Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

Simple Harmonic Motion page 96

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
(Simple Harmonic Motion)
จากรูป จงพิสูจน์หาความถี่เชิงมุม
แนวสมดุล

มวลแขวนปลายสปริงในแนวดิ่ง (vertical oscillations)

วิเคราะห์ความถี่เชิงมุม ความถี่การสั่น และคาบการสั่น

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 97

การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย (simple pendulum)

วิเคราะห์ความถี่เชิงมุม ความถี่การแกว่ง และคาบการแกว่ง

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 98

แบบฝึกหัด
1. ดึงรถทดลองมวล 0.500 kg ซึ่งผูกติดกับสปริงเบามีค่าคงที่สปริง 20.0 N/m ให้เคลื่อนที่บนพื้นลื่น
1.1) จงหาอัตราเร็วสูงสุดของรถทดลองนี้ ถ้าแอมพลิจูดของการเคลื่อนที่เท่ากับ 3.00 cm
1.2) จงหาความเร็วของรถทดลองที่ตำแหน่ง 2.00 cm
1.3) จงหาพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ของระบบเมื่อรถทดลองอยู่ที่ตำแหน่ง 2.00 cm

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 99

2.หากผูกมวล m ติดกับสปริงในแนวดิ่ง ดึงมวลลงเล็กน้อยแล้วปล่อยให้สั่น พบว่าสปริงมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถ้า


เพิ่มมวลเข้าไปอีก 2 กิโลกรัม สปริงจะมีคาบการสั่น 3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหน่วยกิโลกรัม

3. มวล M และ m อยู่ที่ปลายสปริงซึ่งมีค่านิจสปริง k เท่ากันดังรูป ถ้ามวลทั้งสองสั่นแบบ SHM จงหาค่า


M
อัตราส่วน
m

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 100

4. ลูกตุ้ม A และ B มีเชือกเบายาว 60 และ 30 เซนติเมตร มีมวล 0.2 และ 0.1 กิโลกรัม ตามลำดับ เมื่อแกว่งลูกตุ้มทั้ง
สองให้เคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย อัตราส่วนของคาบของลูกตุ้มทั้งสอง TA/TB จะเป็นเท่าใด

5. มวล 2 กิโลกรัม ติดกับปลายลวดสปริง ดังรูป ก. ดึงสปริงให้ยืดออกแล้วปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่แบบ


ฮาร์มอนิกอย่างง่าย บนพื้นระดับลื่น วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ใช้เวลา 1 วินาที ถ้ามีมวล m วางทับ
มวล 2 กิโลกรัมเดิมดังรูป ข. ทาให้วัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายและครบ 1 รอบ ใช้เวลา
1.5 วินาที จงหามวล m

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 101

6. สปริงขดหนึ่งถูกติดตั้งในแนวระดับให้ปลายซ้ายยึดไว้กับที่ โดยการผูกตาชั่งสปริงไว้ที่ปลายอิสระและดึงไปทางขวา
ดังรูป เราพบว่าแรงดึงแปรตรงกับการกระจัดและแรง 6.0 N ทำให้เกิดการกระจัดขนาด 0.030 m เราเอาตาชั่งสปริง
ออกและผูกวัตถุมวล 0.50 kg กับปลายสปริง ดึงวัตถุออกไป 0.020 m แล้วปล่อยและเฝ้าดูวัตถุสั่นแบบ SHM

6.1) จงหาค่าคงตัวสปริง
6.2) จงหาความถี่เชิงมุม ความถี่ และคาบ
ของการสั่น

Pro Physics
Simple Harmonic Motion page 102

Note.

............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................
........................................................................... ......
.......................................................... .......................
............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................
............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................
............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................
.......................................................................... .......
.......................................................... .......................
............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................
............................................................... ..................
.................................................................................
............................................................... ..................

Pro Physics

You might also like