Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

010013821_Ethic&Professional 2/2566 Name Witwitit Sriprasert ID 6301001621162

Minutes of Lectures # 3
Topic: Bhopal Disaster Date: 10/01/2024
Narrator: Witwitit Sriprasert Place: Dormitory

Summary
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ปี 1984, เมืองโภพาล (Bhopal) ประเทศอินเดียและบริ เวณรอบๆเกิดเหตุการณ์ ก๊าซพิษรั่วจากโรงงานผลิตยาฆ่าแมลง
ของบริ ษทั ยูเนียน คาร์ไบด์ (Union Carbide)ณ เมืองโภพาล โดยก๊าซพิษดังกล่าวนี้ มีชื่อว่า Methyl Isocyanate gas โดยมีการคาดการณ์ว่าในวันต่อมา
จากการรั่ วไหลของแก๊ส พิ ษจะมีป ระชากรจานวนประมาณ 1,750 คน ตายทันที นี่นับเป็ นอุ บ ัติเ หตุด้านอุ ตสาหกรรมที่ ร้ายแรงที่ สุ ดครั้ งหนึ่ งใน
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
หลังจากที่เกิดเหตุการณ์น้ นั เป็ นต้นมา ก็ยงั มีจานวนผูต้ ายยังคงทับทวีในเวลาต่อมา จนเพิ่มเป็ นประมาณ 7,000 คน ในปั จจุบนั แม้ว่าเวลา
จะล่วงเลยมา 10 ปี แล้วก็ตาม ชาวเมือง Bhopal จานวนมากยังคงทนทุกข์ดว้ ยโรคร้ายอันเป็ นผลจากการสู ดดมและสัมผัสก๊าซพิษ บ้างก็เป็ นโรคปอด
บ้างก็มีปัญหาระบบการหายใจบางคนเป็ นวัณโรค โรคผิวหนัง โรคตา และโรคจิตประสาท ชาวเมือง Bhopal ที่ตอ้ งทุกข์ทนกับโรคร้ ายเหล่านี้ มี จา
นวนเท่าใด ไม่เป็ นที่ทราบแน่ชดั ประมาณการมีต้ งั แต่ 120,000 คน จนถึง 250,000 คน แต่ที่ทราบแน่ชดั ก็คือ ทุกวันนี้ชาวเมือง Bhopal ยังคงทนทุกข์
กับอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นเมื่อ 10 ปี ที่แล้ว และยังคงมีคนตายอันเนื่ องจากเหตุดงั กล่าวนั้นสื บต่อไป และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคนก็นาไปถกเถียงกันบ้างก็ไม่
เชื่อ บางคนฏ้ปล่อยข่าวว่าก๊าซรั่วครั้งนั้นเป็ นฝี มือของคนงานที่เกิดปั ญหาความขัดแย้งกับฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ยูเนี ยนคาร์ ไบด์ แต่ฝ่ายคนงานก็โต้แย้ง
ว่า การแกล้งปล่อยก๊าซรั่วมิใช่เรื่ องง่าย อย่างน้อยที่สุดคนงานที่หาญกล้าไปปล่อยก๊าซรั่ วก็ตอ้ งตายตามไปด้วย แต่รัฐบาลอินเดียก็ไม่ได้สนใจและ
ไม่ได้กระตือรื อร้นที่จะข้อเท็จจริ งแม้แต่นอ้ ย และข้อที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปก็คือ มาตรฐานความปลอดภัยของโรงงานผลิตยาฆ่าแมลง ณ เมือง Bhopal
นั้นต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนดโดยประเทศที่พฒั นาแล้วเป็ นอันมาก นักสังเกตการณ์จานวนไม่นอ้ ยเสนอให้เปรี ยบเทียบโรงงานของบริ ษทั ยูเนียนคาร์
ไบด์ใ นสหรั ฐ อเมริ ก ากับโรงงานของบริ ษัทเดี ยวกันในประเทศโลกที่ สาม ด้วยเหตุที่รัฐ บาลประเทศด้อยพัฒนามุ่ งแต่ส่งเสริ มการลงทุ น จาก
ต่างประเทศเพื่อก่อให้เกิดการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ จนละเลยมาตรฐานด้านสิ่ งแวดล้อมและมาตรฐานด้านความปลอดภัยนี้ เอง และแล้วบริ ษทั
ยูเนียนคาร์ไบด์จ่ายเงินชดเชยจานวน 470 ล้านเหรี ยญอเมริ กนั แก่รัฐบาลอินเดียในปี 2532 นั้น เป็ นเวลาหลังจากที่เกิดเหตุแล้ว 5 ปี ชาวเมือง Bhopal จึง
ตกอยูใ่ นภาวะทุกข์เข็ญอย่างแสนสาหัส รัฐบาลอินเดียก็ไม่ได้ดาเนินการช่วยเหลือชาวเมืองอย่างเต็มที่ แม้กระทัง่ ในด้านการรักษาพยาบาล จนเมื่อเวลา
ล่วงไปแล้ว 10 ปี สถานพยาบาลในบริ เวณเมือง Bhopal โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงพยาบาลเนห์รู (Nehru Medical Hospital) มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ไม่
พอเพียงแก่การรักษาพยาบาล
Bhopal Disaster ถือเป็ นสถานการณ์ฉุ ก เฉิ นที่ ท รงพลังที่ สุ ด ทาให้ โลกตระหนัก ถึงความส าคัญของการบริ ห ารจัดการอุ บัติเ หตุ ท าง
สิ่ งแวดล้อม บทเรี ยนจากเหตุการณ์น้ ี ได้ส่งผลต่อมาตรฐานการผลิตทัว่ โลกและการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการตัดสิ นใจทางอุตสาหกรรม Bhopal
Disaster ยังยกให้เห็นถึงความสาคัญของการประเมินความเสี่ยง, การสื่อสารที่ถูกต้อง, และความรับผิดชอบในการจัดการกับสถานการณ์ที่มีผลกระทบ
ต่อสังคมอีกด้วย

1
010013821_Ethic&Professional 2/2566 Name Witwitit Sriprasert ID 6301001621162

Q&A # 3

Question# 1. Use the ethical theories discussed in this chapter to analyze the Bhopal case. Topics to be considered should
include the placing of a hazardous plant in a populated area, decisions to defer maintenance on essential safety systems, etc.
Important theories to consider when doing your analysis are rights and duty ethics and utilitarianism.

Answer# 1 ประโยชน์สูงสุ ดสาหรับจานวนมากที่สุด: มุมมองทฤษฎีผลประโยชน์จะประเมินการตัดสิ นใจวางโรงงานและการ


เลื่อนการบารุ งรักษาโดยพิจารณาผลลัพธ์โดยรวม เช่นในกรณี น้ ี ผลลัพธ์ที่เป็ นลบ (การสู ญเสี ยชีวิตและผลกระทบต่อสุ ขภาพ
ระยะยาว) มีน้ าหนักมากกว่าประโยชน์ทางด้านรายได้ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้น ๆ
ประสิ ทธิภาพในการพิจารณาผลกระทบระยะยาว: ทฤษฎีผลประโยชน์เน้นความสาคัญของการพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
ระยะยาว การตัดสิ นใจในเหตุการณ์บโปลล้มเหลวในการพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในระยะยาว

Question# 2. What responsibility does Union Carbide have for the actions of its subsidiaries? Union Carbide India was 50.9%
owned by the parent company?

Answer# 2 ความรับผิดชอบของบริ ษทั แม่ต่อการกระทาของบริ ษทั ในเครื อมักเป็ นปัญหาทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่


ซับซ้อน ในกรณี ของยูเนี่ยนคาร์ไบด์และเครื อยูเนี่ยนคาร์ไบด์ อินเดีย ลิมิเต็ด (UCIL) ยูเนี่ยนคาร์ไบด์คอร์ปอเรชัน่ ถือหุ้นส่วน
ส่วนใหญ่ (50.9%) ในยูเนี่ยนคาร์ไบด์ อินเดีย ลิมิเต็ด ทาให้ UCIL เป็ นบริ ษทั ในเครื อ การควบคุมและการมีส่วนร่ วมของบริ ษทั
แม่ในการดาเนินงานของลูกหลานและโครงสร้างองค์กรเป็ นปัจจัยสาคัญในการกาหนดความรับผิดชอบ

Question# 3. What duty did Union Carbide have to inform local officials in India of the potential dangers of manufacturing
and storing MIC in India?

Answer# 3 ยูเนียนคาร์ไบด์มีหน้าที่จะแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทอ้ งถิ่นในอินเดียทราบถึงความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับการผลิต โดยมีหน้าที่


หลักๆดังนี้
การปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบียบ: การปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบียบท้องถิ่นเป็ นหน้าที่พ้นื ฐานสาหรับบริ ษทั ใดๆ ในหลาย
ประเทศ มีขอ้ กาหนดทางกฎหมายที่กาหนดให้บริ ษทั ต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของพวกเขา
ความรับผิดชอบทางจรรยาบรรณ: เกินกว่าหน้าที่ทางกฎหมาย ยังมีความรับผิดชอบทางจรรยาบรรณของบริ ษทั ที่จะเป็ น
โปรแกรมและใส่ใจในการสื่ อสารความเสี่ ยงที่เป็ นไปได้ นี้มีความสาคัญอย่างยิง่ เมื่อผลกระทบของเหตุการณ์สามารถมี
ผลกระทบที่รุนแรงต่อสุ ขภาพของสาธารณชน ตามที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์บุโปลแก๊ส

You might also like