Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

เซต(set)

เซต(set)
คือ การกล่าวถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ สิ่งที่อยู่ในกลุ่มและ
สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม
ชนิ ดของเซ็ต
1.เซตจํากัด(finite set) เซตที่บอกได้ว่ามีสมาชิกเป็น
จํานวนเท่าใด
2.เซตอนันต์ (infinity set) เซตที่ไม่ใช่เซ็ตจํากัด
3.เซตว่าง (empty set) เซตที่ไม่มีสมาชิกเลย
สัญลักษณ์ Z+ เป็นจํานวนเต็มบวก

Z- เป็นจํานวนเต็มลบ
จํานวนจริง
Z เป็นเซตของจํานวนเต็ม
จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
P เป็นเซตของจํานวนเฉพาะที่เป็นบวก
จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะที่ไม่ใช่จํานวนเต็ม
N เป็นเซตของจํานวนนับ
จํานวนเต็มลบ ศูนย์ จํานวนเต็มบวก
(จํานวนนับ) R เป็นเซตของจํานวนจริง

Q เป็นเซตของจํานวนตรรกยะ

Q’ เป็นเซตของจํานวนอตรรกยะ
การกระทําของเซต
การกระทําของเซต
คือ การนํ าเซตหลายๆเซตมากระทํากันเพื่อให้เกิดเป็นเซตใหม่ข้น
ึ มา

-ยูเนี ยน -อินเตอร์เซคชัน

-ผลต่าง -คอมพลีเมนต์
concept : คือการนํ ามารวมกัน

สัญลักษณ์คือ ∪

ยูเนียน
(U n i o n )
concept : คือการซํ้ากัน

สัญลักษณ์คือ ∩

อ ร เ
์ ซ ค ชัน
อินเต
e rs e c tion)
(int
concept : คือ อยู่ใน A แต่ไม่อยู่ใน B

สัญลักษณ์คือ -

ผลต่าง
r e nc e )
(Diffe
concept : คือ ไม่เอา A

สัญลักษณ์คือ A’

ล เ
ี ม น ต ์
คอมพ nt)
p l e m e
(Co m
สับเซต(subsets)
สับเซต(subsets)
คือ เซตย่อย ที่ย่อยออกมากจากอีกเซต
สับเซ
-เซต A เป็นสับเซตชองเซต B ก็ต่อเมื่อ A เป็นสมาชิกของเซต B
ตแท
-เซต A เป็นสับเซตของเซต B เขียนแทนด้วย A⊂B
สับเซ
ตแ
สับเซ ท้ของ A

ตท คือ
A ยกเ ั้งหมดขอ
-เซต A เป็นสับเซตของเซต B เขียนแทนด้วย A⊄B ว้นตัว ง
มันเอ

-n(A) จํานวนสมาชิกใน A
1.ถ้า A⊂B และ A ≠ B จะเรียก A ว่าเป็นสับเซตแท้ของ B

2.ถ้า A เป็นเซตจํากัด จะมีสมาชิก n ตัว แล้ว A มีสับเซตทั้งหมด 2n สับเซต

3.ถ้า A เป็นเซตจํากัด จะมีสมาชิก n ตัว แล้ว A มีสับเซตแท้ทั้งหมด 2n -1 สับเซต

4.Φ ⊂ A (เซตว่างเป็นสับเซตทุกเซต)

5.A ⊂ A (ตัวเองก็เป็นสับเซตของตัวเอง)

ั ต ข
ิ อ ง
สมบ
6.ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C

สับเซต
7.A ⊂ B และ B ⊂ A ก็ต่อเมื่อ A = B
เพาเวอร์เซต(powerset)
เพาเวอร์เซต(power set)
คือ เซตของสับเซตทั้งหมด

-เรียกเซตของสับเซตทั้งหมดของ A เมื่อ A เป็นเซตจํากัด

-เพาเวอร์เซต A เขียนแทนด้วย P(A)


1. ∅ ∈ P(A)

2.A ∈ P(A)

3.ถ้า A เป็นเซตจํากัดและ n(a) = k เป็นเซตจํากัด

บต
ั ข
ิ อ ง 4.ถ้า A ⊂ B แล้ว P(A) ⊂ P(B)

สม
อ รเ
์ ซ ต 5.P(A) ⊂ P(B) แล้ว A ⊂ B

เพาเว 6.P(A∩B) = P(A) ∩ P(B)

7.P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A∪B)


จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด
จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด
กําหนดให้ A , B , C เป็นเซตใดๆจะได้ว่า

- n(A∪B) = n(A) + n(B) - n(A∩B)

- n(A∪B∪C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩B) – n(A∩C) – n(B∩C) + n(A∩B∩C)

- n(A-B) = n(A) – n(A∩B)

- n(B-A) = n(B) – n(A∩B)


สมบัติของเซต
สมบัติของเซต
กําหนดให้ A , B , C เป็นเซตใดๆจะได้ว่า 3.สมบัติการแจกแจง (Disturbutive law) **

1.กฎการสลับที่ (Commulative law) A∪(B∩C) = (A∪B)∩(A∪C) ; A∩(B∩C) = (A∪B)∩(A∩C)

A∪B = B∪A ; A∩B = B∩A

4.กฎเอกลักษณ์ (Identity law)

2.กฎการเปลี่ยนกลุ่ม (Associative law) ∅∪A = A∪∅ = A ; U∩A = A∩U = A

A∪(B∪C) = (C∪B)∪A ; A∩(B∩C) = (C∩B)∩A


สมบัติของเซต
กําหนดให้ A , B , C เป็นเซตใดๆจะได้ว่า 11. กฎเดอร์มากอง (De magan’s law)

5. A∪A’ = U **(A∪B)’ = A’∩B’

6. ∅ = U’ และ U’ = ∅ **(A∩B)’ = A’∪B’

7. (A’)’ = A *

8. A∪A = A และ A∩A = A

9. A-B=A∩B’ **

10. A∩∅=∅และ A∪∅= A


ตัวอย่างโจทย์
กําหนดให้ A และ B เป็นเซตจํากัดโดยที่ n(A∪B) = 77 และ n[(A – B)∪(B-A)] = 70 ถ้า n(A) = 44 แล้ว n(B) มี
ค่าเท่ากับเท่าไร

วิธีทํา n(A∩B) = n(A∪B) – n[(A-B)∪(B-A)]


A B
= 77-70

=7 37 7 33

ดังนั้น n(B) = 33+7

= 40
กําหนดให้ A และ B เป็นเซตจํากัดโดยที่ n(A∪B) = 29 และ n(A∩B)= 8 ถ้า n(A) = 25 แล้ว n(B) มีค่าเท่ากับ
เท่าไร

วิธีทํา n(A∪B) = n(A) + n(B) – n(A∩B)

29 = 25 + n(B) – 8

29-25+8 = n(B)

ดังนั้น n(B) = 12
ให้เอกภพสัมพัทธ์ U ={1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9} ถ้า A∪B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7} และ A’={4 , 6 , 8 , 9}
จํานวนสมาชิกของ B-A เท่ากับเท่าไร

วิธีทํา A=1,2,3,5,7

A∪B = 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7

B-A = 4 , 6

ดังนั้น n(B-A) = 2
นักเรียนกลุ่มหนึ่ งมี 120 คน 95 คนชอบว่ายนํ้ าและ 55 คนชอบร้องเพลงจงหาจํานวนนักเรียนที่ไม่ชอบว่ายนํ้ า

วิธีทํา ให้นักเรียนที่ชอบว่ายนํ้ าเป็น A และนักเรียนที่ชอบร้องเพลงเป็น B

n(A∪B) = 120
A B
n(A∩B) = n(A)+n(B)-n(A∪B)
65 30 25
n(A∩B) = 95+55-120 = 30

ดังนั้น มีนักเรียนที่ไม่ชอบว่ายนํ้ า 25 คน
คณะผู้จัดทํา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่2
ี /3

1.ด.ช.กฤตกร นาหลวง เลขที่1

2.ด.ช.กลวัชร สามเสน เลขที่2

3.ด.ช.คณพศ ทังสุพานิ ช เลขที่3

4.ด.ช.ชยุต ธนบดีธรรมจารี เลขที่4

5.ด.ช.ชยพัทธ์ กาญจนสุข เลขที่5

6.ด.ช.เตชธรรม เลิศจิตต์พิพัฒน์ เลขที่6

You might also like