Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 48

1

บทเรียนสำเร็จรูป
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3

เรื่อง แรงและกำรเคลื่อนที่
เล่มที่ 1 เวกเตอร์ของแรง

โดย
นำงสำวศศิธร เงินคง
ตำแหน่ง ครูวิทยฐำนะครูชำนำญกำร

โรงเรียนหนองบัวพิทยำคำร จังหวัดหนองบัวลำภู
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 19
2
3

บทเรียนสำเร็จรูป
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3

เรื่อง แรงและกำรเคลื่อนที่
เล่มที่ 1 เวกเตอร์ของแรง

โดย
นำงสำวศศิธร เงินคง
ตำแหน่ง ครูวิทยฐำนะครูชำนำญกำร

โรงเรียนหนองบัวพิทยำคำร จังหวัดหนองบัวลำภู
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 19
4

คำนำ

บทเรียนสำเร็จรูปเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกำรจัดกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
วิทยำศำสตร์ เรื่อง แรงและกำรเคลื่อนที่ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกำร
จัดกำรเรียนรู้ที่มุ่งให้นักเรียนศึกษำด้วยตนเองเต็มศักยภำพ และเป็นคู่มือประกอบกำร
สอนของครูและประกอบกำรเรียนของผู้เรียนในวิชำวิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
ในกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียน แบ่งเป็น 7 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เวกเตอร์ของแรง
เล่มที่ 2 กำรเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
เล่มที่ 3 กำรเคลื่อนที่แบบต่ำง ๆ ในชีวิตประจำวัน
เล่มที่ 4 แรงในแบบต่ำง ๆ
เล่มที่ 5 แรงลอยตัวหรือแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ
เล่มที่ 6 แรงเสียดทำน
เล่มที่ 7 โมเมนต์ของแรง
เล่มที่ 1 นี้ เรื่อง เวกเตอร์ของแรง ในแต่ละเล่มส่วนประกอบหลัก ได้แก่ คำชี้แจง
กำรใช้บทเรียนสำหรับครู คำชี้แจงกำรใช้บทเรียนสำหรับนักเรียน สำระและมำตรฐำน
กำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด แบบทดสอบก่อนเรียน กรอบกำรเรียนรู้ คำถำมหลังกรอบกำรเรียนรู้
พร้อมเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ จะเป็นประโยชน์อย่ำงสูงที่สุดที่จะทำให้ผู้ศึกษำได้บรรลุ
จุดมุ่งหมำย และครู ตลอดจนผู้ที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมในบทเรียนได้เป็น
อย่ำงดี

ศศิธร เงินคง
5

สำรบัญ

หน้ำ
คำชี้แจงกำรใช้บทเรียนสำหรับครู 6
คำชี้แจงกำรใช้บทเรียนสำหรับนักเรียน 7
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด 8
แบบทดสอบก่อนเรียน 9
กรอบที่ 1 แรง (force) 12
กรอบที่ 2 เวกเตอร์ของแรง 16
กรอบที่ 3 ลักษณะสำคัญของปริมำณเวกเตอร์ 19
กรอบที่ 4 เวกเตอร์ที่เท่ำกัน 24
กรอบที่ 5 เวกเตอร์ที่ตรงกันข้ำม 27
กรอบที่ 6 กำรหำผลลัพธ์ของแรงหลำยแรง 30
กรอบที่ 7 กำรรวมแรง 33
กรอบที่ 8 ผลของแรงลัพธ์ต่อกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ 40
แบบทดสอบหลังเรียน 43
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 46
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 47
หนังสืออ้ำงอิง 48
6

คำชี้แจงกำรใช้บทเรียนสำหรับครู

จุดประสงค์

1. เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง ทั้งนักเรียนที่เรียนดีและนักเรียนที่
เรียนช้ำ
2. ใช้ประกอบกำรสอนในแผนกำรเรียนรู้ เพื่อนักเรียนจะได้ศึกษำค้นคว้ำ ปฏิบัติ
กิจกรรมกำรเรียนรู้ตำมที่หลักสูตรกำหนด
3. บทเรียนนี้สำมำรถนำไปประเมินผลกำรสอบผ่ำนจุดประสงค์ กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้วิทยำศำสตร์ได้โดยประเมินจำกข้อสอบ

วิธีใช้

1. ศึ ก ษำแผนกำรเรีย นรู้ ซึ่ ง ประกอบด้ว ยสำระส ำคั ญ จุ ดประสงค์ ก ำรเรี ย นรู้


เนื้อหำกิจกรรมกำรเรียนรู้ สื่อกำรเรียนกำรสอน กำรวัดผลประเมินผล และภำคผนวกให้
เข้ำใจ
2. ชี้แจงให้นักเรียนอ่ำนคำแนะนำกำรใช้อย่ำงละเอียด และปฏิบัติตำมขั้นตอน
ทุกกรอบ จนจบถ้ำนักเรียนคนใดศึกษำบทเรียนแล้วยังไม่เข้ำใจ ครูควรชี้แนะเสริมให้
นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติบ่อย ๆ ทั้งที่บ้ำนและที่โรงเรียน จนทำให้เข้ำใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น
3. ผลกำรปฏิบัติกิจกรรมสำมำรถนำไปพิจำรณำผ่ำนจุดประสงค์โดยครูผู้สอนเป็น
ผู้ประเมิน
7

คำชี้แจงกำรใช้บทเรียนสำหรับนักเรียน

จุดประสงค์

1. เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง สำมำรถนำควำมรู้ที่ได้จำกกำรอ่ำน
และกำรฝึกปฏิบัติไปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. นักเรียนรู้จัก อธิบำย ควำมหมำยของแรง และเขียนเวกเตอร์ของแรงได้ หำแรง
ลัพธ์ของแรงหลำยแรงได้

วิธีใช้

1. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนตำมควำมเข้ำใจของนักเรียนไปก่อน แม้คำตอบผิดไป
บ้ำงก็ไม่เป็นไร
2. ศึกษำเนื้อหำและกิจกรรมในบทเรียนแต่ละกรอบแล้วตอบคำถำมในบทเรียนแต่
ละกรอบ
3. ถ้ำนักเรียนตอบคำถำมถูกแสดงว่ำนักเรียนเข้ำใจให้อ่ำนกรอบต่อไปได้ แต่ถ้ำ
ตอบคำถำมผิด ต้องกลับไปอ่ำนกรอบนั้นให้เข้ำใจ ตอบคำถำมอีกครั้งจนตอบถูกแล้วจึง
อ่ำนกรอบต่อไป
4. ไม่ควรดูคำตอบก่อนตอบคำถำมเป็นอันขำด เพรำะจะทำให้นักเรียนไม่เข้ำใจ
บทเรียนอย่ำงแท้จริง
5. เมื่อเรียนจบแล้ว ให้ทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดควำมเข้ำใจหลังเรียนอีก
ครั้ง
6. นักเรียนสำมำรถตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนได้จำกคู่มือเฉลย
7. ถ้ำนักเรียนสำมำรถตอบแบบทดสอบหลังเรียนได้เกินกว่ำ 70% นักเรียนก็
สำมำรถสอบผ่ำนจุดประสงค์ในเรื่องที่เรียนนั้น
8

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

สำระที่ 4 : แรงและกำรเคลื่อนที่

มำตรฐำน ว 4.1 : เข้ำใจธรรมชำติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ำ แรงโน้มถ่วงและแรงนิวเคลียร์ มี


กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์อย่ำงมีคุณภำพ
มำตรฐำน ว 4.2 : เข้ำใจลักษณะกำรเคลื่อนที่แบบต่ำงๆ ของวัตถุในธรรมชำติมี
กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์ สื่อสำร สิ่งที่เรียนรู้
และนำไปใช้ประโยชน์

ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง
1. กำรทดลองและอธิบำยว่ำแรงเป็นปริมำณเวกเตอร์
2. ทดลองและอธิบำยแรงลัพธ์ของแรงหลำยแรงที่กระทำต่อวัตถุในระนำบเดียวกัน
3. ทดลองและอธิบำยว่ำผลของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุนั้นมีควำมเร่งในทิศ
เดียวกับแรงลัพธ์
9

แบทดสอบก่อนเรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย × ทับตัวอักษร ก. ข. ค. ง. ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ปริมำณใดเป็นปริมำณสเกลำร์ทั้งหมด
ก. มวล ควำมเร็ว แรง
ข. เวลำ ระยะทำง อัตรำเร็ว
ค. อัตรำเร็ว ควำมเร่ง เวลำ
ง. มวล เวลำ แรง
2. ข้อใดกล่ำวถึงควำมหมำยของแรงได้ถูกต้อง
ก. ปริมำณที่ทำให้วัตถุรักษำสภำพกำรเคลื่อนที่
ข. ปริมำณที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสภำพกำรเคลื่อนที่
ค. ปริมำณที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยควำมเร็วคงตัว
ง. กำรเปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลำ
3. กำรทำกิจกรรมใดบ้ำงที่มีกำรใช้แรง
ก. นนธกำนต์ผลักรถที่จอดหยุดนิ่งอยู่จนเคลื่อนที่
ข. มนตรีนั่งกินข้ำวกับเพื่อน
ค. ปวริศน์ยืนดูเพื่อนกำลังเตะบอล
ง. สำลีนอนที่เก้ำอี้ริมทรำยหำด
4. ปริมำณในข้อใดที่มีทั้งขนำดและทิศทำง
ก. อุณหภูมิอำกำศ 25 องศำเซลเซียส
ข. พลังงำน 12 จูล
ค. ระยะทำง 120 เมตร
ง. ควำมเร็ว 12 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
10

5. ปริมำณในข้อใดที่มีเฉพำะขนำด แต่ไม่มีทิศทำง
ก. แรง
ข. ควำมเร็ว
ค. ปริมำตร
ง. น้ำหนัก
6. แรงในข้อใดที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปทำงขวำ

ก. ข.

ค. ง.

7. แรงขนำด 15, 20 และ 60 นิวตัน กระทำต่อวัตถุในแนวรำบดังรูป จะได้แรงลัพธ์ของแรงทั้งสำม


มีค่ำเท่ำไร

ซ้ำย ขวำ ก. 25 นิวตัน ไปทำงขวำ


15 N 20 60 N ข. 50 นิวตัน ไปทำงขวำ
ค. 65 นิวตัน ไปทำงขวำ
ง. 75 นิวตัน ไปทำงขวำ

8. ข้อใดเป็นเวกเตอร์ของแรงขนำด 5 นิวตัน ที่ผลักวัตถุไปทำงซ้ำย

ก. ข.

ค. ง.
11

พิจำรณำรูปแสดงถึงแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันกระทำต่อวัตถุต่อไปนี้ แล้วตอบคำถำมข้อ 8-10

1 2.

3. 4.

9. วัตถุใดอยู่ในสภำพหยุดนิ่ง
ก. 4
ข. 3
ค. 2
ง. 1
10. ภำพใดเคลื่อนที่ไปในทิศทำงเดียวกัน
ก. 2,4
ข. 3,4
ค. 2,3
ง. 1,4
12

กรอบที่ 1
แรง

แรง คือ ปฏิสัมพันธ์ใด ๆ เมื่อไม่มีกำรขัดขว้ำงแล้วจะเปลี่ยนแปลงกำร


เคลื่อนที่ ของวัตถุ ไป แรงที่ สำมำรถทำให้วัตถุซึ่งมี มวลเปลี่ยนแปลงควำมเร็ว
(ซึ่งรวมทั้งกำรเคลื่อนที่จำกภำวะหยุดนิ่ง) แรงยังอำจหมำยถึง กำรผลักหรือกำร
ดึง แรงเป็นปริมำณที่มีทั้งขนำดหรือทิศทำง แรง มีหน่วย เป็น นิวตัน (N)

แรง เป็ น ปริ ม ำณเวกเตอร์ ซึ่ ง มี ข นำดและทิ ศ ทำงชนิ ด ของแรงแบ่ ง


ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

แรงในธรรมชำติ แรงที่เกิดจำกกำร
หมำยถึง แรงที่เกิดขึ้น
กระทำของสิ่งต่ำงๆ
เองโดยธรรมชำติ

แรงโน้มถ่วงของโลก แรงตึงเชือก
(Gravitation Force) (Tension)

แรงแม่เหล็ก แรงเสียดทำน
( Magnetic Force) (Friction Force)
แรงไฟฟ้ำ
แรงจำกสปริง
( Electromagnetic
Force)
(Elastic Force)

แรงนิวเคลียร์
แรงหนีศูนย์กลำง
( Nuclear Force)
13

กำรออกแรงทำ
กิจกรรมต่ำง ๆ
14

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย √ ลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง


กิจกรรม ออกแรง ไม่ออกแรง
1. นั่งดูทีวี
2. บีบลูกบอล
3. หิ้วกระเป๋ำ
4. นั่งอ่ำนหนังสือ
5. เข็นรถ
6. ยกชำมอำหำร
7. ลำกเก้ำอี้
8. นอนหลับ
9. เตะลูกฟุตบอล
10. ผลักรถ
15

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย √ ลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง


กิจกรรม ออกแรง ไม่ออกแรง
1. นั่งดูทีวี √
2. บีบลูกบอล √
3. หิ้วกระเป๋ำ √
4. นั่งอ่ำนหนังสือ

5. เข็นรถ √
6. ยกชำมอำหำร

7. ลำกเก้ำอี้ √
8. นอนหลับ √
9. เตะลูกฟุตบอล √
10. ผลักรถ √
16

กรอบที่ 2
เวกเตอร์ของแรง

ปริมำณบำงปริมำณที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวันบอกเฉพำะขนำด
เพียงอย่ำงเดียวก็ได้ควำมหมำยสมบูรณ์แล้ว แต่บำงปริมำณจะต้องบอกทั้ง
ขนำดและทิศทำงจึงจะได้ควำมหมำยที่สมบูรณ์ ปริมำณในทำงฟิสิกส์แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ปริมำณสเกลำร์ (scalar quantity)


คือ ปริมำณที่บอกแต่ขนำดอย่ำงเดียวก็ได้ควำมหมำยที่สมบูรณ์ โดยไม่ต้องบอกทิศทำง
เช่น เวลำ ระยะทำง มวล พลังงำน งำน ปริมำตร ฯลฯ ในกำรหำผลลัพธ์ของปริมำณ
สเกลำร์ทำได้โดยอำศัยหลักทำงพีชคณิต คือ ใช้วิธีกำรบวก ลบ คูณ หำร

2. ปริมำณเวกเตอร์ (vector quantity)


คื อ ปริ ม ำณที่ ต้ อ งกำรบอกทั้ ง ขนำดและทิ ศ ทำงจึ ง จะได้ ค วำมหมำยที่ ส มบู ร ณ์ เช่ น
ควำมเร็ว ควำมเร่ง กำรกระจัด โมเมนตัม แรง ฯลฯ
17

คำชี้แจง ชนิดของแรงต่อไปนี้เป็นปริมำณเวกเตอร์หรือปริมำณสเกลำร์

มวล

ปริมำตร

สนำมไฟฟ้ำ
ปริมำณสเกลำร์

พลังงำน

อุณหภูมิ

ควำมเร็ว

ปริมำณเวกเตอร์ ระยะทำง

ควำมเร่ง

แรง
18

คำชี้แจง ชนิดของแรงต่อไปนี้เป็นปริมำณเวกเตอร์หรือปริมำณสเกลำร์

มวล

ปริมำตร

สนำมไฟฟ้ำ
ปริมำณสเกลำร์

พลังงำน

อุณหภูมิ

ควำมเร็ว

ปริมำณเวกเตอร์ ระยะทำง

ควำมเร่ง

แรง
19

กรอบที่ 3
ลักษณะสำคัญของปริมำณ
เวกเตอร์

สัญลักษณ์ที่สำคัญของปริมำณเวกเตอร์
สัญลักษณ์ของปริมำณเวกเตอร์ กำรแสดงขนำดและทิศทำงของปริมำณ
เวกเตอร์จะใช้ลูกศรแทน โดยขนำดของปริมำณเวกเตอร์แทนด้วยควำมยำวของ
ลูกศรและทิศทำงของปริมำณเวกเตอร์แทนด้วยทิศทำงของหัวลูกศร สัญลักษณ์ของ
ปริมำณเวกเตอร์ ใช้ตัวอักษรมีลูกศรครึ่งบนชี้จำกซ้ำยไปขวำแสดงปริมำณเวกเตอร์
ดังรูป

จำกรูป เวกเตอร์ A มีขนำด 4 หน่วย ไปทำงทิศตะวันออก

เวกเตอร์ B มีขนำด 3 หน่วย ไปทำงทิศใต้


20

คำชี้แจง จงเขียนเวกเตอร์ของแรงที่กรำทำต่อวัตถุ

1. แรงขนำด 5 นิวตัน กระทำต่อวัตถุไปทำงขวำมือ


..................................................................................................................................

..................................................................................................................................

..................................................................................................................................

..................................................................................................................................

..................................................................................................................................
.......

2. แรงขนำด 6 นิวตัน กระทำต่อวัตถุไปทำซ้ำยมือ


.....................................................................................................................................

.....................................................................................................................................

.....................................................................................................................................

.....................................................................................................................................

.....................................................................................................................................
....
21

3. แรงขนำด 6 นิวตัน กระทำต่อวัตถุในทิศทำมุม 45 องศำ กับแนวระนำบ


...............................................................................................................................

...............................................................................................................................

...............................................................................................................................

...............................................................................................................................

...............................................................................................................................
..........

4. แรงขนำด 5 นิวตัน ดึงวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง


.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................
........

5.น้ำหนัก 4 นิวตัน กดลงพื้นในแนวดิ่ง


................................................................................................................................

................................................................................................................................

................................................................................................................................

................................................................................................................................

................................................................................................................................
.........
22

คำชีแ้ จง จงเขียนเวกเตอร์ของแรงที่กระทำต่อวัตถุ

1. แรงขนำด 5 นิวตัน กระทำต่อวัตถุไปทำงขวำมือ

5N

2. แรงขนำด 6 นิวตัน กระทำต่อวัตถุไปทำซ้ำยมือ

6N
23

3. แรงขนำด 6 นิวตัน กระทำต่อวัตถุในทิศทำมุม 45 องศำ กับแนวระนำบ


5N

450

4. แรงขนำด 3 นิวตัน ดึงวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง

3N

5.น้ำหนัก 4 นิวตัน กดลงพื้นในแนวดิง

4N
24

กรอบที่ 4
เวกเตอร์ที่เท่ำกัน

เวกเตอร์ที่เท่ำกัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์จะเท่ำกันก็ต่อเมื่อมีขนำดเท่ำกันและทิศทำงไป


ทำงเดียวกัน ดังรูป

จำกรูป เวกเตอร์ A เท่ำกัน กับเวกเตอร์ B

เขียนเป็นสัญลักษณ์ คือ A = B

จำกรูป เวกเตอร์ C เท่ำกัน กับเวกเตอร์ D

เขียนเป็นสัญลักษณ์ คือ C = D
25

คำชี้แจง เวกเตอร์ข้อใดเป็นเวกเตอร์ที่เท่ำกัน

D B
C

E
26

คำชี้แจง เวกเตอร์ข้อใดเป็นเวกเตอร์ที่เท่ำกัน

D B

G
E
ไม่ยำกเลย
ใช่ไหมครับ

A = C, B = E และ F = G
27

กรอบที่ 5
เวกเตอร์ตรงกันข้ำม

เวกเตอร์ตรงกันข้ำมกัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ จะตรงข้ำมกันก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์ทั้งสองมีขนำด


เท่ำกัน แต่มีทิศทำงตรงดันข้ำม ดังรูป

จำกรูป
เวกเตอร์ A ตรงข้ำมกับเวกเตอร์ B เขียนเป็นสัญลักษณ์ ได้ A = B หรือ B = A
เวกเตอร์ C ตรงข้ำมกับเวกเตอร์ D เขียนเป็นสัญลักษณ์ ได้ C = D หรือ D = C

ข้อควรทรำบ
ในกำรหำผลลัพธ์ของปริมำณเวกเตอร์ ทำได้โดยอำศัยวิธีกำรทำงเวกเตอร์ ซึ่งต้องหำผลลัพธ์
ทั้งขนำดและทิศทำง
28

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนสร้ำงเวกเตอร์ที่ตรงกันข้ำมกับเวกเตอร์ที่กำหนดให้

1.

2.

3.
29

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนสร้ำงเวกเตอร์ที่ตรงกันข้ำมกับเวกเตอร์ที่กำหนดให้

1.

2.

3.
30

กรอบที่ 6
กำรหำผลลัพธ์ของ
แรงหลำยแรง

กำรหำผลลัพธ์ของแรงหลำยแรง กำรวมแรงซึ่งมีหลำยแรง เพื่อจะหำแรงลัพธ์แรง


เดียว นิยมใช้สัญลักษณ์ เรียกว่ำ ⅀ (ซิกมำ) แทน เพื่อรวมผลบวกที่มีแรงหลำยแรง
หลำย ๆ ค่ำ เช่น F1, F2, F3 กระทำพร้อมกันที่จุดเดียวกัน ดังนี้

แรงลัพธ์ (R) = F1 + F2 + F3

เขียนแทนผลบวกด้วยสัญลักษณ์ ได้ว่ำ

R = ⅀F
31

คำชีแ้ จง ให้นักเรียนหำค่ำแรงลัพธ์ต่อไปนี้

1. แรง 6 N และ 6 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำงเดียวกันรวมกัน เป็นแรง


ลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

2. แรง 5 N และ 5 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำตรงกันข้ำมรวมกัน เป็น


แรงลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

3. แรง 3 N และ 3 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำงเดียวกันรวมกัน เป็นแรง


ลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
32

คำชี้แจง ให้นักเรียนหำค่ำแรงลัพธ์ต่อไปนี้

1. แรง 6 N และ 6 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำงเดียวกันรวมกัน เป็นแรง


ลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
..................................................แรงลัพธ์ = (+6 N) + (+6 N) ...........................................
.........................................................................= +10 N ......................................................................
.....................................แรงลัพธ์มีขนำด 12 N มีทิศทำงไปทำงขวำ.............................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

2. แรง 5 N และ 5 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำตรงกันข้ำมรวมกัน เป็น


แรงลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
.......................................................แรงลัพธ์ = (+5 N) + (-5 N)............................................
............................................................................. = 0 N.........................................................................
...........................................................แรงลัพธ์มีขนำด 12 N .......................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

3. แรง 6 N และ 3 N กระทำต่อวัตถุในทิศทำงเดียวกันรวมกัน เป็นแรง


ลัพธ์ที่มีค่ำเท่ำใด
.............................................................แรงลัพธ์ = (+6 N) + (+3 N).....................................
.................................................................................. = +9 N.................................................................
.....................................................แรงลัพธ์มีขนำด 9 N มีทิศทำงไปทำงซ้ำย..............
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
33

กรอบที่ 7
กำรรวมแรง

กำรรวมแรง คือ กำรหำแรงลัพธ์ (⅀F) ของแรงย่อยทั้งหมด มีวิธีหำ


เหมือนกับกับเวกเตอร์ลัพธ์ เพรำะแรงเป็นปริมำณเวกเตอร์

1. กำรเขียนรูป (โดยแทนแรงด้วยลูกศร)

ใช้หำงต่อหัว คือเอำหำง ของลูกศรที่แทนแรงที่ 2 มำต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 1


แล้วเอำหำงลูกศรที่แทนแรงที่ 3 มำต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 2 …..ต่อกันไปจนหมด โดย
ทิศของลูกศรที่แทนแรงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง แรงลัพธ์ที่ได้ คือ แรงที่ลำกจำกหำงของแรง
แรกไปยังหัวของแรงสุดท้ำย ดังรูป

หำแรงลัพธ์โดยกำรเขียนรูปได้ดังนี้
34

2. โดยวิธีกำรคำนวณ

ใช้ในกำรหำแรงลัพธ์ของแรงย่อยที่มี 2 แรง

1. แรงสองแรงไปในทำงเดียวกัน แรงลัพธ์ที่มีขนำดเท่ำกันกับผลบวกของแรงทั้งสอง
ส่วนทิศทำงของแรงลัพธ์ไปทิศเดียวกับแรงทั้งสอง ดังรูป

F1 = 5 F2 = 10
N N

F1 = 5 F2 = 10
N N
⅀F = 15 N

⅀F = F1 + F2
= 5 N + 10 N
∴ 15 N ไปตำมทิศทำงของแรง F1, F2
35

2. แรงสองแรงสวนทำงกัน แรงลัพธ์มีขนำดเท่ำกับผลต่ำงของแรงทั้งสองทิศทำงของแรง
ลัพธ์ไปทำงแรงที่มีขนำดมำก ดังรูป
F1 = 10 F2 = 5
N N

F1 = 10
N
F2 = 5
F1 = 10N
N

F2 = 5 ⅀F = 5 N

⅀ F = F 1 + F2 เข้ำใจนะครับ
หรือ ⅀ F = F1 - F2
= 10 N – 5 N
∴ ⅀ F = 5 N (ไปทำง F1)
36

คำชี้แจง จงพิจำรณำรูปต่อไปนี้ และหำแรงลัพธ์ของแรง และทิศทำงของแรงลัพธ์

6N
4N
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
...............................................................................................................

2
4N 3N

....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
37

3
3N
8N

....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
.

4
4N 4N

....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
..

5
a N bN

....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
ผลของแรงลั พธ์ต่อกำรเคลื่อนที่ของวัตถ
....................................................................................................................
....................................................................................................................
38

คำชี้แจง จงพิจำรณำรูปต่อไปนี้ และหำแรงลัพธ์ของแรง และทิศทำงของแรงลัพธ์

6N
4N
..........................................แรงลัพธ์ = (+4 N) + (+6 N)...................
............................................... = + 10 N.......................................
............................แรงลัพธ์มีขนำด 10 นิวตัน มีทิศไปทำงขวำ..........
....................................................................................................................
....................................................................................................................

2
4N 3N

.................................แรงลัพธ์ = (+3 N) + (-4 N)...............................


...............................................= - 1 N.....................................................
.............................แรงลัพธ์มีขนำด 1 นิวตัน มีทิศไปทำงซ้ำย...........
....................................................................................................................
....................................................................................................................
39

3
3N 8N

.................................แรงลัพธ์ = (+8 N) + (-3 N)..............................


...............................................= +5 N......................................................
.............................แรงลัพธ์มีขนำด 5 นิวตัน มีทิศไปทำงขวำ...........
....................................................................................................................
....................................................................................................................

4
4N 4N

.................................แรงลัพธ์ = (+4 N) + (-4 N).............................


...............................................= +0 N......................................................
.............................แรงลัพธ์มีขนำด 0 นิวตัน.........................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................

5
a N bN

.................................แรงลัพธ์ = (+a N) + (-b N)..............................


...............................................= a-b N......................................................
.....................แรงลัพธ์มีขนำด a-b นิวตัน มีทิศไปทำงซ้ำย.....
....................................................................................................................
เฉลย คำถำม
....................................................................................................................
40

กรอบที่ 8
ผลของแรงลัพธ์ต่อกำร
เคลื่อนที่ของวัตถุ

กำรท ำกิ จ กรรมต่ ำ งๆ ในชี วิ ต ประจ ำวั น ของเรำนั้ น จ ำเป็ น ต้ อ งมี แ รงเข้ ำ มำ
เกี่ ย วข้ อ งเกื อ บตลอดเวลำ ไม่ ว่ ำ จะเป็ น กำรเรี ย นหนั ง สื อ เล่ น กี ฬ ำ ทำงำนบ้ ำ น หรื อ
กิจกรรมใดๆก็ตำมแรงมีผลทำให้วัตถุเกิดกำรเปลี่ยนแปลง อำจมีขนำด รูปร่ำงเปลี่ยนไป
หรือเปลี่ยนแปลงสภำพกำรเคลื่อนที่ ซึ่งขึ้นอยู่กับขนำดและทิศทำงของแรงที่มำกระทำต่อ
วัตถุ โดยแรงที่มำกระทำต่อวัตถุอำจเป็นแรงเดียวหรือหลำยแรง ในกรณีที่มีหลำยแรง
จะต้องหำผลรวมของแรงทั้งหมด เรียกว่ำ แรงลัพธ์
แรง คือ ปริมำณที่กระทำต่อวัตถุอำจทำให้วัตถุเกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพ
ต่ำง ๆ ซึ่งเป็นกำรถ่ำยเทพลังงำนจำกตัวเรำหรือจำกแหล่งกำเนิดพลังงำนไปยังวัตถุสิ่งของ
เป็นผลทำให้วัตถุเกิดกำรเปลี่ยนแปลงใน 4 ลักษณะ คือ
1. วัตถุที่หยุดนิ่งอำจเริ่มเคลื่อนที่ได้
2. ควำมเร็วของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อำจเปลี่ยนแปลงได้
3. ทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของวัตถุอำจเปลี่ยนแปลงได้
4. วัตถุอำจมีขนำดและรูปร่ำงเปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม

ข้อควรทรำบ

1. แรงที่กระทำไปในทิศทำงเดียวกับกำรเคลื่อนที่
จะทำให้วัตถุมีควำมเร็วเพิ่มมำกขึ้น
2. แรงที่กระทำไปในทิศทำงตรงกันข้ำมกับกำร
เคลื่อนที่ จะทำให้วัตถุมีควำมเร็วลดลง
41

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

1. เมื่อแรง 2 แรง มีขนำด 2 นิวตัน เท่ำกัน กระทำต่อรถในทิศทำงตรงกันข้ำม


กัน ทำให้เกิดแรงลัพธ์เท่ำกับ..............................................ผลที่เกิดขึ้นกับรถ
จะเป็นอย่ำงไร
...........................................................................................................................
......

2. เมื่อแรง 2 แรง มีขนำด 2 นิวตัน เท่ำกัน กระทำต่อรถในทิศทำงเดียวกัน


ทำให้เกิดแรงลัพธ์เท่ำกับ..............................................ผลที่เกิดขึ้นกับรถจะ
เป็นอย่ำงไร
...........................................................................................................................
............

3. ถ้ำแรง 2 แรง มีขนำด 5 นิวตัน และ 2 นิวตัน กระทำต่อรถในทิศทำง


ตรงกันข้ำม เมื่อรวมแรงทั้งสองได้แรงลัพธ์เท่ำกับ..............................................
ผลที่เกิดขึ้นกับรถจะเป็นอย่ำงไร
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
............
42

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

1. เมื่อแรง 2 แรง มีขนำด 2 นิวตัน เท่ำกัน กระทำต่อรถในทิศทำงตรงกันข้ำม


กัน ทำให้เกิดแรงลัพธ์เท่ำกับ.........4 นิวตัน...........ผลที่เกิดขึ้นกับรถจะเป็น
อย่ำงไร................รถจะเคลื่อนที่ไปตำมทิศทำงของแรงทั้งสอง
...................................................................

2. เมื่อแรง 2 แรง มีขนำด 2 นิวตัน เท่ำกัน กระทำต่อรถในทิศทำงเดียวกัน


ทำให้เกิดแรงลัพธ์เท่ำกับ.............. 0 นิวตัน................ผลที่เกิดขึ้นกับรถจะเป็น
อย่ำงไร......รถยังคงหยุดนิ่งอยู่กับที่ เพรำะแรงทั้งสองสมดุลกัน
................................

3. ถ้ำแรง 2 แรง มีขนำด 5 นิวตัน และ 2 นิวตัน กระทำต่อรถในทิศทำง


ตรงกันข้ำม เมื่อรวมแรงทั้งสองได้แรงลัพธ์เท่ำกับ..3 นิวตัน.......ผลที่เกิดขึ้นกับ
รถจะเป็นอย่ำงไร.............รถเคลื่อนที่ตำมทิศทำงแรง 5 นิวตัน
...........................................................
43

แบทดสอบหลังเรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย × ทับตัวอักษร ก. ข. ค. ง. ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ปริมำณใดเป็นปริมำณสเกลำร์ทั้งหมด
ก. มวล ควำมเร็ว แรง
ข. มวล เวลำ แรง
ค. อัตรำเร็ว ควำมเร่ง เวลำ
ง. เวลำ ระยะทำง อัตรำเร็ว
2. ข้อใดกล่ำวถึงควำมหมำยของแรงได้ถูกต้อง
ก. ปริมำณที่ทำให้วัตถุรักษำสภำพกำรเคลื่อนที่
ข. ปริมำณที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยควำมเร็วคงตัว
ค. ปริมำณที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสภำพกำรเคลื่อนที่
ง. กำรเปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลำ
3. กำรทำกิจกรรมใดบ้ำงที่มีกำรใช้แรง
ก. ปวริศน์ยืนดูเพื่อนกำลังเตะบอล
ข. มนตรีนั่งกินข้ำวกับเพื่อน
ค. นนธกำนต์ผลักรถที่จอดหยุดนิ่งอยู่
ง. สำลีนอนที่เก้ำอี้ริมทรำยหำด
4. ปริมำณในข้อใดที่มีทั้งขนำดและทิศทำง
ก. อุณหภูมิอำกำศ 25 องศำเซลเซียส
ข. ควำมเร็ว 12 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ค. ระยะทำง 120 เมตร
ง. พลังงำน 12 จูล
44

5. ปริมำณในข้อใดที่มีเฉพำะขนำด แต่ไม่มีทิศทำง
ก. ปริมำตร
ข. ควำมเร็ว
ค. แรง
ง. น้ำหนัก
6. แรงในข้อใดที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปทำงขวำ

ก. ข.

ค. ง.

7. แรงขนำด 15, 20 และ 60 นิวตัน กระทำต่อวัตถุในแนวรำบดังรูป จะได้แรงลัพธ์ของแรงทั้งสำม


มีค่ำเท่ำไร

ซ้ำย ขวำ ก. 25 นิวตัน ไปทำงขวำ


15 N 20 60 N ข. 65 นิวตัน ไปทำงขวำ
ค. 50 นิวตัน ไปทำงขวำ
ง. 75 นิวตัน ไปทำงขวำ

8. ข้อใดเป็นเวกเตอร์ของแรงขนำด 5 นิวตัน ที่ผลักวัตถุไปทำงซ้ำย

ก. ข.

ค. ง.
45

พิจำรณำรูปแสดงถึงแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันกระทำต่อวัตถุต่อไปนี้ แล้วตอบคำถำมข้อ 8-10

9. วัตถุใดอยู่ในสภำพหยุดนิ่ง
ก. 4
ข. 3
ค. 2 ผมได้คะแนนเยอะ
ง. 1 กว่ำเดิมนะครับ
10. ภำพใดเคลื่อนที่ไปในทิศทำงเดียวกัน
ก. 2,4
ข. 3,4
ค. 2,3
ง. 1,4
46

1. ข
2. ข
3. ค
4. ง
5. ค
6. ข
7. ค
8. ค
9. ก
10. ค
47

1. ง
2. ค
3. ค
4. ข
5. ก
6. ก
7. ข
8. ค
9. ข
10. ก
48

อ้ำงอิง
จรั ญ เฉิ ด ฉำย. บทเรี ยนส ำเร็ จ รู ป กลุ่ ม สำระกำรเรี ยนรู้ วิ ทยำศำสตร์ ชั้น มั ธ ยมศึ ก ษำปี ที่ 3
เรื่อง แรงและกำรเคลื่อนที่ เล่ม 1 เวกเตอร์ของแรง. โรงเรียนหนองบัวพิทยำคำร : มปป.
ยุพำ วรยศ, ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. วิทยำศำสตร์ ม. 3 เล่ม 2. บริษัท อักษรเจริญทัศน์
(อจท.)จำกัด. กรุงเทพมหำนคร : มปป.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ แรงและพลังงำน
กรุงเทพมหำนคร : นิยมวิทยำ, มปป.
นันทพล สิทธิสุวรรณ. (2553). แรงลัพธ์. โรงเรียนสตรีสมุทรปรำกำร. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก
http://www.atom.rmutphysics.com. (สืบค้น 25 ธันวำคม 2558)
Krukaew. แรงกับกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ. มปป. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก https://kaewchem.
Wordpress.com. (สืบค้น 25 ธันวำคม 2559)

You might also like