอบรม 2
ฝึกอบรม ประจำปี ที่ระบุหลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย
(๑) การระบุ ห ลั ก สู ต รด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม ช่วงเวลาในการจัดอบรม และจะต้องมี
โดยหลักสูตรจะต้องมีรายละเอียด คือ การลงนามอนุมัติจากผู้บริหาร
- ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ข อ ง ก า ร จ ั ด ก า ร - หลักฐานข้อ (๔) ประวัติวิทยากรที่ระบุ
สิ่งแวดล้อมในสำนักงาน ป ร ะ ส บ กา ร ณ ์ แ ล ะ ค ว า ม สามารถ
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมี หรื อ ใบรั บ รองความรู้ ค วามสามารถ
ประสิทธิภาพ จากหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจั ด ซื ้ อ จั ด จ้ า งที ่ เ ป็ น มิ ต ร
กับสิ่งแวดล้อม
- การจัดการก๊าซเรือนกระจก
- แนวทางการจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม/
นวัตกรรม/เครื่องมือหรือเทคโนโลยี
ที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมใหม่
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
8 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
(๒) การระบุหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การจั ดการสิ ่งแวดล้อ มในสำนักงาน
(ถ้ามี)
- อ้ า งอิ ง ตามบริ บ ทและมาตรฐาน
ด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
- หลั ก สู ต รการจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม
จากส่วนกลาง
(๓) การวางแผนฝึกอบรม
(๔) ความเหมาะสมของวิทยากร
2. การดำเนินการอบรม ประเมินผล และ - หลั ก ฐานข้ อ (1) เอกสารลงทะเบี ย น 2 ประเมิ น ผลการฝึ ก อบรม สามารถ
บันทึกประวัติการฝึกอบรม การอบรม หรือระบบ PLMS หรือระบบ ดำเนิ น การหลายรู ป แบบ ได้ แ ก่
(๑) ดำเนินการฝึกอบรมให้แก่ ผู้บริหาร อื่นๆที่แสดงหลักฐานได้ กา ร ทำ ข้ อส อบ กา ร ถา ม - ต อบ
พนักงาน ลูกจ้างประจำ และ - หลั ก ฐานข้ อ (2) เอกสารประเมิ น ผล การประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
บุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามแผนการ การฝึ ก อบรม หรื อ ระบบ PLMS หรื อ
ฝึกอบรม โดยผู้รับการอบรมจะต้อง ระบบอื่นๆที่แสดงหลักฐานได้
มากกว่าร้อยละ ๘๐ ของกลุม่ เป้าหมาย - หลั ก ฐานข้ อ (๓) เอกสารประวั ต ิ ก าร
ในแต่ละหลักสูตร อบรมของผู้บริหาร พนักงานลูกจ้างประจำ
(๒) ประเมินผลการฝึกอบรม และบุ ค คลภายนอกที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง หรื อ
(๓) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน ระบบอื่นๆที่แสดงหลักฐานได้

3. การรณรงค์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ แ ก่ - หลั ก ฐานข้ อ (๑)-(๔) แผนการสื ่ อ สาร 2 ก๊าซเรือนกระจก จะต้องสื่อสาร ดังนี้
พนักงาน ด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี จะต้องมีการ - ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจก
(๑) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร ลงนามอนุ ม ั ต ิ จ ากผู ้ บ ริ ห าร พร้ อ มกั บ - แนวทางการลดก๊าซเรือนกระจก
อย่างน้อย ดังนี้ สัมภาษณ์เพื่อดูถึงความเข้าใจของผู้รับ - ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
หัวข้อ ความถี่ ชอบในการวางแผนสื่อสาร ประจำเดือน
๑. นโยบาย ทุ ก ครั ้ ง ที ่ มี ก าร - หลักฐานข้อ (๕) ตรวจสอบได้จากการ
สิ่งแวดล้อม เปลี่ยนแปลง สื ่ อ สารจริ ง ตามช่ อ งทางการต่ า งๆ
ที่กำหนดในแผนการสือ่ สาร
๒. ปัญหา ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร
- การสื ่ อ สารการปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมาย
สิ่งแวดล้อมที่มี เปลี่ยนแปลง สามารถอ้ า งอิ ง ผลการดำเนิ น การ
นัยสำคัญและการ ของคณะทำงานส่ ว นกลางฯ ฉบั บ ที่
จัดการ เกี่ยวข้องได้ เช่น ผลการตรวจวัดคุณภาพ
๓. การปฏิบัติตาม ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร น้ำ เป็นต้น
กฎหมาย เปลี่ยนแปลง
๔. ความสะอาด ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร
และความเป็น เปลี่ยนแปลง
ระเบียบ (5ส.)
๕. เป้าหมายและ ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร
มาตรการพลังงาน- เปลี่ยนแปลง
ทรัพยากร (น้ำ
ไฟฟ้า น้ำมัน

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
9 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
เชื้อเพลิง กระดาษ
และอื่นๆ)
๖. เป้าหมายและ ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร
มาตรการจัดการ เปลี่ยนแปลง
ของเสีย
๗. ผลการใช้ ทุกเดือน
ทรัพยากร พลังงาน
และของเสีย
๘.สินค้าและบริการ ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม ี ก าร
ที่เป็นมิตรกับ เปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อม
๙. ก๊าซเรือนกระจก ทุกเดือน (กรณีที่
เป็ น การรายงาน
ปริมาณก๊าซเรือน
กระจก)
(๒) กำหนดช่ อ งทางการสื ่ อ สารที ่ มี
ประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและ
องค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(๓) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร
(ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอก
สำนักงาน)
(๔) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
(๕) หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ผ่านช่องทางต่างๆ
หมายเหตุ : หั ว ข้ อ การสื ่ อ สารสามารถ
กำหนดเพิ ่ มเติ มได้ ตามบริ บทของแต่ ละ
สำนักงาน
4. มี ช ่ อ งทางรั บ ข้ อ เสนอแนะด้ า น - หลักฐานแสดงช่องทางรับข้อเสนอแนะด้าน 2 ข้ อเสนอแนะด้ านสิ ่ งแวดล้ อม หมาย
สิ่งแวดล้อม และแนวทางแก้ไข สิ่งแวดล้อม อย่างหนึ่งอย่างใด รวมถึ ง ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ข้ อ คิ ด เห็ น
- หลักฐานการอนุมัติแนวทางแก้ไขและ คำแนะนำ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
แจ้ งหน่ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งดำเนิ น การ ในสำนักงาน
ในประเด็นข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
ที่มีมูล และภายใน 5 วัน ทำการ
- หลั ก ฐานแสดงการแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง
ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและ จัดส่งให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข
จะต้องแล้วเสร็จภายใน 30 วันทำการ
กรณีที่ไม่แล้วเสร็จจะต้องชี้แจงถึงสาเหตุ
และแนวทางการจัดการ พร้อมระบุวันที่
แล้ ว เสร็ จ ให้ ช ั ด เจน และจะต้ อ งมี่
หลั ก ฐานการรายงานผลการแก้ ไ ข
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
10 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
ปรับปรุง ไปยังผู้แจ้งข้อเสนอแนะ (กรณีที่
มีการระบุตัวตน) และผู้บริหาร เช่น การ
ประชุ ม ทบทวนฝ่ า ยบริ ห าร หรื อ การ
ประชุมประจำเดือน เป็นต้น
5. ความเข้ า ใจนโยบายสิ ่ ง แวดล้ อ ม ส ุ ่ ม ส ั ม ภ า ษ ณ ์ พ น ั ก ง า น อ ย ่ า ง น ้ อย 4
การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน ตามประเด็นในข้อ 1 และ 3
และก๊าซเรือนกระจก หมายเหตุ วิ ธ ี ก ารประเมิ น คะแนน กรณี
สั ม ภาษณ์ ค วามเข้ า ใจของพนั ก งาน
มี 5 ระดับ โดยการพิจารณาคะแนนจะคิด
เทียบจากพนักงานหรือบุคคลที่ตอบคำถาม
ได้จากจำนวนที่สุ่มสัมภาษณ์
(สุ ่ ม สั ม ภาษณ์ อ ย่ า งน้ อ ย 5 คน ขึ ้ น ไป)
ระดับคะแนนระบุ ที่หน้าแรกของเอกสาร
ฉบับนี้
หมวดที่ ๓ การใช้ทรัพยากรและพลังงาน จำนวน 8 ข้อ คิดเป็น 18 คะแนน
1. กำหนดมาตรการใช้ ท รั พ ยากรและ - เอกสารมาตรการใช้ ท รั พ ยากรและ 2 มาตรการการใช้ ท รั พ ยากรและ
พลังงาน ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง พลังงาน ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง พลั งงาน สามารถใช้ มาตรการกลาง
กระดาษ ที่ปฏิบัติในสายงาน/สำนัก/ฝวก. กระดาษ และจะต้องมีการลงนามอนุมัติ ที ่ กฟภ.กำหนดได้ หรื อ หน่ ว ยงาน
/ เ ข ต / ก ฟ ฟ ค ร บ ถ ้ ว น อ ย ่ า ง น ้ อ ย จากผู้บริหาร สามารถกำหนดมาตรการที่สอดคล้อง
4 ประเภทข้างต้น - หลั ก ฐานแสดงว่ า ผู ้ ท ี ่ ป ฏิ บ ั ต ิ ง าน ตามบริบท
ใน ส ำ นั กงา น ร ั บ ทรา บ เ ช่ น กา ร
ประชาสั ม พั น ธ์ ผ ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ/
การแจ้งเวียน หรือหลักฐานอื่นๆ
(อ้างอิงหลักฐานจากหมวดที่ 2)
2. การจัดทำข้อมูลการใช้น้ำเปรียบเทียบ - บันทึกการใช้น้ำรายเดือน 2 สำนักงานควรมีการทบทวนมาตรการ
เป้าหมาย - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การบรรลุ อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากผลการ
(๑) มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ปริ ม าณการใช้ น้ ำ เป้าหมาย ใช้นำ้ เปรียบเทียบกับเป้าหมาย
ทุกเดือน - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การไม่บรรลุ
(๒) มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ปริ ม าณการใช้ น้ ำ เป้าหมาย และแนวทางการแก้ไข
ต่อพนักงานทุกเดือน หมายเหตุ :
(๓) สรุ ป และวิ เคราะห์ สาเหตุ ท ี ่ นำไปสู่ - ป ร ิ ม า ณ ก า ร ใ ช ้ น ้ ำ ห า ก ไ ม ่ ล ด ล ง
การบรรลุ หรือไม่ บรรลุ เป้ าหมาย เพื่อ ตามเป้าหมายที่กำหนด ผู้ตรวจประเมิน
การแก้ ไขและปรั บปรุ งอย่ างต่ อเนื ่ อง จะต้ อ งใช้ ด ุ ล ยพิ น ิ จ ในการพิ จ ารณา
ไตรมาสละ 1 ครั้ง เช่น ไม่ลดลงเนื่องจากมีการจัดประชุม
มี ก ารขยายพื ้ นที ่ เพิ ่ มบุ คลากร ถื อว่ าได้
2 คะแนน แต่ถ้าสาเหตุเกิดจากขาดความ
ตระหนั ก จากการใช้ ห รื อ มาตรการ
ไม่ ไ ด้ ผ ล ได้ เ พี ย ง 0-1 คะแนน ทั ้ งนี้
ต้องแสดงหลักฐานการวิเคราะห์สาเหตุและ
แนวทางแก้ไขร่วมด้วย
- กรณี ท ี ่ สำนั กงานย้ ายสถานที ่ จะไม่ มี
ฐานข้อมูลย้อนหลังของปีที่ผ่านมา อนุโลม
ให้รวบรวมข้อมูลในปีล่าสุด หรือเดือนฐาน
ตามความเหมาะสม

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
11 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
3. การจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าเปรียบเทียบ - บันทึกการใช้ไฟฟ้ารายเดือน 2 สำนักงานควรมีการทบทวนมาตรการ
กับเป้าหมาย - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การบรรลุ อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากผลการ
(๑) มีการเก็บข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า เป้าหมาย ใช้ไฟฟ้าเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
ทุกเดือน - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การไม่บรรลุ
(๒) มีการเก็บข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า เป้าหมาย และแนวทางการแก้ไข
ต่อพนักงานทุกเดือน หมายเหตุ :
(๓) สรุ ป และวิ เคราะห์ สาเหตุ ท ี ่ นำไปสู่ - ปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า หากไม่ ล ดลง
การบรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมาย ตามเป้าหมายที่กำหนด ผู้ตรวจประเมิน
จะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา เช่น
ไม่ลดลงเนื่องจากมีการจัดประชุม มีการ
ขยายพื ้ น ที ่ เพิ ่ ม บุ ค ลากร ถื อ ว่ า ได้
2 คะแนน แต่ ถ ้ า สาเหตุ เ กิ ด จากขาด
ความตระหนักจากการใช้หรือมาตรการ
ไม่ ไ ด้ ผ ล ได้ เ พี ย ง 0-1 คะแนน ทั ้ งนี้
ต้องแสดงหลักฐานการวิเคราะห์สาเหตุและ
แนวทางแก้ไขร่วมด้วย
- กรณี ท ี ่ สำนั กงานย้ ายสถานที ่ จะไม่ มี
ฐานข้อมูลย้อนหลังของปีที่ผ่านมา อนุโลม
ให้รวบรวมข้อมูลในปีล่าสุด หรือเดือนฐาน
ตามความเหมาะสม
4. การจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง - บันทึกการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงรายเดือน 2 ๑. ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง จะต้องอยู่
เปรียบเทียบเป้าหมาย - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การบรรลุ ภายใต้ บ ริ บ ทและขอบเขตการ
(๑) มีการเก็บข้อมูล ปริมาณการใช้น้ ำมัน เป้าหมาย จัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
เชื้อเพลิงทุกเดือน - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การไม่บรรลุ ๒. ส ำ น ั ก ง า น ค ว ร ม ี ก า ร ท บ ท ว น
(๒) มีการเก็บข้อมูล ปริมาณการใช้น้ ำมัน เป้าหมาย และแนวทางการแก้ไข มาตรการอย่างต่อเนื่อง
เชื้อเพลิงต่อระยะทางทุกเดือน หมายเหตุ : ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง โดยพิ จ ารณาจากผลการใช้ น ้ ำ มั น
(๓) สรุปและวิเคราะห์สาเหตุที่นำไปสู่การ ไม่ ล ดลงตามเป้ า หมายที ่ก ำหนด ผู ้ ต รวจ เชื้อเพลิงเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
บรรลุหรื อไม่ บรรลุ เป้ าหมาย เพื่อการ ประเมินจะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา
แก้ ไ ขและปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง เช่ น ไม่ ล ดลงเนื ่ อ งจาก มี ก ารจั ด ประชุม
ไตรมาส ละ 1 ครั้ง มีการเดินทาง ถือว่าได้ 2 คะแนน แต่ถ้า
สาเหตุเกิดจากขาดความตระหนักจากการ
ใช้ ห รื อ มาตรการไม่ ได้ ผล ได้ เพี ย ง 0-1
คะแนน ทั้งนี้ต้องแสดงหลักฐานการวิเคราะห์
สาเหตุและแนวทางแก้ไขร่วมด้วย
5. การจั ด ทำข้ อ มู ล การใช้ กระดาษ - บันทึกการใช้กระดาษรายเดือน 2 สำนักงานควรมีการทบทวนมาตรการ
เปรียบเทียบเป้าหมาย - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การบรรลุ อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาจากผลการ
(๑) มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ปริ ม าณการใช้ เป้าหมาย ใช้กระดาษเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กระดาษทุกเดือน - หลักฐานการสรุปและวิเคราะห์การไม่บรรลุ
(๒) มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ปริ ม าณการใช้ เป้าหมาย และแนวทางการแก้ไข
กระดาษต่อพนักงานทุกเดือน หมายเหตุ : ปริมาณการใช้กระดาษไม่ลดลง
(๓) สรุปและวิเคราะห์สาเหตุที่นำไปสู่การ ตามเป้ า หมายที ่ ก ำหนด ผู ้ ต รวจประเมิน
บรรลุหรื อไม่ บรรลุ เป้ าหมาย เพื่อการ จะต้ อ งใช้ ด ุ ล ยพิ น ิ จ ในการพิ จ ารณา เช่ น
แก้ ไ ขและปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ไม่ลดลงเนื่องจาก มีกกิจกรรมงานเพิ่ม ที่
ไตรมาสละ 1 ครั้ง ต ้ อ ง ใ ช ้ ก ร ะ ด า ษ ม ี ก า ร จ ั ด ป ร ะ ชุ ม
เพิ่มบุคลากร ถือว่าได้ 2 คะแนน แต่ถ้า
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
12 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
สาเหตุ เ กิ ด จากขาดความตระหนั ก จาก
การใช้ ห รื อ มาตรการไม่ ได้ ผล ได้ เพี ย ง
0-1 คะแนน ทั ้ ง นี ้ ต ้ อ งแสดงหลั ก ฐาน
การวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขร่วมด้วย
6. การปฏิบัติตามมาตรการใช้น้ำ ไฟฟ้า สุ่มสัมภาษณ์พนักงานและสำรวจพื้นที่ตาม 4
น้ำมันเชื้อเพลิง กระดาษ ตามข้อ 1 ใน มาตรการประหยั ด น้ ำ ไฟฟ้ า น้ ำ มั น
พื้นที่ทำงาน เชื้องเพลิง กระดาษ
หมายเหตุ : วิธีการประเมินคะแนน กรณี
สั ม ภาษณ์ ค วามเข้ าใจของพนั ก งาน มี 5
ระดับ โดยการพิจารณาคะแนนจะคิดเทียบ
จากพนั ก งานหรือ บุ ค คลที่ ตอบคำถามได้
จากจำนวนที่สุ่มสัมภาษณ์ (สุ่มสัมภาษณ์
อย่างน้อย 5 คน ขึ้นไป) ระดับคะแนนระบุ
ที่หน้าแรกของเอกสารฉบับบนี้
7. การปฏิบัติตามมาตรการใช้น้ำ ไฟฟ้า ผู้รับผิดชอบสุ่มตรวจสอบพื้นที่ปฏิบัติงาน 2
น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง กระดาษ ตามข้ อ 1 ถึ ง การปฏิ บ ั ต ิ ต ามมาตรการ อย่ า งน้ อ ย
ภายในพื้นที่สำนักงาน เดือนละ 1 ครั้ง หากพบว่าไม่ปฏิบัติตาม
มาตรการ จะต้ อ งดำเนิ น การจั ด การ
ปรับปรุงแก้ไขเพื่อสร้างความตระหนัก และ
วัดผลหลังการจัดการเพื่อให้มั่นใจพนักงาน
ปฏิบัติตามมาตรการได้ครอบคลุม
8. การประชุ ม และจั ดนิท รรศการที ่เป็น - หลั ก ฐานข้ อ (1) การสั ม ภาษณ์ แ ละ 2 สถานที ่ จ ั ด ประชุ ม หรื อ นิ ท รรศการ
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดู ห ลั ก ฐานการเชิ ญ ประชุ ม ผ่ า นสื่ อ ที่สามารถลดการใช้พลังงานได้ ได้แก่
(1) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ สถานที่ไม่มีการใช้พลังงานใดๆ หรือใช้
เ พื ่ อเ ตรี ยมการ ประชุ ม ได้ แ ก่ - หลักฐานข้อ (2) สัมภาษณ์และสำรวจ พลังงานน้อยลง ซึ่งสามารถอยู่ในตัว
QR code, Email, Social Network, การแบ่ ง ขนาดห้ อ งประชุ ม ตามความ อาคารหรือนอกอาคารก็ได้
Intranet เป็นต้น เหมาะสม และจะต้ อ งไม่ มี ก ารตกแต่ง
(2) การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มี ด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือเกิดเป็น
การใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม ขยะได้ง่าย
ลดการใช้ ท รั พ ยากรพลั ง งาน และ - หลักฐานข้อ (2) สัมภาษณ์และตรวจสอบ
ลดของเสียที่เกิดขึ้น แบบฟอร์ ม การคั ด เลื อ กสถานที ่ ท ี ่ เป็น
- สถานที ่ จ ั ด ประชุ ม (ภายในและ มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ มภายนอกองค์ ก ร
ภายนอกองค์กร) ตามที่หน่วยงานกำหนดขึ้น
- สื่อที่ใช้ประชุม - หลั ก ฐานข้ อ (2) สั ม ภาษณ์ ก ารสื บ ค้ น
- อาหารและเครื่องดื่ม ข้อมูลโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นแผนไว้สำหรับการจะจัดประชุม
นอกสถานที่ เช่น Green Hotel, Green
leaf เป็นต้น
- หลักฐานข้อ (2) สัมภาษณ์และตรวจสอบ
บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารและเครื่องดื่มที่เป็น
มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ หลี ก เลี ่ ย ง
บรรจุภัณฑ์ที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
-
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
13 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
หมวดที่ ๔ การจัดการของเสีย จำนวน 6 ข้อ คิดเป็น 14 คะแนน
1. การกำหนดแนวทางหรื อ มาตรการ - หลักฐานข้อ (๑) – (๓) เอกสารมาตรการ 2
จัดการของเสียที่เกิดขึ้นภายในสำนักงาน จัดการขยะ และมีการสื่อสารให้พนักงาน
ได้แก่ รับทราบ
(๑) การลดปริมาณขยะ - หลักฐานข้อ (4) เช่น ใบเสร็จรับเงิน หรือ
(๒) การคัดแยกขยะ (ตามบริบทของแต่ละ หนังสือยืนยันจากหน่วยงานรับขยะไป
สำนักงาน) กำจัด เป็นต้น
(๓) การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
(๔) การกำจั ด ขยะอย่ า งถู ก ต้ อ งและ
เหมาะสม
2. มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ ล ะ - เอกสารบันทึกปริมาณน้ำหนักของขยะ 2
ประเภทครบถ้วนทุกเดือน ครบทั้ง 4 ประเภท หรือตามบริบทของ
แต่ละสำนักงาน
- หลักฐานแสดงการวิเคราะห์ปริมาณขยะ
ตามเป้ า หมายที ่ ก ำหนดจากหมวด 1
อนุโลมใช้ยอดสะสมรอบไตรมาส หรือ
ยอดสะสมรวม
3. มีการนำขยะทุกประเภทนำกลับมาใช้ - เอกสารบันทึกปริมาณขยะที่แสดงให้เห็น 2 ๑. การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือ
ประโยชน์ใหม่ ถึ งการนำขยะกลับ มาใช้ ใ หม่ มากกว่า นำกลับมาใช้ใหม่ หมายถึง การนำ
ร้อยละ 45 ขยะทุ ก ประเภทที ่ ส ามารถนำ
- สิ่งประดิษฐ์ หรือ นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้อง กลั บ มาใช้ ใ หม่ ห รื อ สามารถสร้ า ง
กับ พัสดุ อุปกรณ์ ขยะ ที่ไม่ได้ใช้งาน ประโยชน์ได้ ส่งผลต่อการลดภาระ
อย่างน้อย 1 ชิ้น ต่อสิ่งแวดล้อมโดยการฝังกลบหรือ
หมายเหตุ เผาทำลายในเตาเผา เป็นต้น
- สามารถนำขยะกลับมาใช้ใหม่ได้ ตั้งแต่ ๒. วิธีการคำนวณการนำขยะกลับมาใช้
ร้อยละ 45 ขึ้นไป ไม่จำเป็นต้อง จัดทำ ประโยชน์ใหม่ คือ
สิ่งประดิษฐ์ หรือ นวัตกรรมจาก พัสดุ ร้ อ ยละของปริ ม าณขยะที ่ น ำกลั บ
อุ ป กรณ์ ขยะ ที ่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ งาน จะได้ 2 ม า ใช้ ให ม่ = (ป ร ิ มาณขยะที่
คะแนน นำกลั บ มาใช้ ใ หม่ ส ะสม x 100)
- สามารถนำขยะนำกลั บ มาใช้ ใ หม่ ปริ ม าณขยะทั ้ ง หมดทุ ก ประเภท
มากกว่าร้อยละ 30 แต่ไม่ถึงร้อยละ 45 สะสม
จะต้อง จัดทำสิ่งประดิษฐ์ /นวัตกรรม
จากพัสดุ อุปกรณ์ ขยะ ที่ไม่ได้ใช้งาน
อย่างน้อย 1 ชิ้น จะได้ 2 คะแนน
- สามารถนำขยะนำกลั บ มาใช้ ใ หม่
มากกว่าร้อยละ 20 แต่ไม่ถึงร้อยละ 30
จะได้ 1 คะแนน
- สามารถนำขยะนำกลั บมาใช้ ใ หม่ น้อย
กว่าร้อยละ 20 จะได้ 0 คะแนน

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
14 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
4. การกำหนดพื ้ น ที ่ ร องรั บ ขยะ และ - หลักฐานข้อ (๑) และ (๒) สุ่มตรวจสอบ 2
การทิ้งขยะของพนักงาน อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ความเพียงพอ
(๑) จุดวางถังขยะ สภาพถังขยะ และการ ต่อการรองรับขยะ ความชัดเจนของการ
บ่งชี้ประเภทขยะ บ่งชี้ประเภทขยะ
(๒) จุดพักขยะก่อนส่งกำจัด - หลักฐานข้อ (๓) การทิ้งขยะของพนักงาน
(๓) การทิ ้ ง ขยะของพนั ก งาน และการ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง จะต้องถูกต้อง
วิเคราะห์ผล (สาเหตุของการทิ้งขยะ ทุ ก จุ ด ที ่ ส ุ ่ ม ตรวจสอบ และสั ม ภาษณ์
ถูกผิด การปรับปรุงแก้ไขเพื่อลดการ ถึงสาเหตุของการทิ้งขยะประเภทและ
ทิ้งขยะผิด) แนวทางการแก้ไข
5. การจัดการน้ำเสีย ที่ เกิ ดจากกิจกรรม - หลั ก ฐานข้ อ (1) และ (๒) สภาพของ 2
ภายในสำนักงาน ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ถั ง บำบั ด น้ ำ เสี ย
(1) มี ก ารบำบั ด น้ ำ เสี ย อย่ า งเหมาะสม สำเร็จรูป ถังดักไขมัน ท่อน้ำทิ้ง จะต้อง
ตามลักษณะของน้ำเสียแต่ละกิจกรรม เหมาะสมกั บ ลั ก ษณะของน้ ำ เสี ย และ
เช่ น การติ ด ตะแกรงดั ก เศษอาหาร ไม่ชำรุด
และดักไขมัน หรือติดตั้งถังดักไขมัน - หลั ก ฐานข้ อ (๓) ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบจะต้ อ ง
สำเร็ จ รู ป หรื อ ถั ง บำบั ด น้ ำ เสี ย อธิบายถึงการจัดการเศษอาหาร ไขมัน
สำเร็จรูป หรือบ่อเกรอะ หรือระบบ ตะกอน จากการบำบัดน้ำเสีย ได้อย่าง
บ ำ บ ั ด น้ ำ เ ส ี ย ก่ อนป ล ่ อย ออ ก ถูกต้อง
สู่ภายนอกสำนักงาน - หลักฐานข้อ (๔) รายงานผลการตรวจวัด
(2) มีการดูแลถังดักไขมัน หรือถังบำบัดน้ำ น้ำทิ้ง (กรณีเนื้อที่อาคาร 5,000 ตาราง
เสี ย สำเร็ จ รู ป หรื อ บ่ อ เกรอะ หรื อ เมตร ขึ้นไป)
ระบบบำบัดน้ำเสีย พร้อมทั้งตรวจสอบ หมายเหตุ สำนั ก งานที ่ ม ี เ นื ้ อ ที ่ อ าคาร
การรั่วไหลของน้ำทิ้ง ต่ ำ กว่ า 5,000 ตารางเมตร จะไม่
(3) มี ก ารจั ด การกั บ เศษอาหาร ไขมั น พิจารณาคะแนนข้อ (๔)
ตะกอน จากการบำบัดน้ำเสีย
(4) ผลการตรวจวั ด น้ ำ ทิ ้ ง อยู ่ ใ นเกณฑ์
ที่กฎหมายกำหนด
6. ความเข้ า ใจของพนั ก งานในการ - สุ ่ ม สั ม ภาษณ์ พ นั ก งานอย่ า งน้ อ ย 5 4
จัดการขยะและน้ำเสีย โดยจะต้อ งสอบถามถึ ง การลดปริมาณ
ขยะ การคัดแยกขยะ การนำขยะกลับมา
ใช้ ป ระโยชน์ ใ หม่ การจั ด การน้ ำ เสี ย
(การใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม การกวาดเศษอาหาร
ก่อนล้างภาชนะ เป็นต้น)

หมวดที่ ๕ สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย จำนวน 7 ข้อ คิดเป็น 14 คะแนน


1. การควบคุ ม มลพิ ษ ทางอากาศใน - หลักฐานข้อ (๑)-(๒) แผนการบำรุงรักษา 2
สำนักงาน ประจำปี และหลักฐานการดำเนิ น งาน
(๑) มีแผนการดูแลรักษาและผู้รับผิดชอบ ตามแผน เช่น ใบตรวจสอบ หรือบันทึก
ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่าย การดูแล หรือ ภาพถ่ายขณะบำรุงรักษา
เอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) เป็นต้น
พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
15 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
(๒) ดำเนิ น การดู แ ลรั ก ษาตามแผนที่ - หลักฐานข้อ (๓) สุ่มสำรวจบริเวณที่ มี
กำหนด และมี ก ารควบคุ ม มลพิ ษ การวางเครื่องปริ้นเตอร์และเครื่องถ่าย
อากาศทุกครั้ง เอกสาร
(๓) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่าย - หลั ก ฐานข้ อ (๔) สุ ่ ม สำรวจบริ เ วณ
เอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน ลานจอดรถ หรืออาคารจอดรถ ถึงติดป้าย
(๔) การดั บ เครื ่ อ งยนต์ ข ณะจอดรถ ดับเครื่องยนต์ หรือข้อความที่สื่อให้เห็น
โดยสื ่ อ สารหรื อ แจ้ ง ให้ ท ราบ เช่ น ถึ ง การขอความร่ ว มมื อ ในการดั บ
ป้ายดับเครื่องยนต์เมื่อจอด เป็นต้น เครื่องยนต์ขณะจอด
(๕) การควบคุ ม มลพิ ษ อากาศจากการ - หลักฐานข้อ (๕) สำรวจการติดป้ายเตือน
ก่อสร้าง และการติดป้ายเตือนระวัง อั น ตรายบริ เ วณที ่ ม ี ก ารปรั บ ปรุ ง หรื อ
อั น ตรายจากการก่ อ สร้ า ง (ถ้ า มี ก่อสร้าง การกั้นพื้นที่ และต้องมีพื้นที่
ณ วันที่ตรวจประเมิน) สำรองให้พนักงานในการทำงานเพื่อลด
(สามารถพิ จ ารณาจากเอกสารหรื อ การสัมผัสมลพิษจากการก่อสร้าง(ถ้ามี)
ภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ) หมายเหตุ สำนักงานไม่มีการก่อสร้างขณะ
รั บ การตรวจประเมิ น จะไม่ พ ิ จ ารณา
คะแนนข้อ (๕)
2. การจัดการบุหรี่ภายในสำนักงาน - หลั ก ฐานข้ อ (๑) เช่ น โปสเตอร์ หรื อ 2
(๑) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เลิกสูบบุหรี่
(๒) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ - หลักฐานข้อ (๒)-(๓) ตรวจสอบความถูก
(๓) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ ต้องของสัญลักษณ์ตามกฎหมาย
(๔) เขตสูบบุหรี่จะต้อง - หลักฐานข้อ (๔) สำรวจความเหมาะสม
- ไม่ อ ยู ่ ใ นบริ เ วณที ่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความ ของเขตสูบบุหรี่
เดื อ ดร้ อ นรำคาญแก่ป ระชาชนที่อยู่
บริเวณข้างเคียง
- ไม่ อ ยู ่ ใ นบริ เ วณทางเข้ า – ออกของ
ของอาคารสำนักงาน
- ไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็น
ได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น (สามารถใช้
ป้ายบอกทางไปยังพื้นที่สูบบุหรี่ได้)
3. ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขต ตรวจสอบจากพื้นที่ภายในอาคาร และพื้นที่ 2
สูบบุหรี่ โดยรอบภายใต้ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ
หน่วยงาน
หมายเหตุ
- 0 คะแนน หากพบก้นบุหรี่
- 2 คะแนน หากไม่พบก้นบุหรี่

4. มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ - หลักฐานข้อ (๑)-(3) แผนการดูแลพื้นที่ 2


สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้ ของสำนักงานประจำปี
(๑) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัว - หลักฐานข้อ (4)-(๕) สำรวจพื้นที่เพื่อดู
อาคารและนอกอาคาร โดยจะต้ อ ง ถึงการบ่งชี้การใช้ประโยชน์ ความสะอาด
กำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น และเป็นระเบียบเรียบร้อย และจะต้อง
พื ้ น ที ่ พ ั ก ผ่อ นหย่อ นใจ พื ้ น ที ่ ส ีเขียว ไม่ พ บร่ อ งรอยของสั ต ว์ น ำเชื ้ อ (แสดง
พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น หลักฐานภาพถ่ายของพื้นที่)
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
16 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
สามารถสื่ อสารด้ วยป้า ยหรืออื่นๆที่ - สัมภาษณ์ความเข้าใจของผู้รับผิดชอบ
เหมาะสมเพื่อบ่งชี้ ตามพื้นที่ต่างๆ
(๒) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ
อย่างเหมาะสมทั้ งพื้ นที่ เฉพาะ และ
พื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(๓) มี ก ารกำหนดเวลาในการดู แ ลรักษา
ความสะอาดและความเป็ น ระเบียบ
เรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่
ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(๔) พื้นที่สำนักงานทั้งในและนอกอาคาร
จะต้องสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย
และใช้ประโยชน์ตรงตามวัตถุประสงค์
ที่กำหนด
(๕) มีการแนวทางการป้องกันและจัดการ
สัตว์นำเชื้อ
5.การกำหนดแผนงานการเพิ ่ ม พื ้ น ที่ - แผนการเพิ ่ ม พื ้ น ที ่ สี เขี ย วภายใน และ 2 หากสำนักงานไม่มีพื้นที่เพื่อขยายพื้นที่
สี เขี ย วภายในสำนั ก งาน หรื อ ภายนอก ภายนอกอาคาร (หากไม่ ม ี พ ื ้ นที ่ ไม่ ต ้ อง สี เ ขี ย ว สามารถวางไม้ก ระถาง หรื อ
สำนักงาน และคงรักษาไว้ของสำนักงาน ดำเนินการ) จัดทำสวนแนวดิ่งหรือนำพืชขนาดเล็ก
รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน - สำรวจพื ้ น ที ่ ส ี เ ขี ย ว หรื อ การวางไม้ มาวางในสถานที ่ ท ำงานตามความ
กระถาง หรือการวางพืชในห้องทำงาน เหมาะสม
จะต้องร่มรื่น ไม่เหี่ยวเฉา
- หลักฐานแสดงการดูแล ให้คงสภาพปกติ
(รูปภาพพื้นที่สีเขียว) หรืออื่นๆ
6. การปฏิบัติตามกฎหมายอาชีวอนามัย - หลักฐานผลการดำเนินการตามกฎหมาย 2 การตรวจวั ด แสง เสี ย ง จะต้ อ งใช้
และความปลอดภัย (แสง เสียง และอื่นๆ อาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ของ วิ ธ ี ก ารตรวจ คุ ณ สมบั ต ิ ผ ู ้ ต รวจ
ตามบริบทของสำนักงาน) เจ้ า หน้ าที ่ ความปลอดภัย (จป.) ในการ ค่ามาตรฐาน การรายงานผล
(๑) การตรวจวัดแสงสว่าง ทำงานของสำนั ก งาน ได้ แ ก่ ผลการ ตามประกาศกรมสวั ส ดิ ก ารและ
(๒) การตรวจวัดเสียง (ถ้ามีแหล่งกำเนิด) ตรวจวัดแสง เสียง และอื่นๆ ตามบริบท คุ้มครองแรงงงานฉบับปัจจุบัน ได้แก่
(๓) การตรวจวั ด อื ่ น ๆ ตามบริ บ ทของ ของสำนักงาน ๑. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
สำนักงาน หมายเหตุ แรงงาน เรื่อง มาตรฐานระดับเสียง
- ผลการตรวจวัดไม่เป็นไปตามที่กฎหมาย ที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับเฉลี่ยตลอด
กำหนด และไม่ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ข จะได้ ระยะเวลาการทำงานในแต่ละวัน
0 คะแนน 2561
- ผลการตรวจวัดไม่เป็นไปตามที่กฎหมาย ๒. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
กำหนด หากอยู่ในระหว่างการปรับปรุง แรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้ม
แก้ ไ ข จะต้ อ งมี ห ลั ก ฐานแผนการ ของแสงสว่าง 2561
ปรับปรุงแก้ไข มีกรอบเวลาดำเนินการที่ ๓. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
ชัดเจน และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร แรงงานเรื ่ อ ง หลั ก เกณฑ์ วิ ธ ี ก าร
จะได้เพียง 1 คะแนน ตรวจวัด และการวิเคราะห์สภาวะ
- ผลการตรวจวัดไม่เป็นไปตามที่กฎหมาย การทำงานเกี่ยวกับระดับความร้อน
กำหนด และการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อย แสงสว่ า ง หรื อ เสี ย ง รวมทั้ ง
แล้ว และมีผลตรวจวัดยืนยันครั้งล่าสุด ระยะเวลาและประเภทกิ จ การที่
จะได้ 2 คะแนน ต้องดำเนินการ 2561
**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**
ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
17 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
- ผลการตรวจวั ดเป็ น ไปตามที ่กฎหมาย
กำหนดทุกจุด จะได้ 2 คะแนน
7. การปฏิบัติตามกฎหมายอาชีวอนามัย - หลักฐานผลการดำเนินการตามกฎหมาย 2 ๑. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน
และความปลอดภัย (การเตรียมความพร้อม อาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ของ ในการบริหารจัดการและ
กรณีฉุกเฉิน) เจ้ า หน้ าที ่ ความปลอดภัย (จป.) ในการ ดำเนิ น การด้ า นความปลอดภั ย
(๑) แผนระงับเหตุฉุกเฉิน ทำงานของสำนั ก งาน ได้ แ ก่ หลั ก ฐาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
(๒) การอบรมดับเพลิงขั้นต้น การอบรม ฝึ ก ซ้ อ ม และอพยพหนี ไ ฟ การทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและ
(๓) การฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ การตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิง และอื่นๆ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555
(๔) ทางหนีไฟ ประตูหนีไฟ จุดรวมพล ตามบริบทของสำนักงาน ๒. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
(๕) อุ ป กรณ์ ด ั บ เพลิ ง และสั ญ ญาณแจ้ง แรงงานเรื ่ อ ง กำหนดแบบและ
เหตุต่างๆ พร้อมใช้งาน และไม่มีสิ่งกีด วิ ธ ี ก ารรายงานผลการฝึ ก ซ้ อ ม
ขวางต่อการนำไปใช้ ดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนี ไ ฟ
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2559
หมวดที่ ๖ การจัดซื้อและจัดจ้าง จำนวน 5 ข้อ คิดเป็น 10 คะแนน
1. การจั ด ซื ้ อ สิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ - บั ญ ชี ร ายชื ่ อ สิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ 2 ๑. สิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม
สิ่งแวดล้อม สิ ่ งแวดล้ อม ฉบั บปั จจุ บ ั นที ่ ได้ ร ั บการ จะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับการรับรอง
(๑) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการค้นหา ทบทวน พร้อมกับสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบ จากสถาบั น ที ่ เ ป็ น ที ่ ย อมรั บ เช่ น
ร า ย ก า ร ส ิ น ค ้ า ท ี ่ เ ป ็ น ม ิ ต ร กั บ หมายเหตุ สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ฉลากเขี ย ว ตะกร้ า เขี ย ว ฉลาก
สิ ่ ง แวดล้ อ ม และสามารถระบุ หมดอายุ และยังไม่มีการต่ออายุ และไม่มี ป ร ะ ห ย ั ด ไ ฟ เ บ อ ร์ ๕ ฉ ล า ก
แหล่งข้อมูลสืบค้นได้ ยี่ห้ออื่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จะอนุโลม ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ฉลากคาร์ บ อน
(๒) จัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับ ให้สามารถซื ้ อสิ นค้ านั้ นได้ แต่จะต้องยั งมี ฟุตปริ้นท์ ฉลากลดโลกร้อน สินค้า
สิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้าที่ใช้ ฉลากสิ่งแวดล้อมกำกับที่สินค้า OTOP ที ่ ม ี เ ลขจดทะเบี ย น ฉลาก
จริ ง ในสำนั ก งาน โดยจะต้ อ งระบุ สิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ เป็นต้น
รายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม ๒. แหล่ ง สื บ ค้ น สิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ
วันหมดอายุการรับรองของสินค้านั้น สิ่งแวดล้อม เช่น
หมายเหตุ หากเป็นฉลากสิ่งแวดล้อม ฉลากเขียว
ของต่ า งประเทศจะต้ อ งอ้ า งอิ ง http://www.tei.or.th/green
label/labs.html
หน่วยงาน/ประเทศให้การรับรองนั้นๆ
http://gp.pcd.go.th/
ด้วย
ฉลากตะกร้าเขียว
http://gp.pcd.go.th/
ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ หรือ
ฉลากลดโลกร้อน
http://thaicarbonlabel.tgo.or.t
h/reduction_approval/reducti
on_approval.pnc
http://gp.pcd.go.th/
ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
http://labelno5.egat.co.th/new
58/#to_label_info
ฉลากประหยัดพลังงาน (Energy Star)
ของสหรัฐอเมริกา สํานักงานปกป้อง
สิ่งแวดล้อมของสหรัฐฯ (EPA)
ฉลากประสิทธิภาพสูง

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
18 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
http://labelling.dede.go.th/survey/
product/list-
product?productTypeId=1
ฉลากลดโลกร้อน
http://www.tei.or.th/carbonredu
ctionlabel/rule.html
ฉลากหัวใจสีเขียว (GREEN HEART
LABEL)
https://www.siamcitycement.co
m/th/product/green_product
ฉลาก SCG Green Choice
https://www.scgbuildingmaterial
s.com/th/campaign/scg-green-
choice #section-2
ฉลาก Green for life
https://greenforlife.pttgrp.com/i
ndex.aspx
2. ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภท - รายงานจัดซื้อจัดจ้าง พร้อมสัมภาษณ์ 2 ส ิ นค ้ า ที ่ นำ ม า ค ำ น วณ ร ้ อ ย ล ะ
วั ส ดุ อ ุ ป กรณ์ ในสำนั กงานที ่ เป็ นมิ ตรกับ ความเข้ า ใจในการคำนวณร้ อยละของ การจัดซื้อที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม การจัดซื้อสินค้า จะต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ บริ บทการจั ดการ
(๑) แสดงรายการสินค้าสำนักงานที่จัดซื้อ หมายเหตุ สิ่งแวดล้อม และงบประมาณการซื้อ
ทั้งหมดโดยระบุยี่ห้อ รุ่นสินค้า และ - มี ก ารจั ด ซื ้ อ สิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สินค้าของสำนักงานนั้นๆ เช่น วัสดุ
ฉลากที ่ เป็น มิ ตรกับ สิ่ งแวดล้ อมของ สิ่งแวดล้อม น้อยกว่าร้อยละ 20 จะได้ อุ ป กรณ์ ส ำนั ก งาน อาหารและ
สินค้า 0 คะแนน เครื่องดื่ม วัสดุก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ที่
(๒) คำนวณจำนวนร้อยละสินค้าที่เป็นมิตร - มีการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรฯสะสมตัง้ แต่ ใช้ในการจัดกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น
กั บ สิ ่ งแวดล้ อ ม โดยจะต้ องแสดงให้ ร้อยละ 20 แต่ไม่ถึงร้อยละ 40 จะได้
เห็นถึงรายการสินค้า ปริมาณสินค้า 1 คะแนน
และมูลค่า - มีการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรฯสะสมตัง้ แต่
หมายเหตุ ร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับ ร้อยละ 40 ขึ้นไป จะได้ 2 คะแนน
สิ ่ ง แวดล้ อ มจะเที ย บกั บ ปริ ม าณการซื้ อ
และ/หรือมูลค่าสินค้าทั้งหมด

3. ร้ อ ยละของปริ ม าณและประเภทของ สุ่มสำรวจสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2


วั ส ดุ อ ุ ป กรณ์ ในสำนั กงานที ่ เป็ นมิ ตรกับ ในสำนักงาน
สิ ่ ง แวดล้ อ ม (ลงพื ้ น ที ่ ต รวจสอบ / หมายเหตุ
สัมภาษณ์) - พบสิ น ค้ า ที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม
หมายเหตุ สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม น้อยกว่าร้อยละ 20 จะได้ 0 คะแนน
จะต้ อ งเป็ น สิ น ค้ า ที ่ ไ ด้ ร ั บ การรั บ รองจาก - พบสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่
สถาบั น ที ่ เ ป็ น ที ่ ย อมรั บ เช่ น ฉลากเขี ย ว ร้อยละ 20 แต่ไม่ถึงร้อยละ 40 จะได้ 1
ตะกร้ า เขี ย ว ฉลากประหยั ด ไฟ เบอร์ ๕ คะแนน
ฉลากประสิ ท ธิ ภาพสู ง ฉลากคาร์บอนฟุต - พบสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่
ปริ้นท์ ฉลากลดโลกร้อน สินค้า OTOP ที่มี ร้อยละ 40 ขึ้นไป จะได้ 2 คะแนน
เลขจดทะเบี ย น ฉลากสิ ่ ง แวดล้ อ มของ
ต่างประเทศ เป็นต้น

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
19 / 20
PEA ECO STANDARD ฉบับที่ 01/2565

หลักฐานการดำเนินงาน / คะแนน
เกณฑ์ตัวชี้วัด คำอธิบาย
หลักฐานการตรวจประเมิน เต็ม
4. การจัดจ้าง หน่วยงานหรือ บุ คคลที ่ มี - หลักฐานข้อ (1) ใบอนุญาตปฏิบัติ งาน 2 แหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรกับ
การดำเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และข้ อ ตกลงด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ สิ่งแวดล้อม
(๑) มี ก ารจั ด ทำสั ญ ญาหรื อ ข้ อ ตกล ง ส ั ญ ญ า ว่ า จ ้ า งที ่ ม ี ข ้ อ ต กล งด ้ า น
ด้านสิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงาน สิ่งแวดล้อม ใบไม้เขียว (Green leaf)
ในสำนักงาน - หลั ก ฐานข้ อ (2) ใบลงทะเบี ย นและ http: / / gp. pcd. go. th/ all หรื อ
(๒) หน่วยงานหรือบุคคลที่ได้รับคัดเลือก ประเมินผลหลังการอบรม หรือภาพถ่าย https://www.thaiecoproducts.com
Green Hotel
จะต้ อ งได้ รั บการอบรม หรื อ สื่อสาร การอบรม
http: / / gp. pcd. go. th/ all หรื อ
เกี่ยวกับ PEA ECO STANDARD และ
https://www.thaiecoproducts.com
แนวทางการจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม
ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเอง
5. มี ก ารประเมิ น บุ ค คล /หน่ ว ยงาน - เอกสารการประเมินประสิทธิภาพของ 2 การว่ า จ้ า งให้ อ ยู ่ ป ระจำสำนั ก งาน
ภายนอกที่มาปฏิบัติงานในหน่วยงาน หน่วยงานหรือบุคคลภายนอก จะต้อง จะต้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ใ นสำนั ก งานมากกว่ า
หมายเหตุ ครบถ้วน ตามสัญญาหรือข้อตกลงด้าน 3 เดือน ขึ้นไป
(๑) กรณี ท ี ่ เ ป็ น การว่ า จ้ า งให้ อ ยู ่ ป ระจำ สิ ่ ง แวดล้ อ มเมื ่ อ เข้ า มาปฏิ บ ั ต ิ ง านใน
สำนักงานจะต้องทำการประเมินอย่าง สำนักงาน
น้อยเดือนละ ๑ ครั้ง
(๒) กรณี ท ี ่ เ ป็ น การว่ า จ้ า งไม่ อ ยู ่ ป ระจำ
สำนักงาน จะต้องทำการประเมินทุก
ครั้งเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสำนักงาน

เอกสารอ้างอิง

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. เกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :


https://datacenter.deqp.go.th/service-portal/g-green/greenoffice/downloadgreenoffice2022/ วันที่ค้นข้อมูล:
2 กุมภาพันธ์ 2565
สยาม อรุณศรีมรกต และกัมปนาท ภักดีกุล (2562). การตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม. ศูนย์วิจัยตรวจประเมินและการให้การรับรอง
การจัดการสิ่งแวดล้อม. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
สยาม อรุณศรีมรกต, กัมปนาท ภักดีกุล และคณะ. (2562). มาตรฐานสำนักงานสีเขียว (Green Office Standard : 2562).
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

**โปรดศึกษาเอกสารเกณฑ์มาตรฐาน PEA ECO STANDARD ฉบับนี้**


ก่อนดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน หรือก่อนการตรวจประเมินทุกครั้ง
20 / 20

You might also like