Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 128

สารบัญ

คําพิพากษาศาลฎีกา คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คําชี้ขาดความเห็นแยง หนา

ชิงทรัพย พยายาม (10381/2553) 1


ใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนแทนการลงโทษทางอาญา (12152/2553) 3
ยักยอก รองทุกข (13499/2553) 6
อายุความละเมิด (15736/2553) 8
เจาพนักงานยักยอกทรัพย (205/2554) 11
ยักยอกทรัพย ลักทรัพย การครอบครองทรัพย (680/2554) 13
สาธารณสมบัติของแผนดิน (1371/2554) 18
ตัวการ อั้งยี่หรือซองโจร ฉอโกงประชาชน (1513/2554) 22
สิทธินําคดีอาญาของโจทกมาฟองระงับ การถอนคํารองทุกข
ในคดีความผิดตอสวนตัว (1967/2554) 28
การนําเงินคาธรรมเนียมซึ่งจะตองใชแกคูความอีกฝายหนึ่ง
ตามคําพิพากษาหรือคําสั่งมาวางศาล (2828/2554) 30
ตัวการ ฉอโกง (3729/2554) 33
ใชธนบัตรปลอม ฉอโกง ตัวการ (3752/2554) 35
ตัวการ (4339/2554) 37
ลักทรัพยหรือรับของโจร (4449/2554) 39
ขมขืนกระทําชําเรา (4671/2554) 41
ปองกัน เจตนาฆา (5503/2554) 44
ฆาผูอื่น ปองกัน กระทําโดยพลาด (5634/2554) 47
ขอคืนของกลาง (5671/2554) 50
กระทําชําเรา (5724/2554) 52
เจตนาฆา พยายาม (5997/2554) 55
ชิงทรัพย (6554/2554) 58
ฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน (6632/2554) 60
บรรยายฟอง (6938/2554) 64
ฆาผูอื่น ปองกันเกินสมควรแกเหตุ (7901/2554) 67
คาฤชาธรรมเนียม คดีมีทนุ ทรัพย (8309/2554) 70
ชิงทรัพย (8790/2554) 74
เพื่อสนองความใครของผูอื่น เปนธุระจัดหาเพื่อการอนาจาร
ซึ่งเปนเด็กอายุยงั ไมเกินสิบหาป (8867/2554) 78
ตราสารไมปดอากรแสตมป หนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตาม
กฎหมาย (8979-8990/2554) 81
ลักทรัพย รับของโจร อํานาจศาล (8999/2554) 83
ฉอโกงประชาชน (10890/2554) 85
สารบัญ (ตอ)
คําพิพากษาศาลฎีกา คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คําชี้ขาดความเห็นแยง หนา

บุกรุก (ชย.492/2554) 90
พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (ชย.216/2554) 94
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 (ค.8/2554) 97
พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8)พ.ศ.2519 (อ.117/2554) 103
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยขอบังคับการประชุมสภา
เทศบาล พ.ศ. 2496 (อ.166/2554) 107
พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 (อ.176/2554) 113
พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 (อ.302/2554) 118
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 (อ.443/2554) 123
-๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10381/2553
ป.อ. ชิงทรัพย พยายาม (มาตรา 339, 80, 83)
พฤติการณที่จําเลยกับพวกจอดรถจักรยานยนตของกลางไวบริเวณใกลเคียงบานของ
ผู เ สี ย หายแล ว พากั น เดิ น ไปที่ สุ ม ไก ข องผู เ สี ย หายซึ่ ง อยู บ ริ เ วณบ า นที่ อ ยู อ าศั ย อั น เป น เคหสถานของ
ผูเสียหายในยามวิกาล แสดงใหเห็นวาจําเลยกับพวกมีเจตนาจะรวมกันลักเอาไกของผูเสียหายไป เปนการ
ลงมือกระทําความผิดแลวแตการยึดถือเอาไกไปนั้นยังไมบรรลุผล เมื่อผูเสียหายออกมาขัดขวางจึงเกิดการ
ทํ า ร า ยซึ่ ง กั น และกั น เป น เหตุ ใ ห ผู เ สี ย หายได รั บ อั น ตรายแก ก ายเพื่ อ ให พ น จากการจั บ กุ ม โดยใช
รถจักรยานยนตของกลางเปนยานพาหนะเพื่อกระทําความผิดและพาทรัพยนั้นไป จึงเปนความผิดฐาน
ร วมกั น พยายามชิ งทรั พ ย เ ป น เหตุ ใ ห ผูอื่ น รั บอั น ตรายแก กายหรือ จิต ใจโดยใช ยานพาหนะเพื่อ กระทํ า
ความผิดหรือพาทรัพยนั้นไป

พนักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ โจทก

ระหวาง

นายธงชัย สมานมิตร จําเลย


โจทก ฟองวา จําเลยกั บนาย ว. รว มกัน เขาไปในบริเวณบานที่อาศัยอัน เปน เคหสถานของ
ผูเสียหาย โดยไมไดรับอนุญาตและไมมีเหตุอันสมควร แลวรวมกันลักไกชน 4 ตัว รวมราคา 1,600 บาท ของ
ผูเสียหายโดยใชกําลังประทุษราย ชกตอย เตะ และใชของแข็งมีคมแทงผูเสียหายเปนเหตุใหผูเสียหายไดรับ
บาดเจ็บเปนอันตรายแกกายหรือจิตใจ ทั้งนี้เพื่อใหความสะดวกแกการลักทรัพยหรือพาทรัพยนั้นไป และเพื่อให
พนจากการจับกุม โดยใชรถจักรยานยนตหมายเลขทะเบียน กบม อุตรดิตถ 715 เปนยานพาหนะเพื่อกระทํา
ความผิด และพาทรั พย นั้น ไป จํ าเลยกั บพวกไดกระทําความผิดไปตลอดแลว แตการกระทํานั้น ไมบรรลุผ ล
เนื่องจากผูเสียหายและบุคคลอื่นพบเห็นและเขาขัดขวาง จําเลยกับพวกจึงลักเอาทรัพยของผูเสียหายดังกลาว
ไปไมได ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 83, 334, 335, 339, 340 ตรี
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
295 ประกอบมาตรา 83 ขณะกระทําความผิดจําเลยมีอายุ 15 ปเศษ จึงไดวากลาวตักเตือนจําเลย แลวมอบ
ใหผูปกครองจําเลยรับตัวจําเลยไปอบรมดูแล และใหคุมความประพฤติจําเลยไวมีกําหนด 2 ป ขอหาอื่นใหยก
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 6 พิพากษาแกเปนวาจําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
339 วรรคสาม ประกอบมาตรา 80, 83, และมาตรา 340 ตรี ใหจําคุก 5 ป ลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุก
3 ป 4 เดือน ใหเปลี่ยนโทษจําคุกเปนสงตัวจําเลยไปควบคุมเพื่อฝกและอบรมยังศูนยฝกและอบรมเยาวชน
มีกําหนดขั้นต่ํา 1 ป ขั้นสูง 2 ป
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ขอเท็จจริงฟงไดวา
/จําเลย...
-๒-

จําเลยกับนาย ว. ขั บรถจั กรยานยนตของกลาง และนั่งซอนทายไปในที่เกิดเหตุ จอดรถจักรยานยนตไวใน


บริ เ วณใกล เคี ย ง แล ว พากั น เดิน เข า ไปที่สุมไกของผูเสียหาย แตถูกสุนัขเหาและผูเสียหายออกมาขัดขวาง
เสียกอน จึงเกิดการทํารายซึ่งกันและกันอันเปนเหตุใหผูเสียหายไดรับอันตรายแกกาย พฤติการณที่จําเลยกับ
นาย ว. จอดรถจักรยานยนตของกลางไวบริเวณใกลเคีย งบานของผูเสียหาย แลว พากันเดินไปที่สุมไกของ
ผูเสียหายซึ่งอยูในบริเวณบานที่อยูอาศัยอันเปนเคหะสถานของผูเสียหายในยามวิกาล แสดงใหเห็นวาจําเลยกับ
นาย ว. มีเจตนาจะรวมกันลักเอาไกของผูเสียหายไป จําเลยกับพวกลงมือกระทําความผิดแลว แตการยึดถือเอา
ไกไปนั้นยังไมบรรลุผลอยูในขั้นรวมกันพยายามลักทรัพย เมื่อจําเลยกับพวกลงมือกระทําความผิดฐานรวมกัน
พยายามลักทรัพย โดยใชกําลังประทุษราย ชกตอย และใชแผนเหล็กตีทํารายผูเสียหายจนเปนเหตุใหผูเสียหาย
ไดรับอันตรายแกกายเพื่อใหพนจากการจับกุม โดยใชรถจักรยานยนตของกลางเปนยานพาหนะเพื่อกระทํา
ความผิดและพาทรัพยนั้นไป จึงเปนความผิดฐานรวมกันพยายามชิงทรัพยเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกกาย
หรื อ จิ ต ใจโดยใช ย านพาหนะเพื่ อ กระทํ า ความผิ ด หรื อ พาทรั พ ย นั้ น ไป หรื อ เพื่ อ ให พ น จากการจั บ กุ ม หา
จําเปนตองถึงขั้นที่จําเลยกับพวกเปดสุมไกจับไก หรืออุมไก จึงจะเปนความผิดฐานพยายามชิงทรัพยตามที่
จําเลยฎีกาไม ทั้งการกระทําของจําเลยกับพวกดังกลาวเปนความผิดซึ่งหนา ซึ่งผูเสียหายกับพวกมีสิทธิจับกุมได
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 79 และ 80 ที่ศาลอุทธรณภาค 6 พิพากษามานั้น
ชอบแลว ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น สวนฎีกาขออื่นของจําเลยไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัยเพราะไม
ทําใหผลคดีเปลี่ยนแปลงไป
พิพากษายืน แตการฝกอบรมมิใหฝกอบรมจําเลยเกินกวาจําเลยมีอายุครบยี่สิบสี่ปบริบูรณ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12152/2553
ป.อ. ใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนแทนการลงโทษทางอาญา แกไขเล็กนอย (มาตรา ๑๘)
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๑๒๔)
ศาลชั้นตนพิพากษาจําคุกจําเลยที่ ๒ มีกําหนด ๗ ป ๑๐ เดือน แลวใหเปลี่ยนโทษจําคุกเปนสง
ตัวจําเลยไปฝกอบรมที่สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร มีกําหนดขั้นต่ํา ๔ ป ขั้นสูง
๕ ป ถือไดวาศาลชั้นตนมิไดพิพากษาลงโทษจําคุกจําเลยที่ ๒ เกินกวาหาป เมื่อศาลอุทธรณพิพากษาแก
เปนใหลงโทษจําคุกจําเลยที่ ๒ มีกําหนด ๗ ป ๘ เดือน นอกจากที่แกใหใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชน
ตามคําพิพากษาศาลชั้นตน จึงถือเปนการแกไขเล็กนอย ตองหามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
จําเลยที่ ๒ ฎีกาโตแยงวาจําเลยที่ ๒ ไมไดเปนตัวการรวมกระทําความผิดกับจําเลยที่ ๑ พนักงาน
สอบสวนทําการสอบสวนจําเลยโดยไมแจงสิทธิใหจําเลยทราบวาจะใหการหรือไมก็ได ใชคําถามหลอกลวง
จูงใจใหจําเลยที่ ๒ ใหใหการ เปนการสอบสวนที่ไมชอบดวยกฎหมาย พนักงานอัยการจึงไมมีอํานาจฟอง
เป น การโต แ ย ง ดุ ล พิ นิ จ ในการรั บ ฟ ง พยานหลั ก ฐานของศาลอุ ท ธรณ เ พื่ อ นํ า ไปสู ก ารวิ นิ จ ฉั ย ป ญ หา
ขอกฎหมาย เปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ตองหามมิใหฎีกา

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก


ระหวาง
เด็กชายภัทรพลหรือบอม สวางแกว ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน จําเลย
โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เวลากลางคืนกอนเที่ยง จําเลยทั้งสองรวมกัน
กระทําผิดตอกฎหมายหลายกรรมตางกัน คือ จําเลยทั้งสองรวมกันมีและพาอาวุธปนลูกซองพกสั้น ประกอบ
ขึ้นเองขนาด .20 จํานวน 1 กระบอก ไมมีเครื่องหมายทะเบียนของเจาพนักงานประทับ และกระสุนปนลูกซอง
ไมทราบขนาดและจํานวน นอกจากนี้จําเลยทั้งสองรวมกันใชอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนดังกลาวยิงนาย จ.
และนาย ช. จํานวน 1 นัด โดยมีเจตนาฆาบุคคลทั้งสองใหถึงแกความตาย เปนเหตุใหนาย จ. และนาย ช.
ถึงแกความตายในเวลาตอมา ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33, 83, 91, 288, 371
พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7,
8 ทวิ, 72, 72 ทวิ และใหริบของกลาง
จําเลยที่ 1 ใหการรับสารภาพ
จําเลยที่ 2 ใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสองมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288 พระราชบัญญัติอาวุธปนฯ มาตรา 7, 8 ทวิ, 72, 72 ทวิ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371
การกระทําของจําเลยทั้งสองเปนความผิดหลายกรรมตางกัน ใหลงโทษทุกกรรม ขณะกระทําความผิดจําเลยทั้งสอง
/อายุ 14 ปเศษ...
-๔-

อายุ 14 ป เ ศษ ลดมาตราส ว นโทษให กึ่งหนึ่ง จําเลยที่ 1 ใหการรับ สารภาพมาโดยตลอดตั้งแตชั้น จับ กุม


สอบสวน และชั้นพิจารณา ลดโทษใหกึ่งหนึ่ง สวนจําเลยที่ 2 ใหการสารภาพเฉพาะชั้นจับกุมและสอบสวน
ลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุกจําเลยที่ 1 มีกําหนด 5 ป 9 เดือน จําเลยที่ 2 มีกําหนด 7 ป 10 เดือน ให
เปลี่ยนโทษจําคุกเปนการสงตัวจําเลยทั้งสองไปฝกอบรมที่สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง สําหรับ
จําเลยที่ 1 มีกําหนดขั้นต่ํา 3 ป ขั้นสูง 5 ป สวนจําเลยที่ 2 มีกําหนดขั้นต่ํา 4 ป ขั้นสูง 5 ป ริบของกลาง
จําเลยที่ 2 อุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 1 แผนกคดีเยาวชนและครอบครัวพิพากษาแกเปนวาลดโทษใหจําเลยที่ 2
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสามแลว คงจําคุกจําเลยที่ 2 มีกําหนด 7 ป 8 เดือน นอกจาก
ที่แกใหใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยที่ 2 ฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวตรวจสํานวนประชุมปรึกษา แลวเห็นวา ศาลชั้นตน
พิพากษาจําคุกจําเลยที่ 1 มีกําหนด 5 ป 9 เดือน จําคุกจําเลยที่ 2 มีกําหนด 7 ป 10 เดือน ใหเปลี่ยนโทษ
จําคุกเปนสงตัวจําเลยทั้งสองไปฝกอบรมที่สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สําหรับ
จําเลยที่ 1 มีกําหนดขั้นตํา 3 ป ขั้นสูง 5 ป สวนจําเลยที่ 2 มีกําหนดขั้นต่ํา 4 ป ขั้นสูง 5 ป ริบของกลาง
กรณีเปนเรื่องที่ศาลชั้นตนพิพากษาใหใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนแทนการลงโทษทางอาญาแกจําเลย จึง
ไมเปนการลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 ถือไดวาศาลชั้นตนมิไดพิพากษาลงโทษจําคุกจําเลย
ทั้งสองเกินกวาหาป ดังนั้นเมื่อศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษาแกเปนวา ลดโทษใหจําเลยที่ 2 หนึ่งในสามแลว คง
จําคุกจําเลยที่ 2 มีกําหนด 7 ป 8 เดือน นอกจากที่แกใหใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนตามคําพิพากษา
ศาลชั้นตนจึงเปนการแกไขเล็กนอย กรณีตองหามมิใหคูความฎีกาในปญหาขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลเยาวชนและครอบครั ว และวิ ธี พิ จ ารณาคดี เ ยาวชนและครอบครั ว มาตรา 124 ประกอบมาตรา 6
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 217 วรรคหนึ่ง
ที่จําเลยที่ 2 ฎีกาวาการที่จําเลยที่ 1 ใชอาวุธปนยิงผูตายเปนการกระทําของจําเลยที่ 1 ตาม
ลําพัง เปนการตัดสินใจของจําเลยที่ 1 ยังถือไมไดวาจําเลยที่ 2 เปนตัวการรวมกับจําเลยที่ 1 ในการฆาผูตาย
ทั้งสอง จําเลยที่ 2 จึงไมไดกระทําผิดตามฟอง และในการสอบถามคําใหการจําเลยที่ 2 พนักงานสอบสวนมิได
แจ งใหจํ า เลยที่ 2 ทราบวา จํ า เลยที่ 2 มีสิทธิท่ีจ ะใหการหรือไมก็ได ทําใหการสอบสวนคดีนี้ไมชอบดว ย
กฎหมาย พนักงานอัยการจึงไมมีอํานาจฟอง พนักงานสอบสวนใชคําถามในลักษณะหลอกลวงจูงใจเพื่อจูงใจให
จําเลยที่ 2 ใหการอยางใด ๆ ในเรื่องที่ตองการบันทึกคําใหการของจําเลยที่ 2 จึงไมชอบดวยประมวลกฎหมาย
วิธีพิจ ารณาความอาญา มาตรา 135 ที่แกไขใหม เปนการโตแยงดุลพินิจ ในการรับ ฟงพยานหลักฐานของ
ศาลอุทธรณภาค 1 ที่วินิจฉัยวา ในการสอบสวนจําเลยที่ 2 พนักงานสอบสวนไดแจงสิทธิใหจําเลยที่ 2 ทราบ
แลว และไดกระทําตอหนาบุคคลหลายฝาย จึงเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานเพื่อนําไปสู
การวินิจฉัยปญหาขอกฎหมาย เปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริง จึงตองหามมิใหฎีกาเชนกัน
อนึ่งในระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา ไดมีพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2551 มาตรา 6 และมาตรา 7 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่ง มาตรา 74 มาตรา 75
/และมาตรา 76...
-๕-

และมาตรา 76 แหงประมวลกฎหมายอาญา และใหใชขอความใหมแทน กรณีจึงเปนเรื่องที่กฎหมายใหมเปน


คุ ณ แก จํ า เลยที่ 2 มากกว า ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งใช ก ฎหมายที่ แ ก ไ ขใหม ใ นส ว นที่ เ ป น คุ ณ บั ง คั บ แก จํ า เลยที่ 2
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 3
พิพากษาแกเปนวา จําเลยทั้งสองมีความผิดตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 1 ขณะกระทํา
ผิด จํ า เลยทั้ งสองมี อายุ 14 ป เ ศษ ไม ต องรับ โทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 (ที่แกไขใหม)
นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 1

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๖-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13499/2553
ป.อ. ยักยอก รองทุกข (มาตรา ๓๕๒ , ๙๖)

คดีความผิด อันยอมความกันได ปรากฎตามสําเนารายงานประจํา วันรับแจงเปนหลักฐาน


บันทึกไววา ผูรับมอบอํานาจจากผูเสียหายแจงตอพนักงานสอบสวน เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐ อาง
วาไดทราบถึงการกระทําความผิดของจําเลยเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๐ จึงพาจําเลยไปพบพนักงาน
สอบสวน โดยจําเลยขอเวลาชําระเงินคืนแกผูเสียหายภายในวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๐ หากไมชําระยอมให
ดําเนินคดีแกจําเลย ซึ่งกําหนดเวลาใหจําเลยใชเงินคืนดังกลาวอยูภายใน ๓ เดือนนับแตวันที่ผูเสียหายรู
เรื่องความผิดของจําเลย ซึ่งจะครบกําหนดรองทุกขวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๐ แมรายงานประจําวันรับแจง
จะระบุวา “ประสงคใหลงบันทึกเปนหลักฐานยังไมรองทุกข “ซึ่งจะถือเปนคํารองทุกขตามกฎหมายไมได
ก็ตาม แตเมื่อจําเลยไมใชเงินคืนภายในกําหนด และผูเสียหายก็ยังมีเวลาที่สามารถจะรองทุกขไดภายใน
กํ า หนดอายุ ค วาม จํ า เลยไม มี พ ยานอื่ น ใดมาสนั บ สนุ น ว า ผู เ สี ย หายไม ไ ด ร อ งทุ ก ข ภ ายในอายุ ค วาม
ขอเท็จจริงคงรับฟงไดตามคําฟองและคําใหการรับสารภาพของจําเลยวาคดีนี้ผูเสียหายไดรองทุกขตอ
พนักงานสอบสวนใหดําเนินคดีแกจําเลยโดยชอบแลว โจทกจึงมีอาํ นาจฟอง

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการจังหวัดกบินทรบุรี โจทก


ระหวาง
นางสาวประเพ็ญศรี สาพาที จําเลย

โจทกฟองวา จําเลยไดรับมอบหมายจากนาง ว. ผูเสียหาย ใหเก็บคาเชาที่ดินจากผูเชาที่ดิน


ของผูเสียหายบางรายเพื่อสงมอบแกผูเสียหาย ในเดือนกรกฎาคม 2550 จําเลยเก็บคาเชาที่ดินจากผูเชาได
เปนเงิน 210,000 บาท ตอมาระหวางตนเดือนกรกฎาคม 2550 ถึงวันที่ 10 ตุลาคม 2550 เวลากลางวัน
และกลางคืนติดตอกัน วันเวลาใดไมปรากฏชัด จําเลยไดเบียดบังเอาเงินจํานวนดังกลาวของผูเสียหายซึ่งอยูใน
ครอบครองของจําเลยเปนของตนโดยทุจริต ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 และให
จําเลยคืนเงินจํานวน 210,000 บาท แกผูเสียหาย
จําเลยใหการรับสารภาพ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวาจําเลยผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 352 วรรค
แรก ลดโทษ ใหกึ่งหนึ่ง คงจําคุก 1 ป ใหจําเลยคืนเงิน 210,000 บาท แกผูเสียหาย
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 2 พิพากษายืน

/จําเลยฎีกา...
-๗-

จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลวเห็น วา ตามสําเนารายงานประจําวันรับแจงเปน
หลักฐานทายอุทธรณจําเลย ผูรับมอบอํานาจผูเสียหายเพียงแตแจงตอพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับกรณีตามฟอง
โดยระบุวา ประสงคใหลงบันทึกไวเปนหลักฐานยังไมรองทุกข นอกจากรายงานประจําวันดังกลาวแลว ผูเสียหาย
มิ ได มี การร องทุ กข ต อพนั กงานสอบสวนเพิ่ มเติ มแต อย างใดนั้ น เห็นว าคดี นี้ โจทก ฟ องว าจํ าเลยกระทํ าความผิ ด
ฐานยักยอก ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 ซึ่งมีอัตราโทษจําคุกไมเกิน 3 ป โดยบรรยายฟองวา
ผู เ สี ย หายได ร องทุ กข ให ดํ า เนิ น คดี แก จํ าเลยภายในกํ าหนดอายุความตามกฎหมายแลว เมื่อจําเลยใหการ
รับสารภาพ ศาลชั้นตนยอมพิพากษาโดยไมตองสืบพยานหลักฐานตอไปได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 176 วรรคแรก ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดตามคําฟองของโจทกวาคดีนี้ผูเสียหายไดรองทุกขตอ
พนักงานสอบสวนภายในกําหนดอายุความโดยชอบแลว พนักงานสอบสวนจึงมีอํานาจสอบสวน และโจทกมี
อํานาจฟองคดีนี้ การที่จําเลยกลับมาฎีกาโตแยงวาผูเสียหายไมไดรองทุกขเพื่อดําเนินคดีแกจําเลย ยอมเปนการ
ฎีกาในขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตน แตอยางไรก็ดีขอเท็จจริงและขอกฎหมายที่จําเลย
ยกขึ้นอางในฎีกาเปนปญหาอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน จําเลยยกขึ้นอางในชั้นฎีกาได และ
สมควรวินิจฉัยใหปรากฏวากรณีอาจถือตามรายงานประจําวันรับแจงเปนหลักฐานวาผูเสียหายมิไดรองทุกขดังที่
จําเลยฎีกาหรือไม เห็นวาแมขอเท็จจริงจะรับฟงไดตามรายงานประจําวันรับแจงเปนหลักฐานที่จําเลยอางวา
ผูรับมอบอํานาจผูเสียหายเพียงแตขอใหพนักงานสวบสวนลงบันทึกขอกลาวหาที่แจงไวเปนหลักฐานโดยยังไม
ประสงคจะรองทุกข โดยโจทกไมไดฎีกาใหเห็นเปนอยางอื่นก็ตาม แตปรากฏจากรายงานประจําวันดังกลาววา
ผูรับมอบอํานาจผูเสียหายไปแจงตอพนักงานสอบสวนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2550 อางวาไดทราบถึงการ
กระทําความผิดของจําเลยเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2550 จึงพาจําเลยไปพบพนักงานสอบสวน โดยจําเลยขอ
เวลาชําระเงินคืนแกผูเสียหายภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2550 หากไมชําระยอมใหดําเนินคดีแกจําเลย ซึ่ง
กําหนดเวลาใหจําเลยใชเงินคืนดังกลาวอยูในภาย 3 เดือน นับแตวันที่ผูเสียหายรูเรื่องความผิดของจําเลย ซึ่ง
ครบกําหนดรองทุกขวันที่ 20 ตุลาคม 2550 ดังนั้น แมรายงานประจําวันรับแจงดังกลาวจะถือไมไดวาเปน
การกลาวหาโดยเจตนาใหจําเลยไดรับโทษอันเปนคํารองทุกขตามกฎหมายก็ตาม แตเมื่อจําเลยไมใชเงินคืนแก
ผูเสียหายภายในกําหนด ผูเสียหายก็ยังมีเวลาที่สามารถจะรองทุกขไดภายในกําหนดอายุความ จําเลยเพียงแต
กลาวอางในฎีกาวานอกจากการแจงใหลงบันทึกตามรายงานประจําวันรับแจงเปนหลักฐานแลวผูเสียหายมิไดมี
การรองทุกขเพิ่มเติมอีก โดยไมมีพยานหลักฐานอยางใดมาสนับสนุน จึงไมมีน้ําหนักใหรับฟงได ขอเท็จจริงคง
รับฟงไดตามคําฟองและคําใหการรับสารภาพของจําเลยวาคดีนี้ผูเสียหายไดรองทุกขตอพนักงานสอบสวนให
ดําเนินคดีแกจําเลยโดยชอบแลว โจทกจึงมีอํานาจฟอง ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น
พิพากษายืน
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๘-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15736/2553
ป.พ.พ. อายุความละเมิด (มาตรา 448)

เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2538 ผูบัญชาการทหารเรือมอบอํานาจใหนายทหารไปรองทุกข


กล า วหาจํ า เลยที่ 1 ว า เป น เจ า พนั ก งานทุจ ริต ยักยอกทรัพยก็ต าม แตขณะนั้น ผูบัญชาการทหารเรื อ
ก็ ยั ง ไม รู ผ ลการสอบสวนหาผู รั บ ผิ ด ทางแพ ง มารู เ มื่ อ วั น ที่ 20 ธั น วาคม 2538 อายุ ค วามละเมิ ด
จึงเริ่มนับตั้งแตวันที่ 20 ธันวาคม 2538 โจทกฟองคดีน้ีเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2539 จึงยังไมเกิน 1 ป
นั บ แต วั น ที่ โ จทก รู ถึ ง การละเมิ ด และรู ตั ว ผู จ ะพึ ง ใช ค า สิ น ไหมทดแทน ตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา 448 วรรคหนึ่ง ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ

________________________________________
กองทัพเรือ โจทก
ระหวาง
นาวาเอกดํารินทร อิศรางกูร ณ อยุธยา ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จําเลย
โจทก ฟ อ งและแก ไ ขคํ า ฟ อ งว า โจทก เ ป น นิ ติ บุ ค คลโดยเป น ส ว นราชการสั ง กั ด
กระทรวงกลาโหม มีพลเรือเอก ป. เปนผูบัญชาการทหารเรือรับผิดชอบบริหารราชการโจทก โจทกฟองคดีนี้
โดยพลเรื อเอก ว. รองผู บั ญ ชาการทหารเรือ เป น ผูรั บ มอบอํานาจจากผู บัญชาการทหารเรื อ จํ าเลยที่ 1
เป น ผู บั ง คั บ หน ว ยเฉพาะกิ จ ทหารพรานนาวิ ก โยธิ น มี ห น า ที่ บั ง คั บ บั ญ ชาข า ราชการและทหารพราน
ในหน ว ย ดู แ ลทรั พ ย สิ น และเป น ผู มี อํ า นาจสั่ ง จ า ยเงิ น ของทางราชการทั้ ง เงิ น งบประมาณและ
เงิ น นอกงบประมาณ จํ า เลยที่ 2 ดํ า รงตํ าแหนงนายทหารสงกํ าลัง บํา รุงมี ห นา ที่รับ ผิดชอบส งกํา ลังบํ ารุ ง
ดู แลจั ด หาเสบี ย งให แก ขา ราชการและทหารพรานในหนว ย รับ ผิดชอบดานพัส ดุ นอกจากนี้ยังเปน ผูดูแ ล
รักษาเงินเหลือจายคาเสบียงของหนวยซึ่งเปนเงินนอกงบประมาณประเภทที่ 2 จําเลยที่ 3 ดํารงตําแหนง
นายทหารการเงินทําหนาที่เบิกจายเงินประเภทตาง ๆ ของหนวยรวมกับจําเลยที่ 1 แตละปกระทรวงการคลัง
จะอนุ มัติ เงิ น ทดรองราชการซึ่ งเป น เงิน นอกงบประมาณประเภทที่ 1 ใหแกโจทกไวสําหรับ ทดรองใชจาย
นอกจากนี้ ยั งมี เ งิ น นอกงบประมาณประเภทที่ 2 คื อเงิ น กองทุ น เทวาพิทั ก ษ แ ละเงิ น เหลื อ จา ยค าเสบี ย ง
วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2536 จํ า เลยที่ 2 ยื มเงิน ทดรองราชการจํานวน 300,000 บาท จําเลยที่ 1 ในฐานะ
ผู บั ง คั บ หน ว ยเป น ผู อ นุ มั ติ วั น ที่ 25 ตุ ล าคม 2536 จํ า เลยที่ 2 ยื ม เงิ น กองทุ น เทวาพิ ทั ก ษ จํ า นวน
300,000 บาท เพื่อนําไปใชจายในกิจการของทางราชการ จําเลยที่ 1 ในฐานะประธานกรรมการกองทุน
เปนผูอนุมัติ และระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2536 ถึงวันที่ 26 มกราคม 2537 จําเลยที่ 2 นําเงินเหลือจาย
คาเสบียงจํานวน 326,987.25 บาท ไปทดรองใชจายในกิจการของทางราชการโดยฝาฝนคําสั่งกองทัพเรือ
ที่ 106/2535 รวมเปนเงินนอกงบประมาณประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 ที่จําเลยที่ 2 ยืมไปทดรองจาย
จํานวน 926,987.25 บาท ตอมาระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2536 ถึงวันที่ 26 มกราคม 2537 จําเลยที่ 2
/รวบรวมใบเสร็จ ...
-๙-

รวบรวมใบเสร็ จ รั บ เงิ น และใบสํา คั ญ ตั้ งฎีกาขอเบิกเงิน จากหนว ยบัญชาการนาวิกโยธิน รวม 49 ฉบับ


รวมเป น เงิ น 926,987.25 บาท เพื่ อ ไปชดใช เ งิ น ยื ม ดั ง กล า ว ซึ่ ง ได รั บ เงิ น ดั ง กล า วแล ว ระหว า งวั น ที่
10 กุ ม ภาพั น ธ 2537 ถึ ง วั น ที่ 16 พฤษภาคม 2537 จํ า เลยที่ 1 และจํ า เลยที่ 3 จะต อ งร ว มกั น
จ า ยเงิ น จํ า นวน 926,987.25 บาท ให แ ก จํ า เลยที่ 2 เพื่ อ ผลั ก ใช คื น เงิ น นอกงบประมาณที่ จํ า เลยที่ 2
ขอยื ม ไปดั ง กล า ว แต จํ า เลยที่ 1 จงใจเบี ย ดบั ง เงิ น จํา นวน 902,046 บาท สั่ ง ใหจํ า เลยที่ 3 นํา ไปฝาก
ในบั ญ ชี ส ว นตั ว ของจํ า เลยที่ 1 ที่ ธ นาคาร ก. จํากัด (มหาชน) สาขาโปงน้ํารอน แลว จําเลยที่ 1 นําไปใช
ประโยชนสวนตัวในภายหลัง สวนเงินที่เหลือจํานวน 24,941.25 บาท จําเลยที่ 3 นําไปใชเงินเหลือจาย
ค า เสบี ย งบางส ว นที่ จํ า เลยที่ 2 ยื มไป จํา เลยที่ 1 และจําเลยที่ 3 จึง รว มกัน กระทํา ละเมิดต อโจทก ตอ ง
ร ว มกั น ชดใช คา เสี ย หายแก โ จทก จํ า นวน 902,046 บาท พร อมด ว ยดอกเบี้ย ในอัตรารอ ยละ 7.5 ตอ ป
นั บ ตั้ ง แต วั น ที่ 27 พฤษภาคม 2537 ถึ ง วั น ฟ อ งเป น เงิ น 152,220.26 บาท รวมเป น เงิ น ทั้ ง สิ้ น
1,054,266.20 บาท สําหรับจําเลยที่ 2 ปฏิบัติหนาที่ฝาฝนขอบังคับของโจทกนําเงินเหลือจายคาเสบียงไป
ทดรองจายจํานวน 326,987.25 บาท คงไดรับชดใชเพียง 24,941.25 บาท อันเปนการประมาทเลินเลอ
ถือวากระทําละเมิดตอโจทก ทําใหโจทกเสียหายจํานวน 302,046 บาท จําเลยที่ 2 จึงตองรวมรับผิดกับ
จํ า เลยที่ 1 และจํ า เลยที่ 3 ในวงเงิ น 302,046 บาท ขอให บั ง คั บ จํ า เลยทั้ ง สามร ว มกั น และแทนกั น
ชดใชคาเสียหายจํานวน 1,054,266.20 บาท โดยใหจําเลยที่ 2 รวมรับผิดไมเกินวงเงิน 302,046 บาท
แกโจทก
จําเลยทั้งสามใหการปฏิเสธ ขอใหยกฟอง
ศาลชั้นตนพิจารณาแลว พิพากษาใหจําเลยที่ 1 และจําเลยที่ 3 รวมกันหรือแทนกันชําระเงิน
902,046 บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป นับแตวันที่ 27 พฤษภาคม 2537 เปนตนไปจนกวา
จะชํ า ระเสร็ จ แก โ จทก แต ด อกเบี้ ย เมื่ อ คิ ด ถึ ง วั น ฟ อ ง (ฟ อ งวั น ที่ 27 สิ ง หาคม 2539) ต อ งไม เ กิ น
152,220.26 บาท และใหจําเลยที่ 1 กับจําเลยที่ 3 รวมกันใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก โดยกําหนด
คาทนายความ 30,000 บาท สําหรับจําเลยที่ 2 ใหยกฟอง สวนคาฤชาธรรมเนียมใหเปนพับ
โจทก จําเลยที่ 1 และจําเลยที่ 3 อุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน ใหจําเลยที่ 1 และจําเลยที่ 3 ใชคาทนายความในชั้นนี้แทนโจทก
คนละ 3,000 บาท สวนคาฤชาธรรมเนียมในชั้นนี้ระหวางโจทกกับจําเลยที่ 2 ใหเปนพับ
จําเลยที่ 1 ฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ปญหาตองวินิจฉัยมีวา ฟองโจทกขาดอายุความหรือไม ปญหาขอนี้
ศาลอุ ท ธรณ ยั ง ไม ไ ด วิ นิ จ ฉั ย เห็ น สมควรวิ นิ จ ฉั ย ไปในชั้ น นี้ เห็ น ว า แม เ มื่ อ วั น ที่ 14 สิ ง หาคม 2538
ผูบั ญ ชาการทหารเรื อมอบอํ านาจใหน ายทหารไปรองทุกขกลาวหาจําเลยที่ 1 วา เปน เจาพนักงานทุจ ริต
ยักยอกทรัพยก็ตาม แตขณะนั้นผูบัญชาการทหารเรือก็ยังไมรูผลการสอบสวนหาผูรับผิดทางแพง มารูเมื่อวันที่
20 ธันวาคม 2538 อายุ ความละเมิ ดจึงเริ่มนับ ตั้งแตวันที่ 20 ธัน วาคม 2538 โจทกฟองคดีนี้เมื่อวัน ที่
27 สิงหาคม 2539 จึงยังไมเกิน 1 ป นับแตวันที่โจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงใชคาสินไหมทดแทน
/ตามประมวลกฎหมาย...
-๑๐-

ตามประมวลกฎหมายแพ งและพาณิ ชย มาตรา 448 วรรคหนึ่ง ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ ฎีกาของ


จําเลยที่ 1 ฟงไมขึ้น
ส ว นที่ จํ า เลยที่ 1 ฎี ก าว า เงิ น กองทุ น เทวาพิ ทั ก ษ ไ ม ใ ช เ งิ น ของโจทก โจทก จึ ง ไม มี
อํานาจดําเนิ นคดีใด ๆ เกี่ยวกับ เงินกองทุนเทวาพิทักษ และเงินเหลือจายคาเสบีย งเปน เงินของขาราชการ
ผูมีสิทธิไดรับเบี้ยเลี้ยง นั้น เห็นวา เมื่อเงินสองจํานวนดังกลาวใชเพื่อประโยชนแกทหารในสังกัดของโจทก
จึงเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ราชการของโจทกยอมเปน เงินนอกงบประมาณที่โ จทกส ามารถจะฟองเรียกคืน จาก
จําเลยที่ 1 ได
พิพากษายืน ใหจําเลยที่ 1 ใชคาทนายความชั้นฎีกา 3,000 บาท แทนโจทก

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๑๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 205/2554
ป.อ. เจาหนักงานยักยอกทรัพย (มาตรา ๑๔๗)

จําเลยเปนเจาพนักงาน ตําแหนงพนักงานคุมประพฤติ และเปนตัวแทนรวมรับทราบและทํา


นิ ติ ก รรมจดทะเบี ยนภาระจํ า นองที่ ดิ น พรอมกับ มีห นา ที่ร วบรวมทรั พย สิน ในส วนที่ผู เ ยาวจ ะไดรั บมา
ดําเนินการกํากับการปกครองตามคําสั่งศาลในคดีหมายเลขแดงที่ 382/2541 ของศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง การที่จําเลยรับเงินคาตอบแทนในสวนของผูเยาวในคดีดังกลาวและไดเบียดบังเอาไปใช
ประโยชนสวนตัว โดยมิไดดําเนินการนําเงินจํานวนดังกลาวไปฝากธนาคารในนามของผูเยาว เปนการไม
ปฏิบัติตนในฐานะผูกาํ กับการใชอํานาจปกครองในสวนที่เปนทรัพยสนิ ของผูเยาวตามคําสั่งศาล การกระทํา
ของจําเลยเปนความผิดฐานเปนเจาพนักงานมีหนาที่จัดการหรือรักษาทรัพยใด เบียดบังทรัพยนั้นเปนของ
ตนโดยทุจริต
การกระทําของจําเลยดังกลาวขางตนเปนความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๔๗
สําเร็จไปแลว แมตอมาจําเลยจะเปดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพยใหแกผูเยาว ก็ไมอาจทําใหการกระทํา
ที่เปนความผิดอาญาสําเร็จไปแลวกลับกลายเปนไมมีความผิดไปได

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก


ระหวาง
นายนิธิพล เจริญวีรกุล จําเลย

โจทก ฟอ งว า ขณะเกิ ด เหตุ จํา เลยเป น เจา พนั กงาน ตํา แหนง พนัก งานคุ มประพฤติ 6 ว
ฝายกํากับการปกครอง กองคุมประพฤติ สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2541
จําเลยไดรั บมอบหมายจากผู อํา นวยการสถานพินิจ และคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง ใหเปน ตัวแทนรว ม
รับทราบและทํานิติกรรมจดทะเบียนภาระจํายอมที่ดินพรอมกับรวบรวมทรัพยสินในสวนที่ผูเยาวจะไดรับมา
ดําเนินการกํากับการปกครองตามคําสั่งศาล ในคดีหมายเลขแดงที่ 382/2541 ของศาลเยาวชนและครอบครัว
กลาง เรื่อง นาง ร. รองขอทํานิติกรรมจดทะเบียนภาระจํายอมแทนนางสาว ณ. นาย ก. และนางสาว ม. ผูเยาว ซึ่ง
ในการปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายดังกลาว หากมีกรณีรับเงินสวนของผูเยาวมากํากับการดูแล ในทาง
ปฏิบัติจําเลยจะตองนําเอาเงินทั้งหมดที่ไดรับมาเปดบัญชีในนามของผูเยาวในวันที่ไดรับเงินหรืออยางชาใน
วันรุงขึ้นที่เปดทําการ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2541 เวลากลางวัน จําเลยซึ่งมีหนาที่ดังกลาวขางตน ไดรับเงิน
คาตอบแทนภาระจํายอมในสวนของผูเยาวทั้งสามในคดีดังกลาวจากนาง ร. ผูปกครองของผูเยาวทั้งสาม เปน
เงิน 69,185 บาท แลวไมนําไปเปดบัญชีในนามของผูเยาว แตไดนําไปเปนประโยชนสวนตัวของจําเลยนาน
สามเดือนเศษ อันเปนการเบียดบังเอาเงินคาตอบแทนภาระจํายอมของผูเยาวทั้งสามดังกลาวซึ่งจําเลยมีหนาที่
/จัดการ...
-๑๒-

จัดการ รักษาและกํากับดูแลดังกลาวขางตนไปเปนของตนโดยทุจริต อันเปนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบและโดย


ทุจริ ตเพื่ อใหเกิ ดความเสี ยหายแก นาย ป. นาง ร. และผูเยาวทั้งสาม ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 147, 157
จําเลยใหการรับสารภาพ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147,
157 การกระทําของจําเลยเปนกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท ใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 147 ใหลงโทษจําคุก 5 ป ลดโทษกึ่งหนึ่ง คงจําคุก 2 ป 6 เดือน
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิจารณาแลวพิพากษาแกเปนวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 147 เพียงบทเดียว นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ที่จําเลยฎีกาวา พยานเอกสารของโจทกที่อางสงศาล
ประกอบคํ า เบิกความพยานบุ คคลของโจทกนั้น โจทกไมไดสงสําเนาใหแกจําเลย ทําใหจําเลยไมมีโ อกาส
ตรวจสอบได จึงไมอาจนํามาฟงลงโทษจําเลยได เห็นวา คดีนี้จําเลยใหการรับสารภาพตามฟอง และโจทกนํา
พยานบุคคลและพยานเอกสารเขาสืบประกอบคํารับสารภาพของจําเลย สวนจําเลยไมติดใจสืบพยานฝายตน
ดังนั้น จึงเปนดุลพินิจของศาลที่จะนําพยานหลักฐานดังกลาวของโจทกมาวินิจฉัยประกอบคํารับสารภาพของ
จําเลยและฟงลงโทษจําเลยได ฎีกาของจําเลยขอนี้ฟงไมขึ้น
สวนที่จํา เลยฎีกาวา วัน ที่ 23 กันยายน 2541 จําเลยนําเงิน ของผูเยาวทั้งสามพรอมทั้ง
ดอกเบี้ ย ไปเป ด บั ญ ชี เ งิ น ฝากประเภทออมทรัพย ใหแกผูเยาว ทั้งสามที่ธ นาคาร ท. จํากัด (มหาชน) สาขา
กระทรวงกลาโหมแล ว ดั งนั้น ผูเ ยาว ทั้งสามจึงไมไดเปน ผูเสียหายนั้น ศาลฎีกาเห็นวา การที่จําเลยรับ เงิน
คาตอบแทนในสวนของผูเยาวทั้งสามเปนเงิน 69,158 บาท และไดเบียดบังเอาไปใชเปนประโยชนสวนตัว
โดยมิไดดําเนินการนําเงินจํานวนดังกลาวไปฝากธนาคารในนามของผูเยาวทั้งสาม เปนการไมปฏิบัติตนในฐานะ
ผูกํากับการใชอํานาจปกครองในสวนที่เปนทรัพยสินของผูเยาวทั้งสามตามคําสั่งศาลเยาวชนและครอบครัว
กลาง การกระทําของจําเลยซึ่งเปนเจาพนักงานมีหนาที่จัดการหรือรักษาทรัพยใด เบียดบังทรัพยนั้นเปนของตน
โดยทุ จ ริต จึงเป น ความผิ ดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 สําเร็จ ไปแลว แมตอมาในวัน ที่ 23
กันยายน 2541 จําเลยไปเปดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย แกผูเยาวทั้งสาม ที่ธนาคาร ท. จํากัด (มหาชน)
สาขากระทรวงกลาโหมก็ ต าม ก็ เ ป น เพี ย งการพยายามบรรเทาผลรา ยแห งความผิ ดเทา นั้น ไมอ าจทํา ให
การกระทําที่เปนความผิดอาญาสําเร็จไปแลวกลับกลายเปนไมมีความผิดไปได ที่ศาลอุทธรณพิพากษามานั้น
ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของจําเลยทุกขอฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ
นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๑๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 680/2554
ป.อ. ยักยอกทรัพย ลักทรัพย การครอบครองทรัพย (มาตรา ๓๕๒, ๓๓๕, ๘๓)
เงิ น รางวั ล ของหมู บ า นหนองแกที่ ค ณะกรรมการกลางหมู บ า นมี ม ติ ใ ห นํ า ไปฝากไว ที่
ธนาคารกรุงไทย จํากัด โดยใหจําเลยที่ ๑ นาย ท. และนาย ส. เปนผูมีอํานาจลงลายมือชื่อรวมกันเบิกถอน
เงินจากบัญชีเงินฝากเพื่อนํามาใชจายเพื่อประโยชนของหมูบานได เงินที่นําฝากดังกลาวขางตนยอมตกเปน
กรรมสิทธิ์ของธนาคารผูรับฝาก โดยธนาคารมีหนาที่ตองคืนเงินดังกลาวใหแกเจาของบัญชีตามเงื่อนไขที่
ตกลงกัน ให ครบถวน จํ าเลยทั้ งสามไมไ ดรับมอบการครอบครอง และไมมีอํา นาจหนาที่ในการดูแลเงิน
ดังกลาวแตอยางใด ตอมาจําเลยที่ ๑ จําเลยที่ ๒ และจําเลยที่ ๓ ดําเนินการเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลง
นามและเงื่อนไขในการสั่ งจ ายเพื่อเบิ กถอนเงินจากบัญชีเ งิน ฝากของหมูบา นโดยไมมีมติท่ีประชุมของ
คณะกรรมการกลางหมู บา น แล วถอนเงิน ออกจากบัญชีดั งกลา วโดยมิไ ดรับความเห็น ชอบหรือความ
ยินยอมจากคณะกรรมการกลางหมูบานซึ่งเปนผูดูแลบริหารการใชเงิน เปนการกระทําโดยพลการ และเพื่อ
แสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมาย เปนการเอาเงินดังกลาวไปโดยทุจริต เปนความผิดฐาน
รวมกันลักทรัพยของธนาคารกรุงไทย จํากัด

พนักงานอัยการจังหวัดจันทบุรี โจทก
ระหวาง
นายสมนึก วังศิลาบัตร ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จําเลย

โจทกฟองวา ระหวางป 2537 ถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2540 เวลากลางวันและเวลากลางคืน


ต อ เนื่ อ งกั น จํ า เลยทั้ ง สามได รั บ มอบการครอบครองเงิ น 158,000 บาท ของกรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย ผูเสียหาย ซึ่งอยูในความดูแลรักษาของนาย ป. นาย ท. นาย ส. นาย พ. นาย ย. นาย ม.
นาย ร. คณะกรรมการกลางหมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเองบานหนองแก โดยจําเลยทั้งสามมีอํานาจ
หนาที่ในการเบิกจายเงินจํานวนดังกลาว ตอมาวันที่ 18 สิงหาคม 2540 เวลากลางวัน จําเลยทั้งสามรวมกัน
เบียดบังเอาเงินดังกลาวไปโดยทุจริต ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83, 352 ใหจําเลยทั้ง
สามรวมกันคืนหรือใชเงิน 158,000 บาท แกผูเสียหาย
จําเลยทั้งสามใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 352 วรรคแรก จําคุกคนละ 3 ป ใหจําเลยทั้งสามรวมกันคืนหรือใชเงิน 158,000 บาท แกผูเสียหาย
จําเลยทั้งสามอุทธรณ

/ศาลอุทธรณ...
-๑๔-

ศาลอุทธรณภาค 2 พิพากษาแกเปนวา จําเลยทั้งสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา


มาตรา 335 (7) วรรคแรก ประกอบมาตรา 83 สวนกําหนดโทษและนอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษา
ศาลชั้นตน
จําเลยทั้งสามฎีกา โดยผูพิพากษาซึ่งพิจารณาในศาลชั้นตนอนุญาตใหฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว
ข อเท็ จ จริ งที่ คูความมิ ได โ ตเถีย งกัน ในชั้ น นี้ รับ ฟ งเปน ยุ ติไดวา หมูบานหนองแก หมูที่ 7
ตําบลทุงขนาน อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี เปนหมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง ตามพระราชบัญญัติ
จัดระเบียบบริหารหมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง พ.ศ. 2522 ขณะเกิดเหตุมีคณะกรรมการกลาง
หมูบ านรวม 8 คน โดยจํา เลยที่ 1 ซึ่งเปน ผูใหญบาน เปน ประธานคณะกรรมการกลางโดยตําแหนง ในป
2537 หมูบานดังกลาวไดรับเงินรางวัลจากการประกวดหมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง ระดับภาค ซึ่ง
กองทัพภาคที่ 1 จัดขึ้นเปนเงิน 400,000 บาท คณะกรรมการกลางหมูบานและชาวบานประชุมกันแลวมีมติ
ใหหักเงินรางวัลดังกลาวสวนหนึ่งเปนคาใชจายในการพัฒนาหมูบาน สวนที่เหลือใหนําไปเปดบัญชีเงินฝากไวที่
ธนาคาร โดยกําหนดเงื่อนไขวา จําเลยที่ 1 นาย ร. และนาย ท. ลงลายมือชื่อรวมกันมีอํานาจเบิกถอนเงินจาก
ธนาคารได ครั้นวันที่ 25 กรกฎาคม 2540 จําเลยทั้งสามยื่นคําขอแกไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมผูมีอํานาจลงนาม
เบิกถอนเงินและเงื่อนไขการสั่งจายจากเดิม เปนใหจําเลยทั้งสามลงลายมือชื่อรวมกันเบิกถอนเงินจากบัญชีได
โดยมีรายงานการประชุมลงมติ เปนหลักฐาน จากนั้นวันที่ 18 สิงหาคม 2540 จําเลยทั้งสามลงลายมือชื่อเบิก
ถอนตนเงินและดอกเบี้ยจํานวน 158,000 บาท จากธนาคารไป ตอมาคณะกรรมการกลางหมูบานทราบเรื่อง
จึงรองเรียนตอนายอําเภอ นายอําเภอมีคําสั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงแลวมีหนังสือมอบหมายให
นาย ป. ผูใหญบานคนใหมในฐานะประธานคณะกรรมการกลางหมูบานเขารองทุกขตอพนักงานสอบสวน
คดีมีปญหาวา จําเลยทั้งสามขอเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามและเงื่อนไขในการสั่งจายเพื่อ
เบิกถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของหมูบานแลวถอนเงินออกจากบัญชีดังกลาวโดยไมมีอํานาจ และโดยทุจริต
หรือไม เห็นวาโจทกมีพยานเบิกความวาจําเลยทั้งสามไดดําเนินการเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจเบิกถอนเงินจาก
บัญชีเงินฝากของหมูบาน และจําเลยทั้งสามไดรวมกันถอนเงินจํานวน 158,000 บาท ออกจากบัญชีดังกลาว
ไปแลว และปรากฏวาไมมีการประชุมเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามเบิกถอนเงินแตอยางใด ทั้งเงินที่จําเลย
ทั้งสามถอนออกไปก็ไมไดความวานําไปทําอะไร ศาลฎีกาเห็นวา การที่หมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง
บานหนองแกนําเงินที่ไดรับรางวัลไปเปดบัญชีเงินฝากไวที่ธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) สาขาสอยดาว โดยใหจําเลยที่ 1
นาย ร. และนาย ท. เปนผูมีอํานาจลงลายมือชื่อรวมกันเบิกถอนเงินจากธนาคารไดนั้น เปนไปตามมติที่ประชุม
คณะกรรมการกลางหมูบานซึ่งมีหนาที่ในการบริหารหมูบาน ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบบริหารหมูบาน
อาสาพั ฒ นาและป อ งกั น ตนเอง พ.ศ. 2522 การจะเปลี่ ย นแปลงใด ๆ ย อ มต อ งอาศั ย มติ ที่ ป ระชุ ม
คณะกรรมการกลางหมูบานเชนเดียวกัน แตปรากฏวานาย ท. นาย ร. และนาย ส. ซึ่งเปนกรรมการกลางตาง
ยืน ยัน วา ไมมีการประชุ มดั งกล าว แมจํ าเลยทั้งสามอางวาไดมีการประชุมคณะกรรมการกลางและประชุม
ชาวบานเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2540 ตามเอกสารสมุดประชุมประจําเดือน แตเอกสารดังกลาวเปนเอกสาร
ที่จํ า เลยที่ 1 ทํ า ขึ้ น แต ฝ า ยเดี ย ว รายชื่ อชาวบานที่ป รากฏอยูว าเข าร ว มประชุม ไม มีผู ใดลงลายมื อชื่ อไว
โดยเฉพาะรายงานการประชุม ซึ่งเปนเอกสารที่จําเลยทั้งสามนําไปใชแสดงเปนหลักฐานตอธนาคาร ก. จํากัด
(มหาชน) เพื่อเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามเบิกถอนเงินนั้น ลายมือชื่อที่ลงไวในชองผูใหญบานก็แตกตางจาก
ลายมือชื่อของจําเลยที่ 1 ซึ่งเปนผูใหญบาน เชนนี้ รายงานการประชุมดังกลาวจึงมีขอพิรุธหลายประการ และ
/จําเลยที1่ ...
-๑๕-

จําเลยที่ 1 บอกถึงเหตุที่ตองเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามเบิกถอนเงินวาเนื่องจากนาย ร. และนาย ท. หนี


ออกจากหมูบานไป ไมอาจติดตามได แตนาย ร. และนาย ท. ตางเบิกความยืนยันวา ไมเคยยายไปอยูที่อื่นเลย
สนับสนุนใหรับฟงไดวา จําเลยทั้งสามมีเจตนาจะเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามเบิกถอนเงิน เพื่อถอนเงินจาก
บั ญ ชี ข องหมู บ า นโดยทุ จ ริ ต มาแต ต น ข อ เท็ จ จริ ง รั บ ฟ ง ได โ ดยปราศจากข อ สงสั ย ว า จํ า เลยทั้ ง สามขอ
เปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามและเงื่อนไขในการสั่งจายเพื่อเบิกถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของหมูบานแลวถอน
เงินออกจากบัญชีดังกลาวโดยไมมีอํานาจ และเพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับ
ตนเองหรือผูอื่น ที่ศาลลางทั้งสองวินิจฉัยมานั้นศาลฎีกาเห็นพองดวย
ปญหาวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยทั้งสามประการตอมาวา การกระทําของจําเลยทั้งสามเปน
ความผิดฐานลักทรัพยตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 2 หรือไม เห็นวา เงินที่หมูบานอาสาพัฒนาและปองกัน
ตนเองบานหนองแกนําฝากไวที่ธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) ยอมตกเปนกรรมสิทธิ์ของธนาคารผูรับฝาก โดย
ธนาคารมีหนาที่ตองคืนเงินดังกลาวใหแกเจาของบัญชีตามเงื่อนไขที่ตกลงกันใหครบถวนเทานั้น ทั้งจําเลย
ทั้งสามไม ได รับ มอบการครอบครอง และไมมีอํานาจหนาที่ในการดูแลเงินดังกลาวแตอยางใด การรว มกัน
ลงลายมือชื่อเพื่อถอนเงินจากธนาคารของจําเลยทั้งสามเปนไปโดยพลการ มิไดรับความเห็นชอบหรือความยินยอม
จากคณะกรรมการกลางหมูบานซึ่งเปนผูดูแลบริหารการใชเงินนั้นดังวินิจฉัยมาขางตน เมื่อจําเลยทั้งสามเอาเงิน
ดังกลาวไปโดยทุจริต จําเลยทั้งสามยอมมีความผิดฐานรวมกันลักทรัพย ที่ศาลอุทธรณภาค 2 พิพากษาลงโทษ
จํา เลยทั้งสามในความผิ ดดั งกล าวจึ งชอบแลว แตเมื่อเงิน ที่จําเลยทั้งสามรว มกันลักไป เปน กรรมสิทธิ์ของ
ธนาคารผูรั บ ฝากจึงต องใหจํ า เลยทั้งสามรวมกัน คืน เงิน ดังกลาวแกเจาของ และเมื่อวินิจ ฉัย ดังนี้แลว จึงไม
จํา เป นต องวิ นิจ ฉั ย ป ญหาตามฎี กาของจําเลยทั้งสามที่วา การรองทุกขช อบหรือไม เพราะไมทําใหผ ลของ
คําพิพากษาเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความผิดฐานลักทรัพยมิใชความผิดอันยอมความได พนักงานสอบสวนจึง
มีอํานาจสอบสวน และโจทกมีอํานาจฟองคดีนี้
พิพากษาแกเปนวา ทางนําสืบของจําเลยทั้งสามเปนประโยชนแกการพิจารณา มีเหตุบรรเทา
โทษ ลดโทษใหคนละหนึ่งในสามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุกคนละ 2 ป ใหจําเลยทั้งสาม
รวมกันคืนเงิน 158,000 บาท แกเจาของ นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 2
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ

หมายเหตุ
ในความเห็นของผูเขียนเห็นวา ขอเท็จจริงในคดีนี้ฟงเปนยุติไดวาจําเลยทั้งสามรวมกันทําเอกสาร
ปลอมคือเอกสารรายงานการประชุมคณะกรรมการกลางหมูบานและประชุมชาวบานเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม
/2540…
-๑๖-

2540 แลวจําเลยทั้งสามนําเอกสารปลอมดังกลาวไปใชแสดงโดยนําไปหลอกลวงธนาคาร ก. จํากัด โดยแสดง


ขอความอันเปนเท็จและปกปดความจริงซึ่งควรบอกใหแจงวาจําเลยทั้งสามเปนผูมีอํานาจในการลงลายมือชื่อ
ถอนเงิ น ของหมู บ า นหนองแกได ธนาคารหลงเชื่อจึงจายเงิน ใหจําเลยทั้งสามรับ ไป การกระทํานาจะเปน
ความผิดฐานรวมกันปลอมเอกสารและรวมกันฉอโกงธนาคาร แตปรากฏวาธนาคารไมไดรองทุกขใหดําเนินคดี
ในความผิดฐานฉอโกงซึ่งเปนความผิดตอสวนตัวไว พนักงานสอบสวนจึงไมมีอํานาจสอบสวนและพนักงาน
อัยการไมมีอํานาจฟองในขอหา ฉอโกง
สําหรับการพิจารณาวาการกระทําของผูตองหาจะเปนความผิดฐานลักทรัพย หรือยักยอกทรัพยนั้น
ควรจะตองพิ จารณาจากตัว ทรั พย ที่เ อาไปหรือที่เบียดบังเอาไปเปนหลักวา ทรัพยที่ถูกกระทําขณะกระทํา
ความผิดอยูท่ีไหนหรืออยูในความครอบครองของใครเสียกอน ซึ่งขอเท็จจริงในคดีนี้ไดความชัดเจนวาตัวทรัพย
คือเงินของหมูบานไดนําไปฝากไวที่ธนาคารแลวไมไดอยูที่หมูบานหนองแก การกระทําความผิดฐานลักทรัพย
ของหมูบานจึงเปนไปไมไดเพราะไมไดเอาทรัพยของหมูบานไปโดยทุจริต และเงินคือทรัพยของหมูบานที่ฝาก
ธนาคารไปแลวนั้น ก็อยูในความครอบครองของธนาคารโดยมีเงื่อนไขวาธนาคารตองคืนเงินใหหมูบานตาม
จํานวนที่ฝากจะเปนเงินหรือธนบัตรฉบับใดก็ไดไมใชฉบับเดิมก็ได การกระทําของผูตองหาทั้งสามจึงไมเปน
ความผิดฐานยักยอกทรัพยเพราะขณะกระทําความผิดจําเลยทั้งสามไมไดเปนผูครอบครองเงินของหมูบาน
อยางไรก็ตามสําหรับขอเท็จจริงในคดีนี้ควรพิจารณาเลยไปถึงวาผูตองหาทั้งสามกระทําความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 353 ดวยหรือไม
ตามคําพิพากษาศาลฎีกาฉบับนี้ แยกการวินิจฉัยการกระทําของจําเลยทั้งสามที่ไดเงินจากธนาคารไป
เปนสามประเด็น ดังนี้
ประเด็นแรกวินิจฉัยวา การที่จําเลยทั้งสามเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงนามและเงื่อนไขในการสั่งจายเพื่อ
เบิกถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของหมูบานแลวถอนเงินจากบัญชีโดยไมมีอํานาจ เปนการแสวงหาประโยชนที่มิ
ควรไดโดยชอบดวยกฎหมาย ซึ่งหมายถึงเปนการกระทําโดยทุจริต
ประเด็นที่สองวินิจฉัยวา ตัวเงินที่หมูบานหนองแกนําฝากไวที่ธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) ตกเปน
กรรมสิทธิ์ของธนาคารผูรับฝากแลว โดยธนาคารมีหนาที่ตองคืนเงินดังกลาวใหหมูบานตามเงื่อนไขที่ตกลงกันให
ครบถวนเทานั้น จําเลยทั้งสามไมไดรับมอบการครอบครอง และไมมีอํานาจหนาที่ในการดูแลเงินดังกลาวการที่
จําเลยทั้งสามรวมกันลงลายมือชื่อถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของหมูบานเปนไปโดยพลการ เพราะไมไดรับความ
ยินยอมจากคณะกรรมการหมูบาน จึงเปนการเอาไปโดยทุจริต จําเลยทั้งสามมีความผิดฐานรวมกันลักทรัพย
ของธนาคาร
ประเด็นที่สาม วินิจฉัยวาเงินที่จําเลยทั้งสามเอาไปเปนเงินของธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) ไมใชเงิน
ของหมูบานหนองแก ศาลจึงสั่งใหจําเลยทั้งสามคืนเงินใหแกธนาคาร
ขอสังเกต คดีนี้พนักงานอัยการฟองจําเลยทั้งสามวารวมกันยักยอกเงินของหมูบานหนองแก ซึ่งสังกัด
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และมีคําขอใหคืนเงินแกกรมการปกครองซึ่งเปนผูเสียหาย แตทาง
พิจารณาไดความว าจํ าเลยทั้งสามร วมกัน ลักทรัพยเงินของธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) ขอเท็จจริงในทาง
พิจารณาจึงแตกตางกับขอเท็จจริงในฟอง แตศาลฎีกาพิพากษาลงโทษจําเลยทั้งสามตามขอเท็จจริงที่ไดจากการ
พิจารณาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (7) และสั่งใหจําเลยทั้งสามรวมกันคืนเงินใหแกธนาคาร

/เจาของเงิน...
-๑๗-

เจาของเงินซึ่งเปนการพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคสาม

ธวัชชัย ชํานาญหลอ
-๑๘-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1371/2554
ป.พ.พ. สาธารณสมบัติของแผนดิน (มาตรา 1304 (2))

ข อ เท็ จ จริ ง ได ค วามจากนาย ด. บุ ต รนาย อ. ซึ่ ง ให ถ อ ยคํ า ไว ว า นาย อ. ได ทํ า ถนน
สุขุมวิท 3 (ซอยนานาเหนือ) โดยขุดคลองนําดินมาถมเปนถนนเพื่อระบายน้ําลงสูคลองแสนแสบ ตอมา
ได ม อบที่ ดิ น และคลองดั ง กล า วให แ ก เ ทศบาลนครกรุ ง เทพในขณะนั้ น โดยนาย ด. นํ า โฉนดที่ ดิ น
ดั ง กล า วไปมอบให แ ก เ จ า หน า ที่ ข องเทศบาลนครกรุ ง เทพ ที่ ดิ น และคลองดั ง กล า วจึ ง ตกแก
เทศบาลนครกรุ ง เทพ จึ ง เชื่ อ ได ว า ห า ง น. โดยนาย อ. เป น ผู ทํ า ถนนโดยวิ ธี ก ารดั ง กล า วแต ป จ จุ บั น
คู น้ํ า ที่ น าย อ. ขุ ด และนํ า ดิ น มาถมทํ า ถนนสุ ขุ ม วิ ท 3 (ซอยนานาเหนื อ ) เป น เพี ย งคู ร ะบายน้ํ า ลงสู
คลองแสนแสบเท า นั้ น ถื อได วาห า ง น. เจา ของกรรมสิทธิ์เ ดิมมีเจตนาอุทิศใหท่ีดิน โฉนดเลขที่ 6299
ที่ เ หลื อ จากการแบ ง แยกและคู น้ํ า ยาวตลอดแนวรวมทั้ ง ที่ ดิ น พิ พ าทด ว ยซึ่ ง จดถนนสุ ขุ ม วิ ท 3
(ซอยนานาเหนือ) ทางด านทิ ศตะวัน ตกเปน ทางสาธารณประโยชนและคูน้ําสาธารณประโยชนเ พื่อใช
สั ญ จรไปมาและระบายน้ํ า ลงสู ค ลองแสนแสบพร อ มกั น อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น สํ า หรั บ
พลเมื อ งใช ร ว มกั น โดยมี ผ ลทั น ที ที่ อุ ทิ ศ ให ตั้ ง แต ก อ นแบ ง ขายที่ ดิ น ให แ ก ผู อื่ น โดยไม ต อ งคํ า นึ ง ว า
ในรูปแผนที่จะตองระบุวา ทางดานทิศตะวันตกเปนคูน้ําดวยหรือไม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 1304 (2) แมโจทกทั้งสองจะไดรับโอนที่ดินโฉนดเลขที่ 6303 ซึ่งรวมที่ดินพิพาทโดยการซื้อ
แตก็เปนการรับโอนที่ดินพิพาทมาในภายหลัง โจทกทั้งสองก็ไมไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท
________________________________________
บริษัท ยี.เอ็ม.คอมเพล็กซ จํากัด ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน โจทก
ระหวาง

กรุงเทพมหานคร จําเลย

โจทกทั้งสองฟองวา โจทกทั้งสองเปนเจาของที่ดินโฉนดเลขที่ 6303 ตําบลคลองตัน (ที่ 11


พระโขนงฝ ง เหนื อ ) อํ า เภอพระโขนง กรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง มี แ นวเขตด า นทิ ศ ตะวั น ออกจดทาง
สาธารณประโยชน ซอยสุ ขุมวิ ท 3 (ซอยนานาเหนือ) เมื่อประมาณเดือนกรกฎาคม 2537 จําเลยบุกรุ ก
โดยจําเลยรื้อรั้วไมและสังกะสีออก แลวขุดดินวางทอระบายน้ําเพื่อขยายซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ) เปน
ถนนคอนกรี ต เข า มาในที่ ดิ น ของโจทก ทั้ งสองตลอดแนว เนื้อ ที่ป ระมาณ 90 ตารางวา โจทกทั้ งสองหา ม
จําเลยกระทําการดังกลาว และใหจําเลยคืนที่ดินในสภาพเรียบรอย แตจําเลยเพิกเฉยอีกทั้งประกาศใหที่ดิน
เป น ทางสาธารณประโยชน ซ อยสุ ขุ ม วิ ท 3 (ซอยนานาเหนื อ ) ทั้ ง หมด เป น เหตุ ใ ห โ จทก ทั้ ง สองได รั บ
/ความเสี ย หาย...
-๑๙-

ความเสี ย หาย ขอให บั ง คั บ จํา เลยส ง มอบที่ ดิ น ในส ว นที่ จํา เลยเข า ยึ ด ครองคื น ให แ ก โ จทก ทั้ ง สอง
ในสภาพเรียบรอย หากไมสามารถสงมอบคืนไดใหใชราคาแทนเปนเงินจํานวน 54,000,000 บาท พรอมทั้ง
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป นับแตวันฟองจนกวาจะชําระเสร็จและชําระคาเสียหายเนื่องจากขาดประโยชน
เดือนละ 300,000 บาท
จําเลยใหการและฟองแยง ขอใหยกฟองและพิพากษาบังคับโจทกท้ังสองดําเนินการรังวัด
แบงแยกโฉนดที่ดินเลขที่ 6303 ในสวนที่พิพาทออกเปนที่สาธารณประโยชน หากไมปฏิบัติตามใหถือเอา
คําพิพากษาของศาลแทนการแสดงเจตนาของโจทกทั้งสอง
โจทกทั้งสองใหการแกฟองแยง ขอใหยกฟอง
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิพ ากษายกฟอ ง และใหย กคํ า ขอ (ที่ ถูก ยกคํ าขอตามฟ อ งแย ง
ของจํ า เลย) ที่ ใ ห โ จทก ท้ั ง สองนํ า ที่ ดิ น โฉนดเลขที่ 6303 ไปทํ า การรั ง วั ด แบ ง แยกที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง เป น
สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ออกจากโฉนดที่ ดิ น ดั ง กล า วหรื อ ให ถื อ เอาคํ า พิ พ ากษาแทนการแสดงเจตนา
คาฤชาธรรมเนียมและคาทนายความใหเปนพับ
โจทกทั้งสองอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณใหเปนพับ
โจทกทั้งสองฎีกา
ศาลฎี ก าพิ เ คราะห แ ล ว ข อเท็ จ จริ ง เบื้ อ งต น ฟ ง ได ว า ที่ ดิ น แปลงใหญ โ ฉนดเลขที่ 6299
ตํา บลคลองตั น (ที่ 11 พระโขนงฝงเหนือ) อําเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (นครเขื่อนขัน ธ) เดิมมี
หาง น. เปนเจาของกรรมสิทธิ์ ตอมาวันที่ 21 กรกฎาคม 2470 หาง น. จดทะเบียนแยงแยกที่ดินในนามเดิม
ออกไปรวม 7 แปลง พรอมจดทะเบียนหักเปนที่สาธารณะประโยชนดวย สวนที่ดินโฉนดเลขที่ 6299 เฉพาะ
ส ว นที่ เ หลื อ จากการแบ ง แยกดั ง กล า วมีเ นื้ อ ที่ 5 ไร 18 ตารางวา ห า ง น. จดทะเบีย นขายให แ ก น าย อ.
วั น ที่ 30 กั น ยายน 2486 นาย อ. จดทะเบี ย นใหที่ ดิน เฉพาะสว นนี้ทั้ งหมดเป น ที่ส าธารณประโยชน ซึ่ ง
ป จ จุ บั น ก็ คื อ ถนนสุ ขุ ม วิ ท 3 (ซอยนานาเหนื อ ) โดยมี ค วามยาวตลอดแนวเชื่ อ มตั้ ง แต หั ว ถนนสุ ขุ ม วิ ท
ไปจนจดคลองแสนแสบ และมี คู น้ํ า ผ า นที่ ดิ น ทุ ก แปลงที่ อ ยู ติ ด กั บ ถนนสุ ขุ ม วิ ท 3 (ซอยนานาเหนื อ )
ทางดานทิศตะวันตก ที่ดินพิพาทเนื้อที่ 87 ตารางวาเศษ ซึ่งเปนคูน้ําดังกลาวดวยเปนสวนหนึ่งของที่ดินโฉนด
เลขที่ 6303 ตําบลคลองตัน (ที่ 11 พระโขนงฝงเหนือ) อําเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (นครเขื่อนขันธ)
โดยห า ง น. จดทะเบี ย นขายให แ ก น าย พ. เมื่ อ วั น ที่ 4 กรกฎาคม 2472 หลั ง จากนั้ น โจทก ทั้ ง สองเป น
เจ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ร วมในที่ ดิ น โฉนดเลขที่ 6303 โดยการซื้ อ มาจากเรื อ อากาศเอก ว. เมื่ อ วั น ที่
23 และ 26 พฤศจิกายน 2533 ตามลําดับ ปญหาตองวินิจฉัยตามฎีกาโจทกทั้งสองมีวา โจทกทั้งสองเปน
เจ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ร วมในที่ ดิ น พิ พ าทหรื อ ไม โดยโจทก ทั้ ง สองฎี ก าว า ที่ ดิ น พิ พ าทที่ เ ป น คู ร ะบายน้ํ า มิ ใ ช
สาธารณสมบัติ ของแผ นดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1304 (2) เพราะเจาของที่ดิน
ที่ อ ยู ติ ด กั บ ถนนสุ ขุ ม วิ ท 3 (เดิ ม ซอยนานาเหนื อ ) ขุ ด คู น้ํ า เป น แนวตลอดเพื่ อ นํ า น้ํ า จากคลองแสนแสบ
มาใช เ นื่ อ งจากไม มี น้ํ า ประปานั้ น เห็ น ว า นอกจากโจทก ทั้ ง สองไม ไ ด นํ า สื บ ให แ จ ง ชั ด ว า เจ า ของที่ ดิ น
แตละแปลงผูใดเปนผูขุดคูน้ําดังกลาวแตเปนการกลาวอางขึ้นลอย ๆ โดยไมมีเหตุผลอันควรสนับ สนุน แลว

/หากขอเท็จจริง....
-๒๐-

หากขอเท็จจริงเปนดังที่โจทกทั้งสองวาเหตุที่ขุดคูน้ําดังกลาวก็เพื่อนําน้ําจากคลองแสนแสบมาใชเนื่องจาก
ไม มีน้ํา ประปา แต ป รากฏว า เจ า ของที่ ดิน ดานทิศตะวัน ออกของถนนสุขุมวิท 3 (ซอยนานาเหนือ) มิได
ขุดคูน้ําดวยแตอยางใด ขออางของโจทกทั้งสองจึงขัดตอเหตุผล ไมมีน้ําหนักใหรับฟง ขอเท็จจริงไดความจาก
สํ า เนาโฉนดที่ ดิ น เลขที่ 6299 และสํ า เนาโฉนดที่ ดิ น เลขที่ 6303 ว า เมื่ อ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2470
ขณะที่ ห า ง น. เจ า ของกรรมสิ ท ธิ์ เ ดิ ม จดทะเบี ย นแบ ง แยกที่ ดิ น แปลงใหญ โฉนดเลขที่ 6299 ออกเป น
แปลงย อ ยรวม 7 แปลง และจดทะเบี ย นหั ก เป น ถนนสาธารณประโยชน บ ริ เ วณหั ว มุ ม ถนนสุ ขุ ม วิ ท นั้ น
ได กั น ที่ ดิ น โฉนดเลขที่ 6299 คงเหลื อ จากการแบ ง แยกให เ ป น ถนนเพื่ อ ให เ จ า ของที่ ดิ น แต ล ะแปลงที่
แบ ง แยกออกสู ถ นนสุ ขุ ม วิ ท ได แต ก ารทํ า ถนนย อ มต อ งใช ดิ น มาถม มิ ใ ช กั น ที่ ดิ น ไว เ พี ย งอย า งเดี ย ว เมื่ อ
นาย อ. เป น ผู จ ดทะเบี ย นให ถนนสุ ขุ มวิ ท 3 (เดิ มซอยนานาเหนือ) เปน ทางสาธารณประโยชน เมื่อ วัน ที่
30 กั น ยายน 2486 ข อ เท็ จ จริ ง ได ค วามจากนาย ด. บุ ต รนาย อ. ซึ่ ง ให ถ อ ยคํ า ไว ว า นาย อ. ได ทํ า
ถนนสุขุมวิท 3 (ซอยนานาเหนือ) โดยขุดคลองนําดินมาถมเปนถนนเพื่อระบายน้ําลงสูคลองแสนแสบ ตอมา
ไดมอบที่ดินและคลองดังกลาวใหแกเ ทศบาลนครกรุงเทพในขณะนั้น โดยนาย ด. นําโฉนดที่ดิน ดังกลาว
ไปมอบใหแกเจาหนาที่ของเทศบาลนครกรุงเทพ ที่ดินและคลองดังกลาวจึงตกแกเทศบาลนครกรุงเทพ โดย
จํ า เลยมี พั น ตํ า รวจเอก ป. เป น พยานเบิ ก ความยื น ยั น ว า พยานได ส อบปากคํ า นาย ด. ไว จ ริ ง แม ต าม
เอกสารหมาย ล.9 จะระบุ ว า นาง จ. ไดบ อกเลาไววาหาง น. รว มกับ นาย พ. ขุดคู น้ําโดยมีวัตถุป ระสงค
เพื่ อ นํ า ดิ น มาถมในถนน การขุ ด ทํ า เป น คลองใช ใ นการสั ญ จรและเพื่ อ ขายที่ ดิ น ได ส ะดวกก็ ต าม แต ต าม
เอกสารหมาย ล.7 ปรากฏวาหลังจากนาย พ. ซื้อที่ดินแปลงใหญโฉนดเลขที่ 6303 ตําบลคลองตัน (ที่ 11
พระโขนงฝงเหนือ) อํ าเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (นครเขื่อนขันธ) จากหาง น. และนาย พ. ไมได
ขายที่ดินดังกลาวเพื่อคากําไรใหแกผูใดคงมีหาง น. เทานั้นที่ขายที่ดินใหแกผูอื่น การทําถนนโดยการขุดดิน
มาถมเปนถนนและเปนคลองใชสัญจรไปมาไดดวยยอมทําใหหาง น. ขายที่ดินไดสะดวกเพียงฝายเดียวมากกวา
ประกอบกั บ ห า ง น. ได กั น เป น ถนนดั ง กล า วไว ตั้ ง แต ก อ นแบ ง ขายที่ ดิ น แล ว และยั ง ใช ชื่ อ และนามสกุ ล
ของนาย อ. เปนชื่อหา งจึงเปนขอบงชี้วา นาย อ. เปนเจาของหาง น. แตหาง น. กระทําการโดยลําพังมิได
ตองมีผู กระทํ า การแทนซึ่ งก็ คือนาย อ. นั่นเอง อัน เปน การสอดคลองกับคําใหการของนาย ด. ดังกลาวซึ่ง
ให การไปตามความจริ งวา นาย อ. เป นผูขุดคูร ะบายน้ําแลว นําดิน มาถมทําถนน จึงเชื่อไดวาหาง น. โดย
นาย อ. เป น ผู ทํ า ถนนโดยวิ ธี การดั งกล าวแตปจ จุบัน คูน้ํ าที่น าย อ. ขุดและนําดิ น มาถมทํ าถนนสุ ขุมวิท 3
(ซอยนานาเหนือ) เป นเพีย งคู ระบายน้ํ าลงสูคลองแสนแสบเทานั้น ถือไดวาหาง น. เจาของกรรมสิทธิ์เดิม
มีเจตนาอุทิศใหที่ดินโฉนดเลขที่ 6299 ที่เหลือจากการแบงแยกและคูน้ํายาวตลอดแนวรวมทั้งที่ดินพิพาทดวย
ซึ่ ง จดถนนสุ ขุ ม วิ ท 3 (ซอยนานาเหนื อ ) ทางด า นทิ ศ ตะวั น ตกเป น ทางสาธารณประโยชน แ ละคู น้ํ า
สาธารณประโยชน เ พื่ อ ใช สั ญ จรไปมาและระบายน้ํ าลงสู คลองแสนแสบพร อมกัน อัน เปน สาธารณสมบั ติ
ของแผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ร ว มกั น โดยมี ผ ลทั น ที ที่ อุ ทิ ศ ให ตั้ ง แต ก อ นแบ ง ขายที่ ดิ น ให แ ก ผู อื่ น โดย
ไมต องคํา นึงวาในรู ปแผนที่จะตองระบุ วาทางดานทิศตะวัน ตกเปนคูนํ้าดวยหรือไม ตามประมวลกฎหมาย
แพ ง และพาณิ ช ย ม าตรา 1304 (2) แม โ จทก ทั้ ง สองจะได รั บ โอนที่ ดิ น โฉนดเลขที่ 6303 ซึ่ ง รวมที่ ดิ น
พิพาทโดยการซื้อ แตก็เปนการรับโอนที่ดินพิพาทมาในภายหลัง โจทกทั้งสองก็ไมไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท
/สวนที่โจทก...
-๒๑-

สวนที่โจทกทั้งสองฎีกาเรื่องจําเลยไมไดไประวังแนวเขตคูน้ําก็อาจเปนเพราะจําเลยยังไมรูเรื่องแนชัดก็ได
ที่ศาลลางทั้งสองพิพากษายกฟองโจทกทั้งสอง ศาลฎีกาเห็นพองดวยในผล ฎีกาของโจทกทั้งสองฟงไมขึ้น
พิพากษายืน ใหโจทกทั้งสองรวมกันใชคาทนายความชั้นฎีกา 60,000 บาท แทนจําเลย

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๒๒-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1513/2554
ป.อ. ตัวการ อั้งยี่หรือซองโจร ฉอโกงประชาชน (มาตรา 83, 209, 210, 343)

เมื่ อ พิ จ ารณาจากคํ า บรรยายของจํ า เลยที่ 1 ก็ เ ป น การบรรยายไปตามหลั ก การของ


หนังสือโครงรางแหงหลักการ ระดับ 4 ดังกลาวในลักษณะเปนนามธรรมตามความเชื่อของลัทธิมูนนิซึ่ม
เทานั้น ไมไดมีลักษณะที่จะตองการใหราชอาณาจักรไทยตกไปอยูใตอํานาจอธิปไตยของประเทศเกาหลี
ในลักษณะเปนรูปธรรมแตอยางใด พยานหลักฐานของโจทกที่นําสืบมาจึงยังรับฟงไมไดวาจําเลยทั้งแปด
รวมกันกระทําความผิดฐานกระทําการใด ๆ เพื่อใหราชอาณาจักรหรือสวนหนึ่งสวนใดของราชอาณาจักร
ตกไปอยูใตอํานาจอธิปไตยของรัฐตางประเทศ หรือเพื่อใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป
การที่ ลั ท ธิ มู น นิ ซึ่ ม สอนว า บิ ด ามารดาผู ใ ห กํ า เนิ ด เป น บิ ด ามารดาฝา ยเนื้ อ หนั ง ส ว น
นาย ซ. และนาง ฮ. เปนบิดามารดาที่แทจริงในฝายวิญญาณนั้น เปนเพียงการเปรียบเทียบวาบิดามารดา
ผูใ ห กํ า เนิด ยั งเป น ผู ตกในบาปอยู จนกวาจะไดรับการชํา ระบาปและรับพร ทั้งเปน การสอนใหผูที่เ ปน
สมาชิกเกิดความศรัทธาเชื่อวาเจาของลัทธิเปนผูบริสุทธิ์ซึ่งหลุดพนจากบาปแลวเทานั้น ซึ่งเปนความเชื่อ
ทางความคิดทางดานศาสนาของลัทธิดังกลาว มิไดหมายความวาบิดามารดาผูใหกําเนิดมิใชบิดามารดา
ที่ แ ท จ ริ ง ในทางโลกแต อ ย า งใด และการทํ า ให ป รากฏแก ป ระชาชนด ว ยวาจา หนั ง สื อ หรื อ
การสอนดั ง กล า ว ยั ง อยู ใ นกรอบขอบเขตเจตนารมณ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย
ทั้ งฉบั บ พุ ทธศั ก ราช 2540 และพุ ทธศักราช 2550 ที่มีหลักการรับรองคุมครองสิทธิเ สรีภ าพในการ
นั บ ถื อศาสนา นิ ก ายศาสนาหรื อ ลั ท ธิ นิย มในทางศาสนาซึ่ง รวมทั้ งสอนเผยแพร ศ าสนาหรือ ลั ทธิ ด ว ย
และรั บรองคุ มครองสิ ทธิ เ สรี ภ าพในการแสดงความคิด เห็น การพูด การเขี ยน การพิมพ การโฆษณา
ที่ไมขัดตอกฎหมายอื่นดวย
ข อ เท็ จ จริ ง รั บ ฟ ง ได ว า จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกจั ด ตั้ ง ศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ความสามั ค คี
โดยเป ด เผย มี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ช อบด ว ยกฎหมาย มี ที่ ทํ า การและสาขาที่ แ น น อน มิ ไ ด มี ก ารปกป ด
วิ ธี ดํ า เนิ น การ การหาสมาชิ ก และอบรมเผยแพรแ นวคํา สอนของลัทธิ มูน นิซึ่ มก็กระทํา โดยเปด เผยซึ่ ง
ไมเปนความผิดฐานรวมกันกระทําการใด ๆ เพื่อใหราชอาณาจักรหรือสวนหนึ่งสวนใดของราชอาณาจักร
ตกไปอยูใตอํา นาจอธิปไตยของรั ฐตางประเทศ หรือเพื่อใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป ไมเปนความผิด
ฐานรวมกัน กระทํ า ให ปรากฏแก ประชาชนดวยวาจา หนังสือ หรือวิธีการอื่น ใดอันมิใ ชเปน การกระทํา
ภายในความมุงหมายแห งรัฐธรรมนูญ หรือมิใชเ พื่อแสดงความคิด เห็น หรือติชมโดยสุจริต เพื่อใหเกิด
ความปน ปวนหรือกระด างกระเดื่ องในหมูประชาชนถึงขนาดที่จะกอความไมสงบขึ้น ในราชอาญาจักร
และไม เ ป น ความผิ ด ฐานร ว มกั น ฉ อ โกงประชาชน การกระทํ า ของจํ า เลยทั้ ง แปดจึ ง ไม เ ป น ความผิ ด
ฐานเปนอั้งยี่หรือเปนซองโจร
_______________________________________

/พนักงานอัยการ...
-๒๓-

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก

ระหวาง นายโกวิท ตาละโสภณ โจทกรว ม

นายเล็ก ทวีเติมสกุล ที่ 1 กับพวกรวม 8 คน จําเลย

โ จ ท ก ฟ อ ง แ ล ะ แ ก ไ ข ฟ อ ง ว า เ มื่ อ ร ะ ห ว า ง วั น ที่ 1 ม ก ร า ค ม 2 5 2 8 ถึ ง วั น ที่


26 มิ ถุน ายน 2534 ทั้งเวลากลางวั น และเวลากลางคืน ติดต อกัน จํา เลยทั้ง แปดกับ พวกร ว มกั น กระทํ า
ความผิดตอกฎหมายหลายกรรมตางกัน กลาวคือ จําเลยทั้งแปดกับพวกมีเจตนาเพื่อใหราชอาณาจักรไทย
ตกไปอยูใตอํานาจอธิปไตยของรัฐตางประเทศ หรือเจตนาเพื่อใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป และจําเลยทั้งแปด
กับพวกมีเจตนาเพื่อใหเกิดความปนปวนหรือกระดางกระเดื่องในหมูประชาชนถึงขนาดที่จะกอความไมสงบขึ้น
ในราชอาณาจั กร โดยจํ า เลยทั้ งแปดกั บ พวกรว มกัน จัด หาและชักชวนประชาชนทั่ว ไปใหเป น สมาชิกของ
ศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ความสามั ค คี มู ล นิ ธิ วั ฒ นธรรมแห ง ความสามั ค คี และสมาคมศู น ย วั ฒ นธรรม
แห งความสามั ค คี แล ว จํ า เลยทั้ งแปดกั บ พวกร ว มกั น เผยแพรห ลั กคํ าสอนลั ท ธิมู น นิซึ่ มหรื อลั ท ธิห ลั กการ
แห ง การรวมกั น เป น หนึ่ ง ให แ ก ส มาชิ ก ดั ง กล า ว อั น เป น หลั ก คํ า สอนของนาย ซ. ซึ่ ง ยั ง ไม ไ ด ตั ว มาฟ อ ง
โดยลัทธิดังกลาวมีหลักการสําคัญวาจะรวมรัฐทุกรัฐในโลกนี้ รวมทั้งราชอาณาจักรไทยเขาดวยกันเปนรัฐเดียว
โดยมี ป ระเทศเกาหลี เ ป น ศู น ย ก ลาง ใช ภ าษาเกาหลี เ ป น ภาษาราชการ มี น าย ซ. เป น ประมุ ข ของรั ฐ
ซึ่ ง หมายความว า รั ฐ ทุ ก รั ฐ ในโลกรวมทั้ ง ราชอาณาจั ก รไทยต อ งสิ้ น เอกราชอธิ ป ไตย การกระทํ า ของ
จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกดั ง กล า วเป น การขัดต อกฎหมาย ขัด ตอรัฐ ธรรมนูญ ทุกฉบั บ ธรรมนูญการปกครอง
ราชอาณาจั ก ร พ.ศ. 2534 และขั ด ต อ ความสงบเรี ย บร อ ยและศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั น ดี ข องประชาชน
นอกจากนี้จําเลยทั้งแปดกับพวกโดยทุ จริตรว มกันฉอโกงหลอกลวงประชาชนทั่วไปดวยการแสดงขอความ
อั น เป น เท็ จ หรื อปกป ด ข อความจริ ง ซึ่ งควรบอกให แจ ง แก ป ระชาชนทั่ว ไปว า จํ า เลยทั้ง แปดกั บ พวกเป น
สมาชิกและเปนผูบริหารศูนยวัฒนธรรมแหงความสามัคคี โดยศูนยดังกลาวเปนศูนยสําหรับสอนวิชาการตาง ๆ
สําหรับการสมัครเปนสมาชิกของศูนย และการสมัครเรียนวิชาการตาง ๆ จําเลยทั้งแปดกับพวกกําหนดให
ผูสมัครจะตองชํ าระเงิน เปนคา สมัครเปนสมาชิกของศูนย และคาเรีย นวิชาการตาง ๆ ใหแกจําเลยทั้งแปด
กับพวกตามที่จําเลยทั้งแปดกับพวกกําหนด อันเปนความเท็จ ความจริงแลวจําเลยทั้งแปดกับพวกไมมีเจตนา
ที่ จ ะสอนวิ ช าการต า ง ๆ ให แ ก ผู ส มั ค รตามที่ จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกประกาศโฆษณาดั ง กล า วแต อ ย า งใด
เพี ย งแต จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกมี เ จตนาที่ จ ะได ไ ปซึ่ งทรั พ ย สิ น คื อ เงิ น ค าสมั ค รเป น สมาชิ ก ของศู น ย และ
เงิ น ค า สมั ค รเรี ย นวิ ช าการต า ง ๆ จากนั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา และประชาชนทั่ ว ไปเท า นั้ น และ
โดยการหลอกลวงดั ง กล า วนั้ น ทํ า ให จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกได ซึ่ ง เงิ น รวมทั้ ง สิ้ น 491,434 บาท จาก
ผูเสียหายและประชาชนทั่วไป ผูถูกหลอกลวงไปเปนประโยชนของจําเลยทั้งแปดกับพวก จําเลยทั้งแปดกับพวก
/ใชสมาชิก...
-๒๔-

ใชสมาชิกศูนยวัฒนธรรมแหงความสามัคคีที่หลงเชื่อสมัครเปนสมาชิกดังกลาว ไปหลอกลวงแกประชาชนทั่วไป
ให ซื้ อสิ น ค า ที่ ส มาชิ ก ศู น ย วั ฒ นธรรมแหง ความสามัค คีนํ าไปจําหนา ยในราคาสู ง โดยอางแกป ระชาชนว า
จะนํ า เงิ น ที่ ไ ด จ ากการขายสิ น ค า ดั ง กล า วไปช ว ยเหลื อ โครงการอาหารกลางวั น สํ า หรั บ เด็ ก ยากจน ฯลฯ
อันเปนความเท็จ หรือปกปดขอความจริงที่ควรบอกใหแจงแกประชาชนทั่วไป ซึ่งความจริงแลวจําเลยทั้งแปด
กั บ พวกมิ ไ ด มี เ จตนานํ า เงิ น ที่ ไ ด จ ากการขายสิ น ค า ไปช ว ยเหลื อ โครงการดั ง กล า วแต อ ย า งใด
ด ว ยการหลอกลวงดั ง กล า วทํ า ให ป ระชาชนทั่ ว ไปรวมทั้ ง ผู เ สี ย หายหลงเชื่ อ ว า เป น ความจริ ง และ
โดยการหลอกลวงดั ง กล า วนั้ น ทํ า ให จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกได ซึ่ ง เงิ น ทั้ ง สิ้ น 7,148,015.75 บาท จาก
ผูเสียหายและประชาชนทั่วไปผูถูกหลอกลวงไปเปนประโยชนของจําเลยทั้งแปดกับพวก ขอใหลงโทษตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 5, 6, 7, 83, 90, 91, 116, 119, 209, 210, 211, 212, 341, 343
และขอให จํ า เลยทั้ ง แปดร ว มกั น คื น เงิ น ให แ ก ผู เ สี ย หายและประชาชนทั่ ว ไปรวมเป น เงิ น ทั้ ง สิ้ น
7,639,449.75 บาท
จําเลยทั้งแปดใหการปฏิเสธ
ระหวางพิจารณา นาย ก. ผูเสียหายที่ 2 ยื่นคํารองขอเขารวมเปนโจทก ศาลชั้นตนอนุญาต
ในข อ หาร ว มกั น ฉ อ โกงประชาชนเกี่ ย วกั บ ค า สมั ค รสมาชิ ก ของศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ความสามั ค คี แ ละ
คาสมัครเรียนวิชาการตาง ๆ ตามฟอง เฉพาะที่ผูเสียหายที่ 2 ไดรับความเสียหาย
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษายกฟอง
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน
โจทกฎีกา โดยอัยการสูงสุดรับรองใหฎีกา
ศาลฎี ก าพิ เ คราะห แ ล ว เห็ น ว า หลั ก คํ า สอนของนาย ซ. ได ค วามว า ลั ท ธิ มู น นิ ซึ่ ม หรื อ
ลั ท ธิ ห ลั ก การแห ง การรวมกั น เป น หนึ่ ง มี พื้ น ฐานมาจากศาสนาคริ ส ต กล า วถึ ง การสร า งโลกของพระเจ า
ด ว ยความรั ก ปรารถนาให ม นุ ษ ย แ ละสรรพสิ่ง ทั้ง มวลมีชี วิต อยู ในความสุข และความกลมกลื น แต มนุ ษ ย
ชายหญิงคูแรกของโลกที่พระเจาสรางขึ้นไดกระทําผิดอันเปนบาป ทําใหมนุษยที่สืบทอดตอมาตกอยูในความผิด
อั น เป น บาปไปด ว ย พระเจ า จึ ง ส ง พระเยซู ค ริ ส ต เ ป น พระผู ม าโปรดเพื่ อ ช ว ยให ม นุ ษ ย ร อดพ น จากบาป
จนพระเยซู ถู ก ตรึ ง บนไม ก างเขน แต ภ ารกิ จ ของพระเยซู ยั ง ไม สํ า เร็ จ พระเจ า จึ ง เลื อ กนาย ซ. ให เ ป น
พระผู มาโปรดเปน ครั้ งที่ส องเพื่ อช วยใหมนุษยร อดพนจากการตกสูบ าปที่ป ระเทศเกาหลี โดยหนทางที่จ ะ
รอดพนจากการตกสูบาปของมนุษยอยูที่พรสามประการคือ การสรางบุคคลอุดมคติ การสรางครอบครัวอุดมคติ
และการปกครองเหนือสรรพสิ่ง เมื่อพรสามประการบรรลุผลก็จะถือวาเปนโลกแหงอุดมคติคือ พระเจากับ
มนุษย มนุษยกับเอกภพ อยูกันดวยความกลมกลืนอยางบริบูรณ ถือเปนอาณาจักรสวรรคบนโลก เปนลัทธิ
ที่มีแนวความคิ ด ความเชื่อทางดา นศาสนาอีกแขนงหนึ่งแตกตางออกไปจากหลักคําสอนของศาสนาคริส ต
นิกายอื่น โดยนาย ซ. เปนผูคนพบ ซึ่งเปนแนวความคิดในลักษณะนามธรรม เพื่อตองการรวมความรักสามัคคี
และความสงบสุขของมนุษยทางดานจิตวิญญาณใหเปนหนึ่งเดียว ไมไดกลาวถึงการยึดอํานาจรวมการเมือง
การปกครองโดยเจตนาจะล มล า งการปกครองหรือสถาบัน กษัตริยในลักษณะเปน รูป ธรรมแตอยางใด

/ซึ่งนาย ธ...
-๒๕-

ซึ่งนาย ธ. และนาย ช. อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหง ซึ่งเคยเขารวมประชุมนักศึกษานานาชาติหรือ


พีดับเบิลยูพีเอ ซึ่งเปนองคกรหนึ่งของลัทธิมูนนิซึ่ม ตางเบิกความตอบคําถามคานของทนายจําเลยที่ 1 และ
ที่ 3 ในทํานองเดียวกันวา ลัทธิมูนนิซึ่มเปนลัทธิความเชื่อหนึ่ง เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติไมนาจะเกี่ยวของกับ
การเมืองการปกครอง ลัทธิหลักการแหงการรวมกันเปนหนึ่งนาจะเปนการรวมกันเปนหนึ่งทางดานศาสนจักร
มากกว า ทางด า นอาณาจั ก ร อี ก ทั้ ง นาย ว. และนางสาว ภ. อาจารย ภ าควิ ช าปรั ช ญา คณะศิ ล ปศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งวิเคราะหหลักคําสอนของนาย ซ. ตางเบิกความตอบคําถามคานทนายจําเลยที่ 2
และที่ 6 ในทํานองเดียวกันวา หลักคําสอนของลัทธิมูนนิซึ่มไมไดพูดถึงการลมลางการปกครองแตอยางใด
การรวมกันเปนหนึ่งเดียวเปนการรวมความเชื่อ ไมใชการรวมดินแดน และเมื่อพิจารณาจากคําบรรยายของ
จําเลยที่ 1 ก็เปนการบรรยายไปตามหลักการของหนังสือโครงรางแหงหลักการ ระดับ 4 ดังกลาวในลักษณะ
เปนนามธรรมตามความเชื่อของลัทธิมูนนิซึ่มเทานั้น ไมไดมีลักษณะที่จะตองการใหราชอาณาจักรไทยตกไปอยู
ใตอํานาจอธิปไตยของประเทศเกาหลีในลักษณะเปนรูปธรรมแตอยางใด ประกอบกับนาย ส. นาย ค. นาย ผ.
นาย ป. และนาย น. เบิกความตอบคําถามคานของทนายจําเลยที่ 1 และที่ 3 ในทํานองเดียวกันวา ศูนยไมได
สอนไมใหเคารพบิดามารดา ไมไดหามนับถือศาสนาพุทธ คําสอนที่ไดรับในการอบรมเปนคําสอนเกี่ยวกับการ
รวมจิ ต ใจ ไม มี ก ารรวมการปกครองและล ม ล า งระบบกษั ต ริ ย และนาย พ. นาย ด. นางสาว ศ.
นาย อ. นาย ธ. และนาย ม. เบิ ก ความตอบคํ า ถามค า นของทนายจํ า เลยที่ 2 และ ที่ 6 ว า การรวมกั น
เป น หนึ่ งเดี ย วเป น การรวมกั น ทางด า นจิตใจ ไม ไดห มายถึงการรวมดิน แดน ศูน ย ไมมี การสอนใหใช กําลั ง
ในการรวมดินแดนของแตละประเทศเขาดวยกัน ไมมีการสอนใหลมลางหรือเปลี่ยนแปลงสถาบันกษัตริย
ไม ไ ด ส อนให เ กลี ย ดชั ง บิ ด ามารดา และไม ไ ด ห า มในการนั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ และนางสาว ถ. เบิ ก ความ
ตอบคํ า ถามค า นของทนายจํ า เลยที่ 4 และที่ 7 ว า ศู น ย ไ ม ไ ด ส อนให สู ร บแย ง อาณาเขต แต ส อนให มี
ความรั ก สามั ค คี ไม แ บ ง แยกชนชั้ น อั น เป น การเบิ ก ความขั ด แย ง ในระหว า งพยานโจทก ด ว ยกั น เอง
ส ว นพั น ตํ า รวจตรี จ. และพั น ตํ า รวจโท ล. ก็ เ ป น เพี ย งผู สื บ สวนหาข อ เท็ จ จริ ง และพั น ตํ า รวจเอก ณ.
ก็ เ ป น พนั ก งานสอบสวนเท า นั้ น ไม ไ ด รั บ ฟ ง คํ า สอนของจํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกโดยตรงไม มี น้ํ า หนั ก
น า เชื่ อ พยานหลั ก ฐานของโจทก ที่ นํ า สื บ มาจึ ง ยั ง รั บ ฟ ง ไม ไ ด ว า จํ า เลยทั้ ง แปดร ว มกั น กระทํ า ความผิ ด
ฐานกระทําการใด ๆ เพื่อใหราชอาณาจักรหรือสวนหนึ่งสวนใดของราชอาณาจักรตกไปอยูใตอํานาจอธิปไตย
ของรัฐตางประเทศ หรือเพื่อใหเอกราชของรัฐเสื่อมเสียไป สวนความผิดฐานกระทําใหปรากฏแกประชาชน
ดวยวาจา หนังสือ หรือวิธีการอื่นใดอั นมิใชเปน การกระทําภายในความมุงหมายแหงรัฐธรรมนูญ หรือมิใช
เพื่อแสดงความคิ ดเห็น หรือติช มโดยสุ จริต เพื่อใหเกิดความปน ปว นหรือกระดางกระเดื่องในหมูประชาชน
ถึงขนาดที่จะกอความไมสงบขึ้นในราชอาณาจักรนั้น เห็นวา ลัทธิมูนนิซึ่มเปนลัทธิความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา
คําสอนของจําเลยทั้งแปดเปนการสอนแนวความเชื่อที่เกี่ยวกับศาสนาไมไดเกี่ยวกับการเมือง การปกครองดังที่
ไดวินิจฉัยมาแลวขางตน การที่ลัทธิมูนนิซึ่มสอนวาบิดามารดาผูใหกําเนิดเปนบิดามารดาฝายเนื้อหนัง สวน
นาย ซ. และนาง ฮ. เป นบิ ดามารดาที่แทจ ริงในฝายวิญญาณนั้น เปน เพีย งการเปรีย บเทีย บวาบิดามารดา
ผูใหกําเนิดยังเปนผูตกในบาปอยู จนกวาจะไดรับการชําระบาปและรับพร ทั้งเปนการสอนใหผูที่เปนสมาชิก
เกิดความศรัทธาเชื่อวาเจาของลัทธิเปนผูบริสุทธิ์ซึ่งหลุดพนจากบาปแลวเทานั้น ซึ่งเปนความเชื่อทางความคิด
/ทางดาน...
-๒๖-

ทางดานศาสนาของลัทธิดังกลาว มิไดหมายความวาบิดามารดาผูใหกําเนิดมิใชบิดามารดาที่แทจริงในทางโลก
แต อ ย า งใด และการทํ า ให ป รากฏแก ป ระชาชนด ว ยวาจา หนั ง สื อ หรื อ การสอนดั ง กล า ว ยั ง อยู ใ นกรอบ
ขอบเขตเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทั้งฉบับพุทธศักราช 2540 และพุทธศักราช 2550
ที่มี ห ลั ก การรั บ รองคุ ม ครองสิ ทธิ เ สรี ภ าพในการนั บ ถือ ศาสนา นิ ก ายศาสนาหรื อ ลัท ธิ นิ ย มในทางศาสนา
ซึ่ ง รวมทั้ ง สอนเผยแพร ศ าสนาหรื อลั ท ธิ ดว ย และรั บ รองคุม ครองสิ ท ธิเ สรี ภ าพในการแสดงความคิด เห็ น
การพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา ที่ไมขัดตอกฎหมายอื่นดวย ที่โจทกฎีกาวาคําสอนของจําเลยทั้งแปด
ตามลั ท ธิ ดั งกล า วทํ า ให บุ ต รเกลี ย ดชั งบิ ดามารดา ไม ย กมื อไหว ห รือ เคารพเชื่ อ ฟง บิด ามารดา จึ งเกิ ดการ
ทะเลาะวิ ว าทป น ป ว นกระด า งกระเดื่ อ งระหว า งบิ ด ามารดากั บ บุ ต ร จนถึ ง ขนาดผู ป กครองของสมาชิ ก
หลายครอบครัวรวมตัวกันเรียกรองใหเจาพนักงานตํารวจดําเนินคดีแกจําเลยทั้งแปด หากไมดําเนินการจะเขา
จั ด การเอง อั น เป น การก อ ให เ กิ ด ความป น ป ว นหรื อ กระด า งกระเดื่ อ งไม ย อมรั บ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข อง
เจ า พนั กงานตํ า รวจ เท า กั บ บ า นเมื องไม มี กฎหมาย กอ ใหเ กิด ความไม ส งบภายในราชอาณาจัก ร ซึ่ งเป น
ผลโดยตรงจากการกระทําของจําเลยทั้งแปดกับพวกนั้น ก็ไดความจากคําเบิกความของนาย ส. นาย ค. นาย ด.
นาย ผ. นาย อ. นาย ธ. และนาย ม. พยานโจทกตอบคําถามคานทนายความจําเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และที่ 6
ในทํ า นองเดี ย วกั น ว า ศู น ย ไ ม ได ส อนไม ใ ห เคารพหรื อ เกลี ย ดชั ง บิ ด ามารดา ทั้ งไม ไ ด ส อนไมใ ห ย กมื อ ไหว
บิดามารดา และนาย ธ. ยังเบิกความตอไปอีกวา หากมีการสอนเชนนั้นพยานยอมออกจากการเปนสมาชิก
ทันที ดังนี้ เห็นวาพยานหลักฐานของโจทกที่นําสืบมายังไมมีน้ําหนักมั่นคงเพียงพอใหรับฟงวา จําเลยทั้งแปด
กับพวกสอนใหสมาชิ กไมเคารพบิดามารดาแตอยางใด การที่สมาชิกของศูนยแสดงกิริย ากระดางกระเดื่อง
ตอผูปกครองนั้นอาจเปนเพราะสมาชิกสวนใหญเปนนักศึกษาอยูในชวงวัยรุน เมื่อเขาเปนสมาชิกของศูน ย
ซึ่ งมี กิจ กรรมหลายอย า งและได พบปะกับ เพื่อนสมาชิ กก็อาจรว มกิจ กรรมของศู น ยมากเกิน ไปจนลืมไปว า
ตนเองมีหนาที่ตองศึกษาเลาเรียน และเมื่อผูปกครองของสมาชิกบังคับใหเลิกติดตอกับศูนยก็เกิดความไมพอใจ
จนเกิดการทะเลาะเบาะแวง หรือบางรายหลบหนีไมยอมกลับบานหรือไมไปเรียนซึ่งเปนพฤติกรรมสวนตัว
ของสมาชิ ก บางคนเท า นั้ น หากลั ท ธิ มูน นิซิ่ มมีแ นวคํ าสอนใหส มาชิ กเกลีย ดชัง บิดามารดาผูให กํา เนิด จริ ง
ก็ถือวาเปน เรื่องที่ ขัดกั บวั ฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของชาติ ที่บุตรจะตองมีความกตัญู
และใหความเคารพเชื่อฟงบิ ดามารดาผูใหกําเนิด ยากที่จะไดรับการยอมรับ จากประชาชน แตเหตุการณที่
เกิดขึ้นเชื่อวาอาจมาจากการสื่อสารที่ผิดพลาดหรือมีการเขาใจหลักคําสอนคลาดเคลื่อนไป สวนที่ผูปกครอง
ของสมาชิ ก หลายครอบครั ว รวมตั ว กั น เรี ย กร อ งให เ จ า พนั ก งานตํ า รวจดํ า เนิ น คดี แ ก จํ า เลยทั้ ง แปด
หากไม ดํ า เนิ น การจะเข า จั ด การเอง ก็ น า จะเป น เพี ย งต อ งการให เ จ า หน า ที่ รั ฐ เข า มาจั ด การแก ไ ขป ญ หา
ดั ง กล า วโดยเร็ ว หรื อ ไม พ อใจในการทํ า งานของเจ า หน า ที่ รั ฐ ของกลุ ม ผู ป กครองสมาชิ ก บางคนเท า นั้ น
หาใช เ ป น เรื่ อ งที่ จ ะถึ ง กั บ ก อ ให เ กิ ด ความป น ป ว นหรื อ กระด า งกระเดื่ อ งไม ย อมรั บ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข อง
เจาพนักงานตํารวจ และกอใหเกิดความไมสงบภายในราชอาณาจักรโดยทั่วไปไม ทั้งมิไดเปนผลโดยตรงจากการ
กระทําของจําเลยทั้งแปดกับพวกแตอยางใด ที่ศาลอุทธรณพิพากษายกฟองโจทกในความผิดทั้งสองฐานนี้
ชอบแลว ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
ป ญ หาที่ ต อ งวิ นิ จ ฉั ย ประการสุ ด ท า ยมี ว า จํ า เลยทั้ ง แปดกั บ พวกกระทํ า ความผิ ด
ฐานเปนอั้งยี่หรือเปนซองโจรหรือไม เห็นวา ขอเท็จจริงรับฟงไดวาจําเลยทั้งแปดกับพวกจัดตั้งศูนยวัฒนธรรม
/แหงความสามัคคี...
-๒๗-

แห ง ความสามั ค คี โ ดยเป ด เผย มี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ช อบด ว ยกฎหมาย มี ที่ ทํ า การและสาขาที่ แ น น อน มิ ไ ด มี
การปกปดวิธีดําเนินการการหาสมาชิกและอบรมเผยแพรแนวคําสอนของลัทธิมูนนิซึ่มก็กระทําโดยเปดเผย
ซึ่งไมเปนความผิดฐานรวมกันกระทําการใด ๆ เพื่อใหราชอาณาจักรหรือสวนหนึ่งสวนใดของราชอาณาจักร
ตกไปอยู ใ ต อํ า นาจอธิ ป ไตยของรั ฐ ต า งประเทศ หรื อ เพื่ อ ให เ อกราชของรั ฐ เสื่ อ มเสี ย ไป ไม เ ป น ความผิ ด
ฐานรวมกันกระทําใหปรากฏแกประชาชนดวยวาจา หนังสือ หรือวิธีการอื่นใดอันมิใชเปนการกระทําภายใน
ความมุงหมายแหงรัฐธรรมนูญ หรือมิใชเพื่อแสดงความคิดเห็น หรือติชมโดยสุจริต เพื่อใหเกิดความปนปวน
หรือกระดางกระเดื่องในหมูประชาชนถึงขนาดที่จะกอความไมสงบขึ้นในราชอาญาจักร และไมเปนความผิด
ฐานรวมกันฉอโกงประชาชน การกระทําของจําเลยทั้งแปดจึงไมเปนความผิดฐานเปนอั้งยี่หรือเปนซองโจร
ส ว นการที่ ส มาคมศู น ย วั ฒ นธรรมแห งความสามัคคีถูก ขีดชื่อออกจากทะเบีย นนั้น ก็เปน เรื่องที่เลขาธิการ
คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติและกองบังคับการตํารวจสันติบาลเปนผูขีดชื่อออกเพราะนาย บ. กับพวก
ซึ่ ง เป น ผู กอ ตั้ ง สมาคมดั ง กล า วยื่ น คํ า ร อ งขอถอนชื่ อ ตนออกจากการเป น ผู กอ ตั้ ง สมาคม หาใช เป น เพราะ
การกระทํ า ของจํ า เลยทั้ งแปดกั บ พวกเปน ความผิด หรือ พนัก งานอั ย การยื่น คําร องตอ ศาลแพง ขอไตส วน
ให เ พิ ก ถอนสมาคมและศาลแพ ง มี คํ า สั่ ง เพิ ก ถอนสมาคมตามที่ โ จทก ฎี ก าแต อ ย า งใดไม ที่ ศ าลอุ ท ธรณ
ยกฟองโจทกในความผิดทั้งสองฐานนี้ชอบแลว ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๒๘-

คําสั่งศาลฎีกาที่ 1967/2554
ป.วิ . อ. สิ ท ธิ นํ า คดี อ าญาของโจทก ม าฟ อ งระงั บ การถอนคํ า ร อ งทุ ก ข ใ นคดี ค วามผิ ด ต อ ส ว นตั ว
(มาตรา 39 (2), 126)
คดีความผิดตอสวนตัว ผูเสียหายจะถอนคํารองทุกขเสียเมื่อใดก็ไดตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 126 วรรคหนึ่ง เมื่อคดีนี้ยังไมถึงที่สุดผูรับมอบอํานาจของผูเสียหายยื่น
คํ า ร อ งฉบั บ แรกขอถอนคํ า ร อ งทุ ก ข ต อ ศาลชั้ น ต น และจํ า เลยไม คั ด ค า น ย อมถื อ ว า ผู เ สี ย หายได ถ อน
คํารองทุกขในคดีความผิดตอสวนตัวโดยถูกตองตามกฎหมายแลว และมีผลใหสิทธินําคดีอาญามาฟองของ
โจทกระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (2) ซึ่งเปนไปโดยผลของกฎหมาย
แมผูเสียหายจะอางวาภายหลังเมื่อผูเสียหายถอนคํารองทุกข จําเลยมิไดปฏิบัติตามขอตกลงในการถอน
คํารองทุกขก็ตาม ผูเสียหายก็ไมอาจถอนคํารองขอถอนคํารองทุกขเพื่อใหสิทธินําคดีอาญามาฟองของโจทก
หวนกลับคืนมาอีกได ใหยกคํารองฉบับหลังและใหจําหนายคดีจากสารบบความตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (2) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความ
อาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499 มาตรา 4 และพระราชบัญญัติใหนําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
มาใชบังคับในศาลจังหวัด พ.ศ. 2520 มาตรา 3
_______________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดสกลนคร โจทก
ระหวาง
นายประภาส สังกฤษ จําเลย
ศาลชั้นตนพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยความผิดอันเกิดจากการ
ใช เ ช็ ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 (1) (2) (3) จํา คุก 2 เดื อน จํา เลยใหก ารรับ สารภาพ เปน ประโยชนแ ก
การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหกึ่งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุก 1 เดือน
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 4 พิพากษาแกเปนวา ใหเปลี่ยนโทษจําคุกจําเลย 1 เดือน เปนกักขังแทน
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 23 นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา โดยผูพิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคําพิพากษาศาลชั้นตนอนุญาตใหจําเลย
ฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
คดีอยูระหวางนัดฟงคําพิพากษาศาลฎีกา
ผูรับมอบอํานาจผูเสียหายยื่นคํารองทั้งสองฉบับนี้
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว คดีความผิดตอสวนตัว ผูเสียหายจะถอนคํารองทุกขเสียเมื่อใดก็ได
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 126 วรรคหนึ่ง เมื่อคดีนี้ยังไมถึงที่สุดผูรับมอบอํานาจ
ของผูเสียหายยื่นคํารองฉบับแรกขอถอนคํารองทุกขตอศาลชั้นตน และจําเลยไมคัดคาน ยอมถือวาผูเสียหาย
ไดถอนคํารองทุกขในคดีความผิดตอสวนตัวโดยถูกตองตามกฎหมายแลว และมีผลใหสิทธินําคดีอาญามาฟอง
ของโจทกระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (2) ซึ่งเปนไปโดยผลของกฎหมาย

/แม ผู เสี ย หาย...


-๒๙-

แม ผู เ สี ย หายจะอ า งว า ภายหลั งเมื่ อผู เ สี ย หายถอนคําร องทุก ข จํา เลยมิ ไดป ฏิ บัติต ามขอ ตกลงในการถอน
คํารองทุกขก็ตาม ผูเสียหายก็ไมอาจถอนคํารองขอถอนคํารองทุกขเพื่อใหสิทธินําคดีอาญามาฟองของโจทก
หวนกลั บ คื น มาอี ก ได ให ย กคํ า ร อ งฉบั บ หลั ง และใหจํ า หน า ยคดี จ ากสารบบความตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (2) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญา
ในศาลแขวง พ.ศ. 2499 มาตรา 4 และพระราชบัญญัติใหนําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชบังคับ
ในศาลจังหวัด พ.ศ. 2520 มาตรา 3

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๓๐-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2828/2554
ป.วิ.พ. การนําเงินคาธรรมเนียมซึ่งจะตองใชแกคูความอีกฝายหนึ่งตามคําพิพากษาหรือคําสั่งมาวางศาล
(มาตรา 229)
พ.ร.บ. คุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 (มาตรา 39)
จํ า เลยทั้ ง สามอุ ท ธรณ ข อให ศ าลอุ ท ธรณ มี คํ า พิ พ ากษากลั บ คํ า สั่ ง ระหว า งพิ จ ารณา
ของศาลชั้น ตน และให ศาลชั้ นตน สืบพยานจําเลยทั้งสามตอไป เทากับขอใหศาลอุทธรณมีคําพิพากษา
ยกคําพิพากษาศาลชั้นตนและใหสืบพยานจําเลยทั้งสามตอไป จําเลยทั้งสามจึงตองนําเงินคาธรรมเนียม
ซึ่งจะตองใช แก คูความอี กฝา ยหนึ่งตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นตน มาวางศาลพรอมอุทธรณ
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความแพง มาตรา 229 เมื่อจํา เลยทั้งสามไมนํา เงิน คา ธรรมเนียม
มาวางศาลพรอมอุทธรณดังกลาว จึงเปนอุทธรณท่ไี มชอบดวยกฎหมาย
ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 39 บัญญัติวา การดําเนินคดี
ในศาลแทนผู บริ โ ภคของเจ า หน า ที่ คุ ม ครองผูบ ริโ ภคนั้น ใหไ ดรับ การยกเวน คา ฤชาธรรมเนีย มทั้ง ปวง
และข อ เท็ จ จริ ง ปรากฏว า คณะกรรมการคุ ม ครองผู บ ริ โ ภคมี คํ า สั่ ง แต ง ตั้ ง พนั ก งานอั ย การเป น
เจาหนาที่คุมครองผูบริโภคเพื่อใหมีหนาที่ดําเนินคดีแพงและอาญาแกผูกระทําละเมิดสิทธิของผูบริโภค
ในศาลและได แ จ ง คํ า สั่ ง ไปยั ง กระทรวงยุ ติ ธ รรมแล ว จึ ง มี ผ ลให พ นั ก งานอั ย การมี อํ า นาจดํ า เนิ น คดี
ไดเองโดยตรงในฐานะเป นเจ าหน าที่คุ มครองผูบริโภคหาใชเ ขามาทํา หนา ที่ในฐานะเปนทนายแผนดิน
ในคดีนี้ไม ดังจะเห็นไดวา ไมมีการแตงตั้งพนักงานอัยการเปนทนายความเชนคดีอ่ืน ๆ เมื่อพนักงานอัยการ
มิได ปฏิบัติหนาที่ ในฐานะทนายความจึงไมชอบที่ศ าลจะสั่งใหคูความฝายที่แพคดีชดใชคา ทนายความ
แกฝายที่ชนะคดี
_______________________________________
คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค โจทก
ระหวาง
บริษัท ดีวเี อ็น จํากัด ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จําเลย
คดีสืบเนื่องมาจากโจทกฟองขอใหบังคับจําเลยทั้งสามรวมกันชําระเงิน 271,735.78 บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงิน 170,800 บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะ
ชํ า ระเสร็ จ แก น าย ก. ชํ า ระเงิ น 271,735.78 บาท พร อมดอกเบี้ย อัต รารอยละ 7.5 ตอ ป ของตน เงิ น
170,800 บาท นั บ ถั ด จากวั น ฟ อ งเป น ต น ไปจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ แก น างสาว จ. และชํ า ระเงิ น
236,339.83 บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงิน 148,150 บาท นับถัดจากวันฟอง
เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จแกนาย ศ.
จํ า เลยทั้ ง สามให ก ารทํ า นองเดี ย วกั น ว า จํ า เลยทั้ ง สามไม เ คยประกอบธุ ร กิ จ ที่ ดิ น และ
บานจัดสรร ไมเคยทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางกับผูบริโภคทั้งสาม และไมเคยรับเงินแลวออก
ใบเสร็ จ รั บ เงิ น ให แก ผู บ ริ โ ภคทั้ งสาม ลายมือ ชื่อ ในเอกสารทั้ งหมดเป น ลายมือชื่ อปลอม ผูบ ริโ ภคทั้ง สาม
ไมเคยมอบอํานาจใหผูใดมาฟองเปนคดีนี้ โจทกจึงไมมีอํานาจฟองขอใหยกฟอง
ศาลชั้นตนชี้สองสถานและกําหนดประเด็นขอพิพาท
/ในวัน...
-๓๑-

ในวั น นั ด สื บ พยานจํ า เลยทั้ ง สาม ทนายจํ า เลยทั้ ง สามยื่ น คํ า ร อ งขอเลื่ อ นคดี ศาลชั้ น ต น
ไม อ นุ ญ าต และให ง ดสื บ พยานจํ า เลยทั้ ง สาม แล ว พิ พ ากษาให จํ า เลยทั้ ง สามร ว มกั น ชํ า ระเงิ น
271,735.78 บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงิน 170,800 บาท นับถัดจากวันฟอง
(ฟองวันที่ 29 กรกฎาคม 2548) เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จแกนาย ก. ชําระเงิน 271,735.78 บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงิน 170,800 บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะ
ชําระเสร็จแกนางสาว จ. และชําระเงิน 236,339.83 บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงิน
148,150 บาท นั บ ถั ด จากวั น ฟ องเป น ตน ไปจนกวาจะชําระเสร็จ แกนาย ศ. กับ ใหจําเลยทั้งสามรว มกัน
ใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทกโดยกําหนดคาทนายความ 10,000 บาท
จําเลยทั้งสามอุทธรณคําสั่งศาลชั้นตนที่ไมอนุญาตใหเลื่อนคดี
ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษายกอุทธรณของจําเลยทั้งสาม ใหคืนคาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ
ทั้งหมดแกจําเลยทั้งสาม คาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณนอกจากนี้ใหเปนพับ
จําเลยทั้งสามฎีกา
ศาลฎี ก าพิ เ คราะห แ ล ว คดี มี ป ญ หาต อ งวิ นิ จ ฉั ย ตามฎี ก าของจํ า เลยทั้ ง สามว า การที่
ศาลอุ ท ธรณ ภ าค 1 ไม รั บ วิ นิ จ ฉั ย อุ ท ธรณ ข องจํ า เลยทั้ ง สามชอบหรื อ ไม จํ า เลยทั้ ง สามฎี ก าว า การที่
ศาลอุทธรณภาค 1 ไมรับวินิจฉัยใหแกจําเลยทั้งสามเปนการไมถูกตองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ ง เนื่ อ งจากอุ ท ธรณ ข องจํ า เลยทั้ ง สามเป น การอุ ท ธรณ คํ า สั่ ง ระหว า งพิ จ ารณาตามประมวลกฎหมาย
วิธี พิจ ารณาความแพ ง มาตรา 226 ซึ่ งจําเลยทั้งสามไดยื่น คัดคานไวกอนใชสิทธิอุทธรณ ถือไดวาปฏิบัติ
ตามขั้ น ตอนของประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความแพงในเรื่องอุทธรณแลว ศาลอุทธรณภ าค 1 จําตอง
วินิจฉัยอุทธรณของจําเลยทั้งสามตอไปนั้น เห็นวา จําเลยทั้งสามอุทธรณขอใหศาลอุทธรณภาค 1 มีคําพิพากษา
กลั บ คํ า สั่ งระหว า งพิ จ ารณาของศาลชั้ น ต น และให ศ าลชั้ น ต น สื บ พยานจํ า เลยทั้ ง สามตอ ไป เทา กั บ ขอให
ศาลอุทธรณภาค 1 มีคําพิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตนและใหสืบพยานจําเลยทั้งสามตอไป จําเลยทั้งสาม
จึ ง ต อ งนํ า เงิ น ค า ธรรมเนี ย มซึ่ ง จะต อ งใช แก คูค วามอีก ฝ ายหนึ่ ง ตามคํ าพิ พ ากษาหรือ คํา สั่ งของศาลชั้น ต น
มาวางศาลพรอมอุทธรณตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 229 เมื่อจําเลยทั้งสามไมนําเงิน
คาธรรมเนียมมาวางศาลพรอมอุทธรณดังกลาว จึงเปนอุทธรณที่ไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลอุทธรณภาค 1
ไมรับวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยทั้งสามจึงชอบแลว ฎีกาของจําเลยทั้งสามฟงไมขึ้น
อนึ่ง ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 39 บัญญัติวา การดําเนินคดี
ในศาลแทนผู บ ริ โ ภคของเจ า หน า ที่ คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคนั้ น ให ไ ด รั บ การยกเว น ค า ฤชาธรรมเนี ย มทั้ ง ปวง
และข อ เท็ จ จริ ง ปรากฏว า คณะกรรมการคุ ม ครองผู บ ริ โ ภคมี คํ า สั่ ง แต ง ตั้ ง พนั ก งานอั ย การเป น เจ า หน า ที่
คุมครองผู บ ริ โ ภคเพื่ อให มีห น า ที่ ดํ า เนิ น คดีแพงและอาญาแกผูกระทําละเมิดสิทธิของผูบ ริโ ภคในศาลและ
ไดแจงคําสั่งไปยังกระทรวงยุติธรรมแลว จึงมีผลใหพนักงานอัยการมีอํานาจดําเนินคดีไดเองโดยตรงในฐานะ
เป น เจ า หนา ที่ คุมครองผู บ ริโ ภคหาใชเ ข ามาทําหนาที่ในฐานะเปน ทนายแผน ดินในคดีนี้ไม ดังจะเห็นไดวา
ไม มี ก ารแต ง ตั้ ง พนั ก งานอั ย การเป น ทนายความเช น คดี อื่ น ๆ เมื่ อ พนั ก งานอั ย การมิ ไ ด ป ฏิ บั ติ ห น า ที่
ในฐานะทนายความจึ ง ไม ช อบที่ ศ าลจะสั่ ง ให คู ค วามฝ า ยที่ แ พ ค ดี ช ดใช ค า ทนายความแก ฝ า ยที่ ช นะคดี
ที่ศ าลชั้ น ต น พิ พ ากษาให จํ า เลยทั้ ง สามรว มกั น ใช คา ฤชาธรรมเนีย มแทนโจทก โ ดยกํา หนดค า ทนายความ
10,000 บาท นั้น จึงไมชอบ เห็นสมควรแกไขใหถูกตอง

/พิพากษายืน...
-๓๒-

พิ พ ากษายื น แต จํ า เลยทั้ งสามไมต อ งร ว มกั น ใช ค าฤชาธรรมเนี ย มและค า ทนายความใน
ศาลชั้นตนแทนโจทก คาฤชาธรรมเนียมในชั้นฎีกาใหเปนพับ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๓๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3729/2554
ป.อ. ตัวการ ฉอโกง (มาตรา 83, 341)
ป.วิ.พ. ฟองซอน (มาตรา 173 วรรคสอง (1))
ป.วิ.อ. การนําบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. มาใชบังคับเทาที่จะพอใชบังคับได (มาตรา 15)
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2550 ถึงวัน ที่ 17 พฤษภาคม 2551 จําเลยที่ 1 หลอกลวง
ผูเสียหายทั้ งสามสิบคนวาสามารถนําไปทองเที่ยวประเทศฮองกงไดโดยตองเสียคาใชจายตั๋วเครื่องบิน
ค า ที่ พั ก และค า บริ ก ารนํ า เที่ ย ว และได ไ ปซึ่ ง ทรั พ ย ต ามที่ ห ลอกลวงจากผู เ สี ย หายทั้ ง สามสิ บ คน
อันเปนความผิดสําเร็จฐานรวมกันฉอโกงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341, 83 แลว ตอมาวันที่
19 พฤษภาคม 2551 จํา เลยที่ 1 จึงไดออกเช็ครวม 2 ฉบับ มอบใหผูเสียหายทั้งสามสิบคนเพื่อเปน
การชํ า ระหนี้ ค า ซื้ อ ตั๋วเครื่ อ งบิ น และค า ที่ พัก โดยเจตนาที่ จ ะไมใ ห มีการใช เ งิน ตามเช็ค ตามคดี อาญา
หมายเลขแดงที่ 1588/2551 ของศาลชั้น ตน แมมูลหนี้ที่จํา เลยที่ 1 ออกเช็ค พิพาทในคดีดังกลา ว
เปนมูลหนี้อันเกิดจากการกระทําความผิดฐานรวมกันฉอโกงคดีนี้ ก็ถือไดวาเปนการกระทําตางหากจาก
การกระทําอันเปนความผิดฐานรวมกันฉอโกงอีกกรรมหนึ่ง ฟองโจทกคดีนี้จึงไมเปนฟองซอน
_______________________________________
พนักงานอัยการคดีศาลแขวงพิษณุโลก โจทก
ระหวาง
นางจุฑาพร ปุญญฤทธิ์ ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน จําเลย
โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2550 เวลากลางวัน ถึงวันที่ 17 พฤษภาคม 2551
เวลากลางวั น ตอเนื่ องกัน จํ าเลยทั้งสองรวมกัน หลอกลวงผูเสีย หายทั้งสามสิบ คน ดวยการแสดงขอความ
อั น เป น เท็ จ และปกป ด ข อ ความจริ ง ซึ่ ง ควรบอกให แ จ ง โดยจํ า เลยที่ 2 แจ ง ผู เ สี ย หายทั้ ง สามสิ บ คนว า
สามารถนําไปทองเที่ยวประเทศฮองกงได ตองเสียคาใชจายคาตั๋วเครื่องบิน คาที่พัก และคาบริการนําเที่ยว
ดั ง นี้ ผู ใ หญ ค นละ 23,000 บาท เด็ ก คนละ 17,000 บาท เมื่ อ ชํ า ระค า เดิ น ทางให จํ า เลยทั้ ง สองแล ว
จําเลยทั้ งสองจะดําเนินการซึ้ อตั๋ว เครื่องบิน จองที่พัก และนําเที่ย วประเทศฮองกง โดยกําหนดเดินทางไป
ในวั น ที่ 17 พฤษภาคม 2551 และเดิ น ทางกลั บ ในวั น ที่ 19 พฤษภาคม 2551 เป น เหตุ ใ ห
ผูเ สี ย หายทั้ งสามสิบ คนหลงเชื่อจึ งโอนเงิน ใหจําเลยทั้งสองหลายครั้ง รวมเปน เงิน ทั้งสิ้น 856,000 บาท
อั น เป น ความเท็ จ ความจริ ง แล ว จํ า เลยทั้ ง สองไม มี เ จตนาจะนํ า เงิ น จํ า นวน 856,000 บาท ของ
ผูเสียหายทั้งสามสิบไปดําเนินการซื้อตั๋วเครื่องบินและไมไดจองที่พักใหผูเสียหายทั้งสามสิบคน อันเปนแผนการ
ของจํ าเลยทั้งสองที่มีเ จตนาตั้งใจทุจริ ตมาแตแรก โดยความจริงมิไดตั้งใจใหเปนเชน นั้น เมื่อจําเลยทั้งสอง
ไดรับมอบเงินจํานวนดังกลาวไวแลวไดนําไปใชประโยชนสวนตนของจําเลยทั้งสอง เหตุเกิดที่ตําบลในเมือง
อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก และตําบลระแหง อําเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เกี่ยวพันกัน จําเลยที่ 1
เป น บุ ค คลเดี ย วกั บ จํ า เลยในคดี อ าญาหมายเลขดํ า ที่ 1443/2551 ของศาลชั้ น ต น ขอให ล งโทษตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83, 341 ให จํ า เลยทั้ ง สองคื น หรื อ ชดใช เ งิ น จํ า นวน 856,000 บาท
แกผูเสียหายทั้งสามสิบคน และนับโทษจําเลยที่ 1 ตอจากโทษของจําเลยในคดีอาญาดังกลาว

/จําเลยทั้งสอง...
-๓๔-

จําเลยทั้งสองใหการรับสารภาพ และจําเลยที่ 1 รับวาเปนบุคคลคนเดียวกันกับจําเลยในคดีที่


โจทกขอใหนับโทษตอ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสองมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 341, 83 จํ า คุ ก คนละ 2 ป จํ า เลยทั้ ง สองให ก ารรั บ สารภาพ เป น ประโยชน แ ก ก ารพิ จ ารณา
มี เ หตุ บ รรเทาโทษ ลดโทษให คนละกึ่ งหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุ กคนละ 1 ป
ให จํ า เลยทั้ ง สองคื น หรื อ ชดใช เ งิ น จํ า นวน 856,000 บาท แก ผู เ สี ย หายทั้ ง สามสิ บ คน โดยให นํ า เงิ น ที่
จํ า เลยทั้ ง สองชํ า ระไปแล ว ไปหั กด ว ย สํ า หรับ คําขอให นับ โทษจํ าเลยที่ 1 ตอ จากคดีอ าญาหมายเลขดํา ที่
1443/2551 ของศาลชั้นตน เนื่องจากคดีดังกลาวศาลยังไมมีคําพิพากษาจึงไมอาจนับโทษตอได ยกคําขอ
ในสวนนี้
จําเลยทั้งสองอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ ภ าค 6 พิ พ ากษาแก เ ป น ว า ให ป รั บ จํ า เลยที่ 2 เป น เงิ น 4,000 บาท
อี ก สถานหนึ่ ง ลดโทษให กึ่ ง หนึ่ ง แล ว คงปรั บ 2,000 บาท โทษจํ า คุ ก ให ร อการลงโทษไว มี กํ า หนด 2 ป
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 ไมชําระคาปรับใหจัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29,
30 นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยที่ 1 ฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว มีปญหาขอกฎหมายตองวินิจฉัยตามฎีกาจําเลยที่ 1
ว า ฟ อ งคดี นี้ เ ป น ฟ อ งซ อ นกั บ คดี อ าญาหมายเลขแดงที่ 1588/2551 ของศาลชั้ น ต น หรื อ ไม
เห็ น ว า ข อ เท็ จ จริ งรั บ ฟ ง ได ต ามฟ อ งซึ่ งจํ าเลยที่ 1 ใหก ารรั บ สารภาพวา เมื่อ วั น ที่ 15 ธัน วาคม 2550
ถึงวั น ที่ 17 พฤษภาคม 2551 จํ า เลยที่ 1 หลอกลวงผูเสีย หายทั้งสามสิบ คนวาสามารถนําไปทองเที่ย ว
ประเทศฮ องกงได โ ดยต อ งเสี ย ค า ใช จ า ยตั๋ ว เครื่ องบิ น ค า ที่ พัก และค า บริ ก ารนํ า เที่ย ว และไดไ ปซึ่ งทรั พ ย
ตามที่หลอกลวงจากผูเสียหายทั้งสามสิบคนอันเปนความผิดสําเร็จฐานรวมกันฉอโกงตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 341, 83 แล ว ต อมาวัน ที่ 19 พฤษภาคม 2551 จําเลยที่ 1 จึงไดออกเช็ครวม 2 ฉบับ
มอบใหผูเสี ยหายทั้งสามสิบ คนเพื่อเป นการชําระหนี้คาซื้อตั๋วเครื่องบินและคาที่พัก โดยเจตนาที่จะไมใหมี
การใช เ งิ น ตามเช็ ค ตามคดี อ าญาหมายเลขแดงที่ 1588/2551 ของศาลชั้น ต น แมมูล หนี้ที่จํ าเลยที่ 1
ออกเช็ คพิ พาทในคดี ดั งกล า วเป น มู ล หนี้อัน เกิดจากการกระทําความผิดฐานรว มกันฉอโกงคดีนี้ ก็ถือไดวา
เป น การกระทํ า ต า งหากจากการกระทํ า อัน เปน ความผิ ด ฐานรว มกั น ฉ อ โกงอี กกรรมหนึ่ ง ฟ องโจทก ค ดี นี้
จึงไมเปนฟองซอนกับคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1588/2551 ของศาลชั้นตน ฎีกาของจําเลยที่ 1 ฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๓๕-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3752/2554
ป.อ. ใชธนบัตรปลอม ฉอโกง ตัวการ (มาตรา 244, 240, 341, 83)

จําเลยที่ ๑ ขับรถจักรยานยนตพาจําเลยที่ ๒ เดินทางมาดวยกันและตระเวนซื้อสินคาตาม


รานคาตาง ๆ ในหมูบานโดยใชธนบัตรฉบับละ ๕๐๐ บาท ปลอม ชําระคาสินคานั้น ตามพฤติการณของ
จําเลยทั้งสองดังกลาวจึงเปนตัวการรวมกันกระทําความผิดฐานฉอโกงและมีไวเพื่อนําออกใชซึ่งธนบัตร
ปลอม อันตนไดมาโดยรูวาเปนของปลอม ในลักษณะแบงแยกหนาที่กันทํา

พนักงานอัยการจังหวัดนาน โจทก
ระหวาง
นายสถิน ยะปอก ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน จําเลย

คดีนี้เดิมศาลชั้นตนพิจารณาและพิพากษารวมกับคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1776/2545
และ 1783/2545 ของศาลชั้นตน แตคดีท้ังสองสํานวนดังกลาวยุติไปแลว คงขึ้นมาสูศาลฎีกาเฉพาะคดีนี้
โดยใหเรียกโจทกทั้งสามสํานวนวาโจทก เรียกจําเลยที่ 1 และที่ 2 ในสํานวนนี้วา จําเลยที่ 1 และที่ 2 เรียกคดี
นี้วาสํานวนที่ 2 และเรียกคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1783/2545 วา สํานวนที่ 3
สํานวนที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 โจทกฟองจําเลยทั้งสอง ใจความวา จําเลยทั้งสองรวมกันมีไวเพื่อ
ออกใช ซึ่งธนบัตรรัฐบาลไทยชําระหนี้ไดตามกฎหมายฉบับละ 500 บาท ปลอมหลายฉบับ จําเลยทั้งสองไดมา
โดยรูวาเปนธนบัตรปลอม แลวจําเลยทั้งสองโดยทุจริตรวมกันหลอกลวงนางสาว ส. และนาย ม. ผูเสียหาย โดย
จําเลยทั้งสองรวมกันซื้อบุหรี่จํานวน 1 ซอง ราคา 30 บาท จากนางสาว ส. ซื้อบุหรี่และเครื่องดื่มรวมเปนเงิน
40 บาท จากนาย ม. ซื้อน้ํามัน จํานวน 3 ลิตร จากนางสาว ป. โดยชําระราคาสินคาดวยธนบัตรรัฐบาลไทย
ปลอมฉบับละ 500 บาท ให แก ผูเ สียหายทั้งสามคนละฉบับ โดยปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงวา
ธนบัตรปลอม ฉบับละ 500 บาท ที่จําเลยทั้งสองรวมกันใชชําระราคาสินคานั้นเปนธนบัตรปลอม และโดยการ
หลอกลวงดังกลาวนั้น ผูเสียหายทั้งสองจึงตกลงขายสินคาใหแกจําเลยทั้งสอง จําเลยทั้งสองจึงไดไปซึ่งทรัพยสิน
จากผูเสียหายทั้ งสอง คนละ 500 บาท ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 244 ประกอบ
มาตรา 240, 341, 83 ริบของกลาง ใหจําเลยทั้งสองรวมกันคืนสินคาและเงินทอนที่ฉอโกงแกผูเสียหายทั้ง
สาม หากคืนไมไดใหใชเงินแกผูเสียหายทั้งสาม คนละ 500 บาท
จําเลยที่ 1 ใหการปฏิเสธ สวนจําเลยที่ 2 ใหการรับสารภาพ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสองมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 83, 244 ประกอบ มาตรา 240, 341 เปนกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท ใหลงโทษฐานมีไว
/เพือ่ นําออก...
-๓๖-

เพื่อนําออกใชซึ่งธนบัตรปลอม การกระทําของจําเลยที่ 1 เปนความผิด 2 กรรมตางกัน สวนการกระทําของ


จําเลยที่ 2 เปนความผิด 3 กรรมตางกัน ใหเรียงกระทงลงโทษ จําคุกกระทงละ 2 ป รวมจําคุกจําเลยที่ 1 มี
กําหนด 4 ป จําเลยที่ 2 ใหการรับสารภาพหลังจากสืบพยานโจทกไปบางแลว ลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุก
จําเลยที่ 2 มีกําหนด 4 ป ริบของกลาง ใหจําเลยทั้งสองรวมกันคืนสินคาและเงินทอนที่ฉอโกงแกนางสาว ส.
และนาย ม. ผูเสียหาย และใหจําเลยที่ 2 คืนสินคาและเงินทอนที่ฉอโกงแกนางสาว ป. ผูเสียหาย หากคืนไมได
ใหใชเงินแกผูเสียหายทั้งสาม คนละ 500 บาท
จําเลยที่ 1 อุทธรณทั้งสองสํานวน
ศาลอุทธรณภาค 5 พิพากษาแกเปนวา ยกฟองเฉพาะจําเลยที่ 1 ในสํานวนที่ 2 นอกจากที่
แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน เวนแตจําเลยที่ 1 ไมตองคืนสินคาและเงินทอนแกนาย ม. ผูเสียหาย
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ขอเท็จจริงในเบื้องตนฟงไดวา ในวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุตามฟอง
มีคนราย 2 คน ขับรถจักรยานยนตน่ังซอนทายกันมา นําธนบัตรปลอมชนิดราคา 500 บาท จํานวน 1 ฉบับ
ซื้อบุหรี่และเครื่องดื่มรวมราคา 40 บาท และรับเงินทอนจํานวน 460 บาท จากนาย ม. ผูเสียหาย จําเลยที่ 2
ใหการรับสารภาพวาเปนคนรายที่กระทําผิดคดีนี้ และศาลชั้นตนพิพากษาลงโทษไปแลว มีปญหาตองวินิจฉัยวา
จําเลยที่ 1 เปนคนรายที่รวมกระทําผิดกับจําเลยที่ 2 หรือไม เห็นวา ผูเสียหายเห็นคนรายเปนชาย 2 คน ที่มา
ซื้อของที่รานในระยะใกล ๆ เปนเวลานานพอสมควรในเวลากลางวัน จึงเชื่อวาผูเสียหายจดจําคนรายไดวาเปน
จําเลยทั้ งสอง พยานหลักฐานโจทกมีน้ําหนักฟงไดวา จําเลยที่ 1 ขับ รถจักรยานยนตพาจําเลยที่ 2 มาซื้อ
เครื่องดื่มกระทิงแดงและบุหรี่จากผูเสียหายจริง โดยใชธนบัตรฉบับละ 500 บาท ปลอมจํานวน 1 ฉบับ ชําระ
คาราคาสินคา การที่จําเลยทั้งสองเดินทางมาดวยกันและตระเวนซื้อสินคาตามรานคาตาง ๆ ในหมูบานโดยใช
ธนบัตรฉบับละ 500 บาท ปลอมนั้น พฤติการณของจําเลยทั้งสองเปนการรวมกระทําความผิดในลักษณะ
แบงแยกหนาที่กันทํา ทั้งยังคนพบธนบัตรฉบับละ 500 บาท ปลอมจํานวน 1 ฉบับ ที่ตัวจําเลยที่ 1 อีกดวย
จึงฟงไดวา จําเลยที่ 1 เปนคนรายที่รวมกระทําความผิดกับจําเลยที่ 2 ที่ศาลอุทธรณภาค 5 พิพากษายกฟอง
จําเลยที่ 1 ไมตองดวยความเห็นของศาลฎีกา ฎีกาของโจทกฟงขึ้น
พิพากษาแกเปนวา ใหบังคับคดีไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๓๗-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4339/2554
ป.อ. ตัวการ (มาตรา 83)
พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522

การที่ พ วกของจํ า เลยซึ่ ง มี อ ยู ถึ ง 4 คน มอบหมายให จํ า เลยเพี ย งคนเดี ย ว ทํ า หน า ที่


นั่งอยูในรถคันที่ใชขนกัญชาของกลางจากจุดรับมอบคือที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เพื่อไปสงยัง
จุด หมายปลายทาง คื อ จั งหวั ดป ต ตานี และจํา เลยก็รับหนา ที่ดังกลา วเห็นไดวา เปน หนา ที่สํา คัญ คือ
การเปนตัวแทนของฝายรับซื้อกัญชาของกลางและรับมอบ รับขนยายโดยมีกัญชานั้นอยูในความยึดถือ
หรือความปกครองดูแลของจําเลยดวย การกระทําของจําเลยหาใชเพียงแตชวยเหลือหรือใหความสะดวก
ในการขนยายกัญชาของกลางแตเปนการลงมือขนยายเอง ถือวาจําเลยมีกัญชาของกลางไวในครอบครอง
เพื่ อ จํ า หน า ย เมื่ อ จํ า เลยกั บ พวกกระทํา ร ว มกัน เพื่ อ ใหบ รรลุ ต ามความประสงค โ ดยการกระทํ า แต ล ะ
ขั้น ตอนเป น สาระสํา คั ญกอให เกิ ด เป นความผิด ขึ้น การกระทํา ของจํา เลยจึงถือไดวาเปน ตัวการ ไมใ ช
เปนแคเพียงผูสนับสนุน
________________________________________

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก


ระหวาง
นายนรินทร แสแม จําเลย

โจทก ฟ อ งว า เมื่ อ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ 2549 เวลากลางคื น หลั ง เที่ ย ง จนถึ ง วั น ที่
3 กุมภาพันธ 2549 เวลากลางวันติดตอกัน จําเลยไดรวมกับจําเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่
อย. 1315/2549 ของศาลชั้นตน มีกัญชาแหงอันเปนยาเสพติดใหโทษในประเภท 5 จํานวน 150 แทง
น้ําหนักสุทธิ 140.250 กิโลกรัม ซึ่งมีปริมาณตั้งแตสิบกิโลกรัมขึ้นไป ไวในครอบครองของจําเลยกับพวก
เพื่ อจํ า หน า ย โดยไม ได รั บ อนุ ญ าต เหตุ เกิ ดที่ ตํ าบลวิศิ ษฏ อํา เภอบึง กาฬ จั ง หวั ดหนองคาย กั บ ตํ า บลใด
ไมปรากฏชัด อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เกี่ยวพันกัน ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 7, 8, 26, 76/1 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 26 วรรคสอง, 76/1 วรรคสอง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ลงโทษจําคุก 15 ป
และปรับ 300,000 บาท ไมชําระคาปรับใหจัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 โดยใหกักขัง
แทนคาปรับเกินกวาหนึ่งปแตไมเกินสองป
/จําเลยอุทธรณ...
-๓๘-

จําเลยอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ พิ พากษาแก เ ป น วา จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให โ ทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 26 วรรคสอง, 76/1 วรรคสอง ประกอบดวย ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
ใหจําคุก 10 ป และปรับ 200,000 บาท ไมชําระคาปรับใหจัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29,
30 โดยใหกักขังแทนคาปรับเกินกวาหนึ่งปแตไมเกินสองป
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิเ คราะห แล ว มีปญหาที่จะตองวินิจฉัย ตามฎีกาของโจทกวา จําเลยเปน ตัว การ
รว มกั บพวกดั งกลา วกระทํ าความผิ ดฐานมีกัญชาไวในครอบครองเพื่อจําหนายโดยไมไดรับ อนุญาตหรือไม
เห็นวา การที่พวกของจําเลยซึ่งมีอยูถึง 4 คน มอบหมายใหจําเลยเพียงคนเดียว ทําหนาที่นั่งอยูในรถคันที่ใชขน
กั ญ ชาของกลางจากจุ ด รั บ มอบคื อ ที่ อํา เภอหาดใหญ จั งหวั ดสงขลา เพื่ อไปสง ยั งจุ ด หมายปลายทาง คื อ
จังหวัดปตตานี และจําเลยก็รับหนาที่ดังกลาวเห็นไดวา เปนหนาที่สําคัญ คือการเปนตัวแทนของฝายรับซื้อ
กัญชาของกลางและรับมอบ รับขนยายโดยมีกัญชานั้นอยูในความยึดถือหรือความปกครองดูแลของจําเลยดวย
การกระทําของจําเลยหาใชเพียงแตชวยเหลือหรือใหความสะดวกในการขนยายกัญชาของกลางแตเปนการ
ลงมือขนยายเอง ถือวาจําเลยมีกัญชาของกลางไวในครอบครองเพื่อจําหนาย เมื่อจําเลยกับพวกกระทํารวมกัน
เพื่ อ ให บ รรลุ ต ามความประสงค โ ดยการกระทํ า แต ล ะขั้ น ตอนเป น สาระสํ า คั ญ ก อ ให เ กิ ด เป น ความผิ ด ขึ้ น
การกระทํ าของจําเลยจึงถือไดวาเปนตั วการ ไมใชเปนแคเพียงผูส นับสนุน ที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวา จําเลย
เปนเพียงผูสนับสนุน ไมตองดวยความเห็นของศาลฎีกา ฎีกาของโจทกฟงขึ้น
พิพากษากลับ ใหบังคับคดีไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๓๙-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4449/2554
ป.อ. ลักทรัพยหรือรับของโจร (มาตรา 338, 357)

การนับโทษตอจากโทษในคดีอื่นไดไมเกิน 50 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา


91(3) นั้น ตองเปนกรณีที่จําเลยกระทําความผิดหลายกรรมและถูกฟองเปนคดีเดียวกัน หรือในกรณีท่ี
จําเลยถูกฟองหลายคดี และเปนคดี ที่เกี่ยวพันกันศาลสั่งใหรวมการพิจ ารณาพิพากษาดวยกัน หรือคดี
เกี่ยวพันกันซึ่งโจทกแยกฟองเปนหลายคดีและไมมีการรวมการพิจารณาพิพากษาเขาดวยกัน แตคดีนี้เปน
คดีที่โจทกขอใหนับโทษตอกันและแตละคดีเปนความผิดตางกรรมตางวาระกันและมีเจตนาในการกระทํา
ความผิดแยกตางหากจากกันไป ไมอาจฟองเปนคดีเดียวกันหรือรวมการพิจารณาพิพากษาเขาดวยกันได
กรณีจึงไมอยูในบังคับประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 (3)

พนักงานอัยการจังหวัดจันทบุรี โจทก
ระหวาง
นายกนกพลหรือเสนห เยี่ยมสวัสดิ์ จําเลย

คดีสืบเนื่องมาจากศาลอุทธรณมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจําเลยตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 289 (4) ประกอบมาตรา 80 มาตรา 289 (4) ประกอบมาตรา 60, 83 พระราชบัญญัติอาวุธปน
เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 55, 78 วรรคหนึ่ง
วรรคสาม ประกอบด ว ยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 การกระทําของจําเลยเปน กรรมเดียวผิดตอ
กฎหมายหลายบท ใหลงโทษฐานรวมกันฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน อันเปนกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 ลงโทษประหารชีวิต ลดโทษใหหนึ่งในสามตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 78 ประกอบดวยมาตรา 52 (1) คงจําคุกตลอดชีวิต และนับโทษจําเลยตอจากโทษของจําเลยที่ 1 ใน
คดีอาญาหมายเลขแดงที่ 3699/2548 ของศาลชั้นตน
จําเลยยื่นคํารองวา การจะพิพากษาใหนับโทษตอจากคดีอื่นเปนดุลพินิจของศาล ซึ่งตองไมขัด
ตอประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (3) ซึ่งบทบัญญัติดังกลาวมีเจตนารมณวา การจําคุกจําเลยถาโทษ
จําคุกเปนตัวเลข เมื่อรวมโทษจําคุกกันแลวโทษจําคุกจะตองไมเกิน 50 ป เวนแตโทษจําคุกตลอดชีวิต ซึ่ง
หมายความวายกเวนโทษจําคุกตลอดชีวิต เพราะไมเปนตัวเลขจึงเอาโทษจําคุกใด ๆ มารวมหรือนับตอไมได
ขอใหมีคําสั่งและออกหมายจําคุกจําเลยไมนับโทษจําเลยตอจากโทษของจําเลยที่ 1 ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่
3699/2548 ของศาลชั้นตน

/ศาลชัน้ ตน...
-๔๐-

ศาลชั้นตนพิจารณาแลวมีคําสั่งวา คําพิพากษาของศาลอุทธรณในคดีนี้ไดวินิจฉัยในประเด็น
เรื่องนับโทษตอตามคํารองของจําเลยไวชัดแจงแลววา สามารถนับโทษจําคุกตลอดชีวิตตอจากคดีหนึ่งได จําเลย
ก็มิไดฎีกาในปญหาขอกฎหมายนี้ กรณีจึงเปนการแกไขคําพิพากษา มิใชแกไขกฎหมาย ซึ่งศาลชั้นตนไมมี
อํานาจเพราะคดีถึงที่สุดแลว ยกคํารอง
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว แมคดีนี้ศาลอุทธรณจะมีคําพิพากษาลงโทษจําคุก
จํ า เลยและออกหมายจํ า คุ ก เมื่ อ คดี ถึ ง ที่ สุ ด โดยนั บ โทษคดี น้ี ต อ จากโทษในคดี อ าญาหมายเลขแดงที่
3966/2548 ของศาลชั้นตน จนคดีถึงที่สุดแลวก็ตาม หากปรากฏวาการนับโทษตอดังกลาวขัดตอประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 91 (3) จําเลยยอมมีอํานาจยื่นคํารองขอใหศาลชั้นตนแกไขหมายจําคุกเมื่อคดีถึงที่สุด
ใหมใหถูกตองได ไมเปนการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงคําพิพากษาศาลอุทธรณแตอยางใด เพราะเปนเรื่องการ
บังคับคดี และยอมมีสิทธิอุทธรณฎีกาได
คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามฎีกาจําเลยวา จะนับโทษจําเลยในคดีนี้ตอจากโทษในคดีอาญา
หมายเลขแดงที่ 3966/2548 ของศาลชั้นตนไดหรือไม ศาลฎีกาเห็นวาการนับโทษตอจากโทษในคดีอื่นได
ไมเกิน 50 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (3) นั้น ตองเปนกรณีที่จําเลยกระทําผิดหลายกรรมตางกัน
และถูกฟองเปนคดีเดียวกัน หรือในกรณีที่จําเลยถูกฟองหลายคดี และเปนคดีที่เกี่ยวพันกันจนศาลไดมีคําสั่งให
รวมการพิจารณาพิพากษาเขาดวยกัน คดีที่เกี่ยวพันกันซึ่งโจทกควรจะฟองจําเลยเปนคดีเดียวกัน หรือควรจะมี
การรวมการพิ จ ารณาพิ พากษาเข า ด ว ยกัน แตโ จทกกลับ แยกฟองเปน หลายคดี และไมมีการรวมพิจ ารณา
พิพากษาเขาดวยกัน แตสําหรับคดีนี้และคดีที่โจทกขอใหนับโทษตอกันนั้น เปนความผิดตางกรรมตางวาระและ
มีเจตนาในการกระทําผิดแยกตางจากกัน ไมอาจฟองเปนคดีเดียวกันหรือรวมการพิจารณาพิพากษาเขาดวยกัน
ได กรณีดังกลาวไมอยูในบังคับของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (3) ดังนั้น ศาลยอมนับโทษคดีนี้ตอจาก
โทษในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 3966/2548 ของศาลชั้นตนได ที่ศาลอุทธรณพิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็น
พองดวยในผล ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๔๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4671/2554
ป.อ. ขมขืนกระทําชําเรา (มาตรา ๒๗๖)

ขณะที่ผเู สียหายไปพบจําเลยตามที่จําเลยนัดไป ผูเสียหายสวมชุดนอน เสื้อยกทรง กางเกง


ชั้นในและกางเกงขาสั้นผายืดยาวเลยเขา เมื่อพิเคราะหภาพถายประกอบลักษณะที่ผูเสียหายอางวาจําเลย
ขมขืนกระทําชําเรา ปรากฏวาผูเสียหายนอนหงายหลังพิงเบาะรถจักรยานยนต ศีรษะหันไปทางทายรถ เทา
สองขางงอเหยียบขางรถซึ่งจอดอยูขางอาคารโดยยกขาตั้งคูขึ้น อันเปนลักษณะทาทางพิเศษยากแกการที่
จะขมขืนกระทําชําเรา ทั้งยังไดความจากผูเสียหายวากอนกระทําชําเรา จําเลยไดเลาโลมอารมณทางเพศ
ของผูเสียหายใหพรอมในการรวมเพศ สวนรถจักรยานยนตที่ผูเสียหายนอนอยูบนเบาะก็จอดอยูขางอาคาร
มีตัวอาคารบังดานเดียว สวนอีกสามดานเปดโลงอยู จึงไมนาเชื่อวาการกระทําชําเราของจําเลยจะเปนการ
ขมขืนผูเสียหาย

พนักงานอัยการจังหวัดสุพรรณบุรี โจทก

ระหวาง

นายโชคชัย กาฬภักดี จําเลย

โจทกฟองวา จําเลยขมขืนกระทําชําเรานางสาว ว. ผูเสียหาย ซึ่งมิใชภริยาตน จนสําเร็จความ


ใคร 1 ครั้ง ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
276 วรรคหนึ่ง ลงโทษจําคุก 10 ป ลดโทษใหหนึ่งในสี่ คงจําคุก 7 ป 6 เดือน
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 7 พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก
-๔๒-

โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิจารณาแลว เห็นวา การกระทําชําเราระหวางจําเลยและผูเสียหายในคดีนี้เปนเรื่อง
ที่อยูในความรับรูของบุคคลเพียง 2 คน เทานั้น คือ จําเลยและผูเสียหาย ไมมีบุคคลอื่นรูเห็น การรับฟงคําเบิก
ความของผูเสียหายซึ่งกลาวหาวาจําเลยขมขืนกระทําชําเราผูเสียหาย ไมใชการรวมเพศกันโดยสมัครใจจึงตอง
พิจารณาดวยความระมัดระวัง โดยตองพิเคราะหถึงขอเท็จจริงทั้งกอนกระทํา ขณะกระทําและหลังกระทํา
ประกอบกัน นอกเหนือจากประเด็นเรื่องเกียรติยศและศักดิ์ศรีของลูกผูหญิงซึ่งเปนเรื่องหลักการโดยทั่วไป ขณะ
เกิดเหตุผูเสียหายเปนหญิงสาว อายุ 26 ป มีความเปนผูใหญกวาจําเลยซึ่งเปนชายหนุมอายุเพียง 20 ป ขณะที่
ผูเสียหายไปพบจําเลยตามที่จําเลยนัดไป ผูเสียหายสวมชุดนอนเสื้อยกทรง กางเกงชั้นในและกางเกงขาสั้นผา
ยืดยาวเลยเขา และพบกันที่สนามบาสเกตบอลซึ่งมีตนไมขึ้นอยูโดยรอบในยามวิกาล เวลา 20 นาฬิกา อัน
แสดงให เ ห็ น ถึ งความสั มพั น ธ ที่ใกล ชิ ด ลึ กซึ้ง ของผูเสี ย หายกับ จําเลย เมื่อพิเคราะหป ระกอบกับ ลักษณะที่
ผู เ สี ย หายอ า งว า จํ า เลยข ม ขื น กระทํ า ชํ า เราผู เ สี ย หาย ซึ่ ง ปรากฏว า ผู เ สี ย หายนอนหงายหลั ง พิ ง เบาะ
รถจักรยานยนต ศีรษะหันไปทางทายรถ เทาสองขางงอเหยียบขางรถซึ่งจอดอยูขางอาคารโดยยกขาตั้งคูขึ้น อัน
เปนลักษณะทาทางพิเศษยากแกการที่จะขมขืนกระทําชําเรา ทั้งยังไดความจากผูเสียหายวากอนกระทําชําเรา
จําเลยใชนิ้วมือแหยอวัยวะเพศของผูเสียหาย แสดงใหเห็นถึงการเลาโลมอารมณทางเพศของผูเสียหายใหพรอม
ในการรวมเพศ สวนรถจักรยานยนตที่ผูเสียหายนอนอยูบนเบาะก็จอดอยูขางอาคาร มีตัวอาคารบังเพียงดาน
เดียว อีก 3 ดานเปดโลงอยู ไมนาเชื่อวาการกระทําชําเราของจําเลยจะเปนการขมขืนผูเสียหาย สถานที่เกิดเหตุ
อยูใกลบานของผูเสียหายโดยอยูหางกันเพียง 30 เมตร หากจําเลยขมขืนกระทําชําเราผูเสียหายจริง หลังเกิด
เหตุผูเสียหายนาที่จะรีบไปรองทุกขตอเจาพนักงานเพื่อใหดําเนินคดีแกจําเลยโดยไมชักชา ขออางตามฎีกาของ
โจทกที่วา เหตุที่ผูเสียหายไมไปแจงความทันที เพราะกลัวญาติของจําเลยซึ่งเปนผูมีอิทธิพลในทองถิ่นและเปด
โอกาสใหเจรจาประนีประนอมกัน ไมมีน้ําหนักใหรับฟง เพราะในที่สุดผูเสียหายก็รองทุกขตอพนักงานสอบสวน
เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2547 อันเปนเวลาหลังเกิดเหตุนาน 1 เดือนเศษอยูดี โดยไมมีปญหาเรื่องความกลัว
อิทธิพลในทองถิ่น สวนบันทึกขอความลงวันที่ 16 ตุลาคม 2547 ก็ปรากฏขอความแตเพียงวาผูเสียหายถูก
จําเลยลวงละเมิดทางเพศ (ขมขืน) ญาติของจําเลยแสดงความรับผิดชอบโดยจายเงินจํานวน 16,400 บาท
เปนคาทําขวัญใหแกผเู สียหาย ผูลงนามวาเปนผูกระทําความผิดคือนาย ว. ซึ่งเปนพี่เขยของจําเลยโดยระบุวาลง
นามแทนจํ า เลยผู ก ระทํ า ความผิ ด หาใช จํา เลยเป น ผูล งนามยอมรับ ว ากระทํ าผิ ดฐานข มขืน กระทํา ชํา เรา
ผูเสียหายไม สวนบันทึกขอความตามเอกสารก็ระบุแตเพียงวานาง ก. จายเงินคาทําขวัญจํานวน 16,400 บาท
ใหแกผูเสียหายในกรณีที่จําเลยทําใหผูเสียหายเสื่อมเสียชื่อเสียง หาใชจําเลยเปนผูจายไม กรณีมีความสงสัยตาม
สมควรวาจําเลยไดกระทําความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราผูเสียหายหรือไมจึงตองยกประโยชนแหงความสงสัย
นั้น ให จํา เลยตามประมวลกฎหมายวิธี พิจ ารณาความอาญา มาตรา 227 วรรคสอง ที่ศาลอุทธรณภาค 7
พิพากษายกฟองมานั้นชอบแลว ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน
-๔๓-

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๔๔-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5503/2554
ป. อ. ปองกัน เจตนาฆา (มาตรา ๖๘, ๒๘๘)
ป.วิ.อ. การรับฟงคําใหการของพยานชั้นสอบสวน (มาตรา 134/4)

ทอนเหล็กที่จําเลยใชเปนอาวุธตีผูตาย เปนทอนเหล็กที่มีความหนาและมีขนาดยาว เมื่อ


จําเลยตีถูกอวัยวะสวนสําคัญของรางกายคือบริเวณเบาตาและศีรษะของผูตาย เล็งเห็นไดจากอาวุธและ
อวัยวะสวนสําคัญวาผูตายอาจถึงแกความตายได การกระทําของจําเลยจึงมีเจตนาฆาผูตาย
ผูตายไมพอใจดุดาวากลาวภรรยา เมื่อจําเลยสอดแทรกเขามาก็เกิดพูดโตเถียงกับผูตายซึ่ง
มึนเมาสุรา ตามพฤติการณผูตายไมไดมีการกระทําที่จะเปนการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมายตอจําเลย
หรือผูอื่น และผูตายไมไดกระทําใหเกิดภยันตรายที่ใกลจะถึงตัวจําเลยหรือผูอื่น แตจําเลยโมโหจึงใชทอน
เหล็กตีผูตาย การกระทําของจําเลยไมเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย
คํ า ให ก ารชั้ น สอบสวนของนาง จ. และนางสาว ร พยานโจทก ไ ด ใ ห ก ารต อ พนั ก งาน
สอบสวนไวในระยะเวลากระชั้นชิดกับเวลาเกิดเหตุภายหลังที่ผูตายถึงแกความตายไมนาน ยังไมมีโอกาส
ไตรต รองเพื่ อบิ ดเบือนข อเท็ จจริงให เ ปน อยางอื่น นาจะเปน การใหการไปตามความจริง และคําใหการ
ชั้นสอบสวนของพยานโจทก ทั้งสองสอดคลองกับคํา ใหการรับสารภาพชั้นสอบสวนของจําเลย แตเมื่อ
ภายหลั งที่ เ หตุ ก ารณ ผ า นไปแล วเป น เวลานาน พยานโจทก ทั้งสองจึง มาเบิก ความตอ ศาลในลัก ษณะ
ชวยเหลือจําเลยซึ่งเปนบุตรเขยของนาง จ. และสามีของนางสาว ร. ศาลจึงเชื่อถือรับฟงขอเท็จจริงตามที่
ปรากฏในคําใหการชั้นสอบสวนมากกวาคําเบิกความในศาล

พนักงานอัยการจังหวัดนครราชสีมา โจทก

ระหวาง
นายยอด กองไธสง จําเลย
โจทกฟองวาจําเลยใชทอนเหล็กกลมมีดามยาวประมาณ 14 นิ้วครึ่ง เปนอาวุธตีนาย บ. ที่
บริเวณเบาตาขวาและบริเวณศีรษะดานขวาเหนือใบหูขวา 2 ครั้ง โดยเจตนาฆา เปนเหตุใหนาย บ. ถึงแกความ
ตาย ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 33 และริบทอนเหล็กของกลาง

/จําเลยใหการ...
-๔๕-

จําเลยใหการตอสูอางเหตุปองกัน
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษา ลงโทษจําเลยจําคุก 16 ป ลดโทษใหหนึ่งในสี่ คงจําคุก 12 ป
และริบทอนเหล็กของกลาง
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 3 พิพากษายืน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ไดความจากคําใหการชั้นสอบสวนของนาง จ. ภริยา
ผูตาย และนางสาว ร. ภริยาของจําเลยและเปนบุตรเลี้ยงของผูตาย ซึ่งเปนประจักษพยานอยูในที่เกิดเหตุวา
ขณะที่นาง จ. และนางสาว ร. กําลังนั่งรับประทานอาหารเชาที่บานเกิดเหตุ ผูตายมีอาการมึนเมาสุราเดินถือ
เนื้อหมูเขามาแลวบอกใหนาง จ. นําเนื้อหมูไปทําลาบใหผูตายรับประทาน นาง จ.บอกวากินขาวกอนจะทําให
ผูตายพูดวาจะทําหรือไมทํา และจะเขาทํารายนาง จ. ขณะนั้นจําเลยเขามาพอดีรองถามวามีเรื่องอะไรกัน
ผูตายจึงพูดวาจะฆาใหตายทั้งหมดทั้ง 3 คน แลวผูตายกับจําเลยพูดโตเถียงกัน จําเลยหยิบทอนเหล็กตีที่เบาตา
ผูตาย 1 ครั้งและตีบริเวณศีรษะดานขวาอีก 1 ครั้ง ทําใหผูตายลมลงและถึงแกความตายในคืนเกิดเหตุ แมใน
ชั้นพิจารณานาง จ. และนางสาว ร. พยานโจทกจะเบิกความวาเมื่อจําเลยและผูตายโตเถียงกันแลว ผูตายวิ่งไป
ควาอาวุธปนแกปยาวที่พิงอยูขางเตียงนอนมาเล็งทําทาจะยิงไปทางจําเลย จําเลยจึงควาทอนเหล็กตีไปที่บริเวณ
ศีรษะผูตาย 1 ครั้ง ผูตายลมลงแลวลุกขึ้นหยิบอาวุธปนดังกลาวจะยิงจําเลยอีก จําเลยจึงใชทอนเหล็กตีไปที่
บริเวณเบาตาผูตายอีก 1 ครั้ง ซึ่งศาลฎีกาพิเคราะหแลว เห็นวา คําใหการชั้นสอบสวนของนาง จ. และนางสาว
ร. พยานโจทกดังกลาวไดใหการตอพนักงานสอบสวนไวในระยะเวลากระชั้นชิดกับเวลาเกิดเหตุภายหลังที่ผูตาย
ถึงแกความตายไมนาน พยานโจทกทั้งสองปากยังไมมีโอกาสไตรตรองเพื่อบิดเบือนขอเท็จจริงใหเปนอยางอื่น
นาจะใหการไปตามความจริงในขณะที่ศพผูตายซึ่งเปนสามีของนาง จ. และเปนบิดาเลี้ยงของนางสาว ร. ยังอยู
แต เ มื่ อ ภายหลั งที่ เ หตุ การณ ผ า นไปแล ว เปน เวลานาน พยานโจทก ทั้งสองจึง เบิ กความตอ ศาลในลัก ษณะ
ชวยเหลือจําเลย ซึ่งเปนบุตรเขยของนาง จ. และสามีของนางสาว ร. วา ขณะเกิดเหตุผูตายจะใชอาวุธปนแกป
ยิงจําเลย จําเลยจึงใชทอนเหล็กตีผูตายเพื่อปองกันตัว ซึ่งคําใหการชั้นสอบสวนของนาง จ. และนางสาว ร.
พยานโจทก ก็สอดคลองกับคําใหการรับสารภาพชั้นสอบสวนของจําเลยและบันทึกการนําชี้ท่ีเกิดเหตุประกอบ
คํารับสารภาพและภาพถาย ดังนั้น ศาลฎีกาจึงเชื่อถือรับฟงขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําใหการชั้นสอบสวน
ของนาง จ. และนางสาว ร. ประจักษพยานโจทกมากกวาคําเบิกความของประจักษพยานโจทกทั้งสองในศาล
ชั้นตน เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวาผูตายเพียงแตพูดโตเถียงกับจําเลยเพราะผูตายมึนเมา จําเลยเกิดอาการโมโห
ดังที่ใหการไวในชั้นสอบสวนจึงใชทอนเหล็กตีผูตายจนถึงแกความตาย การกระทําของจําเลยดังกลาวเปนการ
กระทําโดยเจตนาฆาผูตายตามฟอง ที่จําเลยฎีกาวา การกระทําของจําเลยเปนการปองกันนั้น เห็นไดวาผูตาย
ไมไดมีการกระทําที่จะเปนการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมายตอจําเลยหรือผูอื่น และมีภยันตรายอันเกิดจาก
การกระทําของผูตายที่ใกลจะถึงตัวจําเลยหรือผูอื่นเลย เพียงแตผูตายไมพอใจดุดาวากลาวนาง จ. ภริยาเทานั้น
/เมื่อจําเลย...
-๔๖-

เมื่ อ จํ า เลยสอดแทรกเข า มาก็ เ กิ ด พู ด โต เ ถี ย งกั บ ผู ต ายซึ่ ง มึ น เมาสุ ร า จํ า เลยโมโหจึ ง ใช ท อ นเหล็ ก ตี ผู ต าย
การกระทําของจําเลยเชนนี้ไมเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายแตอยางใด และเมื่อพิจารณาทอนเหล็ก
ตามภาพถายซึ่งจําเลยใชเปนอาวุธตีผูตาย เปนทอนเหล็กที่มีความหนาและมีขนาดยาว เมื่อจําเลยตีถูกอวัยวะ
สวนสําคัญของรางกายคือบริเวณเบาตาและศีรษะของผูตาย เล็งเห็นไดวาจากอาวุธที่จําเลยใชและอวัยวะสวนสําคัญ
ที่จําเลยตีผูตาย ผูตายอาจถึงแกความตายได การกระทําของจําเลยจึงมีเจตนาฆาผูตาย
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๔๗-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5634/2554
ป.อ. ฆาผูอื่น ปองกัน กระทําโดยพลาด (มาตรา ๒๘๘, 68, 60)
การที่จําเลยและผูตายเดินออกไปพรอมกันแลวมีการกอดรัดฟดเหวี่ยงตอสูกัน หากผูตายใชมีด
แทงจํ า เลยก อน จํ า เลยน า จะได รั บ บาดแผลบ า ง แตก็ไ ม ปรากฏวา จํา เลยได รับบาดแผลอย า งไร ตาม
พฤติการณแหงคดีนาเชื่อวาจําเลยสมัครใจวิวาทกับผูตาย การที่จําเลยใชมีดแทงผูตายจึงไมเปนการปองกัน
โดยชอบดวยกฎหมาย
ขณะที่ผูเสียหายเขาหามและผลักจําเลยกับผูตายใหแยกออกจากกัน ผูเสียหายถูกมีดของจําเลย
ที่จําเลยใชเปนอาวุธแทงถูกผูเสียหาย ไมปรากฏวาจําเลยมีเจตนาที่จะทํารายผูเสียหายโดยตรง แตเปน
กรณีที่จําเลยใชมีดเปนอาวุธแทงผูตายโดยเจตนาฆาแลวพลาดไปถูกผูเสียหายไดรับบาดเจ็บ การกระทํา
ของจําเลยจึงเปนความผิดฐานพยายามฆาผูเสียหายโดยพลาด

พนักงานอัยการจังหวัดตรัง โจทก

ระหวาง นายวิชิต กุลตัน จําเลย

โจทกฟองวา จําเลยกระทําความผิดตอกฎหมายหลายกรรมตางกัน โดยจําเลยใชมีดปลายแหลม


เปนอาวุธแทงนาย ป. ผูตายหลายครั้งโดยเจตนาฆา คมมีดถูกผูตายบริเวณขางลิ้นปซายและกลางอก เปนเหตุ
ใหผูตายถึงแกความตาย และจําเลยใชมีดปลายแหลมแทงทํารายรางกายนาย ร. ผูเสียหาย 1 ครั้ง คมมีดถูก
ผูเสียหายบริเวณตนแขนซาย เปนเหตุใหผูเสียหายไดรับอันตรายแกกาย ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 91, 288, 295
จําเลยใหการปฏิเสธ แตกอนสืบพยาน จําเลยขอถอนคําใหการเดิมและใหการใหมในขอหา
ฆาผูอื่นโดยตอสูอางเหตุปองกันตัว สวนขอหาอื่นนอกจากนี้ใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288,
295 ประกอบมาตรา 60 การกระทําของจําเลยเปนกรรมเดียว เปนความผิดตอกฎหมายหลายบทลงโทษฐาน
ฆาผูอื่น ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 จําคุกตลอดชีวิต ทางนําสืบของ
จําเลยเปนประโยชนแกการพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78
/หนึง่ ในสาม...
-๔๘-

หนึ่งในสาม คงจําคุก 33 ป 4 เดือน


จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 9 พิพากษาแกเปนวา ลงโทษจําเลยฐานฆาผูอื่นซึ่งเปนกฎหมายบทที่มีโทษ
หนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 จําคุก 20 ป ลดโทษใหตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78
หนึ่งในสาม คงจําคุก 13 ป 4 เดือน นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ขอเท็จจริงที่โจทกและจําเลยมิไดฎีกาโตแยงกัน
รับฟงไดวาตามวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุในฟอง จําเลยใชมีดปลายแหลมแทงนาย ป. ผูตาย 2 ครั้ง เปนเหตุ
ถึงแกความตาย บาดแผลปรากฏตามรายงานการชันสูตรพลิกศพ ระหวางที่จําเลยใชมีดปลายแหลมแทงผูตายนั้น
ผูเสียหายไดเขาหามเปนเหตุใหผูเสียหายไดรับบาดแผลจากการถูกมีดของจําเลยที่ไหลซายไดรับอันตรายแกกาย
ปญหาตองวินิจฉัยมีวา การที่จําเลยใชมีดปลายแหลมเปนอาวุธแทงผูตายเปนเหตุใหผูตายถึงแกความตายนั้น
เปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม ขอนี้โจทกมีผูเสียหาย นาย น. นาง ภ. และนาย อ. เปนประจักษ
พยานเบิกความทํานองเดียวกันวา วันเกิดเหตุเวลาประมาณเที่ยงวันพยานทั้งสี่กับผูตายรวมกันนั่งดื่มสุราอยูที่
บานของนาย น. และนาง ภ. ซึ่งเปนสามีภริยากัน จนถึงเวลาประมาณ 19 นาฬิกา สุกรของนาย น. ไดออกลูก
ที่คอกสุกรของนาย น. ซึ่งอยูหางจากบานนาย น. ประมาณ 60 เมตร ระหวางที่พยานทั้งสี่กับผูตายมุงดูสุกร
ออกลูกอยูนั้น จําเลยเดินมาที่คอกสุกร พยานทั้งสี่กับผูตายจึงชักชวนจําเลยใหไปดื่มสุราตอกันที่บานนาย น.
ระหวางที่นั่งดื่มสุรากันอยูนั้น จําเลยกับผูตายกอดคอกันเดินออกจากวงสุราไปประมาณ 10 เมตร จําเลยกับ
ผูต ายก็ กอดรั ด ฟ ด เหวี่ ยงต อสู กัน แลว จํ า เลยใชมีดปลายแหลมแทงผูตาย ขณะที่จําเลยใชมีดแทงผูตายนั้น
ผูเสียหายไดเขาหามเพื่อแยกจําเลยออกจากผูตาย เปนเหตุใหผูเสียหายไดรับบาดแผลจากการถูกแทงดวยมีด
ปลายแหลม นอกจากนี้ เมื่อศาลตรวจดูรายละเอียดในบันทึกคําใหการชั้นสอบสวนของพยานทั้งสี่ท่ีใหการในวัน
ใกลชิดกับวันเกิดเหตุดังกลาวแลว ปรากฏวามีขอความสอดคลองกับคําเบิกความของพยานทั้งสี่ในชั้นศาล
คําเบิกความของพยานโจทกทั้งสี่จึงมีน้ําหนักนาเชื่อ จากพฤติการณแหงคดีที่มีการกอดรัดฟดเหวี่ยงตอสูกัน
และหากผูตายใชมีดแทงจําเลยกอนดังที่จําเลยนําสืบตอสูแลว จําเลยนาจะไดรับบาดแผลบาง แตก็ไมปรากฏวา
จําเลยไดรับบาดแผลอยางไร ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวาการที่จําเลยและผูตายเดินออกไปพรอมกันแลวเกิดการ
ตอสูกัน เชนนี้ นาเชื่อวาจําเลยสมัครใจวิวาทกับผูตาย ไมมีกรณีปองกันโดยชอบดวยกฎหมายแตอยางใด การ
กระทําของจําเลยจึงมีความผิดฐานฆาผูอื่นโดยเจตนา
ปญหาตองวินิจฉัยตอไปวาจําเลยกระทําความผิดฐานทํารายรางกายผูอื่นตามฟองหรือไม ขอนี้
โจทกมีผูเสียหายเปนประจักษพยานเบิกความไดความวา เมื่อพยานเห็นผูตายกับจําเลยตางกอดรัดตอสูกัน
พยานเขาไปผลักจําเลยและผูตายใหแยกออกจากกันในระหวางนั้นพยานถูกคมมีดไดรับบาดเจ็บที่ไหลซาย ศาล
ตรวจดู ร ายละเอี ย ดในบั น ทึ กคํ า ให การชั้น สอบสวนของผูเสีย หายดังกลาวแลว ผูเสีย หายใหการวาขณะที่

/ผูเ สียหาย...
-๔๙-

ผูเสียหายเขาไปดึงจําเลยนั้น จําเลยใชมีดปลายแหลมแทงผูเสียหายถูกบริเวณไหลทางดานซาย 1 แผล เห็นวา


แมคําเบิกความของผูเสียหายในชั้นศาลจะไมยืนยันวาจําเลยเปนผูที่ใชมีดแทงทํารายผูเสียหายก็ตาม แตเมื่อ
พิเคราะหจากคําใหการในชั้นสอบสวนของผูเสียหายตามเอกสาร ซึ่งพนักงานสอบสวนไดบันทึกคําใหการของ
ผูเสียหายไวในคืนเกิดเหตุนั้นเอง ผูเสียหายยืนยันวาถูกจําเลยใชมีดแทงไดรับบาดแผล แมในชั้นพิจารณาของ
ศาลผูเสียหายจะเบิกความไมยืนยันวาถูกจําเลยทํารายก็ตาม การที่ผูเสียหายเบิกความเปนพยานโจทกภายหลัง
เกิดเหตุเปนเวลาเกือบสองป กรณีนาเชื่อวาผูเสียหายพยายามเบิกความในชั้นศาลเพื่อที่จะชวยเหลือจําเลย
คําใหการในชั้นสอบสวนของผูเสียหายจึงมีน้ําหนักดียิ่งกวาคําเบิกความในชั้นศาล นาเชื่อไดวาขณะที่ผูเสียหาย
เขาหามและผลักจําเลยกับผูตายใหแยกออกจากกันนั้น ผูเสียหายถูกมีดของจําเลยที่จําเลยใชเปนอาวุธแทง
ผูเสียหาย และจากทางนําสืบของโจทก ไมปรากฏวาจําเลยมีเจตนาที่จะทํารายผูเสียหายโดยตรง กรณีที่จําเลย
ใชมีดเปนอาวุธแทงผูตายโดยเจตนาฆาแลวพลาดไปถูกผูเสียหายไดรับบาดเจ็บเชนนี้ การกระทําของจําเลยจึงมี
ความผิดฐานพยายามฆาผูเสียหายโดยพลาด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 80 ประกอบ 60
การที่ศาลลางทั้งสองปรับบทลงโทษจําเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 มานั้นเปนการไมชอบ
อย างไรก็ดี เนื่ องจากโจทกมิได ฟองขอใหล งโทษจําเลยฐานพยายามฆาผูเสียหาย ความผิดฐานพยายามฆา
ผูเสียหายจึงเปนขอหาที่โจทกไมประสงคใหลงโทษ ศาลจะลงโทษจําเลยในขอหาพยายามฆาผูเสียหายไมได ความผิด
ฐานพยายามฆานั้นรวมการกระทําความผิดฐานทํารายรางกายอยูดวย ดังนั้นศาลจึงลงโทษจําเลยไดเพียงความผิด
ฐานทํารายรางกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เทาที่ศาลลางทั้งสองลงโทษมา และการกระทํา
ของจําเลยเปนความผิดตอกฎหมายหลายบท ที่ศาลอุทธรณภาค 9 ลงโทษจําเลยฐานฆาผูอื่นอันเปนกฎหมาย
บทที่มีโทษหนักที่สุดมานั้น ชอบแลว ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๕๐-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5671/2554
ป.อ. ขอคืนของกลาง (มาตรา 36)
ป.พ.พ. ใชสิทธิโดยไมสจุ ริต (มาตรา 4)
พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522

เมื่อผูรองยื่นคํารองขอคืนของกลาง ผูรองยอมมีภาระการพิสูจนวาตนไมไดรูเห็นเปนใจดวย
ในการกระทําความผิดของจําเลย แตปรากฏวาหลังจากที่ผูรองทราบวาเจาพนักงานยึดรถยนตของกลาง
เนื่องจากเปนทรัพยที่ใชในการกระทําความผิดแลว ผูรองไมใชสิทธิบอกเลิกสัญญาแตยังคงรับคาเชาซื้อ
ตอไป และมาขอคืนรถยนตของกลาง หากศาลมีคําสั่งคืนรถยนตตามคํารองของผูรองและผูเชาซื้อไดชําระ
คาเชาซื้อครบถวน รถยนตของกลางยอมตกเปนของผูเชาซื้อ พฤติกรรมของผูรองดังกลาวมีลักษณะเปน
การกระทําเพื่อประโยชนของผูเชาซื้อโดยตองการไดแตคา เชาซื้อเทานั้น ถือเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต จึง
ฟงไมไดวาผูรองมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิดของจําเลย

พนักงานอัยการจังหวัดนครราชสีมา โจทก
บริษทั ซิตี้ลิสซิ่ง จํากัด ผูรอง
ระหวาง

นายบุญสงหรือสาม หนูเทศ ที่ 1 กับพวกรวม 4 คน จําเลย

คดี สื บ เนื่ อ งมาจากศาลชั้ น ต น พิ พ ากษาลงโทษจํ า เลยที่ 1 ถึ ง ที่ 3 ตามพระราชบั ญ ญั ติ


ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และริบรถยนตหมายเลขทะเบียน ธบ 4301 กรุงเทพมหานคร ของกลาง
ผู ร อ งยื่ น คํ า ร อ งว า ผู ร อ งเป น เจ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ร ถยนต ห มายเลขทะเบี ย น ธบ 4301
กรุงเทพมหานคร ของกลาง ผูรองใหนาย จ. เชาซื้อรถยนตของกลางไป ผูรองมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทํา
ความผิดของจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ขอใหคืนรถยนตของกลางแกผูรอง
โจทกยื่นคําคัดคานวา ผูรองมิใชเจาของกรรมสิทธิ์รถยนตของกลางและรูเห็นเปนใจในการ
กระทําความผิดของจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ผูรองมิไดมีความประสงคจะเอารถยนตของกลาง แตยื่นคํารองแทน
/จําเลยที่ 1...
-๕๑-

จําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ซึ่งเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต ขอใหยกคํารอง


ศาลชั้นตนไตสวนแลว มีคําพิพากษายกคํารอง
ผูรองอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 3 พิพากษายืน
ผูรองฎีกา
ศาลฎี กาพิเ คราะห แล ว ขอเท็จจริง ฟงไดวาผูรองเปน เจาของกรรมสิทธิ์รถยนตห มายเลข
ทะเบียน ธบ 4301 กรุงเทพมหานคร ของกลาง เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2549 ใหนาย จ. เชาซื้อรถยนตของ
กลาง ตกลงชําระคาเชาซื้อเปนงวด ตอมาวันที่ 13 มกราคม 2550 จําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 กับพวกนํารถยนตของ
กลางไปใชกระทําความผิดคดีนี้ โจทกฟองจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 กับพวกเปนคดีนี้เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2550
จําเลยยื่นคํารองขอคืนของกลางวันที่ 4 พฤษภาคม 2550 และศาลชั้นตนมีคําพิพากษาลงโทษจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3
และใหริบรถยนตของกลาง เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550 มีปญหาวา ผูรองมิไดรูเห็นเปนใจในการกระทํา
ความผิดของจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 หรือไม เห็นวา พยานของผูรองไดตอบคําถามคานของโจทกวา ผูเชาซื้อไดชําระ
คาเชาซื้อตลอดมา ปจจุบันก็ยังชําระอยู ปรากฏวาพยานผูรองมาเบิกความตอศาลในวันที่ 15 ตุลาคม 2550
แสดงวาหลังจากที่ผูรองทราบวาเจาพนักงานยึดรถยนตของกลางเนื่องจากเปนทรัพยที่ใชในการกระทําความผิด
แลว ผูรองยังคงรับคาเชาซื้อตอไป อันเปนเหตุที่ผูรองอาจใชสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาซื้อแกผูเชาซื้อไดตามขอ 3
ของสัญญาเชาซื้อ แตผูรองก็ไมไดใชสิทธิดังกลาว โดยผูรองก็ไมไดนําสืบใหเห็นขอเท็จจริงวา นาย จ. ผูเชาซื้อ
ไมไดรวมหรือเกี่ยวของในการกระทําความผิดหรือไดยินยอมใหจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 กับพวกนํารถของกลางไปใช
กระทําความผิด ผูรองจึงไมอาจบอกเลิกสัญญา การที่ผูรองยังคงรับชําระคาเชาซื้อโดยไมบอกเลิกสัญญาและมา
ขอคืนรถยนตของกลาง หากศาลมีคําสั่งคืนรถยนตของกลางตามคํารองของผูรอง และผูเชาซื้อไดชําระคาเชาซื้อ
ครบถวน รถยนตของกลางยอมตกเปนของผูเชาซื้อ พฤติกรรมของผูรองมีลักษณะเปนการกระทําเพื่อประโยชน
ของผูเชาซื้อโดยตองการไดแตคาเชาซื้อเทานั้น ถือเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตในการขอคืนของกลาง เมื่อผูรอง
ยื่นคํารองขอคืนของกลาง ผูรองยอมมีภาระการพิสูจนวาตนไมไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิดของ
จําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 แตตามพยานหลักฐานที่ผูรองนําสืบมากลับปรากฏพฤติการณการใชสิทธิโดยไมสุจริตของ
ผูรอง จึงฟงไดวาผูรองมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิดของจําเลย
พิพากษายืน
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ
นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๕๒-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5724/2554
ป.อ. กระทําชําเรา (มาตรา 277)
ป.วิ . อ. ความผิ ด ตามที่ ฟ อ งรวมการกระทํา หลายอยา ง แต ละอย า งอาจเป น ความผิ ด ได อ ยูใ นตัว เอง
(มาตรา 192 วรรคทาย)

การกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 เดิม คือ การรวมประเวณีหรือ


การรวมเพศ โดยตองเปนการกระทําถึงขั้นใชอวัยวะเพศของชายใสลวงล้ําเขาไปในอวัยวะเพศของหญิง
เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
(ฉบั บ ที่ 19) พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรคสอง ที่ แ ก ไ ขใหม
ดังกลาวเปนการขยายขอบเขตของการกระทําชําเราใหกวางขึ้นเฉพาะในสวนเพศของผูกระทํากับเพศของ
ผูไดรับการกระทํา อวัยวะและสิ่งที่ใชกระทํากับอวัยวะที่ไดรับการกระทํากับเจตนาพิเศษในการกระทํา
อัน เปน การทํ าให บุค คลทุ ก เพศได รั บความคุมครองเทา เทียมกัน แตใ นสวนลักษณะของการกระทํา นั้น
มิ ไ ด มี ก ารแก ไ ขเปลี่ ย นแปลงแต อ ย า งใด จึ ง ยั ง ต อ งเป น การกระทํ า ถึ ง ขั้ น ใช อ วั ย วะเพศหรื อ สิ่ ง อื่ น ใด
ใส ล ว งล้ํ า เข า ไปในอวั ย วะต า ง ๆ ดั ง กล า วอั น เป น อวั ย วะที่ เ ป น ช อ งหรื อ รู เ ป ด ของร า งกาย ดั ง นั้ น
การที่จําเลยใชอวัยวะเพศถูไถบริเวณอวัยวะเพศของผูเสียหายอันเปนการสัมผัสภายนอก ไมมีการลวงล้ํา
เข า ไปในอวั ย วะเพศผู เ สี ย หาย จึ ง ยั ง ไม เ ป น ความผิ ด ฐานกระทํ า ชํ า เราตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 277 แต เ ป น การกระทํ า ที่ ไ ม ส มควรในทางเพศ อั น เป น ความผิ ด ฐานกระทํ า อนาจารตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคแรก การกระทําชําเรารวมถึงการกระทําอนาจารอยูในตัว
ศาลจึงลงโทษจําเลยฐานกระทําอนาจารตามที่พิจารณาไดความได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา 192 วรรคทาย
________________________________________

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก

ระหวาง

นายสุภีหรือเตี้ย ดวงหาคลัง จําเลย

โจทก ฟ อ งและแก ไ ขฟ องว า เมื่ อ วั น ที่ 14 พฤศจิ ก ายน 2550 เวลากลางคื น หลั ง เที่ ย ง
จํ า เลยกระทํ า ชํ า เราเด็ กหญิ ง ธ. ผู เ สี ย หาย อายุส่ี ป เ ศษ โดยใชอ วั ย วะเพศของจํ า เลยถู ไถกั บ อวั ย วะเพศ
ของผูเสียหายโดยผูเสียหายไมยินยอม เหตุเกิดที่แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ตอมาวันที่
22 พฤศจิ กายน 2550 เจ า พนั กงานตํารวจจับ จําเลยได ชั้น สอบสวนจําเลยใหการปฏิเสธ ขอใหล งโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277
-๕๓-

จําเลยใหการปฏิเสธ
กอนเริ่มสืบพยาน เด็กหญิง ธ. ผูเสียหาย โดยนาง จ. ผูแทนโดยชอบธรรมยื่นคํารองขอให
จําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนจํานวน 80,000 บาท
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 279 วรรคแรก จําคุก 2 ป และใหจําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเปนเงิน 10,000 บาท
ขอหาและคําขออื่นใหยก
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว มีปญหาตองวินิจฉัยตามฎีกาของโจทกเฉพาะปญหาขอกฎหมายวา
การกระทํ า ของจํ า เลยที่ ใ ช อ วั ย วะเพศของจํ า เลยถู ไ ถอวั ย วะเพศของผู เ สี ย หายเป น การกระทํ า ความผิ ด
ฐานกระทําชํา เราเด็ กอายุยั งไมเกิ นสิบสามปหรือไม เห็นวา การกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 277 เดิม คือ การรวมประเวณีหรือการรวมเพศ โดยตองเปนการกระทําถึงขั้นใชอวัยวะเพศของชาย
ใสลวงล้ําเขาไปในอวัยวะเพศของหญิง เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาตามพระราชบัญญัติ
แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบั บ ที่ 19) พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 277 วรรคสอง ที่แกไขใหม บัญญัติวา “การกระทําชําเราตามวรรคหนึ่ง หมายความวาการกระทํา
เพื่อสนองความใครของผูกระทําโดยการใชอวัยวะเพศของผูกระทํา กระทํากับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือ
ชองปากของผูอื่น หรือการใชสิ่ งอื่ นใดกระทํากับอวัย วะเพศหรือทวารหนักของผูอื่น” เห็นไดวา การแกไข
ดังกลาวเปนการขยายขอบเขตของการกระทําชําเราใหกวางขึ้นเฉพาะในสวนเพศของผูกระทํากับเพศของ
ผู ไ ด รั บ การกระทํ า อวั ย วะและสิ่ ง ที่ ใ ช ก ระทํา กับ อวั ย วะที่ไ ดรั บ การกระทํา กับ เจตนาพิ เ ศษในการกระทํ า
โดยจากเดิมเพศชายกระทํากับเพศหญิงเทานั้น เปนเพศใดกระทํากับเพศใดก็ได จากเดิมใชอวัยวะเพศชาย
กระทํากับอวัยวะเพศหญิงเทานั้น เปนใชอวัยวะเพศของผูกระทําเพศใดก็ไดกระทํากับอวัยวะเพศ ทวารหนัก
หรือชองปากของผูอื่นเพศใดก็ได หรือใชสิ่งอื่นใดกระทํากับอวัยวะเพศ หรือทวารหนักของผูอื่นเพศใดก็ได
แลวแตกรณี และตองกระทําโดยมีเจตนาพิเศษเพื่อสนองความใครของผูกระทํา อันเปนการทําใหบุคคลทุกเพศ
ไดรับความคุมครองเทาเทียมกัน แตในสวนลักษณะของการกระทํานั้น มิไดมีการแกไขเปลี่ยนแปลงแตอยางใด
จึ ง ยั ง ต อ งเป น การกระทํ า ถึ ง ขั้ น ใช อ วั ย วะเพศหรื อ สิ่ ง อื่ น ใดใส ล ว งล้ํ า เข า ไปในอวั ย วะต า ง ๆ ดั ง กล า ว
อันเปนอวัยวะที่เปนชองหรือรูเปดของรางกาย ดังนั้น การที่จําเลยใชอวัยวะเพศถูไถบริเวณอวัยวะเพศของ
ผู เ สี ย หายอั น เป น การสั มผั ส ภายนอก ไมมีการลว งล้ําเขาไปในอวัย วะเพศผูเสีย หาย จึงยังไมเปน ความผิ ด
ฐานกระทํ า ชํ า เราตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 แต เ ป น การกระทํ า ที่ ไ ม ส มควรในทางเพศ
อันเปนความผิดฐานกระทําอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคแรก การกระทําชําเรา

/รวมถึง...
-๕๔-

รวมถึ ง การกระทํ า อนาจารอยู ใ นตั ว ศาลจึ ง ลงโทษจํ า เลยฐานกระทํ า อนาจารตามที่พิ จ ารณาได ค วามได
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคทาย ที่ศาลลางทั้งสองพิพากษานั้น ศาลฎีกา
เห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๕๕-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5997/2554

ป.อ. เจตนาฆา พยายาม (มาตรา ๒๘๘,๘๐)


จําเลยที่ ๑ ใชอาวุธมีดปลายแหลมใบมีดยาว ๔ นิ้ว ดามมีดยาว ๔ นิ้ว เลือกแทงที่หนาอก
ขวาและชายโครงซาย ๓ ถึง ๔ ครั้ง ซึ่งเปนที่ตั้งของอวัยวะสําคัญ อันอาจทําใหผูเสียหายที่ ๑ ถึงแกความ
ตายได แต ผูเสียหายปดปองไวได จึงทําใหไดรับบาดเจ็บมีบาดแผล ๒ แหง การที่จําเลยที่ ๑ เลือกแทง
ผูเสียหายที่ ๑ จํานวน ๓ ถึง ๔ ครั้ง เปนการแสดงใหเห็นถึงเจตนาของจําเลยที่ ๑ วาประสงคใหผูเสียหายที่ ๑
ถึงแกความตาย คดีจึงรับฟงไดวาจําเลยที่ ๑ กระทําไปโดยมีเจตนาฆา เมื่อผูเสียหายที่ ๑ ไมถึงแกความตาย
จําเลยที่ ๑ จึงมีความผิดฐานพยายามฆาผูอื่น

พนักงานอัยการจังหวัดสระบุรี โจทก

ระหวาง นายอิ๊ดหรือเอ็กซ ดวงตา ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน จําเลย

โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2547 เวลากลางคืนหลังเที่ยง จําเลยทั้งสองกับพวก


อีกหลายคนซึ่งหลบหนีรวมกันพาอาวุธมีดปลายแหลมขนาดความยาวรวมดามประมาณ 6 ถึง 8 นิ้ว 1 เลม ไป
ตามถนนโครงการชลประทานอันเปนเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร จําเลยทั้งสองกับ
พวกรวมกันใชอาวุธมีดแทงนาย อ. ผูเสียหายที่ 1 ถูกที่บริเวณหนาอกและชายโครงหลายครั้งจนกระบังลมฉีกขาด
โดยมีเจตนาฆา จําเลยทั้งสองกับพวกลงมือกระทําความผิดไปตลอดแลว แตการกระทํานั้นไมบรรลุผล เนื่องจากมี
ผูเขาหามและแพทยรักษาผูเสียหายที่ 1 ไดทัน ผูเสียหายที่ 1 จึงไมถึงแกความตาย แตเปนเหตุใหผูเสียหายที่ 1
ไดรับอันตรายสาหัส จําเลยทั้งสองกับพวกรวมกันกระทําอนาจารแกนางสาว ก. ผูเสียหายที่ 2 อายุกวาสิบหาป
โดยใชกําลังประทุษราย กอดรัดคอไวแลวใชมือจับหนาอก นม และแขน ผูเสียหายที่ 2 ตอหนาธารกํานัล ขอให
ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 80, 83, 91, 278, 281, 288, 371 ริบมีดของกลาง
จําเลยที่ 1 ใหการรับสารภาพในขอหาพาอาวุธไปในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะโดยไมมี
เหตุสมควร และขอหารวมกันพยายามฆาผูอื่นใหการตอสูอางเหตุปองกัน สวนขอหาอื่นนอกจากนี้ใหการปฏิเสธ
จําเลยที่ 2 ใหการปฏิเสธ
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแลว พิพากษาวา จําเลยที่ 1 มีค วามผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288 ประกอบมาตรา 80 , 371 เปน ความผิดหลายกรรมตางกัน ใหลงโทษทุกกรรมเปนกระทง
ความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานพยายามฆาผูอื่น จําคุก 10 ป ฐานพาอาวุธไปในเมือง
-๕๖-

หมูบานหรือทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร ลดโทษกึ่งหนึ่ง คงปรับ 50 บาท ไมชําระคาปรับใหจัดการตาม


ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30 ขอหาอื่นใหยก และยกฟองจําเลยที่ 2
จําเลยที่ 1 อุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษาแกเปนวา จําเลยที่ 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 295 จําคุก 2 ป ไมชําระคาปรับใหจัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29 ริบมีดของกลาง
ความผิดฐานพยายามฆาใหยก นอกจากที่แกเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
โจทกและจําเลยที่ 1 ฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงไดวา ในวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุตามฟอง
จําเลยที่ 1 ใชอาวุธมีดปลายแหลมของกลางแทงนาย อ. ผูเสียหายที่ 1 ถูกบริเวณหนาอกขวาและชายโครงซาย
ไดรับบาดเจ็บเปนเหตุใหกระบังลมดานซายฉีกขาดตามผลการตรวจชันสูตรบาดแผลของแพทย สําหรับจําเลยที่
2 และขอหารวมกันกระทําอนาจารแกบุคคลอายุกวาสิบหาปโดยใชกําลังประทุษรายตอหนาธารกํานัลนั้น ศาล
ชั้ น ต น พิ พ ากษายกฟ อง โจทก ไม อุทธรณ จึงยุติไ ปตามคํา พิพากษาศาลชั้ น ตน คดีค งมีปญหาตองวิ นิจ ฉัย ใน
ประการแรกตามฎีกาของจําเลยที่ 1 วา การกระทําของจําเลยที่ 1 เปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย
หรือไม โดยโจทกมีผูเสียหายที่ 1 นาย ส. และนาย ม. เปนประจักษพยานเบิกความตรงกันวา กอนเกิดเหตุ
ขณะพยานทั้งสามและผูเสียหายที่ 2 นั่งพูดคุยกันในศาลาที่เกิดเหตุตรงขามบานผูเสียหายที่ 1 มีจําเลยที่ 2
นาย น. นาย ท. และนาย ศ. กับพวกเดินผานหนาศาลาแลวจําเลยที่ 2 ทานาย ส. แขงรถจักรยานยนต แต
นาย ส. ปฏิ เ สธ จํ า เลยที่ 2 กั บ พวกจึ งเดิน เขาไปในงานแตงงานซึ่งอยูขางบานผูเสีย หายที่ 1 ตอมาเวลา
ประมาณ 22 นาฬิกา จําเลยทั้งสองกับพวกประมาณ 10 คน เดินกลับมาอีก จําเลยที่ 2 ทาตอยกับนาย ส.
นาย ส. ปฏิเสธ จากนั้นจําเลยที่ 1 เขามาในศาลาที่เกิดเหตุชักอาวุธมีดปลายแหลมออกมาแทงผูเสียหายที่ 1
หลายครั้ง ผูเสียหายที่ 1 วิ่งหนีไปบริเวณหองเชาขางบานผูเสียหายที่ 1 แลวจําเลยทั้งสองกับพวกวิ่งหลบหนีไป
พยานหลักฐานโจทกรับฟงไดวาจําเลยที่ 1 เปนฝายกอเหตุขึ้นกอน โดยนํามีดพับปลายแหลมแทงผูเสียหายที่ 1
ในศาลาที่เกิดเหตุ พยานหลักฐานของจําเลยที่ 1 ที่นําสืบมาขัดตอเหตุผลและไมมีน้ําหนักใหรับฟง การกระทํา
ของจําเลยที่ 1 จึงไมเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย ฎีกาขอนี้ของจําเลยที่ 1 ฟงไมขึ้น
คดีมีปญหาตองวินิจฉัยในประการสุดทายตามฎีกาของโจทกวา จําเลยที่ 1 มีความผิดฐาน
พยายามฆาผูเสียหายที่ 1 หรือไม เห็นวา จําเลยที่ 1 กับพวกมีจํานวนมาก ใชอาวุธมีดพับปลายแหลมใบมีด
ยาว 4 นิ้ว ดามมีดยาว 4 นิ้ว เห็นไดวามีดพับปลายแหลมของกลางนั้นเปนอาวุธโดยสภาพ มีไวสําหรับใชแทง
ประทุษรายผูอื่นโดยเฉพาะ และสามารถใชทําอันตรายผูอื่นใหถึงแกความตายไดหากแทงถูกอวัยวะสําคัญ โดย
ไดความจากผูเสียหายที่ 1 วา จําเลยที่ 1 ใชมีดแทงตน 3 ถึง 4 ครั้ง ผูเสียหายที่ 1 ใชมือปดปองไวได จึงทําให
ไดรับบาดเจ็บมีบาดแผล 2 แหง การที่จําเลยที่ 1 เลือกแทงที่หนาอกขวาและชายโครงซาย จําเลยที่ 1 ยอมรูดี
วาบริเวณรางกายดังกลาวเปนที่ตั้งของอวัยวะสําคัญ อันอาจทําใหผูเสียหายที่ 1 ถึงแกความตายไดโดยเฉพาะ
บาดแผลที่ชายโครงซายซึ่งลึกประมาณ 3 เซนติเมตร ถึงกระบังลมและทําใหกระบังลมดานซายฉีกขาดตอง
ผาตัดเย็บกระบังลม สวนแผลที่หนาอกขวาลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ตามผลการตรวจชันสูตรบาดแผลของ
-๕๗-

แพทย แสดงวาจําเลยที่ 1 แทงผูเสียหายที่ 1 ที่ชายโครงซายแรงกวาที่แทงที่หนาอก บริเวณบาดแผลทั้งสอง


แหงดังกลาวตางเปนที่ตั้งของอวัยวะสําคัญทั้งสิ้น จําเลยที่ 1 แทงผูเสียหายที่ 1 จํานวน 3 ถึง 4 ครั้ง เปนการ
แสดงใหเห็นถึงเจตนาของจําเลยที่ 1 วาประสงคใหผูเสียหายที่ 1 ถึงแกความตาย สอดคลองกับคําการในชั้น
สอบสวนที่จําเลยที่ 1 ใหการรับสารภาพขอหาพยายามฆาผูเสียหายที่ 1 พยานหลักฐานโจทกรับฟงไดวาจําเลยที่ 1
กระทําไปโดยมีเจตนาฆา เมื่อผูเสียหายที่ 1 ไมถึงแกความตาย จําเลยที่ 1 จึงมีความผิดฐานพยายามฆาผูอื่น ที่
ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษามานั้น ไมเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงขึ้น
พิพากษาแกเปนวา จําเลยที่ 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบ
มาตรา 80 จําคุก 10 ป นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 1

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๕๘-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6554/2554
ป.อ. ชิงทรัพย ( มาตรา ๓๓๙, ๓๓๕)
กอนเกิดเหตุผูเสียหายถูกกลาวหาวารวมกับพวกทํารายบิดาจําเลย วันเกิดเหตุผูเสียหาย
ขับรถจักรยานยนตผานบานจําเลยและเครื่องยนตขัดของผูเสียหายจึงหยุดรถ ระหวางนั้นจําเลยกับพวก ๑ คน
รวมกันใชอาวุธมีดดาบฟนทํารายผูเสียหาย ผูเสียหายทิ้งรถวิ่งหลบหนี จําเลยกับพวกยังวิ่งไลตามผูเสียหาย
ไปอีก เมื่อตามไมทันจึงกลับมายังที่เกิดเหตุจูงรถจักรยานยนตของผูเสียหายไป การที่จําเลยกับพวกใชมีด
ฟนผูเสียหายเพราะโกรธที่ผูเสียหายรวมกับพวกทํารายบิดาจําเลยมิใชฟนเพื่อความสะดวกหรือเพื่อเอา
รถจั ก รยานยนต ข องผู เ สี ย หาย เมื่ อ จํ า เลยกั บ พวกไม อ าจทํ า ร า ยผู เ สี ย หายได อี ก จึ ง กลั บ ไปเอา
รถจักรยานยนตของผูเสียหายไป การเอาทรัพยไปเปนเจตนาที่เกิดขึ้นหลังจากการทํารายรางกายผูเสียหาย
ขาดตอนแลว จําเลยกับพวกจึงไมมีความผิดฐานชิงทรัพย แตเปนความผิดฐานรวมกันลักทรัพย

พนักงานอัยการจังหวัดสุพรรณบุรี โจทก

ระหวาง นายสมพิศ สมเชา จําเลย

โจทกฟองวา จําเลยกับพวกอีก 1 คน รวมกันชิงรถจักรยานยนต หมายเลขทะเบียน กยล


สุพรรณบุรี 756 ราคา 43,000 บาท ของนาย ช. ผูเสียหาย ไปโดยรวมกันใชมีดดาบยาวประมาณ 1 ศอก
เปนอาวุธฟนที่ชายโครงของผูเสียหาย เพื่อความสะดวกแกการชิงทรัพย การพาทรัพยนั้นไป ใหยื่นใหซึ่งทรัพย
นั้น ยึดถือเอาทรัพยนั้นไว และเพื่อใหพนจากการจับกุม ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83,
339
จําเลยใหการปฏิเสธ แตรับวาทํารายผูเสียหายโดยบันดาลโทสะ และไมมีเจตนาประสงคตอทรัพย
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
339 วรรคสาม ประกอบมาตรา 83 จําคุก 10 ป ลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุก 6 ป 8 เดือน
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 7 พิพากษาแกเปนวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
335 (7) วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 83 จําคุก 1 ป 6 เดือน ลดโทษใหหนึ่งในสามแลว คงจําคุก 1 ป ขอหา
อื่นใหยก นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
-๕๙-

โจทกฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันในชั้นนี้รับฟงเปน
ยุติวา กอนเกิดเหตุนาย ช. ผูเสียหาย ถูกกลาวหาวารวมกับพวกทํารายบิดาจําเลย วันเวลาเกิดเหตุตามฟอง
ผูเสียหายขับรถจักรยานยนต หมายเลขทะเบียน กยล สุพรรณบุรี 756 ไปตามถนนคันคลองสาธารณะผาน
บานจําเลยไปเอาโชกอัพรถจักรยานยนตที่บานนาง ป. แลวผูเสียหายขับรถจักรยานยนตกลับตามเสนทางเดิม
เมื่อถึงที่เกิดเหตุผูเสียหายขับรถจักรยานยนตลุยน้ําทําใหเครื่องยนตขัดของ ผูเสียหายจึงหยุดรถจักรยานยนต
เพื่อตรวจสอบ ระหวางนั้นจําเลยกับพวก 1 คน รวมกันใชอาวุธมีดดาบฟนผูเสียหาย ผูเสียหายยกโชกอัพขึ้นกัน
ทําใหโชกอัพหลุดจากมือกระแทกถูกขอศอกผูเสียหายไดรับบาดเจ็บ ผูเสียหายทิ้งรถจักรยานยนตหลบหนี
จําเลยกับพวกวิ่งไลตามทําราย เมื่อผูเสียหายวิ่งไปถึงบานนาง ป. จําเลยกับพวกหยุดไลผูเสียหายแลวกลับไปยัง
ที่ เ กิ ด เหตุ จู ง รถจั ก รยานยนต ข องผู เ สี ย หายไป ต อ มานาง ป. ติ ด ตามมาพบเห็ น จํ า เลยกั บ พวกจึ ง ทิ้ ง
รถจักรยานยนตหลบหนีไป มีปญหาตองวินิจฉัยวา การกระทําของจําเลยเปนความผิดฐานรวมกันชิงทรัพย
หรือไม เห็นวา กอนเกิดเหตุผูเสียหายถูกกลาวหาวารวมกับพวกทํารายบิดาจําเลยประกอบกับเมื่อจําเลยกับ
พวกใชมีดฟนผูเสียหายวิ่งหลบหนีแลว จําเลยกับพวกยังวิ่งไลตามผูเสียหายไปอีก เชื่อวาจําเลยกับพวกใชมีดฟน
ผูเสียหายเพราะโกรธที่ผูเสียหายรวมกับพวกทํารายบิดาจําเลย มิใชเปนการฟนผูเสียหายเพื่อความสะดวกหรือ
เพื่อเอารถจักรยานยนตของผูเสียหายไป เมื่อจําเลยกับพวกไมอาจทํารายผูเสียหายไดอีก การที่จําเลยกับพวก
กลับไปเอารถจักรยานยนตของผูเสียหายไปจึงเปนเจตนาที่เกิดขึ้นหลังจากการทํารายรางกายผูเสียหายขาด
ตอนไปแล ว จํ า เลยกั บ พวกจึ งไม มี ความผิ ดฐานชิ งทรัพย แตการที่จํา เลยกับ พวกเอารถจัก รยานยนตของ
ผูเสียหายไป ฟงไดวาจําเลยกับพวกเอาทรัพยของผูเสียหายไปโดยทุจริตอันเปนความผิดฐานลักทรัพยแลว
ที่ศาลอุทธรณภาค 7 พิพากษามานั้น ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๖๐-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6632/2554
ป.อ. ฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน (มาตรา 289)
ป.วิ.อ. การรับฟงคําใหการพยานชั้นสอบสวน (มาตรา 134/4 วรรคทาย)
คํ า เบิ ก ความของผู เ สี ย หายต อ ศาลย อ มมี น้ํ า หนั ก ให รั บ ฟ ง มากกว า ที่ ใ ห ก ารไว ใ นชั้ น
สอบสวน เว น แต จ ะมี เ หตุ ผ ลประกอบแสดงให เ ห็ น ได ชั ด เจนว า ผู เ สี ย หายเบิ ก ความต อ ศาลบิ ด เบื อ น
ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น
คดีนี้ผูเสียหายใหการในชั้นสอบสวนตอพนักงานสอบสวนในวันรุงขึ้นหลังจากวันเกิดเหตุ
ยืนยั นชัด เจนวา จํ าเลยเป นคนรา ยโดยจําเลยสวมหมวกไหมพรมคลุมศีรษะแตเปด หนา และยังพูดกับ
จําเลยวา “ตาหมานตีเขาทําไม” อันเปนการระบุชื่อจําเลย เมื่อจับจําเลยไดผูเสียหายดูตัวจําเลยที่เรือนจําก็
ยังยืนยันวาจําเลยเปนคนราย ไมมีลักษณะของการแสดงความไมแนใจ แตผูเสียหายมาเบิกความหลังจาก
เกิดเหตุนานถึง ๔ ปเศษ วาจําเสียงคนรายไดวาคลับคลายคลับคลากับจําเลย ซึ่งระยะเวลาที่เนิ่นนานมา
อาจทําใหอารมณความรูสึกที่จะเอาผิดคนรายเปลี่ยนแปลงไปได เมื่อพิจารณาคําเบิกความของผูเสียหายที่
เบิ ก ความว า จํ า เลยกั บ ผู ต ายมี เ รื่ อ งโกรธเคื อ งกั น และมี บ า นอยู ติ ด กั น ผู เ สี ย หายจึ ง ย อ มทราบถึ ง
บุคลิกลักษณะของจําเลยเปนอยางดีนอกเหนือจากจําเสียงของจําเลยแตเพียงอยางเดียว จึงมีเหตุผลใหเชื่อ
ไดวาการที่ผูเสียหายเบิกความตอศาลไมยืนยันวาคนรายเปนจําเลยก็เพื่อบิดเบือนขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นเสีย
มากกวา คําใหการของผูเสียหายในชั้นสอบสวนจึงมีน้ําหนักใหเชื่อถือมากกวาที่เบิกความตอศาล

พนักงานอัยการจังหวัดชัยนาท โจทก

ระหวาง นายสมาน มีพรอม จําเลย

โจทกฟองวา จําเลยกับพวกอีก 1 คน ที่หลบหนีรวมกันกระทําความผิดตอกฎหมายหลาย


กรรมตางกัน กลาวคือ จําเลยกับพวกรวมกันใชเหล็กยาวประมาณ 1 เมตร ตีและใชอาวุธปนไมทราบชนิดและ
ขนาดยิงบริเวณศีรษะของนาย ส. หลายครั้งโดยมีเจตนาฆาและโดยไตรตรองไวกอนเปนเหตุใหนาย ส. ถึงแก
ความตาย และรวมกันใชอาวุธปนไมทราบชนิดและขนาดยิงนาง บ. ผูเสียหายหลายครั้ง โดยมีเจตนาฆาและ
โดยไตรตรองไวกอน จําเลยกับพวกลงมือกระทําความผิดไปตลอดแลว แตการกระทํานั้นไมบรรลุผล เนื่องจาก
ผูเสียหายหลบหนีไดทนั กระสุนปนไมถูกผูเสียหาย ผูเสียหายจึงไมถึงแกความตาย
-๖๑-

จํา เลยใหการรับ สารภาพ ตอมากอนสืบ พยานโจทก จําเลยขอถอนคําใหการเดิม และขอ


ใหการใหมเปนใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลว พิพากษายกฟอง
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษากลับวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
289 (4) ประกอบมาตรา 83 และมาตรา 289 (4) ประกอบมาตรา 80, 83 เปนความผิดสองกรรมใหเรียง
กระทงลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานรวมกันฆาพยายามฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอนให
ประหารชีวิต ฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน ใหจําคุกตลอดชีวิต จําเลยใหการรับสารภาพใน
ชั้นจับกุม ลดโทษใหหนึ่งในสามตามประมวลกฎหมายอาญา คงลงโทษฐานรวมกันฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน
จําคุกตลอดชีวิต ฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอน จําคุก 33 ป 4 เดือน เมื่อรวมโทษทุกกระทงแลว
คงจําคุกตลอดชีวิตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (3)
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลวขอเท็จจริงฟงเปนยุติวา เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม
2544 เวลาประมาณ 18 นาฬิกา นาย ส. ผูตาย ขับรถจักรยานยนตมีนาง บ. ผูเสียหายซึ่งเปนภริยาผูตายนั่ง
ซอนทา ยจากหมูบ านดอนชงโคเพื่อกลั บบาน เมื่อมาถึงบริเวณสะพานดอนชงโค หมูท่ี 4 ตําบลหนองแซง
อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท มีคนรายอีก 2 คน ยืนดักรออยูทายรถยนตกระบะที่จอดอยูบริเวณคอสะพาน
คนรายคนหนึ่งใชแทงเหล็กตีที่หนาผากผูตาย ทําใหรถจักรยานยนตลมลง คนรายจะเขาไปตีซํ้าผูเสียหายเขาไป
ผลักคนราย คนรายดังกลาวรองบอกคนรายอีกคนใหใชอาวุธปนยิง ผูตายถูกยิงดวยกระสุนปนถูกศีรษะเปนเหตุ
ใหผูตายถึงแกความตาย สวนผูเสียหายวิ่งหลบหนี คนรายใชอาวุธปนยิงตามหลัง แตกระสุนปนไมถูกผูเสียหาย
การกระทําของคนรายเปนความผิดฐานรวมกันฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอนกระทงหนึ่งกับความผิดฐานรวมกัน
พยายามฆาผูอื่นโดยไตรตรองไวกอนอีกกระทงหนึ่ง คงมีปญหาที่จะตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยเพียงวา
จําเลยเปนคนรายคนหนึ่งในจํานวนคนราย 2 คน นี้หรือไม โจทกมีผูเสียหายเบิกความเปนพยานวา คนรายคน
หนึ่งรูปรางอวนสูงใหญ อีกคนหนึ่งรูปรางผอม คนรายทั้ง 2 คน สวมหมวกไหมพรมปดหนาทั้งหมด คนรายที่ใช
แทงเหล็กตีทีศีรษะผูตายคือคนรายที่รูปรางอวนสูงใหญ ซึ่งมีเสียงคลับคลายคลับคลาวาเปนจําเลย และยังเบิก
ความตอบทนายความจําเลยถามคานวา เสียงคนรายตะโกนบอกวาใหยิงเลยเพียงครั้งเดียว ผูเสียหายไมแนใจ
วาจะใชเสียงจําเลยหรือไม แตผูเสียหายใหการในชั้นสอบสวนชัดเจนวานาย ส. ซึ่งก็คือจําเลยนี้เปนคนรายคน
หนึ่ ง โดยเป น คนที่ ห ยิ บ ท อ นเหล็ กจากท ายรถยนตก ระบะมาตีที่ ศีร ษะผูตายจนรถจั กรยานยนต ลม ลง พอ
ผูเสียหายลุกขึ้นจําเลยก็เงื้อเหล็กจะตีผูตายซ้ําอีก ผูเสียหายเอามือดันแขนจําเลยเพื่อไมใหตีซ้ําและพูดถาม
จําเลยวา “ตาหมานตีเขาทําไม” จําเลยก็รองบอกชายที่มาดวยกันวา “เฮยยิงเลย” ผูเสียหายจึงผละวิ่งหนีไป
ทางวัดดอนชงโค ขณะวิ่งหนีไดยินเสียงปนดังขึ้น 1 นัด หันไปดูที่ผูตายลมอยูก็เห็นคนรายที่มากับจําเลยวิ่งไล
ตามผูเสียหายและยิงไลหลังผูเสียหายอีก 1 นัด ผูเสียหายวิ่งไปพบนาง ห. บอกวาถูกคนไลยิงแลวถีบจักรยาน
ของนาง ห. กลับบาน แตโซคงหลุดหรือขาดทําใหถีบไมไป จึงวิ่งลัดทุงนาไปที่บานของนาย บ. แลวแจงวาถูกไลยิง
-๖๒-

จําเลยสวมหมวกไหมพรมคลุมศีรษะแตเปดหนา สวนคนรายอีกคนหนึ่งสวมหมวกไหมพรมปดบังใบหนาหมด
เหลือแตลูกตา ตอมาหลังจากจับกุมจําเลยได พนักงานสอบสวนใหผูเสียหายไปดูตัวจําเลยที่เรือนจําจังหวัด
ชัยนาท ผูเสียหายยืนยันวา จําเลยคือนาย ส. ซึ่งเปนคนรายรายนี้ดังที่ใหการไวแตแรก โดยพนักงานสอบสวน
บันทึกคําใหการของผูเสียหายเพิ่มเติมไวดวยตามบันทึกคําใหการของผูเสียหายในชั้นสอบสวน จะเห็นไดวา
ผูเสียหายเบิกความตอศาลไมแนใจจําเลยเปนคนรายโดยคนรายทั้ง 2 คน สวมหมวกไหมพรมปดหนาทั้งหมด
ฟงเสียงคนรายคนหนึ่งคลับคลายคลับคลากับเสียงของจําเลย แตผูเสียหายใหการในชั้นสอบสวนยืนยันชัดเจน
วา จําเลยเปนคนรายโดยจําเลยสวมหมวกไหมพรมคลุมศีรษะแตเปดหนา และยังพูดกับจําเลยวา “ตาหมานตี
เขาทําไม” อันเปนการระบุชื่อจําเลยดวยครั้นจับกุมจําเลยไดแลว เมื่อพนักงานสอบสวนใหดูตัวจําเลยที่เรือนจํา
จังหวัดชัยนาท ผูเสียหายก็ยังยืนยันวาจําเลยเปนคนราย ไมมีลักษณะของการแสดงความไมแนใจดังที่เบิกความ
ตอศาลแตอยางใด จึงตองพิเคราะหวา ขอเท็จจริงจะเปนไปดังที่ผูเสียหายเบิกความตอศาลหรือดังที่ใหการไวใน
ชั้นสอบสวนแน ซึ่งโดยปกติแลวคําเบิกความตอศาลยอมมีน้ําหนักใหรับฟงมากกวาที่ใหการไวในชั้นสอบสวน
เวนแตจะมีเหตุผลประกอบแสดงใหเห็นไดชัดเจนวาผูเสียหายเบิกความตอศาลบิดเบือนขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น
สําหรับคดีนี้โจทกยังมีจาสิบตํารวจ ต. ผูจับกุมจําเลยเบิกความวาในชั้นจับกุม เมื่อแจงขอกลาวหาจําเลยวา
รวมกันฆาผูอื่นโดยเจตนา จําเลยก็ใหการรับสารภาพโดยบันทึกการจับกุมระบุเหตุการณที่จําเลยกับพวกไปดักรอ
ผูตายในที่เกิดเหตุ เมื่อพบผูตายขับรถจักรยานยนตมากับภริยาก็ใชทอนเหล็กตีแลวคนรายอีกคนหนึ่งก็ใชอาวุธปน
ยิงผูตายและไลยิงผูเสียหาย แลวจําเลยกับพวกหลบหนีไป ตอมาสืบทราบวาจําเลยหลบหนีมาทํางานอยูท่ีเรือ
บรรทุ ก โชคชั ย ขนส ง จึ ง เดิ น ทางไปจั บ กุ ม จํ า เลย จํ า เลยเข า ใจข อ กล า วหาดี แ ละให ก ารรั บ สารภาพตลอด
ขอกลาวหา โดยจําเลยลงชื่อไวดวยตามบันทึกการจับกุม และโจทกมีรายงานการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งระบุชื่อ
จําเลยวาเปนคนรายคนหนึ่งอันแสดงวาในขณะที่มีการทํารายงานการชันสูตรพลิกศพนั้น พนักงานสอบสวนได
ทราบถึงตัวคนรายอยางชัดเจนแลว กับทั้งจําเลยยังเบิกความยอมรับวา ทราบจากเพื่อนบานวามีคนกลาวหาวา
จําเลยฆาคนตาย จําเลยจึงหลบหนีไป ซึ่งผิดวิสัยของคนที่มิไดกระทําความผิด โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อศาลชั้นตน
สอบคําใหการจําเลยในครั้งแรกโดยอานและอธิบายฟองใหจําเลยฟง จําเลยก็ใหการรับสารภาพตามฟองเพิ่งจะ
ขอถอนคําใหการเดิมและกลับใหการปฏิเสธในภายหลัง ซึ่งแมจําเลยจะขอใหการใหมไดก็ทําใหนาสงสัยวา หาก
จําเลยมิไดกระทําความผิดตามฟองจริงเหตุใดจึงไมใหการปฏิเสธเสียแตตน ผูเสียหายเบิกความตอศาลวันที่ 22
กันยายน 2548 โดยเหตุเกิดวันที่ 23 พฤษภาคม 2544 จึงเปนการเบิกความหลังจากเกิดเหตุแลวถึง 4 ปเศษ
และตามบันทึกคําใหการของผูเสียหาย ปรากฏวาผูเสียหายใหการตอพนักงานสอบสวนวันที่ 24 พฤษภาคม
2544 อันเปนวันรุงขึ้นจากวันเกิดเหตุ จึงเปนการเบิกความหลังจากที่ใหการไวถึง 4 ปเศษเชนเดียวกัน ซึ่ง
ระยะเวลาที่เนิ่นนานมาอาจทําใหอารมณความรูสึกที่จะเอาผิดคนรายเปลี่ยนแปลงไปได ผูเสียหายเบิกความตอ
ศาลวาจําเสียงคนรายไดวาคลับคลายคลับคลากับจําเลย แตจากคําเบิกความของผูเสียหายที่วา จําเลยกับผูตายมี
เรื่องกั น จากเรื่ องที่ น้ํ า จากชายคาบ า นจําเลยตกใสบานผูตาย แสดงวาบานผูตายกับ บานจําเลยอยูติดกัน
ผูเสียหายจึงยอมทราบถึงบุคลิกลักษณะของจําเลยไดเปนอยางดี นอกเหนือจากจําเสียงของจําเลยแตเพียงอยาง
เดียว จึงมีเหตุผลใหเชื่อไดวาการที่ผูเสียหายเบิกความตอศาลไปเชนนั้น ก็เพื่อบิดเบือนขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นเสีย
มากกว า คํ า ให การของผู เ สี ย หายในชั้ น สอบสวนมีน้ํ าหนักใหเชื่อ ถือมากกวาที่ ผูเสีย หายเบิ กความตอศาล
ขอเท็จจริงฟงไดวา จําเลยเปนคนรายรายนี้คนหนึ่ง ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษาลงโทษจําเลยชอบแลว
-๖๓-

พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๖๔-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6938/2554
ป.วิ.อ บรรยายฟอง (มาตรา ๑๕๘ (๕))
พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ (มาตรา ๓๑ (๑), ๗๐ วรรคสอง)

พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ (มาตรา ๒๖)
งานที่มีผูกระทําละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น และมีผูกระทําการขาย มีไวเพื่อขาย เสนอขายงาน
ดังกลาวเพื่อหากําไรในทางการคา โดยรูอยูแลวหรือมีเหตุอันควรรูวางานนั้นกระทําขึ้นโดยละเมิด
ลิขสิทธิ์ของผูอื่น ตองเปนงานสรางสรรคที่กฎหมายลิขสิทธิ์ใหความคุมครอง โดยไดมาตามเงื่อนไขของ
กฎหมายและตองอยูในอายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ดวย การที่จะรูวางานสรางสรรคใดยังอยูในอายุแหง
การคุมครองลิขสิทธิ์หรือไม ก็ตองรูวางานสรางสรรคนั้นมีการโฆษณางานครั้งแรกเมื่อใด
คดีนี้โจทกบรรยายฟองวาบริษัท แคททาลิสท อัลลายแอนซ (ประเทศไทย) จํากัด ผูเสียหาย
เปนเจาของลิขสิทธิ์ในฐานะผูสรางสรรคโดยเปนผูทําหรือกอใหเกิดงานสรางสรรคประเภทภาพยนตร ดนตรี
กรรม สิ่งบันทึกและโสตทัศนวัสดุ และงานเพลงที่สรางและวันเดือนปและประเทศที่โฆษณาครั้งแรกตาม
เอกสารทายฟองซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของคําฟอง แตปรากฏวาเอกสารทายฟองไมปรากฏถึงวันเวลาที่บริษัท
แคททาลิสท อัลลายแอนซ (ประเทศไทย) จํากัด ผูสรางสรรคไดมีการโฆษณางานดังกลาวเปนครั้งแรกไว
เมื่อใดคําฟองของโจทก จึงเปนคําฟองที่บรรยายการกระทําทั้งหลายที่อางวาจําเลยกระทําผิดไมครบถวน

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก


ระหวาง
นายสมิทธิ์ กลกิจ ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน จําเลย

โจทกฟองวา บริษัท ค. จํากัด ผูเสียหาย จดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามกฎหมายไทยและมี


ภู มิ ลํ า เนาในประเทศไทยตลอดระยะเวลาในการสร า งสรรค ซึ่ ง ผู เ สี ย หายเป น เจ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นฐานะผู
สร า งสรรค โ ดยเป น ผู ทํา หรื อก อให เ กิ ด งานสรางสรรคป ระเภทภาพยนตร ดนตรีกรรม สิ่งบัน ทึกเสีย งและ
โสตทัศนวัสดุ ตามบัญชีรายชื่อเจาของกรรมสิทธิ์ ชื่อภาพยนตรและงานเพลงดนตรีกรรมที่ไดสรางสรรคและวัน
เดือนปและประเทศที่โฆษณางานครั้งแรก ปรากฏตามเอกสารทายฟอง เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553 เวลา
กลางวัน จําเลยทั้งสองละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร งานดนตรีกรรม สิ่งบันทึกเสียง และโสตทัศนวัสดุของ
-๖๕-

ผูเสียหาย โดยนําแผนดิจิทัลวิดีโอดิสกภาพยนตร (ดีวีดี) ที่บันทึกภาพและเสียงภาพยนตรตามเอกสารทายฟอง


ที่มีผูทําซ้ําขึ้น โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูเสียหาย 25 แผน ออกขาย เสนอขาย และมีไวเพื่อขายแกบุคคลทั่วไป
อันเปนการกระทําเพื่อแสวงหากําไรทางการคา โดยจําเลยทั้งสองรูอยูแลววาเปนงานที่ทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์
ของผูเสียหาย และโดยไมไดรับอนุญาตจากผูเสียหาย ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
มาตรา 4, 6, 8, 15, 27, 28, 31, 61, 70, 75, 76 ใหแผนดิจิทัลวีดีโอดิสก ของกลางที่ทําขึ้นโดยละเมิด
ลิขสิทธิ์ 25 แผ น ตกเป นของเจ าของลิ ขสิทธิ์ และสั่งจายเงินคาปรับ ที่ไดชําระตามคําพิพากษากึ่งหนึ่งแก
ผูเสียหายซึ่งเปนเจาของลิขสิทธิ์
จําเลยทั้งสองใหการรับสารภาพ
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้ง
สองมีความผิดตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 31 (1), 70 วรรคสอง ใหรอการกําหนดโทษ
จําเลยทั้งสองไว 1 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 ใหแผนดิจิทัลวิดีโอดิสกของกลางที่ทําขึ้นโดย
ละเมิดลิขสิทธิ์ 25 แผน ตกเปนของผูเสียหายซึ่งเปนเจาของลิขสิทธิ์ คําขออื่นนอกจากนี้ใหยก
โจทกอุทธรณตอศาลฎีกา
ศาลฎี ก าแผนกคดี ทรั พย สิน ทางปญ ญาและการค าระหวา งประเทศตรวจสํ านวนประชุ ม
ปรึ กษาแล ว เห็ น ว า คดี นี้ โ จทก บ รรยายฟ องวา บริษั ท ค. จํ ากัด ผูเสี ย หาย เปน เจาของลิข สิทธิ์ ในฐานะผู
สร า งสรรค โ ดยเป น ผู ทํา หรื อก อให เ กิ ด งานสรางสรรคป ระเภทภาพยนตร ดนตรีกรรม สิ่งบัน ทึกเสีย งและ
โสตทัศนวัสดุ ตามบัญชีรายชื่อของลิขสิทธิ์ ชื่อภาพยนตร และงานเพลงดนตรีกรรมที่ไดสรางสรรคและวันเดือน
ปและประเทศที่โฆษณาครั้งแรกตามเอกสารทายฟอง แตตามเอกสารทายฟองซึ่งเปนสวนหนึ่งของคําฟองไม
ปรากฏถึงวันเวลาที่บริษัท ค. จํากัด ผูสรางสรรคไดมีการโฆษณางานดังกลาวเปนครั้งแรกไว เนื่องจากความผิด
ฐานขาย มีไวเพื่อขาย เสนองานที่ทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่นเพื่อหากําไรในทางการคา โดยรูอยูหรือมีเหตุ
อันควรรูวางานนั้นกระทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่นตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 31
(1), 70 วรรคสอง มีองคประกอบความผิดในสวนการกระทําคือ กระทําการขาย มีไวเพื่อขาย เสนอขาย งานที่
ทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น งานที่มีลิขสิทธิ์ของผูอื่นนั้นตองเปนงานสรางสรรคที่กฎหมายลิขสิทธิ์ใหความ
คุมครอง โดยไดมาตามเงื่อนไขของกฎหมายและตองอยูในอายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ดวย เพราะลิขสิทธิ์เปน
สิทธิที่มีจํากัดเวลาใหไดรับความคุมครองอยูภายในชวงเวลาหนึ่งเทานั้นหลังจากพนกําหนดอายุการคุมครอง
แลว งานลิขสิทธิ์จะตกเปนสมบัติสาธารณะที่สาธารณชนสามารถใชประโยชนจากงานนั้นได ดังนี้ ในสวนของ
องคประกอบความผิดที่วา งานอันมีลิขสิทธิ์ตองอยูในอายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ตามกฎหมายนั้น จึงเปน
องคประกอบของความผิดฐานนี้ที่เปนสาระสําคัญ การที่จะรูวางานสรางสรรคใดของนิติบุคคลผูสรางสรรคยัง
อยู ใ นอายุ แ ห งการคุ ม ครองลิ ข สิ ทธิ์ ห รื อ ไม ก็ ตอ งรู ว างานสร า งสรรค นั้ น มี ก ารโฆษณางานครั้ง แรกเมื่ อ ใด
เนื่องจากตามพระราชบัญญัติดังกลาว มาตรา 19 วรรคทาย บัญญัติวา “ในกรณีท่ีผูสรางสรรคเปนนิติบุคคล
ใหลิขสิทธิ์มีอายุหาสิบปนับแตผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้น แตถาไดมีการโฆษณางานนั้นในระหวางระยะเวลา
ดังกลาว ใหลิขสิทธิ์มีอายุหาสิบปนับแตไดมีการโฆษณาเปนครั้งแรก” เมื่อคําฟองไมปรากฏวางานที่บริษัท ค. จํากัด
เปนผูสรางสรรคมีการโฆษณางานครั้งแรกเมื่อใด จึงเปนคําฟองที่บรรยายการกระทําทั้งหลายที่อางวาจําเลย
-๖๖-

กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 31 ไมครบถวน ไมชอบดวยพระราชบัญญัติ


จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศ พ.ศ. 2539 มาตรา 26 ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158 (5)
ปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย แมไมมีคูความฝายใดอุทธรณ ศาลฎีกาแผนคดี
ทรัพยสิ นทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศมีอํานาจยกขึ้นวินิจ ฉัยได ตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ พ.ศ. 2539 มาตรา 45 ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 95 วรรคสอง
พิพากษากลับ ใหยกฟอง

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๖๗-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7901/2554
ป.อ. ฆาผูอื่น ปองกันเกินสมควรแกเหตุ (มาตรา ๒๘๘, ๖๘, ๖๙)

ผู ต ายจั บ มื อ นางสาว ย.ซึ่ ง เป น บุ ต รบุ ญ ธรรมของจํ า เลยพร อ มทั้ ง กระชากเข า ไปหาและ
พยายามกอดปล้ํา นางสาว ย. รองเรียกใหจําเลยชวย ผูตายชักอาวุธปนออกมาจอขูบังคับนางสาว ย.
จําเลยเปดมานที่หนาตางดูเห็นเหตุการณแลวไปหยิบอาวุธปนลูกซองยาวกลับมาพรอมกับพูดวา “อยาทํา
อะไรลูกฉันนะ” ผูตายหยุดชะงักและหันอาวุธปนมาทางเสียงจําเลย นางสาว ย. ถีบตัวผูตายออกและวิ่งหนี
จําเลยใชอาวุธปนยิงผูตาย ๑ นัดถูกที่หนาอกผูตาย หลังจากนั้นผูตายไมมีพฤติการณอยางใดที่พรอมจะใช
อาวุธปนยิงจําเลยซึ่งแสดงวาหลังจากจําเลยใชอาวุธปนยิงผูตายนัดแรกจําเลยสามารถหยุดยั้งผูตายไมให
ทําอันตรายตอจําเลยและนางสาว ย. ไดเพียงพอแลว ไมมีเหตุที่จําเลยจะตองใชอาวุธปนยิงผูตายซ้ําอีก
พฤติการณที่จําเลยใชอาวุธปนยิงผูตายซ้ําอีก ๒ นัด จนผูตายถึงแกความตายจึงเปนการกระทําที่ปองกัน
เกินสมควรแกเหตุ

พนักงานอัยการจังหวัดเพชรบูรณ โจทก

ระหวาง
นางน้ํามนต เพ็ญภู จําเลย
โจทกฟองวา จําเลยกระทําความผิดตอกฎหมายหลายกรรมตางกัน กลาวคือ จําเลยมีอาวุธปน
ลูกซองยาวขนาด 12 หมายเลขทะเบียน กท 2475982 ซึ่งเปนของนาย ส. ผูไดรับใบอนุญาตใหมีและใชตาม
กฎหมาย กับลูกกระสุนปนลูกซองขนาด 12 จํานวน 3 นัด ใชยิงไดไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตจาก
นายทะเบียนทองที่ แลวจําเลยใชอาวุธปนและกระสุนปนดังกลาวยิงสิบตํารวจเอก ส. ผูตาย หลายนัดโดย
เจตนาฆาและไตรตรองไวกอน เปนเหตุใหผูตายถึงแกความตาย ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปน
เครื่ องกระสุ น ป น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม เ พลิง และสิ่ง เทีย มอาวุธ ปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 72 ประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 33, 91, 289 ริบของกลางทั้งหมด
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
288 ประกอบมาตรา 72 พระราชบัญญัติอาวุธปน ฯ ใหเรียงกระทงลงโทษ ฐานฆาผูอื่นโดยบันดาลโทสะ
จําคุก 6 ป ฐานมีอาวุธปน (มีทะเบียนของผูอื่น) และเครื่องกระสุนปนไวในครอบครองโดยไมไดรับใบอนุญาต
-๖๘-

จําคุก 6 เดือน ฐานฆาผูอ่ืนโดยบันดาลโทสะลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุก 4 ป ฐานมีอาวุธปน ลดโทษใหกึ่ง


หนึ่ง คงจําคุก 3 เดือน รวมจําคุก 4 ป 3 เดือน ริบของกลางทั้งหมด ขอหาอื่นนอกจากนี้ใหยก
โจทกและจําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 6 พิพากษาแกเปนวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288
ประกอบมาตรา 69 จําคุก 6 ป ลดโทษใหตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสาม คงจําคุก 4 ป
และ เมื่อรวมโทษจําคุก 3 เดือน ในความผิดฐานมีอาวุธปน ตามคําพิพากษาศาลชั้นตนแลว เปนจําคุก 4 ป
3 เดือน การกระทําของจําเลยไมเปนความผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ดอกไมเพลิง และ
สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 72 วรรคสอง นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา โดยผูพิพากษาซึ่งพิจารณาและลงชื่อในคําพิพากษาศาลชั้นตนอนุญาตใหฎีกาใน
ปญหาขอเท็จจริง
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ขอเท็จจริงฟงยุติโดยไมมีคูความใดฎีกาโตแยงวา จําเลยอุปการะเลี้ยง
ดูนางสาว ย. เสมือนบุตรและพักอาศัยอยูดวยกันที่บานเกิดเหตุ จําเลยใชพื้นที่วางบริเวณหนาบานเกิดเหตุ เปด
เปนรานอาหารชื่อรานรมโพธิ์ กอนเกิดเหตุผูตายซึ่งเปนเจาพนักงานตํารวจสถานีตํารวจภูธรหนองไผไดมานั่งดื่ม
สุราที่รานจําเลยและไมยอมชําระเงิน แตกลับขอเงินคาดูแลราน (คาคุมครอง) 30,000 บาท จําเลยยินยอมให
โดยแบงชําระเปนงวด ในวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุตามฟอง ขณะนางสาว ย. นอนอยูที่หองโถง ภายในบาน
เกิดเหตุและจําเลยนอนอยูในหองนอน ผูตายเดินเขามาในหองโถง นางสาว ย. ลุกขึ้นนั่ง ผูตายถามนางสาว ย.
วาจําเลยฝากเงินไวหรือไม นางสาว ย. ตอบวาฝากเงินไวและเดินไปหยิบเงิน 1,400 บาท มามอบให ผูตาย
จับมือนางสาว ย. พรอมทั้งกระชากเขาไปหาและพยายามกอดปล้ํา ผูตายกดนางสาว ย. จนทรุดคุกเขาลงกับ
พื้นหอง นางสาว ย. ไดรองเรียกใหจําเลยชวยและพยายามขัดขืน ผูตายชักอาวุธปนออกมาจอขูบังคับนางสาว ย.
จําเลยเปดมานที่หนาตางดูเห็นเหตุการณดังกลาวแลวไปหยิบอาวุธปนลูกซองยาวของกลางกลับมาที่หนาตาง
พรอมทั้ งเปด มานและพู ดว า “อยา ทํา อะไรลูกฉันนะ” ผูตายหยุดชะงักและหัน อาวุธ ปน มาทางเสียงจําเลย
นางสาว ย. ถีบตัวผูตายออกและหนีไปหลบอยูขางตู จําเลยใชอาวุธปนยิงผูตาย 3 นัด จนถึงแกความตาย คดี
คงมีปญหาตองวินิจฉัยวา การกระทําของจําเลยเปนการปองกันพอสมควรแกเหตุหรือไม เห็นวา เมื่อจําเลยพูด
วา “อยาทําอะไรลูกฉันนะ” ผูตายจึงหันอาวุธปนมาทางเสียงจําเลย แลวจําเลยใชอาวุธปนลูกซองยาวยิงผูตาย
ทันที 1 นัด ถูกหนาอกผูตาย จําเลยมองเห็นวาผูตายถูกยิงเกือบลมลงนอนกับพื้นหองแลว แมจําเลยอางวา
ผูตายยังหันอาวุธปนมาทางจําเลยอีก แตผูตายก็ไมทราบวาจําเลยยืนตรงไหน และจําเลยสามารถคอยมองและ
รอดูพฤติการณของผูตายหลังจากถูกยิงแลววาจะลุกขึ้นหรือเคลื่อนไหวในลักษณะจะเขาตอสูตอบโตจําเลยได
หรือไม ซึ่งปรากฏวาผูตายไมมีพฤติการณอยางใดที่พรอมจะใชอาวุธปนยิงจําเลย แสดงวาหลังจากจําเลยใช
อาวุธปนยิงผูตายนัดแรกจําเลยสามารถหยุดยั้งผูตายไมใหทําอันตรายตอจําเลยและนางสาว ย. ไดเพียงพอแลว
ไมมีเหตุที่จําเลยตองใชอาวุธปนยิงผูตายซ้ําอีก ดังนั้น พฤติการณที่จําเลยใชอาวุธปนยิงผูตายซ้ําอีก 2 นัด ที่
ลําคอและหนาทองสวนลางจนผูตายถึงแกความตายจึงเปนการกระทําที่ปองกันเกินสมควรแกเหตุ ศาลฎีกา
เห็นวาเหตุคดีนี้เกิดจากผูตายซึ่งเปนเจาพนักงานตํารวจในทองที่เกิดเหตุกดขี่ขมเหงโดยเรียกเงินคาคุมครองจาก
จําเลย ในวันเกิดเหตุนอกจากเขาไปในบานจําเลยเพื่อเอาเงินคาคุมครองแลว ยังลุแกอํานาจกอดปล้ํานางสาว
-๖๙-

ย. บุตรบุญธรรมของจําเลยอีก ทั้งยังชักอาวุธปนออกมาจอศีรษะนางสาว ย. เมื่อจําเลยรองหามผูตายยังจองเล็ง


อาวุธปนจะยิงจําเลยดวย จนกระทั่งจําเลยจําตองใชอาวุธปนยิงผูตายเพื่อปองกันตนเองและบุคคลในครอบครัว
ของตน เมื่อกอเหตุแลวจําเลยไดใชใหพนักงานรานอาหารของจําเลยโทรศัพทแจงเจาพนักงานตํารวจในทันที
พรอมทั้งรอมอบตัวอยูในบานเกิดเหตุ และรับวาเปนผูใชอาวุธปนยิงผูตายจริง เปนการลุแกโทษ ประกอบกับ
จําเลยเปนหญิงมีที่อยูเปนหลักแหลง ประกอบอาชีพโดยสุจริต และไมปรากฏวาเคยตองโทษจําคุกมากอน ตาม
พฤติการณมีเหตุอันควรปรานี สมควรใหโอกาสจําเลยไดกลับตัวเปนพลเมืองดี โดยกําหนดโทษใหเบาลงและรอ
การลงโทษใหแกจําเลย
พิพากษาแกเปนวา ความผิดฐานฆาผูอื่นโดยปองกันเกินสมควรแกเหตุ จําคุก 4 ป ลดโทษให
หนึ่งในสามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุก 2 ป 8 เดือน ฐานมีอาวุธปนมีทะเบียนของผูอื่น
ไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต ใหลงโทษปรับ 6,000 บาท อีกสถานหนึ่ง เปนจําคุก 6 เดือน และปรับ
6,000 บาท ลดโทษใหก่ึงหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุก 3 เดือน และปรับ 3,000
บาท รวมเปนจําคุก 2 ป 11 เดือน และปรับ 3,000 บาท โทษจําคุกใหรอการลงโทษไวมีกําหนด 4 ป นับแต
วันอานคําพิพากษาศาลฎีกาใหจําเลยฟง และใหคุมความประพฤติของจําเลย โดยใหจําเลยไปรายงานตัวตอ
พนั ก งานคุ ม ประพฤติ 3 เดื อ นต อ ครั้ ง เป น เวลา 2 ป และให จํ า เลยทํ า กิ จ กรรมบริ ก ารสั ง คมหรื อ
สาธารณประโยชน ต ามที่ พนั ก งานคุ มประพฤติและจําเลยเห็น สมควรเปน เวลา 20 ชั่ว โมง ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 56 หากไม ชํ า ระคาปรับ ให จัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30
นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 6

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๗๐-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8309/2554
ป.วิ.พ. คาฤชาธรรมเนียม คดีมีทุนทรัพย (มาตรา 167 วรรคหนึ่ง. 224)
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542
ยึดทรัพยยอนหลังได ขอสันนิษฐาน (มาตรา 51, 59 )
มาตรการในการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตกเปนของ
แผนดิน เปนมาตรการทางแพงซึ่งใชบังคับยอนหลังแกทรัพยสินที่ผูคัดคานทั้งหามีอยูกอนพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ใชบังคับได
เมื่ อ คดี ฟ ง ว า ผู คั ด ค า นที่ 1 เป น ผู ก ระทํ า ความผิ ด มู ล ฐาน ส ว นผู คั ด ค า นที่ 2 ถึ ง ที่ 4
เกี่ยวของในฐานะเปนบุตร พี่ และพี่สะใภ ลวนเปนผูซึ่งเกี่ยวของหรือเคยเกี่ยวของสัมพันธกับผูคัดคานที่ 1
จึงตองสันนิษฐานไวกอนวา บรรดาทรัพยสินของผูคัดคานทั้งหาที่ผูรองยื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งใหตก
เปนของแผนดิน เปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. 2542
คดีนี้ผูรองกับผูคัดคานทั้งหาพิพาทโตแยงกันวา ทรัพยสินของผูคัดคานทั้งหาที่ผูรองยื่น
คํารองขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดหรือไม หากคดี
ฟงไดวาทรัพยสินที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดศาลก็ตองมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดิน หากคดีฟงไมได
ศาลก็ตองมีคําสั่งคืนใหแกผูคัดคานทั้งหา จึงเปนคดีปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงินได เปนคดี
มีทุนทรัพย สําหรับพนักงานอัยการแมจะไดรับการยกเวนคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวง แตก็ถือเปนคดีแพง
เรื่องคาฤชาธรรมเนียม แมจะไมมีคําขอของคูความฝายใดและแมจะใหเปนพับกันไป ก็เปนหนาที่ของศาลที่
จะตองสั่งลงไวในคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดี

พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด ผูรอง

ระหวาง

นายพราวประยูร อิศรศักดิ์ ณ อยุธยา ที่ 1 กับพวกรวม 5 คน ผูคัดคาน


-๗๑-

ผูรองยื่นคํารองวา ผูคัดคานที่ 2 และที่ 3 เปนบุตรผูคัดคานที่ 1 สวนผูคัดคานที่ 4 เปนพี่


ผูคัดคานที่ 1 และเปนสามีผูคัดคานที่ 5 เมื่อป พ.ศ. 2537 ผูคัดคานที่ 1 ซึ่งเปนพนักงานธนาคาร ก. จํากัด
ตําแหนงรองผูอํานวยการฝายวาณิชธนกิจ (ฝายสินเชื่อ) ไดกระทําความผิดเกี่ยวกับการยักยอกและกระทําโดย
ทุจริตตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึ่งกระทําโดยกรรมการ ผูจัดการหรือบุคคลใด ซึ่ง
รับ ผิ ดชอบหรื อมีป ระโยชน เกี่ ย วข องในการดําเนิน งานของสถาบัน การเงิน นั้น อัน เปน ความผิดมูล ฐานตาม
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 3 (4) จนมีเงินที่ไดจากการกระทํา
ความผิดเปนจํานวนมาก แตผูคัดคานที่ 1 โอนใหแกผูคัดคานที่ 2 และที่ 3 บางสวนเพื่อซุกซอนหรือปกปด
แหลงที่มา ผูคัดคานที่ 2 โอนเงินนั้นใหแกผูคัดคานที่ 4 และที่ 5 อีกทอดหนึ่งเพื่อซุกซอนหรือปกปดแหลงที่มา
เชนกัน กรณีปรากฏหลักฐานเปนที่เชื่อไดวาเงินในบัญชีเงินฝากของผูคัดคานที่ 1 จํานวน 4,624,126.40 บาท
เงินในบัญชีเงินฝากของผูคัดคานที่ 2 เงินในบัญชีเงินฝากของผูคัดคานที่ 3 เงินในบัญชีเงินฝากของผูคัดคานที่
4 เงินในบัญชีเงินฝากของผูคัดคานที่ 5 รวมเปนเงินทั้งสิ้นจํานวน 23,380,641.48 บาท ลวนเปนทรัพยสิน
ที่เ กี่ ยวกั บ การกระทํ าความผิ ด โดยได จ ากการกระทําความผิดดังกลาวขางตนซึ่งเปน ความผิดมูล ฐานตาม
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ขอใหศาลมีคําสั่งใหทรัพยสินดังกลาวพรอม
ดอกผลตกเปนของแผนดิน ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 51
ศาลชั้นตนนัดไตสวนและประกาศตามกฎหมายแลว
ผูคัดคานที่ 1 ถึงที่ 3 ยื่นคําคัดคานและแกไขคําคัดคานวา ผูคัดคานที่ 1 มิไดเปนผูกระทํา
ความผิดมูลฐาน และทรัพยสินที่ผูรองยื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินลวนมิใชทรัพยสินที่
ผูคัดคานที่ 1 ไดมาจากการกระทําความผิด ผูคัดคานที่ 1 ถูกกลาวหาวาเปนผูกระทําความผิดมูลฐานตั้งแตป
2537 จึงใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 บังคับแกผูคัดคานทั้งหามิได
ขอใหยกคํารอง
ผู คั ด ค า นที่ 4 และที่ 5 ยื่น คํ า คั ด ค า นทํ า นองเดี ย วกั น ว า เงิ น ที่ ผู คั ด ค า นที่ 2 โอนให แ ก
ผูคัดคานที่ 4 และที่ 5 มิใชทรัพยสินที่ผูคัดคานที่ 1 ไดมาจากการกระทําความผิด ผูคัดคานที่ 4 และที่ 5 ได
จัดการใชจายเงินดังกลาวตามความประสงคของผูคัดคานที่ 2 จนหมดสิ้นแลว สวนเงินที่เหลืออยูในบัญชีเงิน
ฝากที่มีชื่อผูคัดคานที่ 4 และที่ 5 เปนเจาของตามคํารองของผูรองนั้นลวนมิใชทรัพยสินที่ผูคัดคานที่ 1 ไดมา
จากการกระทําความผิด แตเปนเงินที่ผูคัดคานที่ 4 และที่ 5 ไดมาจากการประกอบอาชีพสุจริต ขอใหยกคํารอง
ศาลชั้นตนไตสวนแลว มีคําสั่งใหเงินในบัญชีของผูคัดคานที่ 1, 2, 3, 4, 5 พรอมดอกผลตก
เปนของแผนดิน
ผูคัดคานทั้งหาอุทธรณ
ศาลอุทธรณพิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมในชั้นอุทธรณใหเปนพับ
ผูคัดคานทั้งหาฎีกา
-๗๒-

ศาลฎี กาคณะคดี ป กครองตรวจสํานวนประชุ มปรึกษาแลว เห็ น วา มาตรการดํ าเนิน การ


เกี่ยวกับทรัพยสินตามพรพะราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ใชบังคับยอนหลังแก
ทรัพยสิน ที่ผูคัดคา นทั้งหามี อยู กอนพระราชบัญญัติดังกลาวใชบังคับไดหรือไมนั้น เห็นวา เจตนารมณแหง
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 คือ ประสงคตัดวงจรและทําลายแรงจูงในการ
ประกอบอาชญากรรมที่ใหผลตอบแทนสูง จึงกําหนดมาตรการดําเนินการตอการฟอกเงินอยางมีประสิทธิภาพ
คือมาตรการทางอาญาที่ดําเนินคดีตอบุคคลกรณีหนึ่ง และมาตรการทางแพงที่ดําเนินคดีตอทรัพยสินอีกรณี
หนึ่ง สําหรับมาตรการทางอาญาไดบัญญัติลักษณะองคประกอบความผิดและบทกําหนดโทษทางอาญาไวซึ่งมี
ทั้งจําคุกและปรับ สวนมาตรการแพงไดบัญญัติวิธีการบังคับตอทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดโดยให
ทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดิน ดังนั้น มาตรการในการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินที่ใหทรัพยสินที่เกี่ยวกับ
การกระทําความผิดตกเปนของแผนดินจึงเปนมาตรการทางแพงซึ่งใชบังคับยอนหลังแกทรัพยสินที่ผูคัดคานทั้งหา
ได ฎีกาของผูคัดคานทั้งหาในขอนี้ฟงไมขึ้น
สวนปญหาที่ตองวินิจฉัยตามฎีกาของผูคัดคานทั้งหาในขอหลังที่วา เงินในบัญชีเงินฝากของ
ผูคัดคานทั้งหาที่ผูรองขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดของ
ผูคัดคานที่ 1 หรือไม นั้น เห็นวาเมื่อคดีฟงไดวา ผูคัดคานที่ 1 เปนผูกระทําความผิดมูลฐาน สวนผูคัดคานที่ 2
ถึงที่ 5 ลวนเปนผูซึ่งเกี่ยวของสัมพันธกับผูคัดคานที่ 1 โดยผูคัดคานที่ 2 และที่ 3 เกี่ยวของสัมพันธในฐานะ
บุตร ผูคัดคานที่ 4 เกี่ยวของสัมพันธในฐานะพี่ และผูคัดคานที่ 5 เกี่ยวของสัมพันธในฐานะพี่สะใภและรับโอน
เงินจากผูคัดคานที่ 1 จึงเปนผูซึ่งเกี่ยวของหรือเคยเกี่ยวของสัมพันธกับผูคัดคานที่ 1 ผูกระทําความผิดมูลฐาน
จึงตองสันนิษฐานไวกอนวา บรรดาทรัพยสินของผูคัดคานทั้งหาที่ผูรองยื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปน
ของแผนดินเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. 2542 มาตรา 51 วรรคทาย และพยานหลักฐานที่ผูคัดคานทั้งหานําสืบดังที่วินิจฉัยมานั้นไมมีนํ้าหนักพอ
รับฟงหักลางขอสันนิษฐานดังกลาว ที่ศาลอุทธรณพิพากษาวา ทรัพยสินของผูคัดคานทั้งหาที่ผูรองยื่นคํารอง
ขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินลวนเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดนั้น ชอบแลว ฎีกาของ
ผูคัดคานทั้งหาในขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน
สวนขอที่ผูคัดคานทั้งหาอุทธรณคําสั่งศาลชั้นตนที่ใหผูคัดคานทั้งหาเสียคาขึ้นศาลชั้นฎีกาโดย
มีใจความวา คดีนี้เปนคดีขอปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินไดผูคัดคานทั้งหาจึงตองเสียคาขึ้น
ศาลชั้ นฎีกาจํา นวน 200 บาท นั้น เห็นวา คดีนี้ผูรองกับผูคัดคานทั้งหาพิพาทโตแยงกันวา ทรัพยสินของ
ผูคัดคานทั้ งหาที่ผูรองยื่นคําร องขอใหศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทํา
ความผิดหรือไม หากคดีฟงไดวาเปนทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดศาลก็ตองมีคําสั่งใหตกเปนของ
แผนดิน แตหากคดีฟงไมไดเชนนั้นก็ตองมีคําสั่งคืนใหแกผูคัดคานทั้งหา คดีนี้จึงเปนคดีปลดเปลื้องทุกขอันอาจ
คํานวณเปนราคาเงินได ที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งใหผูคัดคานทั้งหาเสียคาขึ้นศาลชั้นฎีกาอยางคดีปลดเปลื้องทุกขอัน
อาจคํานวณเปนราคาเงินไดนั้น ชอบแลว อุทธรณคําสั่งศาลชั้นตนของผูคัดคานทั้งหาในปญหาขอนี้ฟงไมขึ้น
อนึ่ง พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 59 วรรคสอง
บัญญัติใหพนักงานอัยการไดรับการยกเวนคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวงแตก็ถือเปนคดีแพง การที่ศาลชั้นตนมิไดสั่ง
-๗๓-

เรื่องคาฤชาธรรมเนียมนั้นไมชอบ เพราะคําสั่งเรื่องคาฤชาธรรมเนียมแมจะไมมีคําขอของคูความฝายใดและแม
จะให เ ปน พั บ กั น ไป ก็ เ ปน หน า ที่ ของศาลที่จ ะตองสั่งลงไวในคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดี ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 167 วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาคณะคดีปกครองจึงเห็นสมควรมีคําสั่งเพิ่มเติม
ใหถูกตอง
พิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมในศาลชั้นตนและชั้นฎีกาใหเปนพับ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๗๔-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8790/2554
ป.อ. ชิงทรัพย (มาตรา 339)

ขณะเกิ ด เหตุ เ ป น เวลากลางคืน ที่เ กิด เหตุเ ปน สี่ แยก ขณะนั้น ไมมี ร ถสั ญจรผา นไปมา
ผูเ สี ยหายไม รู จั กจํ า เลยกั บพวกมาก อน การที่พวกจํา เลยขับรถแซงและปาดหนา รถจักรยานยนตของ
ผูเสียหายเพื่อใหผูเสียหายหยุดรถทันทีและตะคอกดาพรอมกับพูดวามีอะไรสงมาใหหมด โดยจําเลยกับพวก
แสดงสีหนาขึงขังเชนนี้ แมพวกจําเลยจะไมไดพูดวาหากไมสงสิ่งของใหจะทํารายผูเสียหาย แตพฤติการณ
ของจํ า เลยกั บ พวกดั ง กล า วเป น การคุ ก คามผู เ สี ย หายให ก ลั ว ว า จะถู ก ทํ า ร า ยหากไม ส ง ทรั พ ย สิ น ให
จึงเปนการขูเข็ญผูเสียหายทั้งกิริยาและวาจาโดยมีความหมายวา ถาผูเสียหายไมใหสิ่งของใดแลวผูเสียหาย
จะถูกทําราย จนผูเสียหายกลัวตองรีบสงกระเปาสะพายใหจําเลย หาใชเรื่องที่ผูเสียหายรูสึกกลัวไปเองไม
การกระทําดังกลาวจึงเปนการขูเข็ญวาในทันใดนั้นจะใชกําลังประทุษรายเพื่อใหผูเสียหายยื่นใหซึ่งทรัพย
อันเปนความผิดฐานชิงทรัพย มิใชความผิดฐานกรรโชกทรัพย

________________________________________

พนักงานอัยการจังหวัดยะลา โจทก
ระหวาง
นายไตรภูมิ เสมาพัฒนหรือเสมาพันธ จําเลย

โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2549 เวลากลางคืนกอนเที่ยง จําเลยกับพวกอีกคนหนึ่ง


ซึ่งเปนเยาวชนแยกดําเนินคดีตางหากแลว รวมกันชิงทรัพยโดยรวมกันลักเอากระเปาสะพายซึ่งภายในบรรจุ
เงิ น สด 200 บาท และเครื่ อ งสํ า อางราคา 300 บาท รวมราคาทรั พย เ ป น เงิน 500 บาท ของนาง ว.
ผู เ สี ย หายไป โดยจํ า เลยกั บ พวกตะโกนดาตะคอกผูเสีย หายวาในทัน ใดนั้น จะใชกําลังประทุษรายรางกาย
ผูเสียหายหากขัดขืน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกแกการลักทรัพยหรือพาทรัพยนั้นไป ใหยื่นใหซึ่งทรัพยนั้น ยึดถือ
เอาทรัพยนั้นไว ปกปดการกระทําความผิดนั้น หรือใหพนจากการจับกุม และจําเลยกับพวกใชรถจักรยานยนต
1 คั น ขั บ ขี่ ป ระกบติ ด ตามปาดหน า รถจั กรยานยนตของผูเ สีย หายให ห ยุด รถแล ว กระทํา การชิ งทรั พยนั้ น
อันเปนการใชย านพาหนะเพื่อกระทํา ผิด พาทรัพยนั้นไป หรือเพื่อใหพนการจับกุม เหตุเกิดที่ตําบลสะเตง
อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา เจาพนักงานจับจําเลยกับพวกไดพรอมรถจักรยานยนต ไมติดแผนปายทะเบียน
ที่จําเลยกั บพวกใช ในการกระทํ าความผิ ดดังกลาวเปนของกลาง ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 339, 340 ตรี, 83, 33 ริบรถจักรยานยนตของกลาง และใหจําเลยคืนหรือใชราคาทรัพยเปนเงิน
500 บาท แกผูเสียหาย
จําเลยใหการปฏิเสธ แตเมื่อสืบพยานโจทกเสร็จแลว จําเลยกลับใหการรับสารภาพ
-๗๕-

ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา


มาตรา 339 วรรคสอง ประกอบดวยมาตรา 340 ตรี และมาตรา 83 จําคุก 15 ป จําเลยใหการรับสารภาพ
ชั้ น จั บ กุ ม และชั้ น สอบสวน เป น ประโยชน แ ก ก ารพิ จ ารณาอยู บ า ง มี เ หตุ บ รรเทาโทษ ลดโทษให ต าม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสาม คงจําคุก 10 ป ริบรถจักรยานยนตของกลาง และใหจําเลย
คืนหรือใชราคาทรัพยแกผูเสียหาย
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 9 พิพากษายืน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว มีปญหาขอกฎหมายที่ตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยวา การกระทํา
ของจํ า เลยเป น ความผิ ด ฐานชิ งทรั พย ห รือไม เห็น วา ขณะเกิดเหตุเปน เวลากลางคืน ที่เกิดเหตุเปน สี่แยก
ขณะนั้ น ไม มีร ถสั ญ จรผ า นไปมา ผู เ สี ย หายไม รูจั กจํ าเลยกับ พวกมาก อน การที่พ วกจํา เลยขั บ รถแซงและ
ปาดหนา รถจั กรยานยนต ของผู เ สีย หายเพื่อใหผูเสีย หายหยุดรถทัน ทีและตะคอกดาพรอมกับ พูดวามีอะไร
ส งมาให ห มด โดยจํ า เลยกั บ พวกแสดงสีห นาขึ งขั งเช น นี้ แม พวกจํา เลยจะไมไ ดพูด วา หากไมส งสิ่ งของให
จะทํารายผูเสียหาย แตพฤติการณของจําเลยกับพวกดังกลาวเปนการคุกคามผูเสียหายใหกลัววาจะถูกทําราย
หากไม ส ง ทรั พ ย สิ น ให จึ ง เป น การขู เ ข็ ญ ผู เ สี ย หายทั้ ง กิ ริ ย าและวาจาโดยมี ค วามหมายว า ถ า ผู เ สี ย หาย
ไมใหสิ่งของใดแลวผูเสียหายจะถูกทําราย จนผูเสียหายกลัวตองรีบสงกระเปาสะพายใหจําเลย หาใชเรื่องที่
ผู เ สี ย หายรู สึ ก กลั ว ไปเองไม การกระทํ า ดั ง กล า วจึ ง เป น การขู เ ข็ ญ ว า ในทั น ใดนั้ น จะใช กํ า ลั ง ประทุ ษ ร า ย
เพื่อใหผูเสียหายยื่นใหซึ่งทรัพยอันเปนความผิดฐานชิงทรัพย มิใชความผิดฐานกรรโชกทรัพยดังที่จําเลยฎีกา
เมื่อขณะเกิดเหตุจําเลยยังคงนั่งอยูบนรถจักรยานยนตคันเดียวกับพวกและแมจําเลยไมไดพูดกับผูเสียหาย
แตเมื่อผูเสียหายยื่นทรัพยใหจําเลยก็รับไวแลวจําเลยกับพวกขับรถจักรยานยนตหนีไปดวยกันทันที ถือเปนการ
แบงหนา ที่กันทําอั นเปนการรวมกั นกระทําความผิดแลว ที่ศาลลางทั้งสองวินิจฉัยวาการกระทําของจําเลย
เปนความผิดฐานรวมกันชิงทรัพยนั้น ชอบแลว ฎีกาของจําเลยขอนี้ฟงไมขึ้น สวนที่จําเลยฎีกาวา จําเลยกับพวก
มิไดทาํ รายผูเสียหาย ทรัพยของผูเสียหายมีราคาเล็กนอย ประกอบกับจําเลยทําคุณงามความดีเปนอาสาสมัคร
ทหารพรานอยูในสามจังหวัดภาคใต ขอใหลงโทษจําเลยสถานเบาและรอการลงโทษนั้น เห็นวา ตามพฤติการณ
แห ง คดี เ ป น เรื่ อ งร า ยแรงเป น ภั ย ต อ สั ง คม และโทษที่ ล งแก จํ า เลยเป น อั ต ราโทษขั้ น ต่ํ า จึ ง ไม อ าจลงโทษ
จําเลยสถานเบากวา นี้และไมอยูในหลักเกณฑที่จะรอการลงโทษใหแกจําเลย ฎีกาของจําเลยขอนี้ฟงไมขึ้น
เชนกัน
พิพากษายืน
-๗๖-

หมายเหตุ เมื่ อ ได นํ า คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ เ ผยแพร นี้ ม าพิ จ ารณาประกอบคํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่
4418/2548

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4418/2548 ไดวินิจฉัยวา ศาลลางทั้งสองพิพากษาใหริบรถยนต


กระบะของกลางของจําเลยที่ ๑ ทั้งที่ไดความเพียงวาจําเลยที่ 1 เพียงแตใชรถยนตกระบะเปนยานพาหนะ
เดิ น ทางไปยั งที่ เ กิ ด เหตุ มิ ได ใ ช ในการกระทําความผิด ในคดี นี้โ ดยตรง และพิพ ากษาใหริบ รถยนต กระบะ
ของกลางของจําเลยที่ 2 ทั้งที่จําเลยที่ 2 ถึงแกความตายแลวและสิทธินําคดีอาญามาฟองสําหรับจําเลยที่ 2
ระงับลงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (1) และโทษยอมระงับไปดวยความตายของ
ผูกระทําผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 38 จึงเปนการไมชอบ แมฝายจําเลยมิไดฎีกาในปญหานี้
แตเนื่องจากเปนปญหาที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลฎีกามีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยและพิพากษาแกไข
ใหถูกตองได
จึงมีความเห็นวา ประเด็นการที่ศาลลางทั้งสองพิพากษาใหริบรถจักรยานยนตของกลางนั้น
ศาลฎี ก าเห็ น พ อ งด ว ย ดั ง นั้ น จึ ง ได นํ า คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 665/2542 ซึ่ ง มี ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ
รถจั กรยานยนต ของกลางคล า ยกั บ คํ า พิ พากษาศาลฎี กาที่เผยแพร นี้ นํามาใหผู อานได วิเคราะหวา เหตุใ ด
ศาลฎีกาจึงมี คํา พิ พากษาเกี่ย วกับ การริ บรถจักรยานยนตของกลางแตกตางกัน โดยมีขอสังเกตวา ตาม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่เผยแพรนี้ ขณะเกิดเหตุจําเลยยังคงนั่งอยูบนรถจักรยานยนตของกลางคันเดียวกับพวกที่
พูดขูเข็ญผูเสียหาย
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ 665/2542 ได วิ นิ จ ฉั ย ว า จํ า เลยกั บ พวกขั บ รถจั ก รยานยนต
ของกลางแล นตามรถยนต ผูเสียหายจนทันแลวแซงขึ้นหนาไปจอดขวางใหหยุด กับขูเข็ญผูเสียหายจนยอม
มอบเงิน แก จํา เลยกั บ พวก รถจักรยานยนตของกลางจึงเปน เพีย งยานพาหนะที่จําเลยกับ พวกใชกอนที่จ ะ
กระทําความผิดฐานกรรโชก อีกทั้งจําเลยกับพวกก็รวมกันขูเข็ญผูเสียหายวา หากไมยอมใหเงิน จําเลยกับพวก
จะทํ าการระเบิ ดรถและพังรถยนตของผูเสีย หายเทานั้น รถจักรยานยนตของกลาง จึงหาใชทรัพยที่จําเลย
กับพวกไดใชหรือมีไวเพื่อใชในการกรรโชกทรัพยไม ไมเขาหลักเกณฑในเรื่องทรัพยสินที่ศาลมีอํานาจสั่งริบ
ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 (1)
ประเด็นตอมาที่สําคัญ ไดแกกรณีท่ีโจทกมีความประสงคใหศาลริบรถจักรยานยนตของกลาง
ก็ ยั งเป น หน า ที่ ข องโจทก จ ะต อ งบรรยายฟองถึ งรายละเอีย ดวาจําเลยไดใช ร ถจักรยานยนตในการกระทํ า
ความผิดลักษณะใด อยางไร อันถือไดวาเปนการใชรถจักรยานยนตในการกระทําความผิดโดยตรง ดังที่ศาลฎีกา
ไดวินิจฉัยใวในคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9200/2552
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9200/2552 ไดวิจฉัยวา โจทกบรรยายฟองวา จําเลยทั้งสองรวมกัน
ใชรถจักรยานยนตของกลางเปนยานพาหนะเพื่อสะดวกแกการกระทําความผิด หรือการพาทรัพยนั้นไปหรือ
เพื่อใหพนการจับกุม แตไมมีรายละเอียดวาจําเลยไดใชรถจักรยานยนตในการกระทําความผิดฐานลักทรัพยใน
ลักษณะใดอยางไร อันถือไดวาเปนการใชรถจักรยานยนตในการกระทําความผิดโดยตรง เพราะความผิดฐานนี้
สามารถเปนความผิดโดยสมบูรณไดโดยหาจําตองใชรถจักรยานยนตดวยเสมอไปไม การบรรยายฟองของโจทก
-๗๗-

เชนนี้จึงเปนการบรรยายฟองเพื่อใหครบองคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 336 ทวิ


ที่ ใ ช เ ฉพาะในการเพิ่ ม โทษจํ า เลยทั้ ง สองเท า นั้ น แม จํ า เลยทั้ ง สองจะให ก ารรั บ สารภาพ ก็ ไ ม อ าจฟ ง ว า
รถจั ก รยานยนต ข องกลางเป น ทรั พ ย ที่ จํ า เลยทั้ ง สองใช ใ นการกระทํ า ความผิ ด อั น ศาลจะมี อํ า นาจริ บ ได
ตามหลักเกณฑที่บัญญั ติไว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 (1) ปญหานี้เปน ขอกฎหมายเกี่ยวกับ
ความสงบเรี ย บร อย จํ า เลยที่ 1 มี สิ ทธิ ย กขึ้น ในชั้ น ฎี กาไดตามประมวลกฎหมายวิ ธีพิจ ารณาความอาญา
มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๗๘-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8867/2554
ป.อ. เพื่ อสนองความใคร ของผู อ่ืน เปน ธุร ะจัด หาเพื่อ การอนาจาร ซึ่งเปน เด็กอายุยัง ไมเ กิน สิ บหา ป
(มาตรา 282 วรรคสาม)
ป.วิ . อ. ความผิ ด ตามฟ อ งรวมการกระทํ า หลายอย า ง แต ล ะอย า งอาจเป น ความผิ ด ได อ ยู ใ นตั ว เอง
(มาตรา 192 วรรคหก)

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 283 วรรคสาม มี อ งค ป ระกอบความผิ ด ดั ง นี้


องคประกอบภายนอกสองประการคือ ประการแรก การที่บุคคลกระทําการอยางหนึ่งอยางใดในสามอยาง
กลาวคือ เปนธุระจัดหา ลอไป หรือพาไปซึ่งชายหรือหญิงอายุยังไมเกินสิบหาป ประการที่สอง วิธีการ
ประกอบการกระทําอยางหนึ่งอยางใดในหาอยางกลาวคือ ใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลังประทุษราย
ใชอํานาจครอบงําผิดคลองธรรมหรือใชวิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใด องคประกอบภายในสองประการคือ
ประการแรก เจตนาเปนธุระจัดหา ลอไป หรือพาไปซึ่งชายหรือหญิงอายุยังไมเกินสิบหาปโดยไมสมัครใจ
ประการที่สอง เจตนาพิเศษหรือมูลเหตุชักจูงใจ เพื่อการอนาจารและเพื่อสนองความใครของผูอื่น สําหรับ
องคประกอบภายนอกเกี่ยวกับการกระทํานั้น เปนธุระจัดหา หมายความวา จัดใหไดมาซึ่งชายหรือหญิง
ลอไป หมายความวา ลอลวงไปยังสถานที่ที่จัดไว พาไป หมายความวา นําไป สวนองคประกอบภายนอก
เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารประกอบการกระทํ า ประการหนึ่ ง ที่ ต อ งพิ จ ารณา ในคดี นี้ คื อ ใช อุ บ ายหลอกลวง
ซึ่ ง หมายความว า ใช วิ ธี ก ารอั น แยบคาย ใช เ ล ห ก ลหรื อ เล ห เ หลี่ ย ม และทํ า ให เ ขา ใจผิด จึง เห็ น ได ว า
คดีมีขอเท็จจริงฟงไดวา จําเลยเพียงแตพูดชักชวนผูเสียหายซึ่งเปนเด็กอายุยังไมเกินสิบหาปใหไปรวม
หลั บ นอนกั บ นาย อ. สามี ข องจํ า เลย แล ว จะให โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ จํ า นวน 1 เครื่ อ ง และเงิ น จํ า นวน
1,000 บาท เปนการตอบแทน โดยไมปรากฏพฤติการณใด ๆ ที่สอแสดงวาจําเลยใชอุบายและพูดไมจริง
หรือจะไมใหสิ่งของ ดังกลาวตอบแทนเมื่อผูเสียหายตกลงยินยอม กรณีเชนนี้ยังถือไมไดวาจําเลยใชอุบาย
หลอกลวง อันเปนการขาดองคประกอบภายนอกเกี่ยวกับวิธีการประกอบการกระทําอยางหนึ่งอยางใด
ในหา อยา ง การกระทํา ของจํ าเลยจึ งไมเ ปนความผิด ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 283 วรรคสาม
ตามฟ อ งของโจทก แต ข อ เท็ จ จริ ง แห ง คดี นี้ ฟ ง ได ว า ในวั น เวลาและสถานที่ เ กิ ด เหตุ ต ามฟ อ ง
เพื่อสนองความใครของผูอื่น จําเลยเปนธุระจัดหาเพื่อการอนาจาร ซึ่งผูเสียหายผูเปนเด็กอายุยังไมเกิน
สิ บ ห า ป ผู เ สี ย หายทํ า ที พ ยั ก หน า แต ไ ม ต กลงด ว ยเท า กั บ ผู เ สี ย หายไม ยิ น ยอม อั น เป น การกระทํ า
ครบองคประกอบความผิดประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 วรรคสาม
________________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดตราด โจทก

ระหวาง
นางสมพงษหรือกาหลง ขุนสนธิ จําเลย
-๗๙-

โจทก ฟ อ งและแก ไ ขฟ อ งว า เมื่ อ วั น ที่ 16 กุ ม ภาพั น ธ 2546 เวลากลางวั น จํ า เลย
เพื่ อ สนองความใคร ข องนาย อ. สามี ข องจํ า เลย เป น ธุ ร ะจั ด หา ล อ ไป หรื อ พาไป เพื่ อ การอนาจาร ซึ่ ง
เด็กหญิง พ. ผูเ สียหาย อายุสิบ สามป เศษ (เกิดวันที่ 5 กรกฎาคม 2532) ยังไมเกินสิบหาป โดยใชอุบาย
หลอกลวงผูเสียหายใหไปรวมประเวณีกับนาย อ. แลวจะซื้อโทรศัพทเคลื่อนที่ใหผูเสียหายจํานวน 1 เครื่อง
เปนการตอบแทน เหตุเกิดที่ตําบลหนองเสม็ด อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด จําเลยเปนบุคคลคนเดียวกับ
จําเลยที่ 2 ในคดีอาญาหมายเลขดําที่ 643/2547 ของศาลชั้นตน ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 283 และนับโทษจําเลยตอจากโทษของจําเลยที่ 2 ในคดีอาญาหมายเลขดําที่ 643/2547 ของ
ศาลชั้นตน
จําเลยใหการปฏิเสธ แตรับวาเปนบุคคลคนเดียวกับจําเลยที่ 2 ในคดีท่โี จทกขอใหนับโทษตอ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษายกฟอง
โจทกอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ ภ าค 2 พิ พ ากษากลั บ ว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 283 วรรคสาม ประกอบมาตรา 80 จํ า คุ ก 6 ป 8 เดื อ น คํ า ให ก ารของจํ า เลยเป น ประโยชน
แกการพิจ ารณาคดี อยู บา ง ลดโทษให หนึ่งในสาม ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุก 4 ป
5 เดื อ น 10 วั น ให นั บ โทษจํ า คุ ก จํ า เลยต อ จากโทษจํ า คุ ก ของจํ า เลยที่ 2 ในคดี อ าญาหมายเลขดํ า ที่
643/2547 ของศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา
ศาลฎี กาพิเ คราะหแลว ปญหาที่ตองวินิจ ฉัยตามฎีกาของจําเลยวา การกระทําของจําเลย
เปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 283 วรรคสาม ตามฟองของโจทกหรือไม ประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 283 วรรคสาม มี อ งค ป ระกอบความผิ ด ดั ง นี้ องค ป ระกอบภายนอกสองประการคื อ
ประการแรก การที่บุคคลกระทําการอยางหนึ่งอยางใดในสามอยางกลาวคือ เปนธุระจัดหา ลอไป หรือพาไป
ซึ่งชายหรือหญิงอายุยังไมเกินสิบหาป ประการที่สอง วิธีการประกอบการกระทําอยางหนึ่งอยางใดในหาอยาง
กลาวคือ ใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลังประทุษราย ใชอํานาจครอบงําผิดคลองธรรมหรือใชวิธีขมขืนใจ
ดวยประการอื่นใด องคประกอบภายในสองประการคือ ประการแรก เจตนาเปนธุระจัดหา ลอไป หรือพาไป
ซึ่ ง ชายหรื อ หญิ ง อายุ ยั ง ไม เ กิ น สิ บ ห า ป โ ดยไม ส มั ค รใจ ประการที่ ส อง เจตนาพิ เ ศษหรื อ มู ล เหตุ ชั ก จู ง ใจ
เพื่ อการอนาจารและเพื่ อสนองความใคร ข องผูอื่ น สํา หรั บ องคป ระกอบภายนอกเกี่ ย วกับ การกระทํา นั้ น
เปนธุระจัดหา หมายความวา จัดใหไดมาซึ่งชายหรือหญิง ลอไป หมายความวา ลอลวงไปยังสถานที่ที่จัดไว
พาไป หมายความว า นํ า ไป ส ว นองค ป ระกอบภายนอกเกี่ ย วกับ วิธีการประกอบการกระทํ าประการหนึ่ ง
ที่ตองพิจารณา ในคดีนี้คือ ใชอุบายหลอกลวง ซึ่งหมายความวา ใชวิธีการอันแยบคาย ใชเลหกลหรือเลหเหลี่ยม
และทําใหเขาใจผิด จึงเห็นไดวา คดีมีขอเท็จจริงฟงไดวา จําเลยเพียงแตพูดชักชวนผูเสียหายซึ่งเปนเด็กอายุ
ยังไมเกินสิบหาปใหไปรวมหลับนอนกับนาย อ. สามีของจําเลย แลวจะใหโทรศัพทเคลื่อนที่จํานวน 1 เครื่อง
และเงินจํานวน 1,000 บาท เปนการตอบแทน โดยไมปรากฏพฤติการณใด ๆ ที่สอแสดงวาจําเลยใชอุบาย
-๘๐-

และพู ด ไม จ ริ งหรือจะไมให สิ่ งของ ดั งกลาวตอบแทนเมื่อผูเสีย หายตกลงยิน ยอม กรณีเชน นี้ยังถือไมไดวา
จําเลยใชอุบายหลอกลวง อันเปนการขาดองคประกอบภายนอกเกี่ยวกับวิธีการประกอบการกระทําอยางหนึ่ง
อยางใดในหาอยาง การกระทําของจําเลยจึงไมเปนความผิดประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 283 วรรคสาม
ตามฟองของโจทก แตขอเท็จจริงแหงคดีนี้ฟงไดวา ในวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุตามฟอง เพื่อสนองความใคร
ของผูอื่น จําเลยเปนธุระจัดหาเพื่อการอนาจาร ซึ่งผูเสียหายผูเปนเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูเสียหายทําที
พยั ก หน า แต ไ ม ต กลงด ว ยเท า กั บ ผู เ สี ย หายไม ยิ น ยอม อั น เป น การกระทํ า ครบองค ป ระกอบความผิ ด
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 วรรคสาม ซึ่งจําเลยลงมือกระทําความผิดและกระทําไปตลอดแลว
แต ผู เ สี ย หายไม ไ ปด ว ย ทํ า ให ก ารกระทํ า ของจํ า เลยไม บ รรลุ ผ ลตามที่ มุ ง หวั ง ไว จึ ง เป น การพยายาม
กระทํ าความผิด ตามมาตราดั งกล าว และกรณีเชนนี้เปน กรณีความผิดตามฟองรวมการกระทําหลายอยาง
แต ล ะอย า งอาจเป น ความผิ ด ได อ ยู ในตั ว เอง ศาลฎี กามีอํา นาจลงโทษจํ าเลยตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 282 วรรคสาม ตามที่ พิ จ ารณาได ค วามได ทั้ ง นี้ ต ามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา
มาตรา 192 วรรคหก ประกอบมาตรา 215 และ 225 ที่ศาลอุทธรณภาค 2 พิพากษามานั้น ศาลฎีกา
เห็นพองดวยบางสวน และฎีกาขอนี้ของจําเลยก็ฟงขึ้นบางสวน
พิพากษาแกเปนวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 วรรคสาม
ประกอบมาตรา 80 ลงโทษจํ าคุ ก 4 ป การนําสืบ พยานของจําเลยเปน ประโยชนแกการพิจ ารณาอยูบาง
มีเหตุบรรเทาโทษ เห็นสมควรลดโทษใหตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 หนึ่งในสาม คงจําคุก 2 ป
8 เดือน และนับโทษตอจากโทษของจําเลยที่ 2 ในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1653/2548 ของศาลชั้นตน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๘๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8979-8980/2554
ป.รัษฎากร ตราสารไมปดอากรแสตมป หนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตามกฎหมาย (มาตรา ๑๑๘)
พ.ร.บ. วาดวยความผิดอันเกิดจากการใชเช็ค พ.ศ.๒๕๓๔ ( มาตรา ๔)

ตราสารใดไมปดแสตมปบริบูรณ จะใชเปนพยานหลักฐานไมไดเฉพาะในคดีแพงเทานั้น สวน


ในคดีอาญาไมตองหามที่จะนํามารับฟงเปนพยานหลักฐานได
จํา เลยออกเช็ คพิ พาท ชํ า ระหนี้ต ามสัญญาเชาซื้อ โดยโจทกมีสัญญาเชา ซื้อที่มิไ ดปด อากร
แสตมปบริบูรณมาแสดง ถือไดวาจําเลยออกเช็คเพื่อชําระหนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตามกฎหมาย

พนักงานอัยการคดีศาลแขวงสุรินทร โจทก

ระหวาง
นางศรีวิไล กิ่งแกว จําเลย

คดีทั้งสองสํานวนนี้ ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษารวมกันโดยเรียกโจทกทั้งสองสํานวนวา
โจทก และจําเลยทั้งสองสํานวนวาจําเลย
โจทกทั้งสองสํานวนฟองและแกไขฟองวา จําเลยออกเช็คธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) สาขา
สุรินทร รวม 6 ฉบับตางกรรมตางวาระกัน มอบใหนาง พ. ผูเสียหาย เพื่อชําระหนี้คาเครื่องประดับเพชร อัน
เป น หนี้ ท่ีมีอยู จ ริงและบั งคับ ได ตามกฎหมาย เมื่อเช็คถึงกําหนดชําระเงิน ผูเสีย หายนําไปเรีย กเก็บ เงิน แต
ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงินตาเช็ค ทั้งนี้จําเลยออกเช็คดังกลาวโดยเจตนาที่จะไมใหมีการใชเงินตามเช็ค
และในขณะที่ ออกเช็ คนั้ น ไม มี เ งิ น อยูในบัญ ชีอั น จะพึ งให ใช เงิ น ได จํา เลยเป น บุ คคลคนเดี ย วกับ จํา เลยใน
คดีอาญาหมายเลขดําที่ 1562/2547 และ 1564/2547 ของศาลชั้นตน ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติ
วาดวยความผิดอันเกิดจากการใชเช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 นับโทษจําเลยทั้งสองสํานวนติดตอกันและนับ
โทษจําเลยตอจากโทษของจําเลยในคดีอาญาหมายเลขดําที่ 1562/2547 และ 1564/2547 (ตอมาเปน
หมายเลขแดงที่ 2631/2547 และ 2632/2547 ตามลําดับ) ของศาลชั้นตน
จําเลยใหการปฏิเสธ แตรับวาเปนบุคคลคนเดียวกับจําเลยในคดีที่โจทกขอใหนับโทษตอ
-๘๒-

ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวาจําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยความผิดอัน
เกิดจากการใชเช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 (1) (2) เปนความผิดหลายกรรม ใหลงโทษทุกกรรมเปนกระทง
ความผิด จําคุกกระทงละ 4 เดือน รวม 6 กระทง เปนจําคุก 24 เดือน และใหนับโทษจําเลยตอจากโทษของ
จําเลยในคดีอายาหมายเลขแดงที่ 2631/2547 และ 2632/2547 ของศาลชั้นตน
จําเลยอุทธรณศาลอุทธรณภาค 3 พิพากษายืน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ขอเท็จจริงรับฟงไดในเบื้องตนวาจําเลยสั่งจายเช็ค
ธนาคาร ก. จํากัด (มหาชน) สาขาสุรินทร รวม 6 ฉบับ ซึ่งเปนเช็คพิพาทตามฟอง เพื่อชําระหนี้ตามสัญญาเชา
ซื้อเครื่องเพชรแกผูเสียหาย เมื่อถึงกําหนดชําระเงิน ธนาคารปฏิเสธการจายเงินตามเช็คทั้ง 6 ฉบับ โดยให
เหตุผลวา เงินในบัญชีไมพอจาย มีปญหาขอกฎหมายตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยเพียงประการเดียววา
จําเลยตองรับผิดตามเช็คพิพาทที่ออกตามมูลหนี้สัญญาเชาซื้อซึ่งมิไดปดอากรแสตมปตามกฎหมายหรือไม
โดยจําเลยฎีกาวา สัญญาเชาซื้อ มิไดปดอากรแสตมปจึงเปนเอกสารที่ไมสมบูรณตามกฎหมาย ไมอาจรับฟงเพื่อ
ลงโทษทางอาญาแกจําเลยได เห็นวา ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 118 ตราสารใดไมปดแสตมปบริบูรณ จะ
ใช เ ป น พยานหลั ก ฐานไม ไ ด เ ฉพาะในคดี แ พ ง เท า นั้ น ส ว นในคดี อ าญาไม ต อ งห า มที่ จ ะนํ า มารั บ ฟ ง เป น
พยานหลักฐานได ดังนั้น เมื่อจําเลยออกเช็คพิพาทชําระหนี้ตามสัญญาเชาซื้อโดยโจทกมีสัญญาเชาซื้อมาแสดง
ถือไดวาจําเลยออกเช็คเพื่อชําระหนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตามกฎหมาย เมื่อเช็คพิพาททั้ง 6 ฉบับ ดังกลาวถูก
ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน จึงครบองคประกอบความผิดตามพระราชบัญญัติวาดวยความผิดอันเกิดจากการใช
เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 แลวที่ศาลอุทธรณภาค 3 วินิจฉัยในปญหานี้มานั้น ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของ
จําเลยฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๘๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8999/2554
ป.อ. ลักทรัพย รับของโจร อํานาจศาล (มาตรา ๓๓๕, ๓๕๗, ๘๓)

คดีนี้โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยทั้งสามฐานรวมกันลักทรัพยในเวลากลางคืน โดยทํา
อันตรายสิ่งกีดกั้นสําหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย หรือรวมกันรับของโจร ศาลชั้นตนพิพากษาลงโทษ
จําเลยทั้งสามฐานรวมกันรับของโจร จําเลยที่ ๒ อุทธรณ ศาลอุทธรณพิพากษากลับใหยกฟอง ศาลฎีกา
พิจารณาแลวฟงไดวาจําเลยทั้งสามรวมกระทําความผิดฐานลักทรัพยในเวลากลางคืน โดยทําอันตรายสิ่ง
กีดกั้นสําหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย แมโจทกจะไมไดอุทธรณหรือฎีกาในความผิดฐานลักทรัพย แตเปน
ขอกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลฎีกามีอํานาจวินิจฉัยใหตรงกับความผิดที่เกิดขึ้นได

พนักงานอัยการจังหวัดนครปฐม โจทก
ระหวาง

นายดํารง จันทรศรีเจริญ ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จําเลย

โจทกฟองวา มีคนรายหลายคนรวมกันใชของแข็งงัดกระจกรถกระบะจนเปดออกอันเปนการ
ทําอันตรายสิ่งกีดกั้นสําหรับคุมครองทรัพย แลวลักทรัพยเครื่องเลนซีดีราคา 2,000 บาท แวนกันแดดราคา
99 บาท รูปปนสมเด็จพระเจาตากสินราคา 199 บาท ประแจปากตายราคา 10 บาท และไขควงปากแบน
และแฉกราคา 10 บาท ของนาย ด. ผูเสียหายไป ทั้งนี้จําเลยทั้งสามกับพวกลักทรัพยของผูเสียหายดังกลาว
หรือมิฉะนั้นรับของโจรทรัพยดังกลาวไว ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335, 357, 83
และนับโทษตอจากโทษของจําเลยทั้งสามในคดีดําที่ 3560/2551 ของศาลนี้ดวย
จําเลยทั้งสามใหการปฏิเสธ แตรับวาเปนบุคคลคนเดียวกับจําเลยในคดีที่โจทกขอใหนับโทษตอ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 357 วรรคแรก, 83 ลงโทษจําคุกคนละ 3 ป ที่โจทกขอใหนับโทษตอนั้น ปรากฏวาคดีดังกลาว
ศาลพิพากษายกฟอง จึงไมนับโทษตอให ขอหาอื่นใหยก
จําเลยที่ 2 อุทธรณ
-๘๔-

ศาลอุทธรณภาค 7 พิพากษากลับ ใหยกฟอง


โจทกฎีกา
ศาลฎี ก าตรวจสํ า นวนประชุ ม ปรึ ก ษาแล ว ข อ เท็ จ จริ ง ฟ ง ได ว า ผู เ สี ย หายจอดรถกระบะ
หมายเลขทะเบียน ณค 454 กรุงเทพมหานคร ไวหนาหองแถวสีเหลืองเลขที่ 74 หมูที่ 4 ซอยบางกอกกรีน
ตําบลกระทุมลม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ตอมาเวลาประมาณ 3.30 นาฬิกา นาย ศ. กับพวกได
รวมกันงัดกระจกหลังรถกระบะดังกลาวเปดออกแลวเขาไปลักเครื่องเลนซีดี แวนตากันแดด รูปปนสมเด็จพระ
เจาตากสินพรอมกรอบ ประแจปากตาย และไขควงปากแบนและแฉกไป หลังจากนั้นเวลาไลเลี่ยกันนาย ศ. กับ
พวกไดรวมกันไปที่หนาบาน 90/124 หมูที่ 9 หมูบานพุทธธานี ถนนพุทธมณฑลสาย 4 รวมกันใชมีดกรีด
ยางขอบกระจกหลังรถกระบะหมายเลขทะเบียน ณต 4367 กรุงเทพมหานคร ซึ่งจอดอยูริมถนนหนาบาน
ดังกลา ว แต ยังไม ทัน ที่จ ะเปดกระจกเข าไปเอาทรัพยสิน จาสิบ ตํารวจ ล. จาสิบตํารวจ ส. กับพวกซึ่งเปน
เจาพนักงานตํารวจประจําสถานีตํารวจภูธรโพธิ์แกวจับนาย ศ. กับพวกไดพรอมทรัพยสินของผูเสียหายที่ถูกลักไป
เจาพนักงานตํารวจใหนาย ศ. พาไปที่รถกระบะของผูเสียหาย พบวากระจกดานหลังถูกกรีดออกแลวยกออกมา
วางไวดานหลังรถ พบรอยรื้อคนและเครื่องเลนซีดีถูกถอดออก ชั้นสอบสวนแจงขอหาวานาย ศ. กับจําเลย
ทั้งสามรวมกันลักทรัพยในเวลากลางคืนโดยทําอันตรายสิ่งกีดกั้นสําหรับคุมครองทรัพย หรือรับของโจร นาย ศ. ให
การรับสารภาพ สวนจําเลยทั้งสามใหการปฏิเสธ ศาลฎีกาเห็นวา พยานโจทกทั้งสองไมมีสวนเกี่ยวของกับบุคคลใด
เบิกความสอดคลองตองกันวาพบจําเลยทั้งสามกับนาย ศ. อยูที่รถ ทั้งนาย ศ. ก็ใหการในชั้นสอบสวนระบุวาได
รวมไปกับจําเลยทั้งสาม จึงฟงไดวาจําเลยทั้งสามรวมไปกับนาย ศ. เมื่อจําเลยทั้งสามรวมกันอยูกับนาย ศ.
ในยามวิกาลดึกสงัด พรอมอุปกรณในการงัดกระจกรถและของกลางซึ่งเพิ่งลักทรัพยผูเสียหายมา จึงฟงไดวา
จําเลยทั้งสามมีสวนรวมกระทําความผิดกับนาย ศ. จําเลยทั้งสามจึงมีความผิดฐานรวมกันลักทรัพยในเวลา
กลางคืน โดยทําอันตรายสิ่งกีดกั้นสําหรับคุมครองบุคคลหรือทรัพย แมโจทกจะมิไดอุทธรณหรือฎีกาในความผิด
ฐานลักทรัพย แตเปนขอกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลฎีกามีอํานาจวินิจฉัยใหตรงกับความผิดที่
เกิดขึ้นได
พิพากษากลับ จําเลยทั้งสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (1) (3) (7)
วรรคสอง ประกอบมาตรา 83 ส ว นโทษให บั ง คั บ ไปตามคํ า พิ พ ากษาศาลชั้ น ต น ให ย กฟ อ งในความผิ ด
ฐานรวมกันรับของโจรและยกคําขอใหนับโทษตอ
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ
-๘๕-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10890/2554
ป.อ. ฉอโกงประชาชน (มาตรา 343)
พ.ร.ก. การกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน พ.ศ. 2527

ที่ จํ า เลยฎี ก าอ า งว า จํ า เลยเปน เพี ย งตัว กลางระหว า งนาง ศ. ซึ่ ง มี อาชี พ ปลอ ยเงิ น กู
นอกระบบ กั บ ผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน ซึ่ ง ต อ งการนํ า เงิ น ของตนไปให น าง ศ. ปล อ ยกู นั้ น เห็ น ว า
เป น เหตุ ก ารณ ส วนหนึ่ งที่ จํ า เลยทํ า ขึ้ น มาเพื่ อให ผูเ สีย หายทั้ง 11 คน และบุค คลอื่น หลงเชื่อวา มีการ
นําเงินไปลงทุนปลอยกูจริง เปนขอแกตัวที่ไมมีเหตุผลและน้ําหนักใหนาเชื่อถือ เมื่อผูเสียหายทั้ง 11 คน
เบิ กความยื นยั นว า จํา เลยเป น ตัวการในการหลอกลวงเพื่อใหไ ดเงิน ของผูเ สียหายไปลงทุน โดยไมไ ดมี
การลงทุน จริง และแมผูเสียหายทั้ง 11 คนหวังวาจะไดรับผลประโยชนต อบแทนเปนดอกเบี้ยเกินกวา
ที่กฎหมายกําหนดไวในพระราชบัญญัติหามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 แตผูเสียหายทั้ง 11 คน
ไมไดกระทําการอันเปนการปลอยกูดังกลาว เพียงแตกระทําไปเพราะความโลภและโงเขลาอันเกิดจากการ
หลอกลวงของจําเลยเทานั้น ฎีกาของจําเลยที่วา ผูเสียหายทั้ง 11 คน มีสวนผิดดวยจึงไมใชผูเสียหาย
โดยนิตินัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้นฟงไมขึ้น

________________________________________

พนักงานอัยการจังหวัดสุรินทร โจทก

ระหวาง
นางเภาหรือเลิฟ เกิดสาระแกว จําเลย

โจทก ฟ อ งว า เมื่ อ ระหว า งวั น ที่ 13 พฤษภาคม 2545 ถึ ง วั น ที่ 3 ตุ ล าคม 2546
ทั้งเวลากลางวันและกลางคืนตอเนื่องกันตลอดมา จําเลยโดยเจตนาทุจริตกระทําการฉอโกงประชาชนและ
กู ยื ม เงิ น ที่ เ ป น การฉ อ โกงประชาชน โดยจํ า เลยหลอกลวงนาย พ. กั บ พวกรวม 11 คน ผู เ สี ย หายและ
ประชาชนทั่วไป แสดงขอความที่จําเลยรูอยูแลววาเปนความเท็จ และปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง
ดวยวิธีการแพรขาวชักชวนดวยวาจาใหมีการบอกตอกันเปนทอด ๆ เพื่อใหขาวแพรกระจายออกไป ชักชวน
ประชาชนตั้ งแต 10 คนขึ้น ไป รวมทั้ งผูเสีย หายทั้ง 11 คน ดังกลาววา จําเลยประกอบธุร กิจ ปลอยเงิน กู
เพื่อ ให บุ ค คลอื่น กู ยื ม โดยกิ จ การดั ง กล าวจะได รับ ผลประโยชนต อบแทนอยา งสู ง และขอใหบุ คคลทั่ ว ไป
ที่สนใจมารวมลงทุนในลักษณะการนําเงินมาใหจําเลยกูยืม โดยไมจํากัดจํานวนเงิน ผูรวมลงทุนและระยะเวลา
ลงทุ น เพื่ อ ให จํ า เลยนํ า เงิ น ที่ กู ยื ม ดั ง กล า วไปปล อ ยกู ใ ห บุ ค คลอื่ น กู ยื ม อี ก ทอดหนึ่ ง แล ว จํ า เลยเสนอให
ผลประโยชน ต อบแทนแก ป ระชาชนและผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน ที่ ร ว มลงทุ น นํ า เงิ น มาให จํ า เลยกู ยื ม ใน
-๘๖-

หลายลักษณะโดยคิดดอกเบี้ยใหแกผูเสียหายทั้ง 11 คน และประชาชนในอัตรารอยละ 7 รอยละ 8 หรือ


ร อ ยละ 10 ต อ เดื อ น แล ว แต ก รณี จํ า เลยอ า งว า อัต ราผลประโยชนต อบแทนที่ เ สนอให จ ะมากหรื อน อ ย
ขึ้นอยูกับจํานวนเงินที่นํามารวมลงทุนและระยะสั้นยาวของเวลาที่นําเงินมารวมลงทุน ผลประโยชนตอบแทน
ดังกลาวมีอัตราสูงกวาผลประโยชนตอนแทน (ดอกเบี้ย) สูงสุดที่สถาบันการเงินตามกฎหมายวาดวยดอกเบี้ย
ให กู ยื ม ของสถาบั น การเงิ น จะพึ ง จ า ยได ซึ่ ง กํ า หนดให ส ถาบั น การเงิ น ตามกฎหมายว า ด ว ยดอกเบี้ ย เงิ น
ใหกูยืมของสถาบันการเงินจะพึงจายได ซึ่งกําหนดใหสถาบันการเงินจายดอกเบี้ยในการกูยืมหรือรับฝากเงิน
จากประชาชนไดไมเกินอัตราสูงสุดรอยละ 4 ถึง 6 ตอป ผูเสียหายทั้ง 11 คน และประชาชนทั่วไปหลงเชื่อวา
จํา เลยประกอบกิจ การใหกูยื มเงิ นดั งกล าวอางจริง โดยเชื่อวาจะไดรับผลประโยชนตอบแทนอยางสูงและ
จะไม ขาดทุ น เมื่ อครบกํ า หนดให กูยื มเงิน แกจํา เลยแลว สามารถถอนเงิ น ลงทุน ไดตามกําหนด ขอความที่
จํา เลยแพร ขา ว ชั กชวน และใช วิ ธี การบอกตอกัน เปนทอด ๆ นี้เปนความเท็จ ทั้งสิ้น ความจริงแลว จําเลย
ไมมีเจตนาจะประกอบธุรกิจใหกูยืมเงินจากผูเสียหายทั้ง 11 คน และประชาชนทั่วไปแลวนําไปใหบุคคลอื่น
กูยืมอีกทอดหนึ่งเพื่อหาผลประโยชนอยางมากพอ จําเลยรูวาจําเลยไมสามารถประกอบกิจการใด ๆ โดยชอบ
ด ว ยกฎหมายในการที่ จ ะหาประโยชน ต อบแทนอย า งสู ง เพี ย งพอที่ จ ะจ า ยเป น ผลประโยชน ต อบแทน
แกผูรวมลงทุนตามที่จําเลยไดขอกูยืมจากผูเสียหายทั้ง 11 คน และประชาชนทั่วไปได จําเลยดําเนินการให
ผูอื่นกูยืมเงินบางสวนเพื่ออําพรางใหพวกผูเสียหายหลงเชื่อวาจําเลยสามารถประกอบกิจการเงินกูโดยชอบ
ดว ยกฎหมายที่ใหผ ลตอบแทนสูง หลั งจากนั้นจําเลยนําเงิน ของประชาชนทั่ว ไปและผูเสีย หายทั้ง 11 คน
ที่ยอมนํามาใหจําเลยกูยืมนั้นเองมาจัดการแบงออกมาเปนบางสวนใหเปนทุนหมุนเวียนทยอยจายผลประโยชน
ตอบแทนแก ผู ให กู ยื มในรายนั้ น เองตามสัดสว นที่ไดล งทุน ไวเปน ลําดับ อยางตอเนื่องกัน ไปโดยอําพรางว า
เป น ผลประโยชน ห รื อเงิ น ป น ผลที่ ได กํา ไรจากการลงทุน แกผูรว มลงทุน เพื่อใหจูงใจผูเสีย หายทั้ง 11 คน
และประชาชนทั่ ว ไปที่ รั บ ทราบและพบเห็น หลงเชื่ อถื อความสามารถของจํ าเลยในการจา ยผลประโยชน
ตอบแทนตามที่ ไ ด แ พร ข า ว ชั ก ชวนและบอกกล า วเป น ทอด ๆ ไว ซึ่ ง เมื่ อ ไม มี ผู ล งทุ น เพิ่ ม ขึ้ น จํ า เลยก็ จ ะ
ไมสามารถจายเงินใหแกผูรวมลงทุนคือผูเสียหายทั้ง 11 คนอีกตอไป ดวยเหตุที่จําเลยไมมีกิจการคาที่ชอบ
ดวยกฎหมายที่สามารถสรางผลประโยชนใหคาตอบแทนสูงจริงดังที่จําเลยกลาวอาง ซึ่งจําเลยทราบขอเท็จจริง
ดังกลาวแลว แตปกปดไมบอกกลาวใหแจง ทั้งนี้ โดยเจตนาทุจริต เพื่อใหไดเงินจากผูเสียหายทั้ง 11 คน และ
ประชาชนทั่วไปที่ถูกหลอกลวงไปเปนประโยชนของจําเลยหรือผูอื่น กลาวคือ เมื่อระหวางตนเดือนกรกฎาคม
2546 ถึงตนเดือนตุลาคม 2546 วันเวลาใดไมปรากฏชัด นาย พ. ผูเสียหายที่ 1 หลงเชื่อการหลอกลวงของ
จําเลย โดยมอบเงินใหจําเลยกูยืม 2 ครั้ง รวม 70,000 บาท วันที่ 1 ตุลาคม 2546 เวลากลางคืนหลังเที่ยง
นาย ธ. ผู เ สี ย หายที่ 2 มอบเงิ น ให จํ า เลยกูยืม 20,000 บาท เมื่อวัน ที่ 2 ตุล าคม 2546 เวลากลางวั น
นาง ภ. ผูเสียหายที่ 3 มอบเงินใหจําเลยกูยืม 100,000 บาท เมื่อระหวางเดือนกรกฎาคม 2546 ถึงวันที่
4 กั น ยายน 2546 วั น เวลาใดไม ป รากฏชั ด นาง ฉ. ผู เ สี ย หายที่ 4 มอบเงิ น ให จํ า เลยกู ยื ม 26 ครั้ ง
เปนเงินรวม 130,000 บาท โดยยังไมไดรับเงินคืนจากจําเลย 120,000 บาท เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2546
เวลากลางวั น นาง ม. ผูเ สียหายที่ 5 มอบเงิน ใหจําเลยกูยืม 50,000 บาท เมื่อวัน ที่ 3 กัน ยายน 2546
เวลากลางวั น นาง น. ผูเสียหายที่ 6 มอบเงินใหจําเลยกูยืม 40,000 บาท เมื่อระหวางตน เดือนมกราคม
2546 ถึ งวันที่ 23 กัน ยายน 2546 เวลากลางวัน นาง ว. ผูเสียหายที่ 7 มอบเงิน ใหจําเลยกูยืม 2 ครั้ง
รวม 200,000 บาท เมื่ อ ประมาณต น เดือ นธั น วาคม 2545 ถึ ง วั น ที่ 5 มี น าคม 2546 เวลากลางวั น
-๘๗-

นาง บ. ผู เสี ยหายที่ 8 มอบเงิน ใหจํ าเลยกูยืม 2 ครั้ง รวม 220,000 บาท โดยยังไมไดรับ คืน จากจําเลย
120,000 บาท เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2546 เวลากลางวัน นาง ค. ผูเสียหายที่ 9 มอบเงินใหจําเลยกูยืม
50,000 บาท เมื่ อ ระหว า งเดื อ นมกราคม 2546 ถึ ง วั น ที่ 3 ตุ ล าคม 2546 เวลากลางวั น
นางสาว ส. ผู เ สี ย หายที่ 10 มอบเงิ น ให จํ า เลยกู ยื ม หลายครั้ ง รวม 320,000 บาท เมื่ อ ระหว า งวั น ที่
13 พฤษภาคม 2545 ถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2546 วันเวลาใดไมปรากฏชัด นาง ร. ผูเสียหายที่ 11 มอบเงินให
จําเลยกูยืมหลายครั้งรวม 50,000 บาท โดยผูเสียหายที่ 1 ถึงที่ 3 และที่ 5 ถึงที่ 11 ยังไมไดรับเงินคืนเลย
เหตุ เ กิ ด ที่ ตํ า บลเทนมี ย แ ละตํ า บลในเมื อ ง อํ า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร จั ง หวั ด สุ ริ น ทร เกี่ ย วพั น กั น หลายท อ งที่
ขอใหลงโทษตามพระราชกําหนดการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 4, 5, 9, 12
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341, 343, 91 ใหจําเลยคืนเงิน 1,140,000 บาท แกผูเสียหายทั้ง 11 คน
พรอมผลประโยชนตอบแทน (ดอกเบี้ย) อัตรารอยละ 15 ตอป ตามกฎหมาย
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชกําหนดการกูยืมเงินที่เปน
การฉอโกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 4 วรรคหนึ่ง, 12 จําคุก 5 ป ใหจําเลยคืนเงินแกผูเสียหายที่ 1
จํ า นวน 70,000 บาท ผู เ สี ย หายที่ 2 จํ า นวน 20,000 บาท ผู เ สี ย หายที่ 3 จํ า นวน 100,000 บาท
ผู เ สี ย หายที่ 4 จํ า นวน 130,000 บาท ผู เ สี ย หายที่ 5 จํ า นวน 50,000 บาท ผู เ สี ย หายที่ 6 จํ า นวน
40,000 บาท ผูเสียหายที่ 7 จํานวน 200,000 บาท ผูเสียหายที่ 8 จํานวน 120,000 บาท ผูเสียหายที่ 9
จํานวน 50,000 บาท ผูเสียหายที่ 10 จํานวน 320,000 บาท ผูเสียหายที่ 11 จํานวน 50,000 บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟอง (ฟองวันที่ 24 มิถุนายน 2547)
ไปจนกวาจะชําระเสร็จแกผูเสียหายแตละคน ขอหาอื่นนอกจากนี้ใหยก
โจทกและจําเลยอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ พิ พ ากษาแก เ ป น ว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 343 วรรคแรก พระราชกํ า หนดการกู ยื ม เงิ น ที่ เ ป น การฉ อ โกงประชาชน พ.ศ. 2527
มาตรา 4 วรรคหนึ่ ง , 12 เป น ความผิ ด หลายกรรมต า งกั น ให ล งโทษทุ ก กรรมเป น กระทงความผิ ด ไป
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 แตละกระทงเปนการกระทํากรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมาย
หลายบท ให ล งโทษฐานกู ยื ม เงิ น ที่ เ ป น การฉ อ โกงประชาชนตามพระราชกํ า หนดการกู ยื ม เงิ น ที่ เ ป น การ
ฉ อ โกงประชาชน พ.ศ. 2527 มาตรา 4 วรรคหนึ่ ง , 12 ซึ่ ง เป น กฎหมายบทที่ มี โ ทษหนั ก ที่ สุ ด ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 ใหจําคุกกระทงละ 5 ป รวม 11 กระทง เมื่อรวมโทษทุกกระทงแลว
คงจํ า คุ ก 20 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (2) นอกจากที่ แ ก ใ ห เ ป น ไปตามคํ า พิ พ ากษา
ศาลชั้นตน
จําเลยฎีกา
ศาลฎี ก าตรวจสํ า นวนประชุ ม ปรึ ก ษาแล ว มี ป ญ หาต อ งวิ นิ จ ฉั ย ตามฎี ก าของจํ า เลยว า
จํ า เลยกระทํ า ความผิ ด ตามที่ ศ าลอุ ท ธรณ ภ าค 3 พิ พ ากษาลงโทษหรื อ ไม โจทก มี ผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน
-๘๘-

เบิ กความยื น ยั น ได ค วามสอดคล องต อ งกั น ในสาระสํ าคั ญว า จํา เลยไดชั กชวนผูเ สีย หายทั้ ง 11 คน และ
ประชาชนอื่ น อี ก จํ า นวนหนึ่ ง เพื่ อ ให แ ต ล ะคนนํ า เงิ น มาร ว มลงทุ น กั บ จํ า เลย โดยจํ า เลยบอกว า จะนํ า เงิ น
ดังกลาวไปปลอยกูและเมื่อไดผลตอบแทนมาจะจายผลตอบแทนเปนดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7 รอยละ 8 หรือ
ร อ ยละ 10 ต อ เดื อ น ขึ้ น อยู กั บ จํ า นวนเงิ น และระยะเวลาที่ นํ า เงิ น มาร ว มลงทุ น ผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน
ตามรายชื่อในคําฟองตางหลงเชื่อและไดมอบเงินใหจําเลยเพื่อลงทุนตามคําชวนของจําเลยตามจํานวนเงิน
และในชวงระยะเวลาที่ปรากฏขอเท็จจริงตามคําฟอง ชวงแรกจําเลยจายดอกเบี้ยใหแกผูเสียหายที่ 1 ที่ 4
ที่ 6 ถึ ง ที่ 11 ส ว นผู เ สี ย หายที่ 2 ที่ 3 และที่ 5 ไม เ คยได รั บ ดอกเบี้ ย เลย ผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน ซึ่ ง
เบิ กความเป น พยานดั งกล า วล ว นแล ว แต เปน ชาวบ านซึ่ง ไมมี ส าเหตุโ กรธเคื องกั บ จําเลยมากอน ไม มีเหตุ
ระแวงว า จะเบิ ก ความปรั ก ปรํ า จํ า เลย เชื่ อ ว า เบิ ก ความไปตามความจริ ง ข อ เท็ จ จริ ง ย อ มฟ ง ได ว า
จํ า เลยหลอกลวงผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน เพื่อใหไดเงิ น จากผูเ สีย หายทั้ง 11 คน โดยไมมีเ จตนาที่ จ ะลงทุ น
เพื่อใหผลประโยชนคืนแกผูเสียหายตามที่บอกไวได เพราะอัตราดอกเบี้ยในชวงนั้นสถาบันการเงินสามารถ
จ า ยดอกเบี้ย สู งสุ ด ไม เ กิ น ร อ ยละ 4 ถึ ง รอ ยละ 6 ตอ ป ตามประกาศของธนาคารแหง ประเทศไทย และ
ประกาศกระทรวงการคลัง จึงเปนไปไมไดที่จําเลยจะนําเงินที่ไดจากการกูยืมผูเสียหายทั้ง 11 คน ไปลงทุน
หรื อใหบุ คคลอื่น กู ยื มในลั กษณะที่ จ ะให ผ ลประโยชนเพียงพอที่จะนํามาจายดอกเบี้ยเงิน กูใหแกผูเสีย หาย
ในอัตราสูงถึงรอยละ 7 หรือรอยละ 8 ตอเดือน การที่จําเลยจายผลประโยชนตอบแทนเปนดอกเบี้ยในอัตราสูง
ใหผูเสียหายบางรายในชวงแรกจึงเปนเรื่องที่จําเลยโดยเจตนาทุจริตหลอกใหผูเสียหายหลงเชื่อเพื่อที่จะได
นําเงินมาใหจําเลยกูยืมตอไป ที่จําเลยฎีกาอางวา จําเลยเปนเพียงตัวกลางระหวางนาง ศ. ซึ่งมีอาชีพปลอยเงินกู
นอกระบบ กับผูเสียหายทั้ง 11 คน ซึ่งตองการนําเงินของตนไปใหนาง ศ. ปลอยกูน้ัน เห็นวา เปนเหตุการณ
สวนหนึ่งที่จําเลยทําขึ้นมาเพื่อใหผูเสียหายทั้ง 11 คน และบุคคลอื่นหลงเชื่อวามีการนําเงินไปลงทุนปลอยกูจริง
เปนขอแกตัวที่ไมมีเหตุผลและน้ําหนักใหนาเชื่อถือ เมื่อผูเสียหายทั้ง 11 คน เบิกความยืนยันวาจําเลยเปน
ตัวการในการหลอกลวงเพื่อใหไดเงินของผูเสียหายไปลงทุน โดยไมไดมีการลงทุนจริง และแมผูเสียหายทั้ง
11 คน หวังวาจะไดรับผลประโยชนตอบแทนเปนดอกเบี้ยเกินกวาที่กฎหมายกําหนดไวในพระราชบัญญัติ
ห า มเรี ย กดอกเบี้ ย เกิ น อั ต รา พ.ศ. 2475 แตผู เ สีย หายทั้ง 11 คน ไมไ ดก ระทํ าการอั น เป น การปลอ ยกู
ดังกล า ว เพี ย งแต กระทํ า ไปเพราะความโลภและโงเขลาอัน เกิดจากการหลอกลวงของจําเลยเทานั้น ฎีกา
ของจํ า เลยที่ ว า ผู เ สี ย หายทั้ ง 11 คน มี ส ว นผิ ด ด ว ยจึ ง ไม ใ ช ผู เ สี ย หายโดยนิ ติ นั ย ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญานั้นฟงไมขึ้น การกระทําของจําเลยจึงเปนความผิดฐานฉอโกงประชาชนและฐานกูยืมเงิน
ที่ เ ป น การฉ อ โกงประชาชนดั ง ที่ ศ าลอุ ท ธรณ ภ าค 3 วิ นิ จ ฉั ย หาได เ ป น เพี ย งความผิ ด ฐานฉ อ โกงธรรมดา
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 เทานั้น ดังที่จําเลยฎีกาไม
-๘๙-

พิพากษาแกเปนวา ใหจําเลยคืนเงินแกผูเสียหายที่ 4 จํานวน 120,000 บาท นอกจากที่แก


ใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๙๐-

คํ า ชี้ ข าดความเห็ น แย ง ความผิ ด ฐานร ว มกั น บุ ก รุ ก โดยใช กํ า ลั ง ประทุ ษ ร า ย หรื อ ขู เ ข็ ญ ว า จะใช กํ า ลั ง
ประทุษรายโดยมีอาวุธ โดยรวมกันกระทําความผิดดวยกันตั้งแตสองคนขึ้นไป รวมกันทํารายรางกายผูอื่น
เป น เหตุ ใ ห เกิ ด อั นตรายสาหั ส ร วมกัน พกพาอาวุธ ไปในเมือง หมูบา น หรือทางสาธารณะโดยไมมีเ หตุ
อันสมควร
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 492/2553)
ป.อ. บุกรุก (มาตรา 365)

การที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณพิพากษาใหบริษัทผูเสียหายที่ 1 ขนยายทรัพยสินและ
บริ ว ารออกไปจากที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร า งในที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ และส ง มอบคื น ให บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33
ในสภาพเรียบรอยนั้น คําพิพากษาดังกลาวยอมมีผลผูกพันบริษัทผูเสียหายที่ 1 กับบริษัทผูตองหาที่ 33
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 145 บริษัทผูตองหาที่ 33 ยอมมีสิทธิเขาไปในที่ดิน
ที่เกิดเหตุเพื่อดําเนินการใหบริษัทผูเสียหายที่ 1 ขนยายทรัพยสินและบริวารออกไปจากที่ดินที่เกิดเหตุได
แม บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 จะยื่ น ฎี ก าคั ด ค า นคํ า พิ พ ากษาศาลอุ ท ธรณ และขอทุ เ ลาการบั ง คับ คดี ก็ ไ ม มี
ผลกระทบต อสิ ทธิ ของบริ ษัทผู ต องหาที่ 33 ที่มีอยูต ามคํา พิพากษาแตประการใด และการที่ศ าลออก
คําบังคับใหบริษัทผูเสียหายที่ 1 ปฏิบัติตามคําพิพากษาและตั้งเจาพนักงานบังคับคดีจัดการอายัดทรัพยสิน
ของบริ ษั ทผู เ สี ยหายที่ 1 ตามคํ า พิ พากษาหรือทํ า การใดเพื่ อให บริษั ทผูต องหาที่ 33 เข า ครอบครอง
ทรั พ ย สิ น ที่ พิ พ าท ย อ มเป น เหตุ ผ ลให บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 โดยผู ต อ งหาที่ 34 และผู ต อ งหาที่ 35
ในฐานะกรรมการผู มี อํ า นาจกระทํ า การแทนเชื่ อ โดยสุ จ ริ ต ว า ตนมี สิ ท ธิ เ ข า ไปในที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ
เพื่อดําเนินการบังคับคดีใหบริษัทผูเสียหายที่ 1 กับพวกขนยายทรัพยสินและบริวารออกไป ทั้งมีเหตุผลให
เข า ใจไปได ว า การที่ บ ริ ษั ท ผู เ สี ยหายที่ 1 ยั ง คงขั ด ขื น ไม ย อมขนย า ยทรัพ ย สิน และบริ ว ารออกไปและ
ส ง มอบสถานที่ เ ช า ทั้ ง หมดคื น ให บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 เป น การจงใจไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า บั ง คั บ ของศาล
การที่ บริ ษั ทผู ต องหาที่ 33 แต ง ตั้ งให น าย ฒ. เป น ผูแทนทํา การบังคั บคดี ดังกลา ว จึงเปน การกระทํ า
โดยเชื่ อว า ตนเองมี สิ ทธิ ก ระทํ า ได ต ามคํา พิ พากษาของศาล หาใชกระทํา โดยลุแ กอํา นาจโดยมีเ จตนา
รบกวนการครอบครองที่ดินที่เกิดเหตุของบริษัทผูเสียหายที่ 1 โดยปกติสุขไม ตามพฤติการณจึงฟงไมไดวา
บริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 ผู ต อ งหาที่ 34 และผู ต อ งหาที่ 35 มี เ จตนาร ว มกั น บุ ก รุ ก ที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ
สําหรับผูตองหาที่ 1, ที่ 2, ที่ 4 - ที่ 6, ที่ 8, ที่ 10 - ที่ 12, ที่ 14 – ที่ 22 และที่ 24 – ที่ 32 เปนเพียง
ผู รั บ เหมาและลู ก จ า งที่ บ ริ ษั ท อ. ว า จ า งมาเพื่ อ ทํ า การติ ด ตั้ ง ประตู แ ละรั้ ว ลวดหนามบริ เ วณที่ ดิ น
ที่ เ กิ ด เหตุ กรณี น า เชื่ อ ว า ผู ต อ งหาทั้ ง ยี่ สิ บ เจ็ ด ไม รู ว า พื้ น ที่ บ ริ เ วณที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ มี ข อ โต แ ย ง เกี่ ย วกั บ
สิ ท ธิ ค รอบครองระหว า งบริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 และบริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 มาก อ น การกระทํ า ของ
ผูตองหาทั้งยี่สิบเจ็ดจึงขาดเจตนาในความผิดฐานบุกรุก

คดีกลาวหา นาย ก. กับพวกรวม 35 คน ผูตองหา ฐานรวมกันบุกรุกโดยใชกําลังประทุษราย


หรือขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษรายโดยมีอาวุธ โดยรวมกันกระทําความผิดดวยกันตั้งแตสองคนขึ้นไป รวมกัน
-๙๑-

ทํารายรางกายผูอื่นเปนเหตุใหเกิดอันตรายสาหัส รวมกันพกพาอาวุธไปในเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะ


โดยไมมีเหตุอันสมควร
พนั ก งานสอบสวนได ทํ า การสอบสวนดํ า เนิ น คดี แ ละมี ค วามเห็ น ควรสั่ ง ฟ อ งผู ต อ งหาทั้ ง
35 คน ตามขอกลาวหา
ชั้นสอบสวนผูตองหาทั้ง 35 คน ใหการปฏิเสธ
ผูตองหาที่ 3, ที่ 7, ที่ 9, ที่ 13 และที่ 23 เปนเยาวชน พนักงานสอบสวนไดแยกดําเนินคดี
จากคดีนี้
อธิบดีอัยการฝายคดีอาญากรุงเทพใตมีคําสั่งฟองผูตองหาที่ 1, ที่ 2, ที่ 4 – ที่ 6, ที่ 8,
ที่ 10 – ที่ 12, ที่ 14 – ที่ 22 และที่ 24 – ที่ 32 (รวม 27 คน) ฐานรวมกันพาอาวุธไปในเมือง หมูบาน
และทางสาธารณะโดยไมมีเหตุอันสมควร และรวมกันทํารายรางกายผูอื่นจนเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกาย
และอั น ตรายสาหั ส (สํ า หรั บ ผู ต อ งหาที่ 3, ที่ 7, ที่ 9, ที่ 13 และที่ 23 มี อ ายุ อ ยู ใ นเกณฑ เ ยาวชนขณะ
กระทําความผิด พนักงานสอบสวนไดแยกไปดําเนินคดีในสวนที่เกี่ยวของแลว) และมีคําสั่งไมฟองผูตองหาที่ 1,
ที่ 2, ที่ 4 – ที่ 6, ที่ 8, ที่ 10 – ที่ 12, ที่ 14 – ที่ 22 และที่ 24 – 32 (รวม 27 คน) ฐานรวมกันบุกรุก
โดยใช กํา ลั ง ประทุ ษร า ยหรื อขู เ ข็ ญ ว า จะใชกําลังประทุษรายโดยมีอาวุธ และร ว มกัน กระทํา ความผิดตั้งแต
สองคนขึ้นไป กับมีคําสั่งไมฟองผูตองหาที่ 33, ที่ 34, และที่ 35 ฐานรวมกันบุกรุกโดยใชกําลังประทุษราย
หรื อ ขู เ ข็ ญ ว า จะใช กํ า ลั ง ประทุ ษ ร า ยโดยมี อ าวุ ธ และร ว มกั น กระทํ า ความผิ ด ตั้ ง แต ส องคนขึ้ น ไป ร ว มกั น
พาอาวุ ธ ไปในเมื อ ง หมู บ า นและทางสาธารณะโดยไม มี เ หตุ อั น สมควร และร ว มกั น ทํ า ร า ยร า งกายผู อื่ น
จนเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกกายและอันตรายสาหัส
ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ มีความเห็น
แยงเฉพาะคําสั่งไมฟองผูตองหาที่ 1, ที่ 2, ที่ 4 – ที่ 6, ที่ 8, ที่ 10 – ที่ 12, ที่ 14 – ที่ 22, และที่
24 – ที่ 35 ฐานรวมกันบุกรุกโดยใชกําลังประทุษรายหรือขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษรายโดยมีอาวุธหรือ
โดยรวมกันกระทําความผิดดวยกันตั้งแตสองคนขึ้นไป
อั ย การสู ง สุ ด พิ จ ารณาแล ว ข อ เท็ จ จริ ง ฟ ง ได ว า ก อ นเกิ ด เหตุ ค ดี นี้ บ ริ ษั ท พ. จํ า กั ด
ผูเ สี ยหายที่ 1 ไดทํา สัญ ญาเช า ที่ดิ น ที่เ กิดเหตุพรอมสิ่งปลูกสรางซึ่งเปน กรรมสิทธิ์ของสํานักงานทรัพยสิน
ส ว นพระมหากษั ต ริ ย จากบริ ษั ท ว. จํ า กั ด ผู ต อ งหาที่ 33 ซึ่ ง ได รั บ มอบหมายจากสํ า นั ก งานทรั พ ย สิ น
ส ว นพระมหากษั ต ริ ย ใ ห เ ป น ผู บ ริ ห ารดู แลและนํา ออกใหเช า หลั งจากนั้น บริษัทผู เสีย หายที่ 1 ไดนํ าที่ดิ น
ที่เกิดเหตุพรอมสิ่งปลูกสรางไปจัดหาประโยชนและนําที่ดินสวนที่วางเปลาไปปรับปรุงใหเปนสถานที่สําหรับ
ผู ค า รายย อ ยจํ า หน า ยสิ น ค า ต า ง ๆ ในชื่ อ โครงการสวนลุ ม ไนท บ าร ซ า โดยมี ผู เ ช า ช ว งรายย อ ยเข า ร ว ม
ประกอบการคา ประมาณ 1,000 ราย ตอมาระหวางการเชาปรากฏวาบริษัทผูเสีย หายที่ 1 ประพฤติผิด
ขอสัญญาเชาตอบริษัทผูตองหาที่ 33 หลายประการ บริษัทผูตองหาที่ 33 โดยนาย ย. ผูตองหาที่ 34 และ
นาย ม. ผู ต อ งหาที่ 35 ในฐานะกรรมการผู มีอํ านาจกระทํ าการแทนไดแจ งเตือนให บ ริษั ทผูเ สีย หายที่ 1
ทราบแลวหลายครั้งหลายหน แตบริษัทผูเสียหายที่ 1 ก็ไมยอมแกไขความบกพรองและความเสียหายที่เกิดขึ้น
-๙๒-

บริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 เห็ น ว า การกระทํ า ของผู เ สี ย หายที่ 1 เป น การผิ ด สั ญ ญาเช า จึ ง ยกเลิ ก สั ญ ญาและ
ข อ ตกลงที่ ผ อ นผั น ให ร า นค า ย อ ยพร อ มกั บ แจ ง ให บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 ส ง มอบสถานที่ เ ช า คื น ทั น ที
แต บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 ไม ย อมส ง คื น สถานที่ เ ช า ให บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 และพยายามประวิ ง การ
ขนย า ยทรั พ ย สิ น ตลอดมา ทั้ ง ได ป ระชาสั ม พั น ธ ใ ห ผู เ ช า ช ว งรายย อ ยทํ า การต อ ต า นโดยไม ใ ห ข นย า ย
ทรั พ ย สิ นแ ล ะ บริ ว า รออ กจ าก พื้ น ที่ บริ ษั ท ผู เ สี ยห าย ที่ 33 จึ ง ฟ อ งบริ ษั ท ผู เ สี ย หา ยที่ 1 ต อ
ศาลแพงกรุงเทพใตขอใหขับไลบริษัทผูเสียหายที่ 1 พรอมบริวารออกไปจากสถานที่เชา ซึ่งศาลไดพิพากษา
ให บ ริ ษัท ผู เ สี ย หายที่ 1 ขนย า ยทรั พย สิ น และบริว ารออกไปจากสถานที่เ ชาและส งมอบสถานที่ เชา คืน ให
บริษัทผูตองหาที่ 33 ในสภาพเรียบรอยพรอมกับมีคําสั่งตั้งเจาพนักงานบังคับคดีจัดการอายัดทรัพยสินของ
บริษัทผูเสียหายที่ 1 ตามคําพิพากษาหรือทําการใดเพื่อใหบริษัทผูตองหาที่ 33 เขาครอบครองทรัพยสินที่
พิ พ าท ซึ่ ง เจ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี ส ามารถบั ง คั บ คดี และส ง มอบสถานที่ เ ช า คื น ให แ ก บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33
ไดบางสวน บริษัทผูเสียหายที่ 1 ไดอุทธรณคําพิพากษาและขอทุเลาการบังคับดี ระหวางการพิจารณาของ
ศาลอุ ท ธรณ ป รากฏว า บริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 ได ทํ า การส ง คื น สถานที่ เ ช า ให แ ก บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33
เพิ่ ม อี ก บางส ว นรวมถึ ง พื้ น ที่ ที่ จ ะทํ า การก อ สร า งอาคารสถานทู ต ออสเตรเลี ย ประจํ า ประเทศไทยด ว ย
บริษัทผูตองหาที่ 33 จึงไดวาจางบริษัท อ. จํากัด ใหทําการรื้อถอนอาคารบนพื้นที่ดังกลาวเพื่อกอสรางอาคาร
สถานทูต ตอมาศาลอุทธรณมีคําพิพากษายืน บริษัทผูเสียหายที่ 1 ไดยื่นฎีกาและขอทุเลาการบังคับคดีอีก
ระหวางนั้นบริษัทผูตองหาที่ 33 ไดแตงตั้งนาย ฒ. เปนผูแทนในการบังคับคดีและสามารถบังคับคดีสงมอบ
สถานที่เชาใหบริษัทผูตองหาที่ 33 เพิ่มเติมไดอีก หลังจากนั้นนาย ฒ. ไดนําเจาพนักงานบังคับคดีไปทําการ
บังคับคดีตอแตไมอาจเขาไปยังสถานที่เชาได เนื่องจากบริษัทผูเสียหายที่ 1 กับพวกไดรวมกันขัดขวางโดย
ป ด ประตู แ ละนํ า รถยนต บ รรทุ ก รถแบ็ ค โฮ พร อ มด ว ยแผงเหล็ ก ไปป ด กั้ น ประตู เ ข า – ออกบริ เ วณพื้ น ที่
ทุกประตู ทําใหบริษัทผูตองหาที่ 33 ไมสามารถบังคับคดีเพิ่มเติมได ตอมาตามวันเวลาเกิดเหตุนาย ฒ. ได
แจงใหบริษัท อ. สั่งใหผูตองหาที่ 1 – ที่ 32 ซึ่งเปนผูรับเหมาและลูกจางเขาไปในที่ดินที่เกิดเหตุเพื่อติดตั้ง
ประตูทางเขาที่ 1 ซึ่งอยูติดกับถนนวิทยุและกอสรางรั้วลวดหนามบริเวณเกาะกลางถนน แตผูเชาชวงรายยอย
และพนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย ของบริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 ได เ ข า ขั ด ขวางการติ ด ตั้ ง ประตู จ นเกิ ด การ
กระทบกระทั่งทํารายรางกายกัน เปนเหตุใหผูเสียหายที่ 2 ซึ่งเปนพนักงานของบริษัทผูเชาชวงรายยอยไดรับ
บาดเจ็บสาหัส และผูเสียหายที่ 3 – ที่ 8 ซึ่งเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผูเสียหายที่ 1 และ
ผู เ ช า ช ว งรายย อ ยได รั บ บาดเจ็ บ บริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 จึ ง ร อ งทุ ก ข ต อ พนั ก งานสอบสวนให ดํ า เนิ น คดี กั บ
ผู ต อ งหาที่ 1 – ที่ 35 ตามข อ กล า วหา เห็ น ว า การที่ ศ าลชั้ น ต น และศาลอุ ท ธรณ พิ พ ากษาให บ ริ ษั ท
ผูเสียหายที่ 1 ขนยายทรัพยสินและบริวารออกไปจากที่ดินและสิ่งปลูกสรางในที่ดินที่เกิดเหตุ และสงมอบ
คืนใหบริษัทผูตองหาที่ 33 ในสภาพเรียบรอยนั้น คําพิพากษาดังกลาวยอมมีผลผูกพันบริษัทผูเสียหายที่ 1 กับ
บริ ษั ท ผู ต อ งหา ที่ 33 ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพง มาตรา 145 บริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33
ย อ มมี สิ ท ธิ เ ข า ไปในที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ เ พื่ อ ดํ า เนิ น การให บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 ขนย า ยทรั พ ย สิ น และบริ ว าร
ออกไปจากที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ ไ ด แม บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 จะยื่ น ฎี ก าคั ด ค า นคํ า พิ พ ากษาศาลอุ ท ธรณ แ ละ
ขอทุเลาการบังคับคดี ก็ไมมีผลกระทบตอสิทธิของบริษัทผูตองหาที่ 33 ที่มีอยูตามคําพิพากษาแตประการใด
และการที่ ศ าลออกคํ า บั งคั บ ให บ ริ ษัทผู เสีย หายที่ 1 ปฏิ บัติตามคํา พิพากษาและตั้ง เจาพนักงานบัง คับ คดี
จัดการอายัดทรัพยสินของบริษัทผูเสียหายที่ 1 ตามคําพิพากษาหรือทําการใดเพื่อใหบริษัทผูตองหาที่ 33
-๙๓-

เข า ครอบครองทรั พ ย สิ น ที่ พิ พ าท ย อ มเป น เหตุ ผ ลให บ ริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 โดยผู ต อ งหาที่ 34 และ
ผู ต อ งหาที่ 35 ในฐานะกรรมการผู มี อํ า นาจกระทํ า การแทนเชื่ อ โดยสุ จ ริ ต ว า ตนมี สิ ท ธิ เ ข า ไปในที่ ดิ น
ที่ เ กิ ด เหตุ เ พื่ อ ดํ า เนิ น การบั ง คั บ คดี ใ ห บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 กั บ พวกขนย า ยทรั พ ย สิ น และบริ ว ารออกไป
ทั้งมีเหตุผลใหเขาใจไปไดวาการที่บริษัทผูเสียหายที่ 1 ยังคงขัดขืนไมยอมขนยายทรัพยสินและบริวารออกไป
และส ง มอบสถานที่ เ ช า ทั้ ง หมดคื น ให บ ริ ษั ท ผู ตอ งหาที่ 33 เป น การจงใจไมป ฏิ บั ติ ต ามคํ า บั ง คับ ของศาล
การที่ บ ริ ษัท ผูต องหาที่ 33 แต ง ตั้ ง ให น าย ฒ. เปน ผูแ ทนทํ าการบัง คับ คดีดั งกลา วจึ งเป น การกระทํ าโดย
เชื่ อว า ตนเองมี สิ ทธิ กระทํ า ได ต ามคํ า พิ พ ากษาของศาล หาใช กระทํ า โดยลุ แก อํ านาจโดยมีเ จตนารบกวน
การครอบครองที่ ดิ น ที่ เ กิ ด เหตุ ข องบริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 โดยปกติ สุ ข ไม ตามพฤติ ก ารณ จึ ง ฟ ง ไม ไ ด ว า
บริษัทผูตองหาที่ 33 ผูตองหาที่ 34 และผูตองหาที่ 35 มีเจตนารวมกันบุกรุกที่ดินที่เกิดเหตุ สําหรับ
ผูตองหาที่ 1, ที่ 2, ที่ 4 - ที่ 6, ที่ 8, ที่ 10 - ที่ 12, ที่ 14 – ที่ 22 และ ที่ 24 – ที่ 32 เปนเพียง
ผูรั บ เหมาและลู กจา งที่บ ริ ษัท อ. ว า จา งมาเพื่อทําการติดตั้งประตูและรั้วลวดหนามบริเวณที่ดินที่เกิดเหตุ
กรณี น า เชื่ อว า ผู ต องหาทั้ ง ยี่ สิ บ เจ็ ด ไม รู วาพื้ น ที่บ ริเวณที่ดิ น ที่เ กิดเหตุมี ขอโตแย งเกี่ ย วกั บ สิท ธิครอบครอง
ระหว า งบริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ 1 และบริ ษั ท ผู ต อ งหาที่ 33 มาก อ น การกระทํ า ของผู ต อ งหาทั้ ง ยี่ สิ บ เจ็ ด
จึงขาดเจตนาในความผิดฐานบุกรุก คดีนี้มีพยานหลักฐานไมพอฟอง
จึ ง ชี้ ข าดไม ฟ อ ง นาย ก. ผู ต อ งหาที่ 1 นาย ด. ผู ต อ งหาที่ 2 นาย ส. ผู ต อ งหาที่ 4
นาย ศ. ผู ต อ งหาที่ 5 นาย น. ผู ต อ งหาที่ 6 นาย ต. ผู ต อ งหาที่ 8 นาย บ. ผู ต อ งหาที่ 10 นาย ฉ.
ผูตองหาที่ 11 นาย ธ. ผูตองหาที่ 12 นาย ร. ผูตองหาที่ 14 นาย จ. ผูตองหาที่ 15 นาย ง. ผูตองหาที่ 16
นาย ค. ผูตองหาที่ 17 นาย ซ. ผูตองหาที่ 18 นาย ท. ผูตองหาที่ 19 นาย ภ. ผูตองหาที่ 20 นาย ณ.
ผูตองหาที่ 21 นาย ภ. ผูตองหาที่ 22 นาย ล. ผูตองหาที่ 24 นาย ฮ. ผูตองหาที่ 25 นาย ช. ผูตองหาที่ 26
นาย ผ. ผู ต อ งหาที่ 27 นาย ญ. ผู ต อ งหาที่ 28 นาย ฎ. ผู ต อ งหาที่ 29 นาย ฏ. ผู ต อ งหาที่ 30
นาย ฐ. ผูตองหาที่ 31 นาย ฑ. ผูตองหาที่ 32 บริษัท ว. จํากัด โดยนาย ย. และนาย ม. กรรมการผูมีอํานาจ
ในฐานะนิติบุคคล ผูตองหาที่ 33 นาย ย. ผูตองหาที่ 34 นาย ม. ผูตองหาที่ 35 ฐานรวมกันบุกรุกโดยใชกําลัง
ประทุษรายหรือขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษรายโดยมีอาวุธหรือโดยรวมกันกระทําความผิดดวยกันตั้งแตสองคน
ขึ้ น ไป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362, 365, 83 ขอริบ ไม เหล็ กแปป และคิ้ว เหล็กของกลาง
สวนรถแบ็คโฮของกลาง จํานวน 2 คัน ใหพนักงานสอบสวนจัดการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา 85
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ -ยอ


นายชานน หมื่นธง -พิมพ
-๙๔-

คําชี้ขาดความเห็นแยงความผิดฐานฐานรวมกันกอสรางอาคารใหผิดไปจากแผนผังบริเวณแบบแปลนและ
รายการประกอบแบบแปลนที่ไดรับอนุญาตตลอดจนวิธีการหรือเงื่อนไขที่เจาพนักงานทองถิ่นกําหนดไวใน
ใบอนุ ญ าต ฝ า ฝ น ไม รื้ อ ถอนอาคารตามคํ า สั่ ง เจ า พนั ก งานท อ งถิ่ น อั น เป น กรณี ที่ ไ ม ส ามารถแก ไ ข
เปลี่ยนแปลงใหถูกตองได ฝาฝนคําสั่งหามใชอาคารหรือยินยอมใหบุคคลใดใชอาคารฯ และใชหรือยินยอม
ใหบุคคลอื่นใหหรือเปลี่ยนแปลงการใชอาคารสําหรับรานคาพักอาศัยเพื่อใชเปนสถานที่เก็บพัก หรือขนสง
สิน ค าหรื อสิ่ งของเพื่อประโยชน ทางการคา หรืออุต สาหกรรมประกอบการรับสงสินคา โดยเจา ของหรือ
ผูครอบครองอาคารไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถิ่นหรือไมไดแจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 216/2554)
พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

การที่ผูตองหาที่ 1 ไดกอสรางอาคารที่เกิดเหตุผิดไปจากแผนผังบริเวณ แบบแปลน และ


รายการประกอบแบบแปลนที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าต อั น เป น การกระทํ า ฝ า ฝ น บทบั ญ ญั ติ ม าตรา 31 แห ง
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2535 มาตรา 9 และเจ า พนั ก งานท องถิ่น ได มีคํ า สั่ งห า มผูต องหาที่ 1 ใชอ าคารหรื อยิ น ยอมให
บุ ค คลใดใช อ าคารที่ เ กิ ด เหตุ ส ง ทางไปรษณี ย ล งทะเบี ย นตอบรั บ ให ผู ต อ งหาที่ 1 ณ ภู มิ ลํ า เนาของ
ผู ต อ งหาที่ 1 และป ด ประกาศคํ า สั่ ง ดั ง กล า วไว ใ นที่ เ ป ด เผยและเห็ น ได ง า ย ณ อาคารที่ เ กิ ด เหตุ
แต เ มื่ อ เจ า พนั ก งานท อ งถิ่ น มิ ไ ด จั ด ให มี เ ครื่ อ งหมายแสดงการห า มผู ต อ งหาที่ 1 ใช อ าคารที่ เ กิ ด เหตุ
ไวในที่เปดเผยและเห็นไดงาย ณ อาคารหรือบริเวณอาคารที่เกิดเหตุ เจาพนักงานทองถิ่นจึงดําเนินการ
ไมครบถวนตามที่บัญญัติไวในมาตรา 40 (2) แมผูตองหาที่ 1 จะยังคงใชอาคารที่เกิดเหตุ ผูตองหาที่ 1
ก็ ไ ม มี ค วามผิ ด ฐานฝ า ฝ น คํ า สั่ ง ห า มใช อ าคารที่ มี ก ารก อ สร า งฝ า ฝ น บทบั ญ ญั ติ แ ห ง พระราชบั ญ ญั ติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ของเจาพนักงานทองถิ่น

คดีนี้กลาวหาวา นาย ป. ผูตองหาที่ 1 ฐานรวมกันกอสรางอาคารใหผิดไปจากแผนผังบริเวณ


แบบแปลนและรายการประกอบแบบแปลนที่ไดรับอนุญาตตลอดจนวิธีการหรือเงื่อนไขที่เจาพนักงานทองถิ่น
กํ า หนดไว ใ นใบอนุ ญ าต, ฝ า ฝ น ไม รื้ อ ถอนอาคารตามคํ า สั่ ง เจ าพนั ก งานท อ งถิ่ น อั น เป น กรณี ที่ ไ ม ส ามารถ
แกไขเปลี่ยนแปลงใหถูกตองได ฝาฝนคําสั่งหามใชอาคารหรือยินยอมใหบุคคลใดใชอาคารฯ และใชหรือยินยอม
ใหบุคคลอื่นใหหรือเปลี่ยนแปลงการใชอาคารสําหรับรานคาพักอาศัยเพื่อใชเปนสถานที่เก็บพัก หรือขนสง
สิ น ค า หรื อ สิ่ ง ของเพื่ อ ประโยชน ท างการค า หรื อ อุ ต สาหกรรมประกอบการรั บ ส ง สิ น ค า โดยเจ า ของหรื อ
ผูครอบครองอาคารไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถิ่นหรือไมไดแจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ
และกล า วหาว า นาย ช. ผู ตองหาที่ 2 นาย ส. ผู ตองหาที่ 3 ฐานรว มกัน กอ สรางอาคาร
ใหผิดไปจากแผนผังบริเวณแบบแปลนและรายการประกอบแบบแปลนที่ไดรับอนุญาตตลอดจนวิธีการหรือ
เงื่อนไขที่เจาพนักงานทองถิ่นกําหนดไวในใบอนุญาต
-๙๕-

เหตุเกิดที่แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ


พนั ก งานสอบสวนได แ จ ง ข อ กล า วหาให ผู ต อ งหาที่ 1, ที่ 2 และที่ 3 ทราบเมื่ อ วั น ที่
26 สิงหาคม 2552 ชั้นสอบสวนผูตองหาทั้งสามใหการปฏิเสธตลอดขอกลาวหา
พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟองผูตองหาทั้งสามตามขอกลาวหา
อั ย การพิ เ ศษฝ า ยคดี อาญาธนบุรี 5 มีคําสั่ง ไมฟองนาย ป. ผูตองหาที่ 1 ฐานฝาฝน คําสั่ ง
หามใชอาคาร ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 40, 67 ที่แกไขแลว
ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ แยงคําสั่ง
ไมฟองผูตองหาที่ 1 ดังกลาว
อั ย การสู ง สุ ด ได พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522
มาตรา 40 (2) แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 11
ซึ่ ง บั ญ ญั ติ ใ นกรณี ที่ มี ก ารก อ สร า ง ดั ด แปลง รื้ อ ถอน หรื อ เคลื่ อ นย า ยอาคารโดยฝ า ฝ น บทบั ญ ญั ติ แ ห ง
พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 ให เ จ า พนั ก งานท อ งถิ่ น มี อํ า นาจดํ า เนิ น การมี คํ า สั่ ง ห า มมิ ใ ห
บุคคลใดใช หรือเขาไปในส วนใด ๆ ของอาคารหรือบริเวณที่มีการกระทําดังกลาว และจัดใหมีเครื่องหมาย
แสดงการหามนั้นไวในที่เปดเผยและเห็นไดงาย ณ อาคารหรือบริเวณดังกลาว แลว เห็นวา มาตรา 40 (2)
ได บั ญ ญั ติ ใ ห เ จ า พนั ก งานท อ งถิ่ น ดํ า เนิ น การทั้ ง มี คํ า สั่ ง ห า มมิ ใ ห บุ ค คลใดใช ห รื อ เข า ไปในส ว นใด ๆ ของ
อาคารหรือบริเวณที่มีการกอสราง ดัดแปลง รื้อถอนหรือเคลื่อนยายอาคารโดยฝาฝนบทบัญญัติพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และจัดใหมีเครื่องหมายแสดงการหามนั้นไวในที่เปดเผยและเห็นไดงาย ณ อาคาร
หรื อ บริ เ วณดั ง กล า ว และเมื่ อ ได พิ จ ารณามาตรา 47 แห ง พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2535 มาตรา 12 ที่บัญญัติวา “การสั่งหรือ
การแจ ง ของเจ า พนั ก งานท อ งถิ่ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 นอกจากกรณี ต าม
มาตรา 40 (2) และมาตรา 47 ทวิ ใหทําเปนหนังสือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับใหผูขอรับใบอนุญาต
ผูไดรับใบอนุญาต ผูแจงตามมาตรา 39 ทวิ เจาของหรือผูครอบครองอาคาร ผูดําเนินการหรือผูควบคุมงาน
แลวแตกรณี ณ ภูมิลําเนาของผูนั้น หรือจะทําเปนบันทึกและใหบุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อรับทราบก็ได”
แลวการสั่งหรือแจงของเจาพนักงานทองถิ่นตามมาตรา 40 (2) เจาพนักงานทองถิ่นไมอาจดําเนินการสั่งหรือ
แจงตามวิธีการที่บัญญัติในมาตรา 47 ได เพราะมาตรา 47 ไดบัญญัติใหยกเวนมิใหใชกับกรณีการสั่งหรือ
แจงของเจาพนักงานทองถิ่นตามมาตรา 40 (2) กับเมื่อไดพิจารณาตามมาตรา 47 ทวิ แหงพระราชบัญญัติ
ควบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2535
มาตรา 13 ที่ บั ญ ญั ติ ว า “การแจ งคํ า สั่ ง ของเจ าพนั กงานท องถิ่ น ที่ สั่งใหร ะงับ การกระทํา ที่เป น การฝ าฝ น
บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ีหรือใหรื้อถอนอาคาร ใหทําเปนหนังสือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับให
ผูซึ่งที่ จ ะต องรั บ คํ า สั่ งดั งกล า ว ณ ภูมิลํ าเนาของผูนั้น และใหปดประกาศคําสั่งดังกลาวไวในที่เปดเผยและ
เห็ น ได ง า ย ณ อาคารหรื อ บริ เ วณที่ มี ก ารกระทํ า ดั ง กล า ว และให ถื อ ว า ผู ซึ่ ง จะต อ งรั บ คํ า สั่ ง ได ท ราบ
คําสั่งนั้นแล วเมื่ อพนกํ าหนดสามวันนั บแตวันที่ไดมีการปดประกาศดังกลาว” แลว คําสั่งหามมิใหบุคคลใด
-๙๖-

ใช ห รื อ เข า ไปในส ว นใด ๆ ของอาคารหรื อ บริ เ วณที่ มี ก ารกระทํ า ที่ มี ก ารก อ สร า ง ดั ด แปลง รื้ อ ถอน
หรือเคลื่อนยา ยอาคารโดยฝ าฝ นพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ของเจาพนักงานทองถิ่น ตาม
มาตรา 40 (2) ก็หาใชคําสั่งของเจาพนักงานทองถิ่นที่สั่งใหระงับการกระทําที่เปนการฝาฝนบทบัญญัติแหง
พระราชบั ญญัติ ควบคุมอาคารหรื อให รื้อถอนอาคารแตอยางใดไม เจาพนักงานทองถิ่นจึงไมอาจนําวิธีการ
แจงคําสั่งตามที่บัญญัติไวในมาตรา 47 ทวิ มาใชกับการแจงคําสั่งหามมิใหบุคคลใดใชหรือเขาไปในสวนใด ๆ
ของอาคารหรื อ บริ เ วณอาคารตามที่ บั ญ ญั ติ ใ นมาตรา 40 (2) ได ดั ง นั้ น การใช อํ า นาจดํ า เนิ น การตาม
มาตรา 40 (2) จึ งต องดํ า เนิ น การทั้ ง มี คํ าสั่ งห า มมิ ให บุค คลใดใชห รื อเขา ไปในส ว นใด ๆ ของอาคารหรื อ
บริเ วณที่มีการกอสร าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนยายอาคารโดยฝาฝน บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ไวในที่เปดเผยและเห็นไดงาย ณ อาคารหรือบริเวณที่มีการกอสราง ดัดแปลง
รื้อถอน หรื อเคลื่ อนย า ยอาคารโดยฝ า ฝน บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ
จั ด ให มีเ ครื่ องหมายแสดงการห า มนั้น ไวในที่เปด เผยละเห็น ได งาย ณ อาคารหรื อบริ เวณที่ มีการกอ สรา ง
ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนยายอาคารโดยฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 40 (2) (คําชี้ขาดความเห็นแยงที่ ชย. 211/2554)
ได พิ จ ารณาพยานหลั ก ฐานในคดี นี้ แ ล ว คดี รั บ ฟ ง ได ว า ผู ต อ งหาที่ 1 ได ก อ สร า งอาคาร
ที่ เ กิ ด เหตุ ผิ ด ไปจากแผนผั ง บริ เ วณ แบบแปลน และรายการประกอบแบบแปลนที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าต
อันเปนการกระทําฝาฝนบทบัญญัติมาตรา 31 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 9 และเจาพนักงานทองถิ่นไดมีคําสั่งหาม
ผูตองหาที่ 1 ใชอาคารหรือยินยอมใหบุคคลใดใชอาคารที่เกิดเหตุ ตามแบบ ค.6 ที่ กท 8603/2737 ลงวันที่
4 เมษายน 2551 สงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับใหผูตองหาที่ 1 ณ ภูมิลําเนาของผูตองหาที่ 1 และ
ป ด ประกาศคํ า สั่ งดั ง กล า วไว ใ นที่ เ ป ด เผยและเห็ น ไดงาย ณ อาคารที่เกิดเหตุ แตเมื่อ เจาพนักงานทองถิ่ น
มิไดจัดใหมีเครื่องหมายแสดงการหามผูตองหาที่ 1 ใชอาคารที่เกิดเหตุไวในที่เปดเผยและเห็นไดงาย ณ อาคาร
หรือบริเวณอาคารที่เกิดเหตุ เจาพนักงานทองถิ่นจึงดําเนินการไมครบถวนตามที่บัญญัติไวในมาตรา 40 (2)
แมผูตองหาที่ 1 จะยังคงใชอาคารที่เกิดเหตุ ผูตองหาที่ 1 ก็ไมมีความผิดฐานฝาฝนคําสั่งหามใชอาคารที่มี
การกอสรางฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ของเจาพนักงานทองถิ่น
จึงชี้ ขาดไม ฟองนาย ป. ผูตองหาที่ 1 ฐานฝาฝนคําสั่งหามใชอาคารที่มีการกอสรางฝาฝน
บทบั ญ ญั ติ แห งพระราชบั ญ ญั ติ ควบคุ มอาคาร พ.ศ. 2522 ของเจาพนักงานทองถิ่น ตามพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 40 (2), 67, 70 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
มาตรา 11, 24, 25
สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
นายนคร ผกามาศ -ยอ
นายชานน หมื่นธง -พิมพ
-๙๗-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ค. 8/๒๕๕4
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (มาตรา 255)
พ.ร.บ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
พ.ร.บ. พนักงานอัยการ พ.ศ. 2498
พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มิไดบัญญัตินิยามของความหมายในเรื่อง
ความเปนกลางและเปนอิสระของอนุญาโตตุลาการไวโดยเฉพาะ จึงตองพิจารณาลักษณะความเปนกลาง
และเป น อิ ส ระของอนุ ญ าโตตุ ล าการจากเจตนารมณ ข องพระราชบั ญ ญั ติ อ นุ ญ าโตตุ ล าการ
พ.ศ. 2545 รวมถึ ง เหตุ อั น ควรสงสั ย ถึ ง ความเป น กลางหรื อ ความเป น อิ ส ระตามที่ ผู ร อ งกล า วอ า ง
ประกอบด ว ย ซึ่ ง การเป น อนุ ญ าโตตุ ล าการนั้ น ต อ งอยู บ นพื้ น ฐานความเชื่ อ มั่ น และการยอมรั บ ของ
คู พิ พ าทว า มี ค วามเป น กลางและเป น อิ ส ระในการชี้ ข าดข อ พิ พ าท อั น จะทํ า ให ก ารระงั บ ข อ พิ พ าท
โดยอนุญาโตตุลาการสําเร็จลุลวงตามเจตนารมณของกฎหมายอนุญาโตตุลาการอยางแทจริง แตอยางไร
ก็ ต าม เกณฑ ใ นการตรวจสอบความเป น กลางและเป น อิ ส ระของอนุ ญ าโตตุ ล าการตามมาตรา 19
แหงพระราชบัญญัติดังกลาวนั้น จะตองพิจารณาจากขอเท็จจริงอันเปนเหตุควรสงสัยของแตละบุคคลไป
ไม อ าจใช เ กณฑ อ ย า งกว า งพิ จ ารณาขยายไปถึ ง องค ก รรวมหรื อ สั ญ ชาติ ถิ่ น กํ า เนิ ด ดั ง เช น
อนุญาโตตุลาการระหวางประเทศได โดยเหตุอันควรสงสัยนั้น ผูรองจะตองแสดงพฤติการณใหศาลเห็น
อย า งเพี ยงพอถึ ง ข อเท็ จ จริ งที่ ส นั บสนุ น ในเรื่อ งความสงสัย นั้น ซึ่ง ศาลจะตรวจสอบวา ข อเท็ จ จริ งนั้ น
มี อ ยู จ ริ ง หรื อ ไม และหากมี อ ยู จ ริ ง ข อ เท็ จ จริ ง นั้ น ต อ งสมเหตุ ส มผลสอดรั บ กั บ เหตุ อั น ควรสงสั ย ของ
ผูรอง และตองไมขึ้นอยูกับเพียงอัตวิสัยของบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเปนเรื่องที่อยูภายในจิตใจยากแกการ
พิ สู จ น มิ ฉ ะนั้ น แล ว ก็ จ ะมี ข อ ถกเถี ย งอยู ต ลอดเวลาไม มี ที่ สิ้ น สุ ด ทํ า ให ก ารระงั บ ข อ พิ พ าททาง
อนุญาโตตุลาการตองลาชาและเปนชองทางในการประวิงขอพิพาทได โดยในเรื่องความเปนกลางของ
อนุ ญาโตตุ ล าการ นั้ น นอกจากต องพิ จ ารณาจากการไม มีสวนไดเ สียหรือผลประโยชนที่เ กี่ยวของกั บ
คูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวของกับคูพิพาทแลว จะตองพิจารณาจากความสัมพันธระหวาง
อนุญาโตตุลาการกับคูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวของกับคูพิพาท วามีความสัมพันธใกลชิดกัน
หรือไม เนื่องจากหากมีความสัมพันธใกลชิดกันอาจทําใหการทําหนาที่ของอนุญาโตตุลาการมีความลําอียง
ตอคู พิพาทอี กฝ า ยหนึ่ งได ส วนความเปน อิสระนั้น ตองพิจ ารณาจากการที่อนุญาโตตุลาการตองไมอยู
ภายใตการควบคุมหรืออยูภายใตอิทธิพลของคูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวของกับคูพิพาทหรือ
ตองไม พ่ึงพาอาศัย หรื อมี การติ ดต อสั มพัน ธกับคูพิพาทหรือบุค คลหนึ่งบุคคลใดที่เ กี่ยวของกับคูพิพาท
อยูเปนประจํา
สํา นัก งานอัยการสู งสุด ที่เ รือโท ช. ปฏิบัติงานอยูก็เ ปน องคกรอิสระตามที่บัญญัติไวใ น
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 255 ไมไดมีผลประโยชนเกี่ยวของกับ
ผูคัดคานหรือกระทรวงการคลังโดยมีอัยการสูงสุดเปนผูบังคับบัญชาไมไดขึ้นอยูภายใตการบังคับบัญชา
หรื อกํ า กั บ ดู แ ลของกระทรวงการคลั ง หรื อหนว ยงานอื่ น ของรั ฐ กรณี จึง เห็ น ได วา เรือ โท ช. ไมไ ดเ ป น
ผูมีสวนไดเสียหรือผลประโยชนท่เี กี่ยวของกับผูคัดคานหรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวของกับผูคดั คาน
อํ า นาจหน า ที่ ใ นการดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน ข องรั ฐ ของพนั ก งานอั ย การตาม
พระราชบัญญัติพนักงานอัยการ พ.ศ. 2498 เปนอํานาจหนาที่หนึ่งตามกฎหมายของพนักงานอัยการใน
การปฏิ บัติหน าที่ เ กี่ยวกับการดํ าเนิ นคดีแพง หรือการวา ตา งแกตางคดีแทนรัฐ บาล รวมถึงนิติบุคคลที่
จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาซึ่งหมายถึงผูคัดคานในคดีนี้ เทานั้น พนักงานอัยการ
/ยังมี...
-๙๘-

ยังมีอํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด อาทิเชน อํานาจหนาที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ


อาญา อํานาจหนาที่ในการเปนโจทกในคดีที่ราษฎรฟองคดีเองไมไดเนื่องจากมีกฎหมายหาม อํานาจหนาที่
คุ ม ครองสิ ทธิ และรั ก ษาผลประโยชน ข องประชาชนในทางอรรถคดี เ ป น ต น ซึ่ งอํ า นาจหนา ที่ ดัง กล า ว
พนักงานอัยการไมจําตองดูแลรักษาผลประโยชนของรัฐทุกกรณีไป
สํ า หรั บ ที่ ผู ร อ งกล า วอ า งว า ไม มี บ ทกฎหมายใดให อํ า นาจพนั ก งานอั ย การเป น
อนุญาโตตุลาการ พนักงานอัยการจึงไมอาจเปนอนุญาโตตุลาการได นั้น เห็นวา การเปนอนุญาโตตุลาการ
ของพนัก งานอั ยการมิ ไ ดเ ป น การใชอํา นาจตามกฎหมายของฝา ยปกครองที่มีลักษณะบังคับตอเอกชน
อั น จะต อ งมี บ ทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายบั ญ ญั ติ ใ ห อํ า นาจไว อ ย า งชั ด เจน การเป น อนุ ญ าโตตุ ล าการนั้ น
เปนไปตามพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ซึ่งถือวาเปนสิทธิตามกฎหมายอยางหนึ่ง
________________________________________

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูรอง

ระหวาง
บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ผูคัดคาน
คดี นี้ ผู ร อ งยื่ น คํ า ร อ ง ขอให ศ าลปกครองชั้ น ต น มี คํ า สั่ ง เพิ ก ถอนคํ า วิ นิ จ ฉั ย ของ
คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการที่ ย กคํ า คั ด ค า นของผู ร อ ง และมี คํ า สั่ ง ยอมรั บ คํ า คั ด ค า นของผู ร อ งโดยห า มมิ ใ ห
เรื อโท ช. ปฏิ บั ติ ห น า ที่ อ นุ ญ าโตตุ ล าการในข อ พิพ าทหมายเลขดํา ที่ 120/2547 และขอให ศ าลกํ าหนด
มาตรการหรือวิธีการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวระหวางพิจารณาโดยมีคําสั่งใหคณะอนุญาโตตุลาการ
ระงับการดําเนินกระบวนพิจารณาไวชั่วคราว
ศาลปกครองชั้นต นพิจ ารณาแลวมีคําสั่งยกคํารองคัดคานอนุญาโตตุลาการของผูรองและ
ยกคําขอใหศาลกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองหรือบรรเทาทุกขชั่วคราวของผูรอง
ผูรองยื่นคํารองอุทธรณคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน ขอใหศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งกลับ
คํ า สั่ ง ของศาลปกครองชั้ น ต น โดยมี คํ า สั่ ง เพิ ก ถอนคํ า สั่ ง ยกคํ า ร อ งคั ด ค า นอนุ ญ าโตตุ ล าการของ
คณะอนุญาโตตุลาการ และมีคําสั่งยอมรับคําคัดคานอนุญาโตตุลาการของผูรอง
ศาลปกครองสู ง สุ ด พิ จ ารณาแล ว คดี นี้ มี ป ระเด็ น ที่ จ ะต อ งพิ จ ารณาว า การเป น
อนุ ญ าโตตุ ล าการของเรื อ โท ช. พนั ก งานอั ย การในข อ พิ พ าทหมายเลขดํ า ที่ 120/2547 สถาบั น
อนุ ญ าโตตุ ล าการ สํ า นั กระงั บ ขอพิ พาท สํานักงานศาลยุติธ รรม นั้น มีเหตุอันควรสงสัย ถึงความเปน กลาง
และเปนอิสระตามคํารองคัดคานอนุญาโตตุลาการของผูรอง หรือไม
ศาลปกครองสู งสุ ด พิ เ คราะหแลว เห็น วา ตามมาตรา 19 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติ
อนุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ. 2545 บั ญ ญั ติ ว า อนุ ญ าโตตุ ล าการต อ งมี ค วามเป น กลางและเป น อิ ส ระ
วรรคสามบัญ ญัติวา อนุญ าโตตุ ลาการอาจถูกคัดคานได หากปรากฏขอเท็จจริงซึ่งเปนเหตุอัน ควรสงสัยถึง
ความเปนกลางหรือความเปนอิสระ และตามมาตรา 20 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน บัญญัติวา
ถ า การคั ด ค า นโดยวิ ธี ต ามที่ คู พิ พ าทตกลงกั น หรื อ ตามวิ ธี ท่ี บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นวรรคหนึ่ ง ไม บ รรลุ ผ ลหรื อ
ในกรณีมีอนุญ าโตตุ ล าการเพี ย งคนเดี ยวคูพิพาทฝายที่คัดคานอาจยื่น คํารองคัดคานตอศาลที่มีเขตอํานาจ
ภายในสามสิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ หนั ง สื อ แจ ง คํ า วิ นิ จ ฉั ย การคั ด ค า นนั้ น หรื อ นั บ แต วั น ที่ รู ถึ ง การตั้ ง
อนุญาโตตุลาการหรือรูถึงขอเท็จจริงตามบัญญัติไวในมาตรา 19 วรรคสาม แลวแตกรณี และเมื่อศาลไตสวน
คํ า คั ด ค า นนั้ น แล ว ให มี คํ า สั่ ง ยอมรั บ หรื อ ยกเสี ย ซึ่ ง คํ า คั ด ค า นนั้ น จากบทบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วเห็ น ได ว า
/พระราชบัญญัติ...
-๙๙-

พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มิไดบัญญัตินิยามของความหมายในเรื่องความเปนกลางและ


เป น อิ ส ระของอนุ ญ าโตตุ ล าการไว โ ดยเฉพาะ จึ ง ต อ งพิ จ ารณาลั ก ษณะความเป น กลางและเป น อิ ส ระ
ของอนุ ญ าโตตุ ล าการจากเจตนารมณ ข องพระราชบั ญ ญั ติ อ นุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ. 2545 รวมถึ ง
เหตุ อั น ควรสงสั ย ถึ ง ความเป น กลางหรื อ ความเป น อิ ส ระตามที่ ผู ร อ งกล า วอ า งประกอบด ว ย ซึ่ ง การเป น
อนุ ญ าโตตุ ล าการนั้ น ต องอยู บ นพื้ น ฐานความเชื่อมั่น และการยอมรับ ของคูพิพาทวา มีความเป น กลางและ
เป น อิ ส ระในการชี้ ข าดข อ พิ พ าท อั น จะทํ า ให ก ารระงั บ ข อ พิ พ าทโดยอนุ ญ าโตตุ ล าการสํ า เร็ จ ลุ ล ว ง
ตามเจตนารมณ ข องกฎหมายอนุ ญ าโตตุ ล าการอย า งแท จ ริ ง แต อ ย า งไรก็ ต าม เกณฑ ใ นการตรวจสอบ
ความเปนกลางและเปนอิสระของอนุญาโตตุลาการตามมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติดังกลาวนั้น จะตอง
พิ จ ารณาจากข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น เหตุ ค วรสงสั ย ของแต ล ะบุ ค คลไป ไม อ าจใช เ กณฑ อ ย า งกว า ง
พิจ ารณาขยายไปถึงองคกรรวมหรื อสั ญ ชาติ ถิ่นกําเนิด ดังเชน อนุญาโตตุล าการระหวางประเทศได โดย
เหตุ อั น ควรสงสั ย นั้ น ผู ร อ งจะต อ งแสดงพฤติ ก ารณ ใ ห ศ าลเห็ น อย า งเพี ย งพอถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง ที่ ส นั บ สนุ น
ในเรื่องความสงสัยนั้น ซึ่งศาลจะตรวจสอบวาขอเท็จจริงนั้นมีอยูจริงหรือไม และหากมีอยูจริง ขอเท็จจริงนั้น
ต อ งสมเหตุ ส มผลสอดรั บ กั บ เหตุ อั น ควรสงสั ย ของผู ร อ ง และต อ งไม ขึ้ น อยู กั บ เพี ย งอั ต วิ สั ย ของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเปนเรื่องที่อยูภายในจิตใจยากแกการพิสูจน มิฉะนั้นแลวก็จะมีขอถกเถียงอยูตลอดเวลา
ไมมีที่สิ้นสุด ทําใหการระงับขอพิพาททางอนุญาโตตุลาการตองลาชาและเปนชองทางในการประวิงขอพิพาทได
โดยในเรื่ องความเป น กลางของอนุ ญ าโตตุล าการ นั้ น นอกจากตองพิ จ ารณาจากการไมมีสว นไดเ สีย หรื อ
ผลประโยชนที่เกี่ยวของกับคูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวของกับคูพิพาทแลว จะตองพิจารณาจาก
ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งอนุ ญ าโตตุ ล าการกั บ คู พิ พ าทหรื อ บุ ค คลหนึ่ ง บุ ค คลใดที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ คู พิ พ าท ว า มี
ความสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด กั น หรื อ ไม เนื่ อ งจากหากมี ค วามสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด กั น อาจทํ า ให ก ารทํ า หน า ที่ ข อง
อนุญาโตตุ ลาการมีความลําเอียงตอคูพิพาทอีกฝายหนึ่งได สว นความเปนอิส ระนั้นตองพิจารณาจากการที่
อนุ ญ าโตตุ ล าการต องไม อยู ภ ายใต การควบคุมหรืออยูภ ายใตอิทธิพลของคูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด
ที่เกี่ย วของกับ คูพิพาทหรือต องไมพ่ึงพาอาศัย หรือมีการติดตอสัมพันธกับคูพิพาทหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด
ที่เกี่ยวของกับคูพิพาทอยูเปนประจํา โดยไมอาจอางไดวาการที่พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
บัญญัติใหสิทธิแกคูพิพาททั้งสองฝายในการเสนอพยานหลักฐานอยางเทาเทียมกันและคณะอนุญาโตตุลาการ
จะทําคําชี้ขาดโดยฝายขางมากนั้น ถือวาเปนหลักประกันความเปนอิสระและเปนกลางของอนุญาโตตุลาการ
แลวได เนื่องจากกรณีดังกลาวเปนบทบัญญัติท่ีรับรองในเรื่องการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ตองใหสิทธิแก
คูพิพาทอยางเทาเทียมกันและการชี้ขาดตองใชเสียงขางมากเทานั้น มิไดเกี่ยวกับความเปนกลางและอิสระ
ของอนุญาโตตุลาการ ตามมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติดังกลาวแตอยางใด อุทธรณของผูรองขอนี้ฟงขึ้น
โ ดย เมื่ อพิ จ าร ณาเ หตุ อั น ค ว ร ส ง สั ย ถึ งค ว าม เป นกล าง หรื อ คว าม เป น อิ ส ระข อง ผู ร อ งที่ มี ต อ
เรื อโท ช. อนุ ญาโตตุล าการที่ ผู คัดค า นแตงตั้งขึ้น แลวเห็น วากรณีมีขอพิจารณาประการแรกวา เรือโท ช.
มี ส ว นได เ สี ย หรื อประโยชน ที่เ กี่ ย วข องกับ ผูคั ดค านหรื อบุ คคลอื่ น ที่ เกี่ ย วขอ งกั บ ผู คัด คา น หรื อไม เห็ น ว า
เรื อโท ช. เป น พนั กงานอั ย การ สั ง กั ด สํ านั ก งานอั ย การสู ง สุด ส ว นผู คัด ค านเป น นิติ บุค คลที่ จัด ตั้ งขึ้ น ตาม
พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 มีรัฐโดยกระทรวงการคลังเปนผูถือหุน ทั้งหมด เมื่อขอเท็จจริง
ไมปรากฏวาเรือโท ช. เปนกรรมการหรือเปนผูมีประโยชนไดเสียกับผูคัดคาน อีกทั้งสํานักงานอัยการสูงสุด
ที่ เ รื อ โท ช. ปฏิ บั ติ ง านอยู ก็ เ ป น องค ก รอิ ส ระตามที่ บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย
พุ ท ธศั กราช 2550 มาตรา 255 ไม ไ ด มี ผ ลประโยชน เกี่ ย วขอ งกั บ ผู คัด ค านหรื อกระทรวงการคลัง โดยมี
อัยการสูงสุดเปนผูบังคับบัญชาไมไดขึ้นอยูภายใตการบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของกระทรวงการคลังหรือ
หนวยงานอื่นของรัฐ กรณีจึงเห็นไดวาเรือโท ช. ไมไดเปนผูมีสวนไดเสียหรือผลประโยชนที่เกี่ยวของกับผูคัดคาน
/หรือ...
-๑๐๐-

หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวของกับผูคัดคาน สวนการที่ผูรองอางเหตุผลอันควรสงสัยวาพนักงานอัยการมีหนาที่
ในการดูแลรักษาผลประโยชนของรัฐและใหคําปรึกษาแกหนวยงานของรัฐ เมื่อเรือโท ช. ยังรับราชการเปน
พนักงานอัยการ จึงตองทําหนาที่รักษาผลประโยชนใหแกผูคัดคาน นั้นเห็นวา อํานาจหนาที่ในการดูแลรักษา
ผลประโยชน ข องรั ฐ ของพนั ก งานอั ย การตามพระราชบั ญ ญั ติ พ นั ก งานอั ย การ พ.ศ. 2498 เป น อํ า นาจ
หนาที่หนึ่งตามกฎหมายของพนักงานอัยการในการปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการดําเนินคดีแพง หรือการวาตาง
แก ต า งคดี แ ทนรั ฐ บาล รวมถึ งนิ ติ บุ คคลที่ จัด ตั้ งขึ้ น โดยพระราชบั ญญั ติห รือ พระราชกฤษฎี กาซึ่ง หมายถึ ง
ผูคัดคานในคดีนี้ เทานั้น พนักงานอัยการยังมีอํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด อาทิเชน อํานาจหนาที่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อํานาจหนาที่ในการเปนโจทกในคดีที่ราษฎรฟองคดีเองไมได
เนื่องจากมีกฎหมายหาม อํา นาจหน าที่คุมครองสิทธิและรักษาผลประโยชนของประชาชนในทางอรรถคดี
เป น ต น ซึ่ ง อํ า นาจหน า ที่ ดั ง กล า วพนั ก งานอั ย การไม จํ า ต อ งดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน ข องรั ฐ ทุ ก กรณี ไ ป
ทั้งการดู แลรั กษาผลประโยชน ของรั ฐ ในการดําเนิน คดีห รือวาตางแกต างคดีแทนรัฐ นั้น ก็เปน เฉพาะเรื่อ ง
ตามที่ไดรับมอบหมายในคดีนั้น ๆ ไป เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวาเรือโท ช. มิไดเปนพนักงานอัยการผูดําเนินคดี
ในขอพิพาทนี้แทนผูคัดคาน การปฏิบัติหนาที่อนุญาโตตุลาการของเรือโท ช. จึงเปนไปตามพระราชบัญญัติ
อนุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ. 2545 ซึ่ ง มี อํ า นาจหน า ที่ ใ นการชี้ ข าดข อ พิ พ าทระหว า งผู ร อ งกั บ ผู คั ด ค า น
โดยไมจําตองคํานึงถึงผลประโยชนของผูคัดคานแตประการใด สวนการใหคําปรึกษาขอกฎหมายแกรัฐบาล
และหน ว ยงานของรั ฐ ของสํ า นั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป รั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม
พ.ศ. 2545 นั้ น เป น เพี ย งหน า ที่ โ ดยทั่ ว ไปขององค ก รสํ า นั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ในการให คํ า แนะนํ า เรื่ อ ง
ปญหาทางกฎหมายเพื่อใหการปฏิบัติราชการเปนไปดวยความรอบคอบและถูกตอง มิใหเกิดความเสียหาย
แก ร าชการ มิ ได เ กี่ ย วข องกั บ การทํ า หน าที่ อนุญาโตตุล าการของเรื อโท ช. ในขอ พิพาทนี้ และขอเท็จ จริ ง
ไม ป รากฏว า เรื อ โท ช. เคยได รั บ มอบหมายให ทํ า หน า ที่ ป รึ ก ษาแนะนํ า แก ผู คั ด ค า นตามสั ญ ญาพิ พ าทนี้
ขอกลาวอางของผูรองในขอนี้จึงไมอาจรับฟงได ดังนั้น จึงเห็นวาเรือโท ช. อนุญาโตตุลาการที่ผูคัดคานแตงตั้ง
มิ ได มี ส ว นได เ สี ย หรื อประโยชน เ กี่ ย วข อ งกับ ผู คัดค านหรื อบุคคลอื่น ที่ เกี่ย วของกั บ ผูคัด คานในขอพิ พาทนี้
อุ ท ธรณ ข องผู ร อ งในข อ นี้ จึ ง ฟ ง ไม ขึ้ น กรณี มี ข อ พิ จ ารณาต อ ไปว า เรื อ โท ช. มี ค วามสั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด กั บ
ผูคัดคานหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่เกี่ยวของกับผูคัดคานหรือไม เห็นวาในเรื่องนี้ผูรองมีเหตุอันควรสงสัยวา
ขอพิพาทนี้มีพนักงานอัยการในสํานักงานอัยการสูงสุดเกี่ยวของดวย คือ เปนผูรวมในขั้นตอนตรวจรางสัญญา
เปนผูรับมอบอํานาจดําเนินคดีแทนผูคัดคานในชั้นอนุญาโตตุลาการ และเปนกรรมการบริษัทของผูคัดคาน
ซึ่งบุคคลดังกลาวมีความสัมพันธเกี่ยวของทางอาชีพและสังกัดสํานักงานอัยการสูงสุดเชนเดียวกัน นั้น เห็นวา
แมจะมีพนักงานอัยการเปนกรรมการของผูคัดคาน และเปนผูตรวจรางสัญญาพิพาทและเปนผูรับมอบอํานาจ
ดํา เนิน คดีแทนผู คัดค า นซึ่ งสังกั ดอยู ในสํานักงานอัยการสูงสุดเชน เดีย วกันกับ เรือโท ช. ก็ตาม แตเมื่อตาม
กฎกระทรวงแบงส ว นราชการสํ า นั กงานอัย การสูงสุด พ.ศ. 2546 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2549
แบ งส ว นราชการของสํ า นั กงานอั ย การสูงสุ ด โดยแบงใหสํา นักงานคณะกรรมการอัย การ มีอํา นาจหนา ที่
ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลและงานวินัยของขาราชการอัยการฯ และรับผิดชอบการบริหารงาน
นโยบายและแผน วิเคราะห เพื่อจัดทําและบริหารงบประมาณของสํานักงานอัยการสูงสุด สํานักงานที่ปรึกษา
กฎหมาย มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบการใหคําปรึกษาหรือความเห็นทางกฎหมาย รวมทั้งการตรวจรางสัญญาแก
หน ว ยงานของรั ฐ สํ า นั ก งานการยุ ติ ก ารดํ า เนิ น คดี แ พ ง และอนุ ญ าโตตุ ล าการมี อํ า นาจที่ รั บ ผิ ด ชอบ
การดําเนินการเกี่ยวกับการอนุญาโตตุลาการ สํานักงานคดีปกครองมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบการดําเนินคดี
ที่ อ ยู ใ นอํ า นาจพิ จ ารณาพิ พ ากษาของศาลปกครอง และตามระเบี ย บสํ า นั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ว า ด ว ย
การตรวจราชการของผู ต รวจราชการ พ.ศ. 2547 กําหนดใหผูตรวจราชการอัย การมี ห นาที่ในการตรวจ
/และแนะนํา...
-๑๐๑-

และแนะนํ า การปฏิ บั ติ ร าชการของข า ราชการฝ า ยอั ย การตลอดจนติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ร าชการเสนอ


แนวทางแก ไ ขป ญ หาอุ ป สรรค ซึ่ ง แต ล ะส ว นสํ า นั ก งานได มี ก ารแบ ง ส ว นการบริ ห ารและการดํ า เนิ น การ
ตามภารกิ จ แยกออกต า งหากจากกั น ไม ไ ด มี ก ารปฏิ บั ติ ห น า ที่ ร วมกั น หรื อ เกี่ ย วข อ งกั น แต อ ย า งใด
อี กทั้ ง ข อเท็ จ จริ งไม ป รากฏพฤติ การณ วาพนักงานอัย การผูเปน กรรมการของผูคัดคาน ซึ่งปฏิบัติห นาที่ที่
คณะกรรมการอัยการ พนักงานอัยการผูตรวจรางสัญญาซึ่งปฏิบัติหนาที่ที่สํานักงานที่ปรึกษากฎหมาย และ
พนั ก งานอั ย การผู รั บ มอบอํ า นาจของผู คั ด ค า น ซึ่ ง ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ที่ สํ า นั ก งานคดี ป กครอง กั บ ผู ถู ก คั ด ค า น
ซึ่งขณะไดรับการแตงตั้งใหเปนอนุญาโตตุลาการปฏิบัติหนาที่ที่สํานักงานผูตรวจราชการอัยการ มีความสัมพันธ
ใกล ชิ ด หรื อต อ งปฏิ บั ติ งานในสถานที่ ทํางานปะปนกัน อัน จะนําไปสูการแนะนําหรือการนํ าขอมูล เกี่ย วกั บ
ขอพิพาทซึ่งอาจจะมีผลตอการวินิจฉัยชี้ขาดของผูถูกคัดคานได เหตุอันควรสงสัยถึงความเปนกลางของผูรอง
ในขอนี้จึงไมมีน้ําหนักเพียงพอที่จะรับฟงได อุทธรณของผูรองคดีนี้ฟงไมขึ้น
คดีมีขอพิจารณาตอไปวา เรือโท ช. มีความเปนอิสระจากผูคัดคาน หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ
กับผูคัดคานหรือไม เห็นวา ตามที่วินิจฉัยไปขางตนแลววา เรือโท ช. มิไดอยูภายใตบังคับบัญชาของผูคัดคาน
กระทรวงการคลังหรือบุคคลที่เกี่ยวของกับผูคัดคาน อีกทั้งพฤติการณไมปรากฏวาเรือโท ช. จะมีการติดตอ
สั ม พั น ธ ห รื อ ต อ งพึ่ ง พาอาศั ย กั บ ผู คั ด ค า น กระทรวงการคลั ง หรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผู คั ด ค า น
การเปนอนุญาโตตุลาการของเรือโท ช. ในขอพิพาทนี้จึงถือวาเปนอิสระจากผูคัดคานแลว สวนที่ผูรองกลาวอาง
เหตุ อั น ควรสงสั ย ความเป น อิ ส ระว า เรื อ โท ช. ซึ่ ง เป น พนั ก งานอั ย การมี ผู บั ง คั บ บั ญ ชาเป น อั ย การสู ง สุ ด
และไดรับการแตงตั้งใหเปนอนุญาโตตุลาการตามคําสั่งของอัยการสูงสุด จึงขาดความเปนอิสระ นั้น เห็นวา
การเป น อิ ส ระของอนุ ญ าโตตุ ล าการตามพระราชบั ญ ญั ติ อ นุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ. 2545 หมายถึ ง
ความเปนอิสระในการวินิจฉัยชี้ขาดในขอพิพาท ซึ่งการที่พนักงานอัยการที่ไดรับแตงตั้งใหเปนอนุญาโตตุลาการ
ตองไดรับอนุมัติจากอัยการสูงสุดนั้นก็เปนเรื่องเกี่ยวกับการที่อัยการสูงสุดในฐานะผูบังคับบัญชาจะพิจารณา
ถึงวาบุคคลนั้นมีความรูความชํานาญในขอพิพาทนั้นหรือไม อีกทั้งจะไดพิจารณาถึงผลกระทบตอการปฏิบัติ
หนาที่ของพนักงานอัยการในสํานักงานอัยการสูงสุด โดยไมไดเกี่ยวกับการใชอํานาจของผูบังคับบัญชาที่จะมีผล
ตอการทําคําวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทของพนักงานอัยการในการเปนอนุญาโตตุลาการแตอยางใด นอกจากนี้ก็
ไม ป รากฏระเบี ย บหรื อ กฎหมายใดที่ บั ง คั บ ให พ นั ก งานอั ย การที่ ทํ า หน า ที่ อ นุ ญ าโตตุ ล าการจะต อ งเสนอ
รางความเห็นในการทําคําชี้ขาดไปยังอัยการสูงสุดเพื่อตรวจสอบ ดังนั้นเหตุอันควรสงสัยในความเปนอิสระของ
เรื อ โท ช. ตามที่ ผู ร องกล า วอ า งจึ ง ไม มี น้ํา หนั กรับ ฟง ได อุท ธรณข อนี้ข องผูรอ งฟ งไมขึ้น ส ว นรัฐ ธรรมนู ญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 นั้น เปนการบัญญัติสิทธิขั้นพื้นฐานในกระบวนการ
ยุ ติ ธ รรมซึ่ งมาตรา 19 แห งพระราชบั ญญัติอนุญาโตตุล าการ พ.ศ. 2545 ไดบัญ ญัติใหอนุญาโตตุล าการ
มีความเปนกลางและมีความเปน อิส ระ อันเปนการประกันสิทธิขั้นพื้น ฐานความเปนธรรมตามรัฐ ธรรมนูญ
แล ว เมื่ อได วิ นิ จ ฉั ย ขา งต น แล ว ว า การเปน อนุญาโตตุล าการของเรือโท ช. อนุญาโตตุล าการในขอพิพาทนี้
ไม มี เ หตุ อั น ควรสงสั ย ในความเป น กลางหรื อ เปน อิ ส ระตามมาตรา 19 แห ง พระราชบั ญญั ติ ดัง กล าวแล ว
การแตงตั้งอนุญาโตตุลาการของผูคัดคานหรือคําสั่งยกคํารองคัดคานอนุญาโตตุลาการของศาลปกครองชั้นตน
ในคดี นี้ จึ งไม ขัด ต อรั ฐ ธรรมนู ญแห งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 อุทธรณขอนี้ของ
ผูรองจึงฟงไมขึ้นเชนกัน
สําหรับที่ผูรองกลาวอางวาไมมีบทกฎหมายใดใหอํานาจพนักงานอัยการเปนอนุญาโตตุลาการ
พนักงานอัยการจึงไมอาจเปนอนุญาโตตุลาการได นั้น เห็นวา การเปนอนุญาโตตุลาการของพนักงานอัยการ
มิไดเปนการใชอํานาจตามกฎหมายของฝายปกครองที่มีลักษณะบังคับตอเอกชน อันจะตองมีบทบัญญัติของ
กฎหมายบั ญ ญั ติ ใ ห อํ า นาจไว อ ย า งชั ด เจน การเป น อนุ ญ าโตตุ ล าการนั้ น เป น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ
/อนุญาโตตุลาการ...
-๑๐๒-

อนุ ญ าโตตุ ล าการ พ.ศ. 2545 ซึ่ งถื อว า เปน สิทธิตามกฎหมายอยางหนึ่งของเรือโท ช. เมื่อไมป รากฏวา มี
บทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายห า มไม ใ ห พ นั ก งานอั ย การเป น อนุ ญ าโตตุ ล าการ การเป น อนุ ญ าโตตุ ล าการของ
เรือโท ช. จึงไมขัดตอกฎหมายแตอยางใด สวนการที่ผูรองอุทธรณวาระเบียบสํานักงานอัยการสูงสุด วาดวยการ
ดําเนินคดีแพงของพนักงานอัยการ พ.ศ. 2547 ขอ 68 ขัดกับพระราชบัญญัติพนักงานอัยการ พ.ศ. 2498
นั้น เห็นวา อุทธรณดังกลาวมิไดเปนขอที่ผูรองไดยกขึ้นวากันมาโดยชอบในศาลปกครองชั้นตนและกรณีไมได
เปนเรื่องอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนหรือเกี่ยวกับประโยชนสาธารณะ ที่ผูรองยกปญหาขอนี้
ขึ้นกลาวในชั้นอุทธรณได ตามขอ 101 วรรคสอง แหงระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
วาดวยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 อุทธรณขอนี้ของผูรองจึงไมอาจรับฟงได
จึงมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๑๐๓-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 117/๒๕๕4
พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนผูกํากับดูแลเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดียตามที่กฎหมายวาดวยเทศบาล
ใหอํานาจไว และเมื่อพิจารณาอํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๖๒ ทวิ แหงพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก ไ ขเพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่งกํา หนดวา กรณีที่สภาเทศบาลมีม ติ
ไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป แตมีเสียงนอยกวาสองในสามของสมาชิก
ที่ อ ยู ใ นตํ า แหน ง ให ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ พิ จ ารณาร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณว า เห็ น ชอบกั บ มติ ข อง
สภาเทศบาลหรือไม อันเปนกรณีกฎหมายบัญญัติใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใชดุลพินิจพิจารณากลั่นกรองมติของ
สภาเทศบาลอีกครั้งวาชอบดวยกฎหมายหรือไม แตการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะใชอํานาจดังกลาวในการ
กระทํ า การใดที่ ขัด ต อมติ ของสภาเทศบาลก็ต องพิจ ารณาใหเ ปน ที่ป ระจักษวา การใชดุลพิ นิจ ดังกลา ว
จะไมกาวลวงไปกระทบกระเทือนตอหลักการความเปนอิสระขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับรองไว
ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึ่งมีผลบังคับใชในขณะนั้น
_______________________________________
นายสุทัศน มหรรณพกุล ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน ผูฟองคดี

ระหวาง

ผูวาราชการจังหวัดสมุทรปราการ ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน ผูถูกฟองคดี

คดีนี้ผูฟองคดีทั้งสามฟองวา เดิมผูฟองคดีทั้งสามเปนคณะเทศมนตรี ตําบลพระสมุทรเจดีย


อํ า เภอพระสมุ ท รเจดี ย จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ได รั บ ความเดื อ ดร อ นเสี ย หายจากการที่ ส ภาเทศบาล
ตําบลพระสมุทรเจดียประชุมเมื่อวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๔๕ มีมติไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ ายประจํ าป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ ดวยคะแนนเสียง ๗ ตอ ๕ และผูถูกฟองคดี ที่ ๑ มีคําสั่งเห็นชอบดวย
กับมติของสภาเทศบาลดังกลาว อันมีผลใหผูฟองคดีทั้งสามตองพนจากตําแหนงเทศมนตรีทั้งคณะตามมาตรา ๔๕
แห งพระราชบั ญญั ติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก ไขเพิ่ มเติ ม (ฉบั บที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู ฟ องคดี ทั้ งสามเห็ น ว า
ผู ถูกฟ องคดี ที่ ๑ ออกคํ า สั่ ง โดยไม ได ใช ดุล พินิจ ตามหลักกฎหมายปกครองและไมไดพิจารณาในเนื้อหาของ
เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย แตใชอํานาจตามนโยบายตัวเองที่ถือเสียงขางมากในสภาเปนหลัก ทั้งที่กอนที่จะมี
การประชุ มสภาเพื่ อพิ จารณาร างเทศบั ญญั ติ ง บประมาณรายจ า ยดั ง กล า ว ผู ฟ อ งคดี ทั้ ง สามได มี ห นั ง สื อ
ที่ สป ๕๒๙๐๑/๖๘๗ ลงวั น ที่ ๒๙ ตุ ล าคม ๒๕๔๔ ขอให ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ ยุ บ สภาเทศบาล เนื่ อ งจาก
สภาเทศบาลปนปวนไมพิจารณาในเรื่องผลประโยชนของประชาชนเปนหลัก และประธานสภาเทศบาลอภิปรายชี้นํา
อันเปนการวางตัวไมเปนกลาง ทําใหเกิดความเสียหาย ซึ่งตอมาผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือ ที่ สป ๐๕๑๘/๔๕๘๖
ลงวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๔ แจงวาขอเท็จจริงดังกลาวยังไมมีเหตุเพียงพอที่จะเสนอใหยุบสภาเทศบาล นอกจากนี้ ผูฟองคดี
ได จั ดทํ างบประมาณรายจ ายประจํ าป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ ถู กต องตามระเบี ยบกระทรวงมหาดไทย ว าด วย
การวางแผนพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑ ตอมา ในระหวางผูฟองคดีทั้งสามอุทธรณคําสั่งของ
ผู ถูกฟ องคดี ที่ ๑ ที่ เ ห็ น ชอบด ว ยกั บ มติ ส ภาเทศบาลและขอทุเลาการบังคับ ทางปกครอง ผูถูกฟองคดีที่ ๒
/ไดเปด...
-๑๐๔-

ไดเปดประชุมสภาเทศบาลเพื่อเลือกคณะเทศมนตรีในวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕ ผูฟองคดีที่ ๑ ไดโตแยงการเลือก


คณะเทศมนตรี ในที่ ประชุ มดั งกล าว โดยประธานสภาและสมาชิ กสภาเทศบาลทราบข อ โต แ ย ง ดั ง กล า วแล ว
แตยังคงดําเนิน การตอไปจนไดคณะเทศมนตรีชุดใหม ผูฟองคดีทั้งสามจึงไดมีหนังสือ ที่ สป ๕๒๙๐๑/๕๐
ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๕ ถึงผูถูกฟองคดีทั้งสองคัดคานและขอใหเพิกถอนการประชุมสภาเทศบาลดังกลาว
แต ไ ม ไ ด รั บ การพิ จ ารณา ต อ มา ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ปฏิ บั ติ ร าชการแทนผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ ได มี ป ระกาศ
จังหวั ดสมุ ทรปราการ ลงวั นที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕ แตงตั้งคณะเทศมนตรีตําบลพระสมุทรเจดียชุดใหม
โดยให มีผ ลตั้งแตวั น ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕ ผูฟองคดีเห็น วาการดําเนินการของผูถูกฟองคดีทั้งสองไมชอบ
ดวยกฎหมาย จึงนําคดีมาฟองตอศาลปกครอง
ขอใหศาลมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่ง ดังนี้
๑. เพิ ก ถอนคํ า สั่ ง ของผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ ตามหนั ง สื อ ที่ สป ๐๕๑๘/๑๙๗ ลงวั น ที่
๑๖ มกราคม ๒๕๔๕ ที่เห็นชอบกับสภาเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดียที่มีมติไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕
๒. เพิกถอนการแตงตั้งคณะเทศมนตรีตําบลพระสมุทรเจดียตามประกาศจังหวัสมุทรปราการ
เรื่อง แตงตั้งคณะเทศมนตรีตําบลพระสมุทรเจดีย ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕
๓. ยุบสภาเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดีย เพื่อคุมครองประโยชนประชาชนในเขตเทศบาล
และคืนอํานาจใหกับประชาชน
ผูถูกฟองคดีทั้งสองใหการปฏิเสธ ขอใหยกฟอง
ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือที่
สป ๐๕๑๘/๑๙๗ ลงวั นที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๕ ที่ เห็ นชอบด วยกั บสภาเทศบาลตํ า บลพระสมุ ท รเจดี ย ที่ มี ม ติ
ไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติวาดวยงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ และใหเพิกถอน
การแตงตั้งคณะเทศมนตรีตําบลพระสมุทรเจดีย ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕ คําขออื่นนอกจากนี้ใหยก
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ ง สองอุ ท ธรณ ว า ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ ได พิ จ ารณาให ค วามเห็ น ชอบตามมติ
สภาเทศบาลโดยตั้งอยูบนพื้นฐานของความถูกตองเหมาะสมของเนื้อหาในรางเทศบัญญัติเปนดานหลักแลว เพราะ
สภาเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดียไดมีมติ ๗ ตอ ๕ ไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ เนื่องจากรางเทศบัญญัติดังกลาวประกอบดวย ๘ แผนงาน สมาชิกสภา
ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ ร า งเทศบั ญ ญั ติ จํ า นวน ๓ แผนงาน อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารตั้ ง งบประมาณซ้ํ า ซ อ นกั น และกรณี ที่
ผูตรวจการสวนทองถิ่นบันทึ กเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในเรื่อง การตรวจ
รายงานการประชุมสภา ๕ ครั้ง ปรากฏวาการพิจารณาญัตติสําคัญๆ ถาฝายบริหารเปนผูเสนอ สภาเทศบาลจะมี
มติ ไ ม เ ห็ น ชอบด ว ย แต ถ า หากสมาชิ ก สภาเป น ผู เสนอสภาเทศบาลจะเห็ น ชอบด ว ย และการใช ห ลัก การ
ในระบอบประชาธิปไตยเสียงขางมากเพื่อตัดสินใจใน ๒ กรณีดังกลาว ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดนํามาประกอบการ
พิจารณาใชดุลพินิจเห็นดวยกับสภาเทศบาล เพราะหากไมเห็นดวยกับสภาเทศบาล คณะผูบริหารยังคงปฏิบัติหนาที่
จะทําใหการบริหารงานเทศบาลเกิดอุปสรรคสงผลเสียตอประชาชนอยางมาก การใชดุลพินิจดังกลาวของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
จะเปนประโยชนตอเทศบาลและประชาชนมากกวาการไมเห็นดวยกับมติสภา เมื่อพิจารณาทั้งสองดานแลว
การพิจารณาใชดุลพินิจของผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนการกลั่นกรองความถูกตองเหมาะสมของเนื้อหาในรางเทศบัญญัติ
งบประมาณเป นด านหลั กและเหตุ ผ ลอื่ น ๆ ประกอบการพิ จ ารณา มิ ใ ช พิ จ ารณาเหตุ ผ ลอื่ น เป น ด า นหลั ก
การใชดุ ลพิ นิจ ดังกล าวมีกฎหมายบัญญัติ ใหอํานาจไวและใชไมเกินกรอบอํานาจที่ใหไวในการพิจารณาสั่งการตาม
มาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง (๔) ของพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒
/ดังนั้น...
-๑๐๕-

ดังนั้น การใชดุลพินิจของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงชอบดวยกฎหมาย


ศาลปกครองสูงสุดพิเคราะหแลวเห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนผูกํากับดูแลเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดีย
ตามที่กฎหมายวาดวยเทศบาลใหอํานาจไว และเมื่อพิจารณาอํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๖๒ ทวิ
แห ง พระราชบั ญ ญั ติ เ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก ไขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่ ง กํ า หนดว า กรณี ที่
สภาเทศบาลมีมติไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป แตมีเสียงนอยกวาสองในสาม
ของสมาชิกที่อยูในตํา แหนงใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ พิจารณารางเทศบัญญัติงบประมาณวาเห็นชอบกับมติของ
สภาเทศบาลหรือไม อันเปนกรณีกฎหมายบัญญัติใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใชดุลพินิจพิจารณากลั่นกรองมติของ
สภาเทศบาลอีกครั้งวาชอบดวยกฎหมายหรือไม แตการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะใชอํานาจดังกลาวในการกระทํา
การใดที่ขัดตอมติของสภาเทศบาลก็ตองพิจารณาใหเปนที่ประจักษวาการใชดุลพินิจดังกลาวจะไมกาวลวงไป
กระทบกระเทื อนตอหลักการความเปน อิสระขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ไดรับ รองไวในรัฐธรรมนูญ
แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ทธศั กราช ๒๕๔๐ ซึ่ งมี ผ ลบัง คับ ใชใ นขณะนั้น โดยมาตรา ๒๘๒ ได กํา หนดให
รั ฐ จะต อ งให ค วามเป น อิ ส ระแก ท อ งถิ่ น ตามหลั ก แห ง การปกครองตนเองตามเจตนารมณ ข องประชาชน
ในท อ งถิ่ น และมาตรา ๒๘๓ กํ า หนดให ก ารกํ า กั บ ดู แ ลองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ต อ งทํ า เท า ที่ จํ า เป น
แตตองเปนไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่นหรือประโยชนของประเทศเปนสวนรวม ทั้งนี้
จะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น หรือนอกเหนือจากที่
กฎหมายบัญญัติไวมิได เมื่อผูถูกฟองคดีทั้งสองอุทธรณวา รางเทศบัญญัติดังกลาวประกอบดวย ๘ แผนงาน
สมาชิกสภาไมเห็นดวยกับรางเทศบัญญัติจํานวน ๓ แผนงาน อีกทั้งยังมีการตั้งงบประมาณซ้ําซอนกัน และ
กรณี ที่ ผู ต รวจการส ว นท องถิ่ น บั น ทึ ก เสนอความเห็น ประกอบการพิ จ ารณาของผูถู กฟ องคดีท่ี ๑ ในเรื่ อ ง
การตรวจรายงานการประชุ มสภา ๕ ครั้ง ปรากฏวาการพิจารณาญัตติสําคัญๆ ถาฝายบริห ารเปน ผูเสนอ
สภาเทศบาลจะมีมติไมเ ห็นชอบดวย แตถาหากสมาชิกสภาเปนผูเสนอ สภาเทศบาลจะเห็นชอบดวย และ
การใช ห ลั ก การในระบอบประชาธิ ป ไตยเสี ย งขา งมากเพื่ อตั ด สิ น ใจใน ๒ กรณี ดั งกล า ว ผู ถู กฟ อ งคดี ที่ ๑
ไดนํามาประกอบการพิจารณาใชดุลพินิจเห็นดวยกับสภาเทศบาลเทานั้น เพราะหากไมเห็นดวยกับสภาเทศบาล
คณะผูบริหารยังคงปฏิบัติหนาที่ จะทําใหการบริหารงานเทศบาลเกิดอุปสรรคสงผลเสียตอประชาชนอยางมาก
การใชดุลพินิจดังกลาวของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะเปนประโยชนตอเทศบาลและประชาชนมากกวาการไมเห็นดวย
กับมติสภา เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๑ พิจารณาทั้งสองดานแลว โดยกลั่นกรองความถูกตองเหมาะสมของเนื้อหา
ในรางเทศบัญญัติงบประมาณ เปนดานหลักและเหตุผลอื่นๆ เปนเหตุผลประกอบการพิจารณา มิใชพิจารณา
เหตุผลอื่นเปนหลัก โดยอาศัยอํานาจตามมาตรา ๖๒ ทวิ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
แก ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๑๙ ประกอบมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง (๔) แหงพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ และเปนไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชน
ในทองถิ่น ตามมาตรา ๒๘๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ประกอบกับการที่
สภาเทศบาลมีมติไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕
ด ว ยคะแนนเสี ย ง ๗ ต อ ๕ เป น การกระทํ า ที่ ช อบด ว ยกฎหมายดั ง ที่ วิ นิ จ ฉั ย ข า งต น แล ว ดั ง นั้ น การที่
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคําสั่งเห็นชอบตามมติของสภาเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดียดังกลาว จึงเปนการกระทําที่ชอบ
ดวยกฎหมาย อันมีผลใหผูฟองคดีทั้งสามตองพนจากตําแหนงคณะเทศมนตรีตามนัยมาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง (๔)
แห งพระราชบั ญ ญั ติ เ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ศาลปกครองชั้นตน
พิพากษาเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือ ที่ สป ๐๕๑๘/๑๙๗ ลงวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๕
ที่เห็นชอบกับมติของสภาเทศบาลตําบลพระสมุทรเจดียที่ไมรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติเรื่องงบประมาณ
/รายจาย...
-๑๐๖-

รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ และใหเพิกถอนการแตงตั้งคณะเทศมนตรีตําบลพระสมุทรเจดียตาม


ประกาศจังหวัดสมุทรปราการ เรื่อง แตงตั้งคณะเทศมนตรี ตําบลพระสมุทรเจดีย ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕
นั้น ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย อุทธรณของผูถูกฟองคดีทั้งสองฟงขึ้น
พิพากษากลับคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนเปนใหยกฟอง

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๑๐๗-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 166/๒๕๕4
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยขอบังคับการประชุมสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ตามประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดชลบุรี เรื่อง หลักเกณฑและเงื่อนไข
เกี่ ยวกั บการบริหารงานบุค คลของเทศบาล ขอ ๒๖๙ วรรคหนึ่ง กํา หนดวา ในกรณีที่ไมมีปลัดเทศบาล
หรื อมี แต ไม สามารถปฏิ บัติ ราชการได ให รองปลั ดเทศบาลเปนผูรักษาราชการแทน ถา มีร องปลัด เทศบาล
หลายคน ใหนายกเทศมนตรีแตงตั้งรองปลัดเทศบาลคนหนึ่งเปนผูรักษาราชการแทน ถาไมมีผูดํารงตําแหนง
รองปลั ด เทศบาล หรื อ มี แ ต ไ ม ส ามารถปฏิ บั ติ ราชการได ให นายกเทศมนตรี แต งตั้ งพนั กงานเทศบาล
ในเทศบาลซึ่ งดํ ารงตํ าแหน งไม ต่ํ ากว าผู อํ า นวยการกองหรือ หั วหน า ส ว นราชการที่ เ รี ย กชื่ออย า งอื่ น เป น
ผูรักษาราชการแทน และขอ ๒๗๑ วรรคหนึ่ง กําหนดวา ใหผูรักษาราชการแทนมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับ
ผูซึ่งตนแทน และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยขอบังคับการประชุมสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
ข อ ๑๑ กํ า หนดให ป ลั ด เทศบาลเป น เลขานุ ก ารสภาเทศบาลโดยตํ า แหน ง ถ า ไม มี ผู ดํ า รงตํ า แหน ง
ปลัดเทศบาลหรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองปลัดเทศบาลปฏิบัติหนาที่แทน และเลขานุการสภา
เทศบาลมี อํ า นาจหน า ที่ นั ด ประชุ ม สภาเทศบาลตามคํ า สั่ ง ของประธานสภาเทศบาล เมื่ อ ข อ เท็ จ จริ ง
ปรากฏวา นาย ธ. ตําแหน งปลัดเทศบาลซึ่งเปนเลขานุการสภาเทศบาลโดยตําแหนงและมีอํานาจหนาที่
นัด ประชุ มสภาเทศบาลตาม ข อ ๑๑ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยขอบังคับการประชุมสภา
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ไดลาปวยเนื่องจากทองเสียตั้งแตวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๗
มี กํ า หนด ๒ วั น จึ ง เป น กรณี ท่ี ป ลั ด เทศบาลเมื อ งบ า นบึ ง ไม อาจปฏิ บั ติ หน าที่ ในวั นดั งกล าวได ดั งนั้ น
นาย ส. ตํ าแหน งรองปลั ดเทศบาลเมื องบ านบึ ง จึ งต องเป นผู รั กษาราชการแทนและปฏิ บั ติ หน าที่ เ ลขานุ ก าร
สภาเทศบาลเมืองบานบึง และมีอํานาจลงนามในหนังสือ ที่ สภาฯ ๓๑/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๗
ได
_______________________________________
นายสมชาย เนื่องจํานงค ผูฟองคดี

ระหวาง

นายกเทศมนตรีเมืองบานบึง ที่ 1
ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี ที่ 2 ผูถูกฟองคดี

คดี นี้ ผู ฟ องคดี ฟ องว า ผู ฟ องคดี ดํ ารงตํ าแหน งสมาชิ กสภาเทศบาลเมื องบ านบึ ง ระหว า ง
ดํ า รงตํ า แหน ง อยู นั้ น ได มี ก ารประชุ มสภาเทศบาลเมื องบ า นบึ ง สมั ย วิ ส ามั ญ สมั ย ที่ ๓ ครั้ งที่ ๔ ประจํ าป
พ.ศ. ๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗ ไดพิจารณารางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ในวาระที่ สองและวาระที่ สามไมชอบดวยกฎหมาย เนื่องจากรางเทศบัญญัติดังกลาวเสนอโดย
ผู ถู กฟ องคดี ที่ ๑ แต เ มื่ อ ญั ต ติ ถึ ง วาระการประชุ ม ผูถู กฟ อ งคดีที่ ๑ ซึ่ง เป น ผูเ สนอญัต ติไ ม เข าร ว มประชุ ม
ถือวาญัตติดังกลาวถูกถอนไปโดยมิตองไดรับความยินยอมจากที่ประชุมสภาเทศบาลเมืองบานบึง ตามขอ ๕๖
ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยขอบังคับการประชุมสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ การที่สภาเทศบาล
เมืองบานบึงยังคงดําเนินการประชุมตอไปและมีมติรับรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ในวาระที่สองและวาระที่สาม จึงเปนมติที่ขัดแยงกับระเบียบดังกลาว รวมทั้งผูถูกฟองคดีที่ ๒
/ไดมีหนังสือ...
-๑๐๘-

ได มี ห นั ง สื อ ด ว นมาก ที่ มท ๐๘๒๒.๓/๑๘๓๗๐ ลงวั น ที่ ๑๑ ตุ ล าคม ๒๕๔๗ ถึ ง ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑
แจ ง ให ค วามเห็ น ชอบร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ า ยประจํ า ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ได ประกาศใชเ ทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ เมื่อวันที่
๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ จึงเปนการกระทําที่ขัดแยงกับขอ ๑๖ และขอ ๒๕ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย
วิธี การงบประมาณขององค กรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑ และมาตรา ๓ มาตรา ๒๙ มาตรา ๔๘ เตรส และ
มาตรา ๖๐ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ อีกทั้งการกระทําของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ถือเปนการใชอํานาจ
กํ า กั บ ดู แ ลการปกครองส ว นท อ งถิ่ น นอกเหนื อ บทบั ญ ญั ติ มาตรา ๒๘๓ วรรคสอง ของรั ฐ ธรรมนู ญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ผูฟองคดีไดมีหนังสือรองเรียนตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
และผูถูกฟองคดีที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ และวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๗ แตมิไดรับคําชี้แจงใด ๆ
ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ดังนี้
๑. ใหยกเลิกเทศบั ญญั ติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของเทศบาล
เมื อ งบ า นบึ ง ๒. ให เ พิ ก ถอนมติ ส ภาเทศบาลเมื อ งบ า นบึ ง สมั ย วิ ส ามั ญ สมั ย ที่ ๓ ครั้ ง ที่ ๔ เมื่ อ วั น ที่
๒๙ กั น ยายน ๒๕๔๗ ที่ เ ห็ น ชอบให ใช เ ทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
๓. ใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ชดใชหรือคืนเงินงบประมาณที่อนุมัติเบิกจายไปตามเทศบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจํ า ป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ๔. ให เพิ ก ถอนความเห็น ชอบของผู ถูก ฟอ งคดี ที่ ๒ ตามหนัง สื อ
ดวนมาก ที่ มท ๐๘๒๒.๓/๑๘๓๗๐ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗
ผูฟองคดีท้งั สองใหการปฏิเสธ ขอใหยกฟอง
ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษายกฟอง
ผู ฟ อ งคดี อุ ท ธรณ ขอศาลปกครองสู ง สุ ด ได โ ปรดพิ พ ากษากลั บ คํ า พิ พ ากษาของ
ศาลปกครองชั้นตน ลงโทษผูถูกฟองคดีทั้งสอง ตามฟองผูฟองคดีทุกประการ
ศาลปกครองสู ง สุ ด พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า คดี มี ป ระเด็ น ที่ จ ะต อ งวิ นิ จ ฉั ย ว า เทศบั ญ ญั ติ
งบประมาณรายจ า ยประจํ า ป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของเทศบาลเมืองบานบึง ชอบดวยกฎหมายหรือไม
หากเทศบั ญญั ติ งบประมาณรายจ ายประจํ าป ดั งกล าวไม ชอบด วยกฎหมาย ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ จะต อ งชดใช ห รื อ
คืนเงินงบประมาณที่อนุมัติเบิกจายไปแลวหรือไม เพียงใด
พิ เ คราะห แ ล ว เห็ น ว า ตามระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย ว า ด ว ยข อ บั ง คั บ การประชุ ม
สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ขอ ๔๓ วรรคสาม กําหนดวา ญัตติรางเทศบัญญัติงบประมาณจะพิจารณา ๓ วาระ
รวดเดี ย วไม ไ ด ข อ ๔๔ กํ า หนดว า ในการพิ จ ารณาญั ต ติ รา งเทศบั ญ ญั ติ ว าระที่ ห นึ่ ง ใหที่ ป ระชุม ปรึ ก ษา
ในหลั ก การแห ง ร า งเทศบั ญ ญั ติ และลงมติว าจะรั บ หลั กการแห งร างเทศบั ญญัติ น้ัน หรื อไม หากมี ส มาชิ ก
ประสงค จ ะอภิ ป ราย ห า มมิ ใ ห ล งมติ ก อนที่ สมาชิ กได อภิ ปรายในเรื่ องนั้ นพอสมควรแล ว ข อ ๔๕ วรรคหนึ่ ง
กําหนดว า ญัตติ รางเทศบัญญัติ ที่สภาเทศบาลลงมติรับ หลักการแลว ถาจะตองสงใหคณะกรรมการพิจ ารณา
ให ป ระธานสภาเทศบาลส งต นร างเทศบั ญญั ติ นั้ นไปให คณะกรรมการพิ จารณาโดยละเอี ยด และที่ ประชุ ม
จะต องกํ าหนดเวลาแปรญั ตติ ด วย วรรคสอง กําหนดวา ภายในเวลาที่สภาเทศบาลกําหนด คณะเทศมนตรีห รื อ
สมาชิกสภาเทศบาลผูใดเห็นควรจะแกไขเพิ่มเติมรางเทศบัญญัติก็ใหเสนอคําแปรญัตติลวงหนาเปนหนังสือ
โดยปกติ ใ ห แปรญั ต ติ เ ป น รายข อและเสนอต อประธานคณะกรรมการ ในกรณีที่ส มาชิก สภาเทศบาลเป น
ผูแปรญัตติจะตองมีสมาชิกรับรองตามความในขอ ๔๒ วรรคสี่ ขอ ๔๖ วรรคหนึ่ง กําหนดวา เมื่อคณะกรรมการ
ไดพิจารณาแลวจะตองเสนอรางเทศบัญญัตินั้นตามรางเดิมและตามที่มีการแกไขเพิ่มเติมพรอมทั้งรายงานและ
บันทึกความเห็นยื่นตอประธานสภาเทศบาล รายงานนั้นอยางนอยจะตองระบุวาไดมีหรือไมมีการแกไขเพิ่มเติม
ในตอนหรือขอใดบาง การแปรญัตติและมติของคณะกรรมการเกี่ยวดวยการแปรญัตตินั้นเปนประการใด และ
ใหประธานสภาเทศบาลสงสําเนารางรายงานนั้นแกสมาชิกสภาเทศบาล โดยปกติไมนอยกวาหนึ่งวันกอนวันนัด
/ประชุม...
-๑๐๙-

ประชุม เวนแตเปนการดวน ขอ ๔๗ วรรคหนึ่ง กําหนดวา ในการพิจารณารางเทศบัญญัติวาระที่สอง ใหปรึกษา


เรียงตามลําดับขอเฉพาะขอที่มีการแปรญัตติหรือที่คณะกรรมการแกไขเทานั้น เวนแตที่ประชุมจะไดลงมติ
เปนอยางอื่น ขอ ๔๘ วรรคหนึ่ง กําหนดวา ในการพิจารณารางเทศบัญญัติวาระที่สาม ใหที่ประชุมลงมติวา
จะให ตราเป นเทศบั ญญั ติ หรื อไม และวรรคสองกําหนดวา การพิจ ารณาในวาระนี้ไ มมีการอภิป ราย เวน แต
ที่ประชุมจะไดลงมติเปนอยางอื่น ขอ ๕๖ กําหนดวา ญัตติหรือคําแปรญัตติใดที่ถึงวาระพิจารณาในที่ประชุม
แลว ถาผูเสนอหรือผูแปรญัตติไมขออภิปราย หรือไมอยูในที่ประชุม ใหถือวาไดถอนญัตตินั้นแลว และขอ ๕๗
กํ า หนดว า ญั ต ติ ร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณให น ายกเทศมนตรี ยื่ น ต อ สภาเทศบาลตามแบบและวิ ธี ก าร
ภายในเวลาที่กําหนดไวในระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยวิธีการงบประมาณ คดีนี้ขอเท็จจริงรับฟงไดวา
ในการประชุ มสภาเทศบาลเมื องบ านบึ ง สมัย วิสามัญ สมัยที่ ๓ ครั้งที่ ๓ ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๗ เมื่อวัน ที่
๒๔ กั น ยายน ๒๕๔๗ นั้ น ผู ถูกฟองคดี ที่ ๑ เปน ผูเสนอญัตติรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในวาระที่ ห นึ่ง และไดเข ารว มประชุมดว ย โดยในการพิจ ารณารางเทศบัญญั ติ
วาระที่หนึ่งนี้ สภาเทศบาลเมืองบานบึงไดประชุมปรึกษาในหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณดังกลาว
และไดลงมติรับหลักการแหงรางเทศบัญญัติงบประมาณตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เสนอโดยมีมติเห็นชอบ ๑๖ เสียง
งดออกเสียง ๑ เสียง สภาเทศบาลเมืองบานบึงไดมีมติเห็นชอบใหกําหนดระยะเวลาการแปรญัตติไวเปนเวลา
หาวัน ตั้งแตวันที่ ๒๔ ถึงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗ ตอมา ในการประชุมสภาเทศบาลเมืองบานบึง สมัยวิสามัญ
สมัยที่ ๓ ครั้งที่ ๔ ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๗ เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗ ซึ่งเปนการพิจารณารางเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในวาระที่สองและวาระที่สาม ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มิได
เขารวมประชุมในครั้งนี้ดวย มีเพียงรองนายกเทศมนตรีเขารวมประชุมซึ่งเปนมูลเหตุใหผูฟองคดีกลาวอางวา
มติ สภาเทศบาลเมืองบ านบึงที่เห็นชอบให ใชเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
ไม ชอบด วยกฎหมาย โดยเห็ นว าผู ถู กฟ องคดี ที่ ๑ ซึ่ งเป นผู เสนอญั ตติ ไม ได เข าร วมประชุ มในวาระที่ สองและ
วาระที่ สาม จึ งถื อได ว าได ถอนมติ นั้ นแล ว ตามข อ ๕๖ ของระเบี ยบกระทรวงมหาดไทย วาดวยข อบั งคั บการประชุ ม
สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ นั้ น พิ จารณาแล วเห็ นว า หลั กการและเหตุ ผลที่ ระเบี ยบกระทรวงมหาดไทย ว าด วย
ข อบั งคั บ การประชุ มสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ข อ ๕๖ กํ า หนดให ผู เ สนอญั ต ติ แ ละผู แ ปรญั ต ติ ต อ งขอ
อภิ ป รายหรื อ ต อ งอยู ใ นที่ ป ระชุ ม มิ เ ช น นั้ น จะถื อ ว า ได ถ อนญั ต ติ นั้ น ก็ เ พราะว า ผู เ สนอญั ต ติ จ ะต อ งเป น
ผู อภิ ป รายแสดงหลั กการและเหตุ ผ ลของญัตติที่ตนเสนอต อสภา รวมตลอดจนต องตอบข ออภิ ปรายซักถามของ
สมาชิ กสภาเทศบาลที่ขออภิ ป รายทุ กคน สวนผูเสนอขอแปรญัตติก็มีห นาที่ตองอยูในที่ประชุมเพื่ออภิป ราย
ข อ ที่ ต นเสนอขอแปรญั ต ติ หากผู เ สนอญั ต ติ ห รื อ ผู แ ปรญั ต ติ ไ ม ข ออภิ ป รายหรื อ ไม อ ยู ใ นที่ ป ระชุ ม แล ว
ที่ป ระชุมย อมไม อาจรั บ ฟงเหตุผ ลในการเสนอญัตติห รือคําแปรญัตติได ซึ่งถือวาผูเสนอไมติดใจที่จ ะเสนอ
ญั ต ติ ห รื อ แปรญั ต ติ กรณี จึ ง ถื อได ว า เป น การถอนญัต ติ แตก รณี ของผูถู กฟ องคดีท่ี ๑ ซึ่ง เป น ผู เ สนอญั ต ติ
รางเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในวาระที่หนึ่งตอสภาเทศบาลเมืองบานบึง
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูเสนอญัตติดังกลาวไดเขารวมประชุมและยังไดแถลงหลักการและเหตุผลในการเสนอญัตติ
ดังกล า วต อที่ ป ระชุ มจนกระทั่ งที่ป ระชุ มไดมีมติเห็น ชอบหลักการของรางเทศบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งเปนไปตามขอ ๔๔ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยขอบังคับ
การประชุ มสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ดังกลาว เมื่อผานขั้นตอนในการพิจารณารางเทศบัญญัติวาระที่หนึ่งแลว
ในการพิ จ ารณาร า งเทศบั ญ ญั ติ ว าระที่ ส องนั้ น ข อ ๔๗ ได กํ า หนดให ปรึ กษาเรี ยงตามลํ าดั บข อเฉพาะที่ มี
การแปรญั ตติ หรื อที่ คณะกรรมการแก ไขเท านั้ น การจะพิ จารณาและเสนอคํ าแปรญั ตติ นั้ นผู เ สนอคํ า แปรญั ต ติ
จะต อ งอยู ใ นที่ ป ระชุ ม หากผู เ สนอคํ า แปรญั ต ติ นั้ น มิ ไ ด อ ยู ใ นที่ ป ระชุ ม ก็ จ ะหมดสิ ท ธิ ที่ จ ะแปรญั ต ติ ห รื อ
พิจารณาคําแปรญัตติอันถือวาเปนการถอนญัตติตามขอ ๕๖ ดังกลาว เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาการพิจารณา
ในวาระที่สอง ในการประชุมสภาเทศบาลเมืองบานบึง สมัยวิสามัญ สมัยที่ ๓ ครั้งที่ ๔ ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๗ เมื่อวันที่
/ ๒๙ กันยายน...
-๑๑๐-

๒๙ กั นยายน ๒๕๔๗ นั้ น คณะกรรมการแปรญัตติและตรวจรางเทศบัญญัติดังกลาวไดชี้แจงตอที่ประชุมวาไมมี


สมาชิกสภาเทศบาลทานใดยื่นแปรญัตติ ไมมีการแกไขและใหคงไวตามรางเดิม ที่ประชุมจึงไดใหความเห็นชอบ
ในวาระที่ สองด วยคะแนน ๑๕ เสี ยง งดออกเสี ยง ๑ เสี ยง เมื่ อผู ถู กฟ องคดี ที่ ๑ มิ ไ ด เ สนอญั ต ติ ห รื อ เสนอ
คํ า แปรญั ต ติ ไ ว และไม อ ยู ร ว มประชุ ม จึ งมี ผ ลเพีย งหมดสิทธิ ที่จ ะแปรญัต ติห รื อพิ จ ารณาคํา แปรญั ตติ ของ
สมาชิกสภาเทศบาลผูที่เสนอแปรญัตติไวเทานั้น มิไดหมายความวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดถอนญัตติรางเทศบัญญัติ
งบประมาณดั ง กล า ว ตามที่ ผู ฟอ งคดี ก ลา วอ างแต อย างใด และในการพิ จารณาวาระที่ สามนั้ น ขอ ๔๘ ของ
ระเบี ยบดั งกล าว ได กําหนดให ที่ป ระชุ มลงมติไดแตเพีย งวาจะใหตรารางเทศบัญญัติเปน เทศบัญญัติหรือไม
ซึ่ งการพิ จารณาในวาระนี้ จะไม มี การอภิ ปราย เว นแต ที่ ประชุ มจะได ลงมติ เป นอย างอื่ นซึ่ งที่ ป ระชุ ม ก็ ไ ด ใ ห
ความเห็นชอบดวยคะแนน ๑๕ เสียง งดออกเสียง ๑ เสียง การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เสนอญัตติรางเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดอยูในที่ประชุมจนกระทั่งผานการพิจารณาในวาระที่หนึ่ง
ในขั้ น รั บ หลั กการและต อมาไม อยู ใ นที่ ป ระชุ มในวาระที่ ส องและวาระที่ ส าม ซึ่ งเป น ขั้ น ตอนการพิ จารณา
ร างเทศบั ญญั ติ ของสภาเทศบาลภายหลั งจากที่ ประชุ มสภาเทศบาลรั บหลั กการแล ว จึ ง ไม ขั ด หรื อ แย ง กั บ
ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย ว า ด ว ยข อ บั ง คั บ การประชุ ม สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แต อ ย า งใด เมื่ อ
สภาเทศบาลเมื อ งบ า นบึ ง มี ม ติ ใ ห ค วามเห็ น ชอบร า งเทศบั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ ายประจํ าป งบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดใหความเห็นชอบ และผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงนามประกาศใชจึงเปนไปตามขอ ๑๖
และขอ ๒๕ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยวิธีการงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑
มาตรา ๖๒ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และมาตรา ๒๘๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุ ทธศั กราช ๒๕๔๐ ซึ่ ง ใช บั ง คั บ อยู ใ นขณะนั้ น แล ว เทศบั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ ายประจํ าป ง บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ ของเทศบาลเมืองบานบึงจึงชอบดวยกฎหมาย จึงไมมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยวาผูถูกฟองคดีที่ ๑
ตองชดใชหรือคืนเงินงบประมาณที่อนุมัติเบิกจายตามเทศบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๘ หรือไมแตอยางใด อุทธรณของผูฟองคดีประเด็นนี้ฟงไมขึ้น
สํ าหรั บกรณี ที่ ผู ฟ องคดี อุ ทธรณ ว า นาย ส. ตํ าแหน งรองปลั ดเทศบาลมิ ไ ด เ ป น เลขานุ ก าร
สภาเทศบาล ไม มี อํ า นาจลงชื่ อ ในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ตามหนั ง สื อ ที่ สภาฯ ๓๑/๒๕๔๗ ลงวั น ที่
๒๑ กันยายน ๒๕๔๗ นั้น เห็นวา ตามประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดชลบุรี เรื่อง หลักเกณฑ
และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ ขอ ๒๖๙ วรรคหนึ่ง
กํ า หนดว า ในกรณี ที่ ไ ม มี ป ลั ด เทศบาล หรื อมี แ ต ไม ส ามารถปฏิ บั ติ ร าชการได ให ร องปลั ดเทศบาลเป น
ผู รั กษาราชการแทน ถ า มี ร องปลั ด เทศบาลหลายคน ให น ายกเทศมนตรี แ ต ง ตั้ ง รองปลั ด เทศบาลคนหนึ่ ง
เป น ผู รั ก ษาราชการแทน ถ า ไม มี ผู ดํ า รงตํ าแหน ง รองปลั ดเทศบาล หรื อ มี แต ไม ส ามารถปฏิ บั ติ ราชการได
ให นายกเทศมนตรี แต งตั้ งพนั กงานเทศบาลในเทศบาลซึ่ งดํ ารงตํ าแหน งไม ต่ํ ากว าผู อํ า นวยการกองหรื อ
หั ว หน า ส ว นราชการที่ เ รี ย กชื่ อ อย า งอื่ น เป น ผู รั ก ษาราชการแทน และข อ ๒๗๑ วรรคหนึ่ ง กํ าหนดว า ให
ผู รั กษาราชการแทนมี อํานาจหน าที่ เช นเดี ยวกั บผู ซึ่ งตนแทน และตามระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย ว าด ว ย
ขอบังคับการประชุมสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ขอ ๑๑ กําหนดใหปลัดเทศบาลเปนเลขานุการสภาเทศบาล
โดยตํ า แหน ง ถ า ไม มี ผู ดํ า รงตํ า แหน ง ปลั ด เทศบาลหรื อ มี แ ต ไ ม อ าจปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด ให ร องปลั ด เทศบาล
ปฏิ บั ติ ห น า ที่ แ ทน และเลขานุ ก ารสภาเทศบาลมี อํ า นาจหน า ที่ นั ด ประชุ ม สภาเทศบาลตามคํ า สั่ ง ของ
ประธานสภาเทศบาล เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา นาย ธ. ตําแหนงปลัดเทศบาลซึ่งเปนเลขานุการสภาเทศบาล
โดยตํ า แหน งและมี อํ า นาจหน า ที่ นั ด ประชุ ม สภาเทศบาลตาม ข อ ๑๑ ของระเบี ย บกระทรวงมหาดไทย
วาดวยขอบังคับการประชุมสภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ไดลาปวยเนื่องจากทองเสียตั้งแตวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
ถึ งวั น ที่ ๒๑ กั น ยายน ๒๕๔๗ มี กํา หนด ๒ วัน จึ งเปน กรณี ท่ีป ลั ดเทศบาลเมื องบ านบึง ไมอาจปฏิบั ติหนาที่
/ในวัน. .
-๑๑๑-

ในวั นดั งกล าวได ดั งนั้ น นาย ส. ตํ าแหน งรองปลั ดเทศบาลเมื องบ านบึ ง จึ งต องเป นผู รั กษาราชการแทนและปฏิ บั ติ
หน าที่ เ ลขานุ การสภาเทศบาลเมื อ งบ า นบึง และมี อํานาจลงนามในหนังสื อ ที่ สภาฯ ๓๑/๒๕๔๗ ลงวัน ที่
๒๑ กันยายน ๒๕๔๗ ได อุทธรณของผูฟองคดีประเด็นนี้ฟงไมขึ้น
กรณีที่ผูฟองคดีอุทธรณวา คณะกรรมการสามัญตรวจรางเทศบัญญัติเสนอรางเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ขัดแยงกับขอ ๔๖ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว า ด ว ยข อ บั ง คั บ การประชุ ม สภาเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่ กํ า หนดให ป ระธานสภาเทศบาลต อ งส ง สํ า เนา
รางรายงานวาไดมีการแกไขรางเทศบัญญัติหรือไมประการใด ใหแกสมาชิกสภาเทศบาล โดยปกติไมนอยกวา
หนึ่งวั นกอนวัน นัดประชุม เว นแตเ ปนการดวนนั้น เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีไดรับ รางเทศบัญญัติ
ดั ง กล า วในวั น ประชุ ม และไม ป รากฏว า ผู ฟ อ งคดี ไ ด โ ต แ ย ง กรณี ดั ง กล า วแต อ ย า งใด จนกระทั่ ง ที่ ป ระชุ ม
สภาเทศบาลเมืองบานบึงมีมติรับหลักการในวาระที่หนึ่งแลว ดังนั้น แมผูฟองคดีจะไมไดรับรายงานขางตน
จากประธานสภาเทศบาลเป น การล ว งหน า ไม น อ ยกว า หนึ่ ง วั น ก อ นวั น นั ด ประชุ ม ตามข อ ๔๖ ของ
ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยดั งกล า วก็ ตาม แตก็ไมรายแรงถึงขนาดทําใหการพิจ าณาลงมติในวาระที่ส อง
และวาระที่ ส ามต อ งเสี ย ไปแต อ ย า งใดเนื่ อ งจากไม ป รากฏว า มี ส มาชิ ก สภาคนใดได เ สนอขอแปรญั ต ติ
รางเทศบัญญัติงบประมาณดังกลาวไวแตอยางใด อุทธรณของผูฟองคดีในประเด็นนี้ฟงไมขึ้น
กรณี ที่ ผู ฟ อ งคดี อุ ท ธรณ ว า การประชุ ม สภาเทศบาลเมื อ งบ า นบึ ง สมั ย วิ ส ามั ญ สมั ย ที่ ๓
ครั้ ง ที่ ๔ เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ กั น ยายน ๒๕๔๗ ในการพิ จ ารณาระเบี ย บวาระที่ ส องนั้ น ประธานสภาฯ ได ใ ห
นาย ย. สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการสามัญตรวจรางเทศบัญญัติ ซึ่งไมใช
ผู เ สนอญั ต ติ เป น เพี ย งคณะกรรมการฯ ที่ ห มดหน า ที่ พิ จ ารณาร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณดั ง กล า วแล ว
ชี้ แ จงผลการแปรญั ต ติ ต อสภาเทศบาลเมื องบ านบึ ง จึ งเป น การข ามขั้ น ตอนและไม ชอบด ว ยกฎหมายนั้ น
เห็ น ว า การชี้ แ จงของนาย ย. เป น การชี้ แ จงในฐานะกรรมการและเลขานุ ก ารคณะกรรมการสามั ญตรวจ
ร างเทศบั ญญั ติ งบประมาณรายจ ายประจํ าป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และเป นการชี้ แจงให ที่ ประชุ มทราบ
ผลการพิ จารณาร างเทศบั ญญั ติ ดั งกล าวว าไม มีสมาชิกทานใดขอแปรญัต ติ ไมมีก ารแกไข ให คงไวตามรา งเดิ ม
การชี้แจงดังกลาวจึงสามารถกระทําไดไมเปนการกระทําผิดขอบังคับการประชุมและไมเปนการประชุมหารือ
ในเรื่องนอกเหนืออํา นาจหนาที่ หรือฝาฝนกฎหมายอันเปนการตองหามตามที่ผูฟองคดีอุทธรณแตอยางใด
อุทธรณของผูฟองคดีประเด็นนี้ฟงไมขึ้น
ส ว นกรณี ที่ ผู ฟ อ งคดี อุ ท ธรณ ว า นาย ป. รองนายกเทศมนตรี ไม มี อํ า นาจพิ จ ารณา
ร างเทศบั ญญั ติ ซึ่ งรวมถึ งร างเทศบั ญญั ติ งบประมาณด านการเงิ นการคลั งเช น เดี ย วกั บ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ นั้ น
เห็นวา มาตรา ๗๑ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ บัญญัติใหการจัดระเบียบ
การปกครองเทศบาลใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น ซึ่งมาตรา ๔๘ วีสติ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่ งใชบั งคับ อยูในขณะนั้น บัญญัติวา การที่นายกเทศมนตรีไมอาจปฏิบัติร าชการได
ใหรองนายกเทศมนตรีตามลําดับที่นายกเทศมนตรีจัดไวเปนผูรักษาราชการแทน เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ในวันที่
๒๙ กั นยายน ๒๕๔๗ ซึ่ งเป นวั นประชุ มสภาเทศบาลเมื องบ านบึ ง สมั ย วิ ส ามั ญ สมั ย ที่ ๓ ครั้ ง ที่ ๔ ประจํ า ป
พ.ศ. ๒๕๔๗ และต อ งพิ จ ารณาร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณรายจ า ยประจํ า ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘
ในวาระที่สองและวาระที่สามนั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไปราชการตามคําสั่งเทศบาลเมืองบานบึง ที่ ๓๗๑/๒๕๔๗
ลงวั น ที่ ๒๘ กั น ยายน ๒๕๔๗ รองนายกเทศมนตรี ที่ ผู ถู กฟ องคดี ที่ ๑ จั ดลํ าดั บไว เป นผู รั กษาราชการแทน
ยอมมีอํานาจหนาที่เชนเดียวผูซึ่งตนแทน แมผูฟองคดีจะอางวาการไปราชการดังกลาวมีขอสงสัยหลายประการก็ตาม
แต ก็ไม เป นเหตุ ให นาย ป. รองนายกเทศมนตรี ที่ไ ดเ ขา ประชุ มสภาเทศบาลเมื องบา นบึ งแทนผูถู กฟ องคดี ท่ี ๑
จะไม ส ามารถพิ จ ารณาร า งเทศบั ญ ญั ติ ซึ่ ง รวมถึ ง ร า งเทศบั ญ ญั ติ ง บประมาณด า นการเงิ น การคลั ง ตามที่
ผูฟองคดีอุทธรณได ดังนั้น การที่สภาเทศบาลเมืองบานบึงมีมติใหความเห็นชอบรางเทศบัญญัติงบประมาณ
/รายจาย...
-๑๑๒-

รายจ า ยประจํ า ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และการที่ ผู ถู กฟ องคดี ท่ี ๒ ได ให ความเห็ นชอบร างเทศบั ญญั ติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ ดังกลาว จึงเปนการชอบดวยกฎหมายแลว อุทธรณของ
ผูฟองคดีจึงฟงไมขึ้น การที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษายกฟอง ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๑๑๓-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 176/๒๕๕4
ป.พ.พ. สัญญาจางทําของ (มาตรา ๕๘๗)
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔))
การที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ซึ่ ง เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบโครงการจดทะเบี ย นแรงงานต า งด า ว
ตามนโยบายของรัฐบาลไดดําเนินการจัดจางโดยวิธีพิเศษเพื่อคัดเลือกผูประกอบการเขารวมดําเนินการ
ในโครงการดั ง กล า ว ในเบื้ อ งต น คณะกรรมการจั ด จ า งโดยวิ ธี พิ เ ศษได พิ จ ารณาข อ เสนอของ
ผูฟองคดีแลวมีความประสงคที่จะคัดเลือกผูฟองคดีใหเปนผูดําเนินการ โดยในระหวางการเตรียมเสนอให
รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงแรงงานและสวั ส ดิ ก ารสั ง คมพิ จ ารณาอนุ มั ติ สั่ ง จ า งนั้ น ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒
ไดใหผูฟองคดีดําเนินการติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอรในแตละจุดกอนการเริ่มดําเนินการจดทะเบียนแรงงานตางดาว
ในวั นที่ ๒๔ กั นยายน ๒๕๔๔ นอกจากนี้ ในการไต สวนในชั้ นพิ จารณาคํ าฟ องของศาลปกครองชั้ นต น
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๔ ได ใ ห ถ อ ยคํ า ว า ผู ฟ อ งคดี เ ป น ผู เ สนอราคาและชี้ แ จงรายละเอี ย ดการดํ า เนิ น การ
เป น ที่ น าเชื่ อถื อ คณะกรรมการจั ด จ างฯ จึงพิจ ารณาตกลงใหผูฟองคดีเ ปน ผูไ ดรับการคัด เลือกใหเ ปน
ผู รั บ จ า งครั้ ง นี้ แต ยั ง มิ ไ ด ทํ า สั ญ ญาเพราะผู ฟ อ งคดี ยั ง มิ ไ ด จั ด ส ง เอกสารตามที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ร อ งขอ
แต ก็ ถื อ ได ว า สั ญ ญาเกิ ด ขึ้ น แล ว เนื่ อ งจากเป น สั ญ ญาจ า งทํ า ของ พฤติ ก ารณ ดั ง กล า วจึ ง เชื่ อ ได ว า
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ได ต กลงว า จ า งผู ฟ อ งคดี ใ ห ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า บั ต รอนุ ญ าตทํ า งานแรงงานต า งด า ว
อั น มี ลั ก ษณะเป น สั ญ ญาจ า งทํ า ของตามนั ย มาตรา ๕๘๗ แห ง ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
ซึ่งไมจําตองทําสัญญาเปนหนังสือแตอยางใด ที่ผูถูกฟองคดีทั้งสี่อางวาตองมีการทําสัญญาเปนหนังสือ
จึงไมอาจรับฟงได และโดยที่สัญญาดังกลาวมีคูสัญญาฝายหนึ่งเปนหนวยงานทางปกครองไดตกลงวาจาง
ผู ฟ อ งคดี จั ด ทํ า บั ต รอนุ ญ าตทํ า งานแรงงานต า งด า วซึ่ ง เป น สั ญ ญาที่ ใ ห จั ด ทํ า บริ ก ารสาธารณะ
สั ญ ญานี้ จึ ง มี ลั ก ษณะเป น สั ญ ญาทางปกครอง เมื่ อ ผู ฟ อ งคดี แ ละผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ มี ข อ โต แ ย ง
เกี่ ย วกั บ สั ญ ญาทางปกครองดั ง กล า ว คดี นี้ จึ ง เป น คดี พิ พ าทเกี่ ย วกั บ สั ญ ญาทางปกครองตาม
มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
อีกดวย
_______________________________________
บริษัท ที.โอ. กราฟฟค จํากัด ผูฟองคดี

ระหวาง

กระทรวงแรงงาน (กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เดิม) ที่ 1


กับพวกรวม 4 คน ผูถูกฟองคดี

คดีนี้ผูฟองคดีฟองและเพิ่มเติมคําฟองวา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดดําเนินการจัดจางโดยวิธีพิเศษ


ตามโครงการจั ด ทํ า บั ต รประจํ า ตั ว แรงงานต า งด า วตามที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ เสนอโครงการขออนุ มั ติ
ตอคณะรัฐ มนตรี และคณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบเมื่อวัน ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๔ โดยมีหนังสือเชิญชวนให
ผูฟองคดีและผูประกอบการรายอื่นยื่นขอเสนอรับจางทําการผลิตบัตรอนุญาตทํางานตางดาวในรูปแบบของ
บั ต รพลาสติ ก พร อ มรายละเอี ย ดคุ ณลั กษณะการจ างทํ าบั ตรอนุ ญาตทํ างานต างด าวผิ ดกฎหมาย แนบมา
พร อมหนั งสื อเชิ ญ ชวนดั ง กล า วด ว ย โดยกํ าหนดยื่ นข อเสนอในวั นที่ ๑๗ กั นยายน ๒๕๔๔ โดยผู ฟ องคดี ได นํ า
/ใบเสนอราคา...
-๑๑๔-

ใบเสนอราคา พรอมรายละเอียดคุณลักษณะ ตัวอยางโปรแกรมคอมพิวเตอร ตัวอยางบัตรประจําตัวแรงงาน


ต างด าวและแผนดํ าเนิ นงานไปยื่ นตามกํ าหนด และในวันเดียวกันนั้ นผู ถู กฟ องคดีที่ ๔ ไดเ ปด ซองเสนอราคา
ปรากฏว า ผู ฟอ งคดี ได รั บ คั ด เลื อกให เ ป น ผูรั บ จาง จากนั้น ผู ถูกฟ องคดีท่ี ๔ ได กําหนดให ผูฟองคดีเ ตรีย ม
ความพร อมในการดํ า เนิ น งานทั้ งหมดทั่ ว ประเทศ โดยเริ่มงานในวัน ที่ ๒๔ กัน ยายน ๒๕๔๔ ระหวางการ
เตรี ย มงานดั ง กล า ว ผู ถู กฟ องคดี ที่ ๒ ได มี การจั ดการอบรมเจ าหน าที่ แรงงานจั งหวั ดทั่ วประเทศในวั นที่
๒๐ กันยายน ๒๕๔๔ ซึ่งผูฟองคดีไดไปทําการสาธิตเกี่ยวกับวิธีและขั้นตอนการทํางานและการจัดสถานที่รวมทั้ง
การติดตั้งระบบคอมพิวเตอรแกเจาหนาที่แรงงานที่เขาประชุมทราบ ตอมา วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๔ ผูฟองคดี
ได ทํ า การสาธิ ต วิ ธี ก ารออกบั ต รประจํ า ตัว คนต างด าวใหผู ถูกฟ องคดีที่ ๒ และเจ าหน าที่ค นอื่ น ๆ รวมทั้ ง
สื่อมวลชนไดชม โดยไมปรากฏวามีการทักทวงวิธีดําเนินงาน วันเริ่มตนและสิ้นสุดใบอนุญาตแรงงานตางดาว
ที่ กํ า หนดไว แ ล ว แต อ ย า งใด และในระหว า งวั น ที่ ๒๐ ถึ ง วั น ที่ ๒๒ กั น ยายน ๒๕๔๔ ผู ฟ อ งคดี ไ ด จั ด ส ง
พนั ก งาน อุ ป กรณ ค อมพิ ว เตอร แ ละเครื่ อ งมื อ ออกไปในจั ง หวั ด ต า ง ๆ และจั ด เตรี ย มสถานที่ ดํ า เนิ น การ
ในกรุงเทพฯ จํานวน ๔ จุด ปรากฏวาเจาหนาที่แรงงานจังหวัดบางจังหวัดไมอยูรอรับอุปกรณคอมพิวเตอร
และเครื่องมือตางๆ เพราะเปนวันหยุดราชการ บางจังหวัดก็มิไดจัดสถานที่ติดตั้งคอมพิวเตอรตามที่ไดแจง
ไว ใ นการประชุ ม ชี้ แ จง ทํ า ให ผู ฟ อ งคดี ไ ม อ าจติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ค อมพิ ว เตอร ใ ห เ รี ย บร อ ยได ต อ มาวั น ที่
๒๓ กันยายน ๒๕๔๔ เวลาประมาณ ๑๙ นาฬิกา ผูฟองคดีไดรับแจงจากนาย ก. คณะทํางานผูรับ ผิดชอบโครงการ
และนาย ป. ผูรับผิดชอบโครงการในฐานะผูอํานวยการศูนยบริการคอมพิวเตอรในสังกัดของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ใหแกไข
ข อมู ลระบบโปรแกรมคอมพิ วเตอร โดยให เปลี่ ยนแปลงวั นที่ ออกบั ตรประจํ าตั วแรงงานต า งด า วจากวั น ที่
๒๔ กั น ยายน ๒๕๔๔ ไปเป น วั น ที่ ๒๖ กั น ยายน ๒๕๔๔ และให สิ้ น สุ ด วั น ที่ ๒๕ มี น าคม ๒๕๔๕
ทําใหตองทําการจัดระบบขอมูลโปรแกรมคอมพิวเตอรใหมทั้งหมด ตอมา ในวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๑
และผู ถู กฟ องคดี ที่ ๒ ได เริ่ มจั ดให แรงงานต างด าวมารายงานตั วและจั ด ทํ า บั ต รประจํ าตั วแรงงานต างด าว
ตามที่ ประกาศไว ปรากฏว ามี แรงงานต างด าวมาขอจดทะเบี ยนจํ านวนมากเกิ น กว า ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ และ
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดประเมินไว ประกอบกับการจัดสถานที่ที่ไมเหมาะสมของเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑
และผูถูกฟ องคดี ที่ ๒ และการทํา ความเขาใจระหวางเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีท่ี ๒
กับเจาหนาที่ของผูฟองคดียังไมตรงกัน แตผูฟองคดีก็ไดดําเนินการแกไขระบบงานใหรองรับกับแรงงานตางดาว
จํานวนมากที่มาขึ้นทะเบียนแลว ตอมา วัน ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๔๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดสั่งการใหผูฟองคดี
หยุดการดําเนินงานและสงมอบงานและอุปกรณใหกับผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ทั้งหมด จึงทําให
ผูฟองคดีไมอาจเขาไปทํางานตามสัญญาได ซึ่งผูฟองคดีทราบวาไดมีการจัดใหบริษัทเอกชนรายใหมทํางานแทน
ผูฟองคดี แล ว การกระทํ า ของผูถูกฟองคดีทั้งสี่จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดว ยกฎหมายและเงื่อนไขตามที่
กําหนดไวในคุณลักษณะ และทําใหเกิดความลาชาผิดพลาดในการยื่นซองประมูล อันเปนการกระทําผิดสัญญา
และกระทําละเมิดตอผูฟองคดีทําใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย
ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ดังนี้
๑. ให ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ ง สี่ ร ว มกั น หรื อ แทนกั น ชํ า ระค า เสี ย หายสํ า หรั บ ค า ใช จ า ยที่ ลงทุ นไป
เปนเงินจํานวน ๑๐,๕๙๘,๑๕๐.๕๓ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟอง
เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น
๒. ให ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ ง สี่ ร ว มกั น หรื อ แทนกั น ชํ า ระค า จ า งที่ ค า งจ า ยในระหว า งวั น ที่
๒๔ ถึงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๔ เปนเงินจํานวน ๖,๘๑๗,๗๙๓ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
ของตนเงินดังกลาว นับแตวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น
๓. ให ผู ถูกฟ องคดี ทั้งสี่ ร วมกันหรือแทนกั นชํ าระคาขาดกํ าไรหรื อค าขาดผลประโยชน เป น เงิ น
จํา นวน ๔๓,๐๗๖,๓๑๖ บาท พรอมดอกเบี้ย ในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตน เงินดังกลาว นับแตวัน ฟอง
/เปนตนไป...
-๑๑๕-

เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น
๔. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่รวมกันหรือแทนกันชําระคาธรรมเนียมศาลและคาทนายความแทน
ผูฟองคดีดวย
ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ใหการปฏิเสธ ขอใหยกฟอง
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาให ผู ถู กฟ องคดี ที่ ๒ ชํ าระเงิ นให แก ผู ฟ องคดี จํ านวน
๑,๖๗๘,๒๐๐ บาท พร อมดอกเบี้ยในอั ตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจํานวน ๑,๖๗๘,๒๐๐ บาท นับแตวันฟอง
เป น ต น ไปจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ ทั้ ง นี้ ให ชํ า ระให แ ล ว เสร็ จ ภายใน ๖๐ วั น นั บ แต วั น ที่ ค ดี ถึ ง ที่ สุ ด และ
ให คื นค าธรรมเนี ยมศาลบางส ว นตามส วนของการชนะคดี จํ านวน ๕,๕๔๘.๔๗ บาท แก ผู ฟ องคดี ยกฟ อ ง
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ คําขออื่นนอกจากนี้ใหยก
ผูฟองคดีอุทธรณ ขอใหศาลปกครองสูงสุดมีคําพิพากษาแกคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน
เปนใหผูถูกฟองคดีชดใชเงินแกผูฟองคดีตามคําขอทายคําฟองเต็มจํานวนดวย
ศาลปกครองสู ง สุ ด พิ จ ารณาคํ า อุ ท ธรณ ข องผู ฟ อ งคดี แ ละผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ แล ว เห็ น ว า
คดี มี ป ระเด็ น ที่ ต อ งวิ นิ จ ฉั ย ว า ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ ง สี่ ต อ งรั บ ผิ ด ชดใช ค า จ า งและค า เสี ย หายตามสั ญ ญาจ า ง
ทําบัตรอนุญาตทํางานแรงงานตางดาวใหแกผูฟอ งคดีหรือไม เพียงใด
กรณีมีประเด็นที่จะตองพิจารณากอนวา ผูถูกฟองคดีทั้งสี่กระทําผิดสัญญาจางทําบัตรอนุญาต
ทํางานแรงงานตางดาวหรือไม
พิ เ คราะห แ ล ว เห็ น ว า คดี นี้ สื บ เนื่ อ งมาจากการที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ซึ่ ง เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบ
โครงการจดทะเบี ย นแรงงานต า งด า วตามนโยบายของรั ฐ บาลได ดํ า เนิ น การจั ด จ า งโดยวิ ธี พิ เ ศษเพื่ อ
คัดเลือกผูประกอบการเขารวมดําเนินการในโครงการดังกลาว ในเบื้องตนคณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ
ได พิ จ ารณาข อ เสนอของผู ฟ อ งคดี แ ล ว มี ค วามประสงค ที่จ ะคั ดเลื อ กผู ฟ อ งคดี ใ ห เป น ผู ดํา เนิ น การ โดยใน
ระหวางการเตรียมเสนอใหรั ฐมนตรีว าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมพิจารณาอนุมัติสั่งจางนั้น
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ได ใ ห ผู ฟ อ งคดี ดํ าเนิ นการติ ดตั้ งอุ ปกรณ คอมพิ วเตอร ในแต ละจุ ดก อนการเริ่ มดํ าเนิ นการ
จดทะเบี ยนแรงงานต างด าวในวั นที่ ๒๔ กั นยายน ๒๕๔๔ นอกจากนี้ ในการไต สวนในชั้ นพิ จารณาคํ าฟ องของ
ศาลปกครองชั้ นต น ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๔ ได ใ ห ถ อ ยคํ า ว า ผู ฟ อ งคดี เ ป น ผู เ สนอราคาและชี้ แ จงรายละเอี ย ด
การดําเนินการเปนที่นาเชื่อถือ คณะกรรมการจัดจางฯ จึงพิจารณาตกลงใหผูฟองคดีเปนผูไดรับการคัดเลือก
ให เ ป น ผู รั บ จ า งครั้ ง นี้ แต ยั ง มิ ไ ด ทํา สั ญ ญาเพราะผู ฟ อ งคดียั ง มิ ไ ด จั ด สง เอกสารตามที่ ผู ถู ก ฟ องคดี ร อ งขอ
แตก็ถือไดวาสัญญาเกิดขึ้นแลวเนื่องจากเปนสัญญาจางทําของ พฤติการณดังกลาวจึงเชื่อไดวา ผูถูกฟองคดีที่ ๒
ได ต กลงว า จ า งผู ฟ อ งคดี ใ ห ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า บั ต รอนุ ญ าตทํ า งานแรงงานต า งด า วอั น มี ลั ก ษณะเป น
สั ญ ญาจ า งทํ า ของตามนั ย มาตรา ๕๘๗ แห ง ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย ซึ่ ง ไม จํ า ต อ งทํ า สั ญ ญา
เป น หนั ง สื อ แต อ ย า งใด ที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ งสี่ อ างว าต อ งมีก ารทํ า สัญ ญาเป น หนั งสื อ จึง ไมอ าจรั บ ฟง ได และ
โดยที่สัญญาดังกลาวมีคูสัญญาฝายหนึ่งเปนหนวยงานทางปกครองไดตกลงวาจางผูฟองคดีจัดทําบัตรอนุญาต
ทํางานแรงงานตางดาวซึ่งเปนสัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะ สัญญานี้ จึงมีลักษณะเปนสัญญาทางปกครอง
เมื่ อ ผู ฟ อ งคดี แ ละผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ มี ข อ โต แ ย ง เกี่ ย วกั บ สั ญ ญาทางปกครองดั ง กล า ว คดี นี้ จึ ง เป น
คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
และวิ ธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อีกดวย เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีไดเสนอรูปแบบการ
จัดทําบัตรอนุญาตทํางานแรงงานตางดาวเปน ๓ รูปแบบ คือ รูปแบบการจัดวางในหนวยใหญ (สามารถรับ
จํานวนผูลงทะเบียนได ๑,๐๐๐ – ๑,๕๐๐ คน/วัน) รูปแบบการจัดวางในสวนภูมิภาค ๑ (สามารถรับจํานวน
ผู ล งทะเบี ย นได ๓๐๐ – ๔๐๐ คน/วั น ) และรู ป แบบการจั ด วางในส ว นภู มิ ภ าค ๒ (สามารถรั บ จํ า นวน
ผูลงทะเบียนได ๑๕๐ – ๒๐๐ คน/วัน) แตหลังจากผูฟองคดีไดดําเนินการจดทะเบียนแรงงานตางดาวในวันที่
/๒๔ กันยายน...
-๑๑๖-

๒๔ กันยายน ๒๕๔๔ แลว ผูฟองคดีกลับไมสามารถดําเนินการจดทะเบียนใหเปนไปตามรูปแบบที่ผูฟองคดี


เสนอไวได ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไมใชผูกระทําผิดสัญญาและมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญากับผูฟองคดีได การที่
ผู ถูก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ได สั่ งให ผู ฟ องคดี ส ง มอบงานและหยุ ดดํ าเนิน การทั้ งหมดในวั น ที่ ๒๖ กัน ยายน ๒๕๔๔
อันเปนการบอกเลิกสัญญาโดยปริยาย กรณีจึงถือไดวา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดบอกเลิกสัญญาตอผูฟองคดีโดยชอบแลว
ส ว นผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๑ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๓ และผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๔ ไม ใ ช คู สั ญ ญา จึ ง ไม มี ข อ โต แ ย ง เกี่ ย วกั บ
สัญญาทางปกครองดังกลาว ผูฟองคดีจึงไมมีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ และผูถูกฟองคดีที่ ๔
ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มี ก รณี จ ะต อ งพิ จ ารณาประเด็ น ต อ ไปว า ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ต อ งรั บ ผิ ด ชดใช ค า จ า งและ
คาเสียหายตามฟองใหแกผูฟองคดีหรือไม เพียงใด
พิเ คราะหแลว เห็ นว า เมื่อไดวินิจฉัยแลว วาผูถูกฟองคดีที่ ๒ บอกเลิกสัญญาโดยชอบแลว
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไมตองชดใชคาเสียหายใดๆ ใหแกผูฟองคดี แตอยางไรก็ตาม โดยที่มาตรา ๓๙๑ วรรคหนึ่ง
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิ ชย บัญญัติวา เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไดใชสิทธิเลิกสัญญาแลว คูสัญญา
แต ล ะฝ า ยจํ า ต อ งให อี ก ฝ า ยหนึ่ ง ได ก ลั บ คื น สู ฐ านะดั ง ที่ เ ป น อยู เ ดิ ม แต ทั้ ง นี้ จ ะให เ ป น ที่ เ สื่ อ มเสี ย แก สิ ท ธิ
ของบุคคลภายนอกหาไดไม และวรรคสาม บัญญัติวา สวนที่เปนการงานอันไดกระทําใหและเปนการยอมใหใช
ทรัพยนั้ น การที่ จะชดใช คืน ทา นใหทําไดดวยใชเงินตามควรคาแหงการนั้น ๆ หรือถาในสัญญามีกําหนดวา
ใหใชเงินตอบแทนก็ใหใชตามนั้น เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีไดดําเนินการจัดทําบัตรอนุญาตทํางาน
แรงงานต างด าวในวั นที่ ๒๔ กั น ยายน ๒๕๔๔ จํานวน ๑๐,๑๖๒ คน วัน ที่ ๒๕ กัน ยายน ๒๕๔๔ จํานวน
๑๘,๘๔๔ คน (ที่ถูกคือ ๑๘,๕๔๔ คน) วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๔๔ จํานวน ๑๐,๑๕๔ คน (ที่ถูกคือ ๑๐,๔๕๔ คน)
และวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๔ จํานวน ๔๐ คน ซึ่งพิจารณาจากเอกสารที่ผูฟองคดีอางสงตอศาลปกครองชั้นตน
ประกอบการไตสวนเมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๕ คือ สําเนาคําขอรับใบอนุญาตทํางานของแรงงานตางดาว
เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๔ รวมทั้งสี่วันเปนจํานวน ๓๙,๒๐๐ คน ผูฟองคดีจึงชอบที่จะไดรับเงินคาทําบัตร
อนุ ญ าตทํ า งานคนละ ๑๔๕ บาท รวมเป น เงิ น ๕,๖๘๔,๐๐๐ บาท เมื่ อผู ฟ องคดี ไ ดรั บ ชํา ระค า จา งเหมา
ในโครงการนี้ เป น เงิ น ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท จึงเหลือเงิน ที่ผูฟองคดีมีสิทธิไดรับ ชําระอีก ๑,๖๘๔,๐๐๐ บาท
โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ ซึ่งเปนหนวยงานทางปกครองผูรับผิดชอบโครงการจดทะเบียนแรงงานตางดาวดังกลาว
และเปนผูไดรับประโยชนจากการดําเนินการของผูฟองคดี ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงตองผูกพันตามสัญญาในการ
ชํ า ระเงิ น ค า ทํ า บั ต รจํ า นวนดั ง กล า วให แ ก ผู ฟ อ งคดี ต ามมาตรา ๓๙๑ วรรคสาม แห ง ประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย
สําหรับคาเสียหายในสวนที่เปนคาใชจายที่ลงทุนซื้อ และเชาอุปกรณ คาแรงงาน คาขนสง และ
คาใชจายอื่นๆ คาขาดกําไรหรือคาขาดประโยชนจากการทําบัตรแรงงานตางดาว นั้น เห็นวา เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๒
ได ใช สิ ทธิ เ ลิ ก สั ญ ญาโดยชอบแล ว ผู ฟอ งคดี จึ งไม มีสิ ทธิ เ รีย กคา เสีย หายจากการบอกเลิ ก สัญ ญาดั ง กล า ว
รวมทั้งคาซื้อและเชาอุปกรณ คาแรงงาน คาขนสง คาใชจายอื่นๆ คาขาดกําไร และคาขาดประโยชน นั้น
ผูฟองคดียอมคํานวณรวมอยูในตนทุนในการจัดทําบัตรอนุญาตทํางานแรงงานตางดาวอยูแลว เมื่อผูฟองคดี
มี สิ ทธิ ได รั บ เงิ น ค า จ า งทํ า บั ต รดั งที่ กล า วตามที่ ไดวินิจ ฉัย ไวแ ลว ผูฟ องคดีจึง ไมมีสิท ธิไดรับ เงิน คา เสีย หาย
ในสวนนี้อีก
สวนคําขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่รวมกันหรือแทนกันชําระคาธรรมเนียมศาลและคาทนายความ
แทนผูฟองคดีนั้ น เห็น วา เปนคํ าขอที่ ศาลไมอาจกําหนดคําบังคับ ใหไดตามมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
การที่ ศ าลปกครองชั้ น ต น พิ พ ากษาให ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ชํ า ระเงิ น ให แ ก ผู ฟ อ งคดี จํ า นวน
๑,๖๗๘,๒๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจํานวน ๑,๖๗๘,๒๐๐ บาท นับแตวันฟอง
/เปนตนไป...
-๑๑๗-

เป น ต น ไปจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ ทั้ งนี้ ให ชํ า ระให แล ว เสร็ จ ภายใน ๖๐ วั น นั บ แต วั น ที่ ค ดี ถึ ง ที่ สุ ด และ
ให คื น ค า ธรรมเนี ย มศาลตามส ว นของการชนะคดี จํ า นวน ๕,๕๔๘.๔๗ บาท แก ผู ฟ อ งคดี ยกฟ อ ง
ผูถูกฟองคดี ที่ ๑ ผูถูกฟ องคดีที่ ๓ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ คําขออื่นนอกจากนี้ใหยก นั้น ศาลปกครองสูงสุด
เห็นพองดวยบางสวน
พิ พากษาแก คํา พิ พ ากษาของศาลปกครองชั้น ตน เปน ใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชําระเงิน ใหแ ก
ผูฟองคดีจํานวน ๑,๖๘๔,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันฟอง
เป น ต น ไปจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ ทั้ ง นี้ ให ชํ า ระให แ ล ว เสร็ จ ภายใน ๖๐ วั น นั บ แต วั น ที่ ค ดี ถึ ง ที่ สุ ด และ
คื น ค า ธรรมเนี ย มศาลในศาลปกครองชั้ น ต น และในชั้ น อุ ท ธรณ ต ามส ว นของการชนะคดี ใ ห แ ก ผู ฟ อ งคดี
นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายนคร ผกามาศ - ยอ


นายชานน หมื่นธง - พิมพ
-๑๑๘-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 302/๒๕๕4
พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ (มาตรา 12)

การจั ด เก็ บ ข อ มู ล ทะเบี ย นประวั ติ ร าษฎรและการรั บ รองเอกสารข อ มู ล ทะเบี ย น


ประวั ติ ร าษฎรเป น อํ า นาจหน า ที่ ข องสํ า นั ก ทะเบี ย นกลางและนายทะเบี ย น ตามพระราชบั ญ ญั ติ
การทะเบี ย นราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา 12 บั ญ ญั ติ ว า ให สํ า นั ก ทะเบี ย นกลางดํ า เนิ น การจั ด เก็ บ
ข อ มู ล ทะเบี ย นประวั ติ ร าษฎรตามที่ ผู อํ า นวยการสํ า นั ก ทะเบี ย นกลางกํ า หนด และปรั บ ปรุ ง ข อ มู ล
ทะเบี ย นประวั ติ ร าษฎรให ต รงต อความเป นจริ งอยู เสมอ ทั้ งนี้ ตามหลั กเกณฑ และวิ ธี การที่ กํ าหนดใน
กฎกระทรวง อี กทั้ งตามข อ ๑๖๖ ของระเบี ยบสํ านั กทะเบี ยนกลาง ว าด วยการจั ดทํ าทะเบี ยนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามมาตรา ๘ (๑) วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๓๔ ก็ไดกําหนดใหสํานักทะเบียนกลางดําเนินการปรับปรุงรายการในฐานขอมูลทะเบียนประวัติราษฎร
ใหเปนปจจุบัน ดังนั้น จึงเปนหนาที่ของสํานักทะเบียนกลางที่จะตองปรับปรุงขอมูลการทะเบียนราษฎร
ใหเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว เมื่อปรากฏขอเท็จจริงวาเมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
ผูฟองคดีไดแจงตอสํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรีเพื่อยายที่อยูของตนเองจากบานเลขที่ ๓๑
ซอยเสือปา ๔ ตําบลหนาเมือง อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ไปอยูที่บานเลขที่ ๑๕๐๒ ซอยเทอดไท ๒๑
ถนนเทอดไท แขวงบางยี่ เรื อ เขตธนบุ รี กรุงเทพมหานคร โดยปรากฏหลักฐานจากใบแจงการยายที่อยู ลงวันที่
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ซึ่งสํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรี เปนผูออกใหแกผูฟองคดี แตในการออก
ใบรับรองรายการทะเบี ยนราษฎรจากฐานขอมูลการทะเบียน สํานักทะเบียนกลาง (แบบ ทร.๑๔/๑) ใหแก
พั น เอก ช. (เจ า หนี้ ต ามคํ าพิ พากษาของผู ฟ องคดี ) เมื่ อวั นที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ สํ านั กทะเบี ยนท องถิ่ น
เทศบาลเมื องราชบุ รี ระบุ ว า ผู ฟ อ งคดี ยั ง คงมี ที่ อ ยู ณ บ า นเลขที่ ๓๑ ซอยเสื อ ป า ๔ ตํ า บลหน า เมื อ ง
อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ขอมูลการทะเบียนราษฎรที่ออกใหแกพันเอก ช. จึงเปนขอมูลที่ไมเปนปจจุบัน
และไมถูกตองตามความเปนจริง ดังนั้น เมื่อมีการนําหนังสือรับรองดังกลาวไปแสดงตอสํานักงานบังคับคดี
จั ง หวั ด ราชบุ รี เ พื่ อ ใช เ ป น ที่ อยู ในการแจ งหมายบั งคั บคดี จึ งทํ า ให ผู ฟ องคดี ไม ไ ด รั บหมายบั งคั บคดี
ภายในระยะเวลาอั นสมควร เป น เหตุใ หตองชําระคาดอกเบี้ยแกเจาหนี้ตามคําพิพากษาไปเปนจํานวนที่
มากกว าที่ ตนจะต องจ ายหากได รั บทราบถึง หมายบัง คับ คดีใ นกรณีที่ มี การส ง หมายตามที่ อยู จ ริ ง กรณี
จึ ง ถื อ ได ว า การกระทํ า ของนายทะเบี ย นท อ งถิ่ น เทศบาลเมื อ งราชบุ รี สั ง กั ด สํ า นั ก ทะเบี ย นกลาง
เปนการกระทําละเมิดอันเกิดจากการใชอํานาจตามกฎหมายตอผูฟองคดี

________________________________________

นางสาวนัดดา ปริยานนท ผูฟองคดี

ระหวาง
สํานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ที่ 1
กรมการปกครอง ที่ 2 ผูถูกฟองคดี
คดีนี้ผูฟองคดีฟองวา เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๔ ผูฟองคดีไดทําสัญญาประนีประนอม
ยอมความกั บพั น เอก ช. (ซึ่ งเป น โจทก ยื่นฟองผูฟองคดีตอศาลจังหวัดราชบุรี ในขอหาผิดสัญญากูยืมเงิน )
โดยผูฟองคดียอมชําระเงินใหแกพันเอก ช. จํานวน ๕๗๘,๔๐๐ บาท ดวยวิธีผอนชําระใหเดือนละไมต่ํากวา
/๑๐,๐๐๐ บาท...
-๑๑๙-

๑๐,๐๐๐ บาท เริ่มชําระงวดแรกภายในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๕ และงวดตอไปภายในวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน


ใหเสร็จสิ้นภายใน ๕ ป สวนพันเอก ช. จะดําเนินการสรางถนนกวาง ๖ เมตร มีผิวจราจรลาดยางมาตรฐาน
กวาง ๔ เมตร ใหเสร็จสิ้นภายในกําหนด ๑ ป นับแตวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๕ ซึ่งผูฟองคดีไดปฏิบัติตาม
สัญญาประนีประนอมยอมความโดยชําระเงินทางธนาณัติ และนําเงินเขาบัญชีธนาคารเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท
ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม ๒๕๔๕ รวมเปนเงินจํานวน ๑๒๐,๐๐๐ บาท แตเมื่อครบกําหนดการสราง
ถนน ปรากฏวาถนนที่สรางไมใชถนนลาดยางมาตรฐาน ผูฟองคดีจึงยื่นคํารองลงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๖ ตอ
ศาลจังหวัดราชบุรีเพื่อของดการชําระเงินใหแกพันเอก ช. ตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๔๖ และเรียกคาเสียหาย
เนื่ อ งจากถนนสร า งรุ กล้ํ า เข า ไปในที่ ดิ น ของผู ฟองคดีด ว ย ซึ่ งศาลจังหวั ดราชบุรี ไดนั ดพิ จารณาคดี ในวั น ที่
๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๖ และวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๖ โดยใหผูฟองคดีนําหลักฐานที่เชื่อถือไดมาแสดงตอศาลวา
ถนนไมไดมาตรฐาน ผูฟองคดีจึงยื่นคํารองลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๖ ตอกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดราชบุรี
ขอให ตรวจสอบถนนดังกล าวและไดเ สนอคํารองตอศาลจังหวัดราชบุรีในวันนัดพิจารณาคดีครั้งที่ ๒ ในวันที่
๓๑ มี น าคม ๒๕๔๖ เพื่ อ ขอให ศ าลรอผลการตรวจสอบของคณะกรรมการจั ด สรรที่ ดิ น ก อ น โดย
ศาลจั งหวั ด ราชบุ รี ได แนะนํ า ให ผู ฟองคดีถอนคํารองเพื่อจะไดไม ตองมีภ าระในการพิสูจ นถ นน ผูฟองคดี
จึงถอนคํารองตามคํา แนะนํา ของศาลจังหวัดราชบุรีเพื่อรอคําฟองจากพันเอก ช. และรอผลการตรวจสอบ
จากคณะกรรมการจั ด สรรที่ ดิ น จั ง หวั ด ราชบุ รี แต ป รากฏว า พั น เอก ช. ยื่ นคํ าร องให ศาลจั งหวั ดราชบุ รี
ออกหมายบังคั บคดี ยึ ดทรั พย สิ นที่ ดิ นที่ กําลังเปนขอพิพาทในวัน รุงขึ้น ทัน ที คือในวัน ที่ ๑ เมษายน ๒๕๔๖
ซึ่งศาลจังหวัดราชบุรีมีคําสั่งอนุญาต และเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ พันเอก ช. ยื่นคําขอยึดทรัพย ณ ที่ทําการ
ตอสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรี และแจงเท็จตอสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรีวายังไมเคยไดรับการ
ชําระหนี้จากผูฟองคดี
ต อมา เมื่ อวั นที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๖ สํ านั กงานบั งคับคดี จั งหวั ดราชบุรี ส งหมายบั ง คั บ คดี
ไปยังที่อยูเดิมของผูฟองคดีที่จังหวัดราชบุรี คือเลขที่ ๓๑ ซอยเสือปา ๔ ตําบลหนาเมือง อําเภอเมืองราชบุรี
จั งหวั ด ราชบุ รี (ทั้ งที่ พัน เอก ช. ในคดี ดั งกลาวรูที่อ ยูปจ จุบัน ของผูฟอ งคดีในกรุงเทพมหานครเปน อยางดี
เพราะไดสงหมายศาลขณะยื่นฟองมายังที่อยูปจจุบันอยางถูกตอง) ทําใหผูฟองคดีไมทราบเรื่องการถูกยึดทรัพย
จนถึ งปลายเดื อนตุ ล าคม ๒๕๔๖ เมื่ อ ผู ฟ อ งคดี ท ราบว า ถู ก ยึ ด ทรั พ ย จึ ง รี บ ติ ด ต อ ยั ง สํ า นั ก งานบั งคั บคดี
จังหวัดราชบุรี พรอมนําทะเบียนบานที่อยูปจจุบันในกรุงเทพมหานครตัวจริงไปแสดงจึงไดทราบวาพันเอก ช. นํา
แบบรั บ รองรายการทะเบี ย นราษฎรจากฐานข อมู ล การทะเบี ย น สํ า นั ก ทะเบี ย นกลาง กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย (ท.ร. ๑๔/๑) ซึ่ ง ระบุ ว าผู ฟ องคดี มี ที่ อ ยู เลขที่ ๓๑ ซอยเสื อป า ๔ ตํ าบลหน า เมื อ ง
อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ไปยื่นตอสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรี ซึ่งสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
ได นํ า หมายยึ ดทรั พย ไปติ ดไว หน าตึ กแถวตามที่อยู ดังกลา ว ทั้ง ที่ผูฟอ งคดีได แจงยา ยออกไปแลว เมื่อวัน ที่
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ โดยผูฟองคดีแจงยายเขาที่อยูปจจุบัน คือ เลขที่ ๑๕๐๒ เทอดไท ๒๑ แขวงบางยี่เรือ
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ผูฟองคดีไดสอบถามนาย น. นายทะเบียนที่
รั บ รองที่ อ ยู เ ดิ ม ของผู ฟ อ งคดี ที่ ร าชบุ รี จึ ง ได ท ราบว า ผู ฟ อ งคดี มี ชื่ อ อยู ใ นทะเบี ย นบ า นถึ ง ๓ แห ง คื อ
กรุงเทพมหานคร จังหวัดราชบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี โดยที่จังหวัดกาญจนบุรีมีชื่ออยูในทะเบียนบานกลาง
ทั้งๆ ที่แจงยายจากจังหวัดกาญจนบุรีเขามาอยูที่บานเลขที่ ๔๒๙/๓ ถนนศรีสุริยวงศ อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
ตั้ งแต วั นที่ ๑ ธั นวาคม ๒๕๑๓ การที่ ผู ถู กฟองคดี ที่ ๑ ยั ง คงชื่ อผู ฟ อ งคดี ไ ว ที่ บ า นเลขที่ ๓๑ ซอยเสื อ ป า ๔
ตํ า บลหน า เมื อ ง อํ า เภอเมื อ งราชบุ รี จั งหวั ดราชบุ รี และออกใบรั บรองรายการทะเบี ยนราษฎรในที่ อยู เดิ ม
ดั งกล าว เป นเหตุ ให ผูฟองคดี ไม ได รั บหมายยึดทรัพย ตั้งแตวัน ปดหมายคือวัน ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ จนถึ ง
ปลายเดือนตุลาคม ๒๕๔๖ รวมระยะเวลาประมาณ ๔ เดือน ซึ่งผูฟองคดีไดแจงเรื่องการปดหมายยึดทรัพยที่
ที่อยู เดิ ม ต อสํ านั กงานบั งคั บคดี จั งหวั ดราชบุรีเพื่อขอยกเวนไมตองชําระคาดอกเบี้ยสําหรับระยะเวลาดังกลาว
/เปนเงิน...
-๑๒๐-

เป นเงิ นประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท แตสํ านักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรียังคงคิดดอกเบี้ย เต็มจํานวน ผูฟองคดี


จึ งได ยื่ น หนั งสื อลงวั น ที่ ๓ พฤศจิ กายน ๒๕๔๖ ถึ งผูอํานวยการสํานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เพื่ อ
ขอใหชดใชความเสียหายจากการรับรองทะเบียนราษฎรของผูฟองคดีผิดพลาดแตก็ไมไดรับหนังสือแจงตอบ
แตอยางใด
ขอใหศาลปกครองมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ชดใชเงินคาดอกเบี้ยที่ผูฟองคดี
ตองเสียเพิ่มขึ้นโดยไมสมควรเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่บกพรองของเจาพนักงานของผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนเงิน
จํานวน ๒๐,๐๐๐ บาท
ผูถูกฟองคดีทั้งสองใหการปฏิเสธ ขอใหยกฟอง
ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี
เปนจํานวนเงิน ๑๘,๐๘๕ บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันแปดสิบหาบาทถวน) พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
นับตั้งแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น โดยใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชําระใหแกผูฟองคดีภายใน
๖๐ วัน นับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด และคืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดใหแกผูฟองคดี
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ทั้ ง สองอุ ท ธรณ ขอให ศ าลปกครองสู ง สุ ด มี คํ า พิ พ ากษากลั บ คํ า พิ พ ากษา
ศาลปกครองชั้นตนโดยพิพากษายกฟอง
ศาลปกครองสู งสุ ดพิ เคราะห แล วเห็ นว า คดี มีประเด็ นที่ จะต องวิ นิ จฉั ยว า การกระทํ า ของ
นายทะเบี ย นท อ งถิ่ น เทศบาลเมื องราชบุ รี ในการลงชื่อ รั บ รองเอกสาร ระบุที่ อ ยูข องผู ฟ อ งคดี เลขที่ ๓๑
ซอยเสื อป า ๔ ตํ า บลหน า เมื อง อํ า เภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เปน การกระทําละเมิดอัน เกิดจากการ
ใชอํานาจตามกฎหมายหรือไม และหากเปนการกระทําละเมิดตอผูฟองคดี ผูถูกฟองคดีทั้งสองจะตองรับผิด
ชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีหรือไม เพียงใด
คดี มี ป ระเด็ น ที่ จ ะต อ งพิ จ ารณาในเบื้ อ งต น ว า การกระทํ า ของนายทะเบี ย นท อ งถิ่ น
เทศบาลเมืองราชบุรีในการลงชื่อรับรองเอกสาร ระบุที่อยูของผูฟองคดี เลขที่ ๓๑ ซอยเสือปา ๔ ตําบลหนาเมือง
อํ าเภอเมื องราชบุ รี จั งหวั ดราชบุ รี เป นการกระทํ าละเมิ ดอั นเกิ ดจากการใช อํ า นาจตามกฎหมาย หรื อ ไม
พิ เ คราะห แ ล ว เห็ น ว า การจั ด เก็ บ ข อ มู ล ทะเบี ย นประวั ติ ร าษฎรและการรั บ รองเอกสารข อ มู ล ทะเบี ย น
ประวัติราษฎรเปนอํานาจหนาที่ของสํานักทะเบียนกลางและนายทะเบียน โดยที่มาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติ
การทะเบี ย นราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ บั ญ ญัติ วา ใหมี สํ านั กทะเบีย นและนายทะเบี ย นเพื่ อปฏิบั ติห นา ที่ต าม
พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ดั งนี้ (๑) สํ า นั กทะเบีย นกลางมีอธิบ ดีกรมการปกครองเปน ผูอํานวยการทะเบีย นกลาง
มีหนาที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร... (๕) สํานักทะเบียนทองถิ่น
มี นายทะเบี ยนท องถิ่ นและผู ช วยนายทะเบี ยนท องถิ่นเปน นายทะเบีย นประจํา สํา นักทะเบีย นทองถิ่น มีห นา ที่
รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตปกครองทองถิ่นนั้นๆ โดยมาตรา ๑๒ แหง
พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล า ว บั ญ ญั ติ ว า เพื่ อ ประโยชน ใ นการเก็ บ รั ก ษาและควบคุ ม การทะเบี ย นราษฎร
การตรวจสอบพิสูจนตัวบุคคลและประมวลผลขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรใหสํานักทะเบียนกลางดําเนินการ
จัดเก็บขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามที่ผูอํานวยการสํานักทะเบียนกลางกําหนด และปรับปรุงขอมูลทะเบียน
ประวัติราษฎรใหตรงตอความเปนจริงอยูเสมอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง และ
มาตรา ๑๔ บั ญญั ติ ว า บุ คคลผู มีหน าที่ แจ งการต างๆ ตามที่กํ าหนดไว ในพระราชบั ญญั ติ นี้ เจ าของประวั ติ
ซึ่งปรากฏในขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามมาตรา ๑๒ หรือผูแทนโดยชอบธรรม ในกรณีเจาของประวัติเปน
ผูเยาว ผูอนุบาลในกรณีเจาของประวัติเปนคนไรความสามารถหรือทายาทเจาของประวัติ หรือผูรับมอบอํานาจจาก
บุคคลดังกลาวขางตน อาจขอใหนายทะเบียนดําเนินการไดท่ีสํานักทะเบียนในวันเวลาราชการ ดังนี้ (๑) คัดและ
รับรองเอกสารขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามมาตรา ๑๒ และเสียคาธรรมเนียมตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
(๒) แกไขเพิ่มเติม ลบ หรือทําใหทันสมัยซึ่งขอมูลใด ๆ ในขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรเพื่อใหเกิดความถูกตองตาม
/ความเปนจริง...
-๑๒๑-

ความเปนจริง อีกทั้งตามขอ ๑๖๖ ของระเบียบสํานักทะเบียนกลาง วาดวยการจัดทําทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๕


ที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามมาตรา ๘ (๑) วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการทะเบีย นราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔
ก็ไดกําหนดใหสํานักทะเบียนกลางดําเนินการปรับปรุงรายการในฐานขอมูลทะเบียนประวัติราษฎรใหเปนปจจุบัน ดังนั้น
จึงเปน หนาที่ของสํานั กทะเบียนกลางที่จะตองปรับปรุงขอมูลการทะเบียนราษฎรใหเปนไปตามบทบัญญัติ
ของกฎหมายดั ง กล า ว เมื่ อ ปรากฏข อ เท็ จ จริ ง ว า เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๔๒ ผู ฟ อ งคดี ไ ด แ จ ง ต อ
สํ า นั ก ทะเบี ย นท อ งถิ่ น เทศบาลเมื อ งราชบุ รี เ พื่ อ ย า ยที่ อ ยู ข องตนเองจากบ า นเลขที่ ๓๑ ซอยเสื อ ป า ๔
ตํ า บลหน า เมื อ ง อํ า เภอเมื องราชบุ รี จั งหวัดราชบุ รี ไปอยู ที่ บ านเลขที่ ๑๕๐๒ ซอยเทอดไท ๒๑ ถนนเทอดไท
แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยปรากฏหลักฐานจากใบแจงการยายที่อยู ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
ซึ่ งสํ านั กทะเบี ยนท องถิ่ นเทศบาลเมื องราชบุ รี เป นผู ออกให แก ผู ฟ องคดี แต ในการออกใบรั บ รองรายการ
ทะเบียนราษฎรจากฐานขอมูลการทะเบียน สํานักทะเบียนกลาง (แบบ ทร.๑๔/๑) ใหแก พันเอก ช. (เจาหนี้ตาม
คําพิพากษาของผูฟองคดี) เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ สํานักทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรี ระบุวาผูฟองคดี
ยั ง คงมี ที่ อ ยู ณ บ า นเลขที่ ๓๑ ซอยเสื อ ป า ๔ ตํ า บลหน า เมื อ ง อํ าเภอเมื องราชบุ รี จั งหวั ดราชบุ รี ข อมู ล
การทะเบียนราษฎรที่ออกใหแกพันเอก ช. จึงเปนขอมูลที่ไมเปนปจจุบันและไมถูกตองตามความเปนจริง ดังนั้น
เมื่อมีการนํา หนังสือรับรองดังกลาวไปแสดงตอสํานักงานบังคับ คดีจังหวัดราชบุรีเพื่อใชเปนที่อยูในการแจง
หมายบั งคับคดี จึ งทํ าให ผู ฟองคดี ไม ได รั บหมายบังคับคดีภ ายในระยะเวลาอั น สมควร เปน เหตุ ใหตอ งชําระ
คาดอกเบี้ยแกเจาหนี้ตามคําพิพากษาไปเปนจํานวนที่มากกวาที่ตนจะตองจายหากไดรับทราบถึงหมายบังคับคดี
ในกรณีท่ีมีการสงหมายตามที่อยูจริง กรณีจึงถือไดวาการกระทําของนายทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรี
สั งกั ดสํ านั กทะเบี ยนกลาง เป นการกระทําละเมิ ดอันเกิดจากการใช อํ านาจตามกฎหมายต อผู ฟ องคดี ส วนที่
ผูถูกฟองคดีทั้งสองอุ ทธรณ ว า ความเสี ยหายมิไดเกิดขึ้นโดยตรงจากการปฏิบัติหนาที่ของนายทะเบียนซึ่งเปน
เจ าหน าที่ ในสังกั ดของผู ถูกฟ องคดี ที่ ๑ แตเกิดจากการที่ผูฟองคดีไมปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
จนเปนเหตุใหถูกบังคับคดี ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมไดกระทําละเมิดตอผูฟองคดีและผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไมจําตอง
รั บผิ ดชอบค าดอกเบี้ ยตามที่ ผู ฟองคดี ฟองขอใหชดใชแตอยางใด นั้น เห็นว า การที่ ผูฟองคดี ตองเสียดอกเบี้ ย
ใหแกเจาหนี้ตามคําพิพากษาไปเปนจํานวนที่มากกวาที่ตนจะตองเสียหากไดรับทราบถึงหมายบังคับคดีกรณีที่มี
การสงหมายตามที่อยูจริงเปนความเสียหายที่เกิดขึ้นและเปนผลโดยตรงจากการที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาไดนํา
แบบรั บ รองรายการทะเบี ย นราษฎรจากฐานข อมู ล การทะเบี ย นที่ ไม ตรงกั บ ความเป น จริ ง ไม มี การแก ไข
ใหเปนปจจุบันซึ่งรับรองโดยนายทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรีไปแสดงตอสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
เพื่อใชเ ป นที่ อยู ในการแจ งหมายบังคับคดี ทําใหผูฟองคดีไมไดรับหมายบังคับคดีภายในระยะเวลาอันสมควร
เป น เหตุ ให ต องชํ าระคาดอกเบี้ยแกเจ าหนี้ตามคําพิพากษาไปเปนจํานวนที่มากกวาที่ตนจะตองชําระดังกลาว
ขอกลาวอางของผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงฟงไมขึ้น
คดีมีประเด็ นที่จะตองพิจารณาตอไปวา ผูถูกฟองคดีทั้งสองจะตองรับผิดชดใชคาเสียหาย
ใหแกผูฟองคดีหรือไม เพียงใด เมื่อไดวินิจฉัยแลววา การที่นายทะเบียนทองถิ่นเทศบาลเมืองราชบุรีซึ่งเปน
เจาหนาที่ในสังกัดของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดรับรองรายการทะเบียนราษฎร โดยระบุวาผูฟองคดีมีที่อยูไมถูกตอง
ตามความเปนจริง และเมื่อมีการนําหนังสือรับรองดังกลาวไปแสดงตอสํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรีเพื่อใช
เป น ที่อยูในการแจงหมายบังคั บคดี ทํ า ใหผูฟองคดีตองเสีย หายเปน การกระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่
ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ ๒ ซึ่ ง เป น หน ว ยงานของรั ฐ ที่ น ายทะเบี ย นดั ง กล า วอยู ใ นสั ง กั ด จึ ง ต อ งรั บ ผิ ด ต อ ผู ฟ อ งคดี
ในผลละเมิ ด ที่ เ จ า หน า ที่ ข องตนได ก ระทํ า ในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามนั ย มาตรา ๕ แห ง พระราชบั ญ ญั ติ
ความรั บผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และโดยที่ปรากฏขอเท็จจริงจากรายการคํานวณดอกเบี้ย
ของเจาหนาที่สํานักงานบังคับคดีจังหวัดราชบุรีวา ผูฟองคดีตองชําระดอกเบี้ยสําหรับการคางชําระตั้งแตวันที่
๑๑ มกราคม ๒๕๔๖ ถึงวั นที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ เปนระยะเวลา ๓๐๗ วัน เปนเงิน ๔๖,๒๖๗ บาท
/ตามขอเท็จจริง...
-๑๒๒-

ตามข อ เท็ จ จริ ง มี ก ารแจ งหมายบั ง คั บ คดี โ ดยระบุ ที่ อยู ที่ ไ ม ถู ก ต องตั้ ง แต วั น ที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๖ และ
ผูฟองคดีทราบเหตุดั งกลา วประมาณปลายเดือนตุล าคม ๒๕๔๖ ถือเอาวัน ที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ เปนวันที่
ผู ฟองคดี ทราบ จึ งคิ ดเป นระยะเวลา ๑๒๐ วัน รวมค าเสียหายเปนเงินจํานวน ๑๘,๐๘๕ บาท ดังนั้น การที่
ศาลปกครองชั้ น ต น กํ า หนดค า เสี ย หายใหแ กผู ฟอ งคดีเป น เงิน จํา นวน ๑๘,๐๘๕ บาท (หนึ่ งหมื่น แปดพั น
แปดสิบหาบาทถวน) ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย
แตการที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ รับผิดชดใชดอกเบี้ยในอัตรารอยละ
๗.๕ ตอป จากจํานวนเงิน ๑๘,๐๘๕ บาท นับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาจนถึงวันที่ชําระเสร็จสิ้นใหผูฟองคดี
โดยที่ผูฟองคดีมิไดมีคําขอในสวนของดอกเบี้ยมาในคําฟอง เปนการพิพากษาเกินคําขอ ซึ่งเปนขอกฎหมาย
อันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลปกครองสูงสุดยกขึ้นวินิจฉัยไดตามขอ ๙๒ แหงระเบียบ
ของที่ ป ระชุ ม ใหญ ตุ ล าการในศาลปกครองสู งสุ ด ว าด ว ยวิ ธีพิ จ ารณาคดีป กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และคดี นี้
ผูฟองคดีควรไดรับคืนคาธรรมเนียมศาลตามสวนแหงการชนะคดีเทานั้น ตามนัยมาตรา ๗๒ วรรคหก แหง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
พิพากษาแกคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนเปนวาใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชดใชเงินจํานวน
๑๘,๐๘๕ บาท ให ผู ฟ อ งคดี ภ ายใน ๖๐ วั น นั บ แต วั น ที่ มี คํ า พิ พ ากษา ค า ธรรมเนี ย มศาลคื น ให ผูฟ อ งคดี
ตามสวนแหงการชนะคดี

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายอธิไกร สุวรรณคีรี - ยอ


นายชานน หมืน่ ธง - พิมพ
-๑๒๓-

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 443/2554
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ประมาทเลินเลออยางรายแรง ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาที่ของรัฐ (มาตรา ๘)

ผูฟองคดีขับรถยนตของทางราชการไปราชการและประสบอุบัติเหตุ การสอบสวนไดความวา
ขณะเกิ ด เหตุ ผู ฟองคดี ไ ม ไ ด ดื่ มของมึ น เมาหรือ ขับรถดวยความเร็ วสูงและไดใ ชค วามระมัด ระวังเทา ที่
พนักงานขับรถทั่วไปพึงปฏิบัติ แตสภาพถนนชวงกอนถึงที่เกิดเหตุเปนโคงหักศอกเปนเนินสูงและเปนลอน
สูงต่ําสลับกันทําใหมองไมเห็นลักษณะของทางโคง บริเวณโคงมีลักษณะเปนเนินลาดออกนอกโคง มิไดลาด
เอียงเขาหาโคงอยางปกติ ทางโคงดังกลาวไมมปี า ยเตือนวาเปนโคงอันตราย ประกอบกับผูฟองคดีไมเคยใช
เสนทางนี้มากอน ผิวถนนรวมถึงไหลทางบางชวงชํารุดมีการซอมแซมไวไมดี เมื่อหามลอกะทันหัน รถจึง
หมุนเสียการควบคุม อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจึงเกิดอันเนื่องมาจากถนนที่ไมปลอดภัยเปนสําคัญ ยังไมอาจถือได
วาอุบัติเหตุดังกลาวเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงของผูฟองคดี ผูฟอง
คดีจึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดี

นายอรรคเรศ ชูวงศวุฒิ ผูฟองคดี

ระหวาง
สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ 1
กระทรวงการคลัง ที่ 2 ผูถูกฟองคดี

ผู ฟ อ งคดี เ ป น ลู ก จ า งชั่ ว คราวของผูถู ก ฟ อ งคดี ที่ 1 มีตํ า แหน งเป น พนั กงานขั บ รถประจํ า
ตําแหนงหัวหนาผูตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในวันที่ 29 ตุลาคม 2546
ผูฟองคดีไดรับคําสั่งใหนําหัวหนาผูตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปปฏิบัติราชการ
ที่ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกและจั ง หวั ด ลํ า ปาง โดยใช ร ถยนต ข องทางราชการ หมายเลขทะเบี ย น วพ 2444
กรุงเทพมหานคร ในระหวางวันที่ 31 ตุลาคม 2546 ถึงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2546 วันที่ 2 พฤศจิกายน
2546 หลังเสร็จสิ้นภารกิจไดเดินทางกลับกรุงเทพมหานครโดยใชเสนทางสายเดนชัย – ศรีสัชนาลัย โดยผูฟองคดี
เป น ผู ขับ ขี่ ร ถยนต คัน ดั งกล า วและขณะขับ ผานกิโ ลเมตรที่ 79 ถึงกิโ ลเมตรที่ 80 ผูฟองคดีขับ รถประสบ
อุบัติเหตุ รถยนตไดรับความเสียหายและหัวหนาผูตรวจราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
-๑๒๔-

ได รั บ บาดเจ็ บ วั น ที่ 24 ธั น วาคม 2546 ผู ถูก ฟ อ งคดี ที่ 1 โดยปลัด กระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอมไดตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด คณะกรรมการดังกลาวไดรายงานสรุป
ความเห็นวา สาเหตุของอุบัติเหตุเกิดจากสภาพถนนที่ไมปลอดภัยเปนสําคัญ มิไดเกิดจากการจงใจหรือประมาท
เลินเลออยางรายแรง แตเปนการประมาทเลินเลอในเรื่องเล็กนอยตามปกติธรรมดา ผูฟองคดีจึงไมจําตองรับผิด
ตามมาตรา 8 แห ง พระราชบั ญ ญั ติ ค วามรั บ ผิ ด ทางละเมิ ด ของเจ า หน า ที่ พ.ศ. 2539 ปลั ด กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเห็นชอบตามความเห็นของคณะกรรมการดังกลาว จากนั้นผูถูกฟองคดีท่ี 2
โดยกรมบัญชีกลาง แจงวา กรมบัญชีกลางซึ่งไดรับมอบอํานาจจากผูถูกฟองคดีที่ 2 ไดพิจารณากรณีดังกลาว
แล วเห็ นว า การกระทํ าของผู ถู กฟ องคดี ถื อว าเป นการกระทํ าโดยประมาทเลิ นเล ออย างร ายแรงในการปฏิ บั ติ
หนาที่ แตเมื่อพิจารณาถึงพฤติการณความรายแรงของการกระทําและความเปนธรรมแลว เห็นควรลดสวน
ความผิดใหแกผูฟองคดีใหรับผิดรอยละ 75 ของมูลคาความเสียหายทั้งหมด คิดเปนเงินทั้งสิ้น 136,959.51
บาท ผูฟองคดีอุทธรณคําสั่งดังกลาว แตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีคําสั่งใหยกอุทธรณ
และแจงใหผูฟองคดีทราบ ผูฟองคดีจึงนําคดีไปฟองยังศาลปกครองชั้นตน
คดี มีป ระเด็ น ที่ ต องวิ นิ จ ฉัย วา ผูฟ องคดี ไ ดป ฏิบั ติ ห น าที่ ดว ยความประมาทเลิน เลอ อย า ง
รายแรงหรือไม
พิเคราะหแลวเห็นวา
ประเด็นที่หนึ่งที่ผูฟองคดีนํารถของทางราชการไปประสบอุบัติเหตุดังกลาวถือเปนการกระทํา
ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงในการปฏิบัติหนาที่หรือไม เห็นวาความประมาท หมายถึง กระทํา
ความผิดมิใชโดยเจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้นจะตองมีตามวิสัยและ
พฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นไดแตหาไดใชเพียงพอไม ดังนั้น การกระทําโดย
ประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงตองชี้ชัดใหไดวาเปนการกระทําที่มีสภาพรายแรงกวาลักษณะขางตนอยางยิ่ง
ขอเท็จจริงรับฟงไดวา คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของผูถูกฟองคดีที่ 1 ไดสอบปากคํา
ผูเกี่ยวของ รวมไปถึงออกไปตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุจนมีความเห็นวาผูฟองคดีไดใชความระมัดระวังเทาที่
พนั กงานขั บรถทั่ ว ไปพึงจะปฏิบั ติ และไมเปน การกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลิน เลออยางรายแรง เมื่อ
พิเคราะหจากสรุปผลการสอบสวนที่วาสภาพถนนชวงกอนถึงที่เกิดเหตุซึ่งเปนโคงหักศอกจะเปนเนินสูง ทําให
มองไมเห็นลักษณะของทางโคง ประกอบกับบริเวณโคงมีลักษณะเปนเนินลาดออกนอกโคง มิไดลาดเอียงเขาหา
โคงอยางโคงปกติ รถจึงมีโอกาสเสียการทรงตัว การบังคับรถใหอยูในเสนทางจึงทําไดยากอีกทั้ง ผิวถนนรวมทั้ง
ไหลทางบางชวงยังชํารุดมีการซอมแซมไวไมดี และทางโคงดังกลาวไมมีปายเตือนวาเปนโคงอันตราย ประกอบ
กั บ ผู ฟ องคดี ไม เ คยใช เ ส น ทางนี้ ม าก อน ทั้งยั งไมป รากฏวา ผูฟองคดีเสพของมึน เมาหรื อขับ ขี่ ร ถยนตดว ย
ความเร็วอยางสูง เมื่อพิเคราะหตามวิสัยและพฤติการณของผูฟองคดีแลว เห็นวา แมผูฟองคดีจะปฏิบัติหนาที่
โดยปราศจากความระมัดระวัง หรือหาไดใชความระมัดระวังเชนวานั้นอยางเพียงพอไม แตยังไมอาจถือไดวา
เปนความประมาทเลินเลออยางรายแรง อุบัติเหตุดังกลาวจึงมิไดเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาท
เลินเลออยางรายแรงของผูฟองคดีแตอยางใด
-๑๒๕-

เมื่อไดวินิจฉัยแลววา การกระทําของผูฟองคดีมิไดเปนการกระทําดวยความประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง ดังนั้น ผูถูกฟองคดีที่ 1 จึงไมมีอํานาจเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ 1
ตามมาตรา 8 ประกอบมาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539
คําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ 1 ตามหนังสือที่ ทส 0201/2376 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2547 ที่เรียกใหผูฟองคดี
ชําระคาสินไหมทดแทน จํานวน 136,959.51 บาท จึงไมชอบดวยกฎหมาย

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นายธวัชชัย ชํานาญหลอ - ยอ


นางสาวภาวิณี เวทวัฒนาพิบูล - พิมพ

You might also like