Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 54

ธาตุกมั มันตรังสี (Radioactive Element)

1. การเกิดกัมมันตภาพรังสี
2. การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี
3. ครึ่งชีวติ
4. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์
5. การตรวจสอบสารกัมมันตรังสีและการ
นาไปใช้ ประโยชน์
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับธาตุกมั มันตตัังีี
ในปี ค.ศ. 1896 อองตวน อองรี เบ็กเคอเรล
นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสพบว่า เมื่อเก็บแผ่นฟิ ล์ มที่ห้ ุม
ด้วยกระดาษสีดาไว้กบั สารประกอบของยูเรเนียม ฟิ ล์มจะ
มีลกั ษณะเหมือนถูกแสง และเมื่อทาการทดลองกับ
สารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่นๆ ก็ได้ผลเช่ นเดียวกัน จึง
สรุ ปว่ าน่ าจะมีรังสี แผ่ ออกมาจากธาตุยูเรเนียม

ต่ อมาปี แอร์ และมารี กูรี พบว่าธาตุ


พอโลเนียม เรเดียม และทอเรียม สามารถ
แผ่รังสีได้เช่ นเดียวกัน ปรากฏการณ์ที่
ธาตุแผ่รังสี ได้ เองอย่ างต่ อเนื่องเรียกว่า
กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)
ธาตุกมั มันตรังสี คือ ธาตุที่นิวเคลียสของอะตอมแผ่ รังสี ออกมา
อย่ างต่ อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งเรียกว่ า กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)
และธาตุน้ นั จะกลายเป็ นธาตุใหม่ จนในที่สุดได้ อะตอมที่เสถียร
ซึ่งส่ วนใหญ่ เป็ นธาตุที่มเี ลขอะตอมมากกว่ า 83 เช่ น U-238
Th-232 Rn-222

กัมมันตภาพรังสี คือ เป็ นปรากฎการณ์ ทธี่ าตุแผ่ รังสี ได้ อย่ างต่ อเนื่อง

รังสี ทปี่ ล่อยออกมาส่ วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ


รังสี แอลฟา รังสี บีต้า รังสี แกมมา
The behavior of three types of radioactive emissions in
an electric field.
ััทเทอั์ฟอั์ดได้ศึกษาเพิ่มเติมและแีดงให้เห็นตว่าัังีี ที่ธาตุ
กัมมันตตัังีี ปล่อยมาอาจเป็ นตัังีี แอลฟา ัังีี บีตา หัื อัังีี แกมมา ซึ่งมี
ีมบัติต่างกันต
รังสีแอลฟา เป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอนอย่ างละ 2 อนุภาค มีประจุ
ไฟฟ้ า +2 มีอานาจทะลุทะลวงตา่ มาก กระดาษเพียงแผ่นเดียวหรื อสองแผ่นก็สามารถกั้น
ได้
รังสีบีตา คือ อนุภาคทีม่ สี มบัตเิ หมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้ า -1 มีมวลเท่ ากับ
อิเล็กตรอน มีอานาจทะลุทะลวงสู งกว่ ารังสีแอลฟา ประมาณ 100 เท่ า สามารถผ่านแผ่น
โลหะบางๆ ได้ เช่ น แผ่นตะกัว่ หนา 1 mm มีความเร็วใกล้ เคียงความเร็วแสง

รังสีแกมมา เป็ นคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ าทีม่ คี วามยาวคลื่นสั้นมาก ไม่ มปี ระจุ ไม่ มมี วล มี
อานาจทะลุทะลวงสู งสุ ด สามารถทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได ้้ แต่ ถูกกั้นได้ โดย
คอนกรีตหรื อแผ่นตะกัว่ หนา
ชนิดและสมบัตขิ องรังสีบางชนิด
Type of Radiation Alpha particle Beta particle Gamma ray
g
Symbol a b (can look different,
depends on the font)
Mass (atomic mass
4 1/2000 0
units)
Charge +2 -1 0
very fast (speed of
Speed slow fast
light)
Ionising ability high medium 0
Penetrating power low medium high
Stopped by: paper aluminium lead

อานาจการทะลุทะลวงของรังสี
สั ญลักษณ์ ชนิดของประจุ และมวลของรังสี

อนุภาค สั ญลักษณ์ ชนิดของประจุ มวล(amu)*


แอลฟา +2 4.00276
บีตา -1 0.000540
แกมมา 0 0
โพซิตรอน +1 0.000540
นิวตรอน 0 1.0087
โปรตอน +1 1.0073
* 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 g.
การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี แอลฟา


การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี แอลฟา


การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี บีต้า


การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี บีต้า


การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี บีต้า (โพซิตรอน)


การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี

การแผ่ รังสี แกมมา

226 222 4
88 Ra 86 Rn * 2 He

Ra 222
86 Rn g
สมการนิวเคลียร์ (Nuclear equation) คือ ีมกาัที่แีดง
ปฏิกิัิยานติวเคลียั์ ีมกาัต้องดุลด้วย ซึ่ งกาัดุลีมกาันตั้นต ต้องดุลทั้งเลข
มวล และเลขอะตอมทั้งด้านตซ้ายและขวาของีมกาัเคมีให้เท่ากันต กล่าวคือ
ผลบวกของเลขมวลและเลขอะตอมของีาัตั้งต้นตเท่ากับของผลิตภัณฑ์ ดัง
ตัวอย่าง
การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี
•การแผ่รังสีแอลฟา (ธาตุทมี่ เี ลขอะตอมสู งกว่ า 83 ขึน้ ไปและมีจานวน
นิวตรอนต่ อโปรตอนในสัดส่ วนทีไ่ ม่เหมาะสม)
A A− 4
Z X Z −2Y +
4
2 He

238
92 U
234
90Th + 4
2 He
•การแผ่รังสี บีตา (ธาตุมีนิวตรอนมากกว่ าโปรตอน)
A A
Z X Z +1 Y +
0
−1 e
210
82 Pb
210
83 Bi + 0
−1 e
•การแผ่รังสี แกมมา (เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสี ทมี่ ีพลังงานสู ง
มาก หรื อไอโซโทปทีส่ ลายตัวให้ แอลฟากั
บ บี ต า)
A
Z X
A
Z X + g
99
Te
99
52 Te + g
52
การดุลสมการนิวเคลียส์
1. เลขมวลเท่ ากัน
235 138 96
92 U + 10n 55 Cs + 37 Rb + 2 10n

235 + 1 = 138 + 96 + 2 x 1

2. เลขอะตอมเท่ ากัน
235 138 96
92 U + 10n 55 Cs + 37 Rb + 2 10n
92 + 0 = 55 + 37 + 2 x 0
240 2
จงเขียนสมการต่ อไปนีใ้ ห้ สมบูรณ์
ก. 27 X + 0-1e
14Si

ข. 66 0
29Cu Q+ -1e

ค. 27 Al + 4 He 30
13 2 14Si + _______
ง. 146C 13 C
6 + ________
จ. 226 Ac 226 Ra + ________
89 88

ฉ. 226 Ac 222
89 87Fr + __________
Half-life
ครึ่ งชี วิต (half life) ของสารกัมมันตรั งสี
หมายถึ ง ระยะเวลาที่นิ ว เคลี ย สของธาตุ
กัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง
ของปริมาณเดิม ใช้ สัญลักษณ์ เป็ น t1/2

ครึ่ ง ชี วิต เป็ นสมบั ติเ ฉพาะตัว ของแต่ ล ะ


ไอโซโทป และสามารถใช้ เปรี ย บเที ย บ
อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี แต่
ละชนิดได้
ตัวอย่ าง ธาตุกมั มันตรังสีมคี รึ่งชีวติ 30 วัน จะใช้ เวลานานเท่ าใดสาหรับการสลาย
ไปร้ อยละ 75 ของปริมาณตอนทีเ่ ริ่มต้ น

ถ้ าเริ่มต้ นมีธาตุกมั มันตรังสีอยู่ 100 g สลายตัวไป 75 g

ดังนั้นต้ องการให้ เหลือธาตุนี้ 25 g

เนื่องจากธาตุนมี้ คี รึ่งชีวติ 30 วัน

ธาตุกมั มันตรังสี 100 g 30 วัน 50 g 30 วัน 25 g

ดังนั้นต้ องใช้ เวลา 30 x 2 = 60 วัน สาหรับการสลายไปร้ อยละ 75 ของปริมาณ


เริ่มต้ น
ตัวอย่ าง จงหาปริมาณของ Tc-99 ทีเ่ หลือเมื่อวาง Tc-99 จานวน 18 กรัมไว้ นาน 24
ชั่วโมง และ Tc-99 มีครึ่งชีวติ 6 ชั่วโมง

6 hrs. 12 hrs.
Tc-99 18 Tc-99 9 g Tc-99 4.5
1 ครึ่งชีวติ 2 ครึ่งชีวติ
g g
18hrs. 3 ครึ่งชีวติ
24 hrs.
Tc-99 1.125 Tc-99
g 4 ครึ่งชีวติ
2.25 g
แสดงว่ าเมื่อเวลาผ่านไป 24 ชั่วโมง จะมี Tc-99 เหลืออยู่ 1.125 กรัม
ตัวอย่าง ถ้ าทิง้ ไอโซโทปกัมมันตรังสี ชนิดหนึ่ง 20 กรัม ไว้ นาน 28 วัน
ปรากฏว่ ามีไอโซโทปนั้นเหลืออยู่ 1.25 กรัม ครึ่งชีวติ ของไอโซโทปนีม้ ีค่า
เท่าใด

ตัวอย่าง จงหาปริมาณ I-131 เริ่มต้ น เมื่อนา I-131 จานวนหนึ่งมา


วางไว้เป็ นเวลา 40.5 วัน ปรากฏว่า มีมวลเหลือ 0.125 กรัม ครึ่งชีวติ
ของ I-131 เท่ากับ 8.1 วัน
ตัวอย่าง จงหาปริมาณ I - 131 เริ่มต้ น เมื่อนา I - 131 จานวนหนึ่งมาวางไว้
เป็ นเวลา 40.5 วัน ปรากฏว่ามีมวลเหลือ 0.125 กรัม ครึ่งชีวติ ของ I -131
เท่ากับ 8.1 วัน
สมมติ I -131 เริ่มต้ นมี a กรัม I - 131 จานวน a กรัม วางไว้ 40.5 วัน = 5 ครึ่งชีวติ
ครึ่งชีวติ สุ ดท้ าย I - 131 ทีเ่ หลือมีมวล = 0.125 กรัม
a a
2 4
2 ครึ
2 ครึ ่งชี่งวชีวติ ิต

a a a
32 16 8
I - 131 เริ่มต้ นมีมวล = 4 g
ตัวอย่าง ธาตุกมั มันตรังสี A จานวน 32 กรัม ถ้ าทิง้ ไว้นานเป็ นเวลา 6 ปี
ธาตุกมั มันตรังสี A จะเหลืออยู่ 4 กรัม จงหาครึ่งชีวติ ของธาตุ A

จากการเทียบจะพบว่ าสารตั้งต้ นมี 32 กรัม สลายตัวไปเพียง 3x จะเหลือ 4 กรัม


ดังนั้น ครึ่งชีวติ ของธาตุ A เป็3Xน 2 ปี = 6
X = 2
ดังนตั้นต คัึ่ งชีวติ ของธาตุ A = 2 ปี
Kinetics of Radioactive Decay
N daughter
DN
rate = - rate = lN
Dt
DN
- = lN
Dt
N = N0exp(-lt) lnN = lnN0 - lt
N = the number of atoms at time t

N0 = the number of atoms at time t = 0

l is the decay constant

ln2
l =

23.3
สู ตรการหาครึ่งชี วติ ของธาตุ

N เหลือ = N เริ่มต้ น T = n t1/2

2n

N เหลือ = กัมมันตรังสีทเี่ หลือ


N เริ่มต้ น = กัมมันตรังสีเริ่มต้ น
T = จานวนเวลาทีธ่ าตุสลายตัว
n = จานวนครั้งในการสลายตัวของครึ่งชีวติ
t1/2 = ระยะเวลาที่นิวเคลียสกัมมันตรังสีสลายตัวเหลือครึ่งหนึ่ง
ของปริมาณเดิม (ครึ่งชีวติ )
ตัวอย่ าง ธาตุกมั มันตรังสี X 20 กรัม สลายตัวไป 10 กรัม ภายในเวลา 30 วัน
พบว่ าหลังทิง้ ธาตุ X ไว้ 150 วัน จะเหลือธาตุ X 300 กรัม อยากทราบว่า
เริ่มต้ นต้ องนาธาตุกมั มันตรังสี X มากีก่ รัม
ธาตุ X 30 วัน เหลือธาตุ X
20 g 10 g
จากสู ตรความสัมพันธ์ ธาตุกมั มันตรังสี X มีครึ่งชีวติ 30 วัน
ดังนั้น T = n t1/2
150 = n(30)
n = 5 N เหลือ = N เริ่มต้ น
เพราะฉะนั้นหาธาตุ X เริ่มต้ นได้ จาก 2n
ธาตุ X เริ่มต้ น = 300 x 25 = 9,600 กรัม
ปฏิกิัิยานติวเคลียั์
เป็ นปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม แล้ วได้
นิวเคลียสของธาตุใหม่ เกิดขึน้ และให้ พลังงานจานวนมหาศาล แบ่ งออกได้ 2
ประเภท ดังนี้

1. ปฏิกริ ิยาฟิ ชชัน (Fission reaction)


2. ปฏิกริ ิยาฟิ วชัน (Fussion reaction)
ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์
ปฏิกริ ิยาฟิ ชชัน (Fission reaction) คือ กระบวนการทีน่ ิวเคลียสของธาตุ
หนักบางชนิด แตกตัวออกเป็ นไอโซโทปของธาตุทเี่ บากว่ า
เป็ นปฏิกริ ิ ยาลกู โซ่
Fission reaction

กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกตัวออกเป็ นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า
ประโยชน์ ของปฏิกริ ิยาฟิ ชชัน
ปั จจุบนตั นตักวิทยาศาีตั์ีามาัถควบคุมปฏิกิัิยาลูกโซ่ในตฟิ ชชันตได้ และ
นตามาใช้ปัะโยชนต์ทางีันตติ เช่นต ใช้ีั้างเตาปฏิกัณ์ปัมาณู เพื่อผลิตไอโซโทป
กัมมันตตัังีี เพื่อใช้ในตทางกาัแพทย์ กาัเกษตั และอุตีาหกััม ในตขณะที่
พลังงานตที่ได้ก็ีามาัถนตาไปใช้ผลิตกัะแีไฟฟ้าได้
ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์
ปฏิกริ ิยาฟิ วชัน (Fusion reaction) คือ ปฏิกริ ิยาทีเ่ กิดการรวมตัวของไอโซโทป
ทีม่ ีมวลอะตอมต่า ทาให้ เกิดไอโซโทปใหม่ ทมี่ ีมวลมากขึน้ กว่าเดิม และให้
พลังงานจานวนมหาศาล และโดยทัว่ ๆ ไปจะให้ พลังงานมากกว่าปฏิกริ ิยาฟิ สชัน
Fusion reaction

กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเกิด
ประโยชน์ ของปฏิกริ ิยาฟิ วชัน เป็ นนิวเคลียสใหม่ ที่มีมวลสู งกว่ าเดิมและให้ พลังงานปริมาณมาก
พลังงานตในตปฏิกิัิยาฟิ วชันตถ้าควบคุมให้ปล่อยออกมาช้า ๆ จะเป็ นตปัะโยชนต์ต่อ
มนตุษย์อย่างมากมาย และมีขอ้ ได้เปัี ยบกว่าปฏิกิัิยาฟิ ีชันต เพัาะีาัตั้งต้นตคือ
ไอโซโทปของไฮโดัเจนตนตั้นต หาได้ง่าย นตอกจากนตี้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากฟิ วชันตยังเป็ นตธาตุ
กัมมันตตัังีี ที่มีอายุและอันตตัายนต้อยกว่า ซึ่งจัดเป็ นตข้อได้เปัี ยบในตแง่ของีิ่ งแวดล้อม
(เกิดเป็ นตแหล่งพลังงานตมหาศาลที่เป็ นตปัะโยชนต์ต่อมนตุษย์)
การตรวจสอบสารกัมมันตรังสี

ใช้ ฟิล์มถ่ ายรู ป

ใช้ สารเรื องแสง

ใช้ เครื่ องมือ


ไกเกอร์ มูลเลอร์ เคาน์ เตอร์
การตรวจสอบสารกัมมันตรังสี
Geiger-Müller tube (GM tube)
หลักการทางาน : เมื่อรังสี
ผ่านเข้ าทางช่ องรับรังสีจะชนกับ
อะตอมของแก๊สอาร์ กอนที่บรรจุ
อยู่ในกระบอก ทาให้ อเิ ล็กตรอน
หลุดออกจากอะตอมเกิดเป็ น Ar+
จึงเกิดความต่ างศักย์ระหว่าง
ประจุบวก (Ar+) กับประจุลบ (e-)
ของขั้วไฟฟ้าในหัววัดรังสี ซึ่ง
อ่านค่าความต่ างศักย์ได้จากเข็ม
บนหน้ าปัด ค่าที่อ่านได้จะมาก
หรื อน้ อยขึน้ กับปริมาณของรังสีที่
จะทาให้ Ar กลายเป็ น Ar+
ประโยชน์ ของไอโซโทปกัมมันตรังสี
1. ด้ านธรณีวทิ ยา มีการใช้ C-14 คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรื ออายุของซาก
ดึกดาบรรพ์

2. ด้ านการแพทย์ ใช้ รักษาโรคมะเร็ง ในการรักษาโรคมะเร็งบางชนิด ทาได้ โดยการ


ฉายรังสีแกมมาทีไ่ ด้ จาก โคบอลต์-60 เข้ าไปทาลายเซลล์ มะเร็ง
ประโยชน์ ของไอโซโทปกัมมันตรังสี (ต่ อ)
โซเดียม-24 ฉีดเข้ าไปในเส้ นเลือด เพื่อตรวจการไหลเวียนของโลหิต โดย โซเดียม-24
จะสลายให้ รังสีบีตาซึ่งสามารถตรวจวัดได้ และสามารถบอกได้ ว่ามีการตีบตันของเส้ น
เลือดหรื อไม่
Au-198 ใช้ ตรวจตับและไขกระดูก
I-131 ใช้ ศึกษาความผิดปกติของต่ อมไทรอยด์

3. ด้ านเกษตรกรรม ใช้ P-32 ศึกษาความต้ องการปุ๋ยของพืช

4. ด้ านการถนอมอาหาร ใช้ Co-60 ในการถนอมอาหารให้ มอี ายุยาวนานขึน้


เพราะรังสีแกมมาช่ วยในการทาลายแบคทีเรีย
ประโยชน์ ทางด้ านการแพทย์
ธาตุและสารประกอบในสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม

ธาตุอะลูมเิ นียม (Al) ธาตุไอโอดีน (I)

ธาตุแคลเซียม (Ca) ธาตุไนโตรเจน (N)

ธาตุทองแดง (Cu) ธาตุออกซิเจน(O)

ธาตุโครเมียม (Cr) ธาตุฟอสฟอรัส (P)

ธาตุเหล็ก (Fe) ธาตุซิลคิ อน (Si)


ธาตุสังกะสี (Zn) ธาตุเรเดียม (Ra)
ธาตุอะลูมเิ นียม (Al)

ลักษณะและสมบัติ
โลหะ Al มีสีเงิน มีความหนาแน่ นตา่
เหนียวและแข็ง ดัดโค้ งงอได้ ทุบให้ เป็ น
แผ่นหรื อดึงเป็ นเส้ นได้ นาไฟฟ้ าและ
Matching exercise
ประโยชน์ นาความร้ อนได้ ดี
ทาโลหะเจืออะลูมเิ นียม สารประกอบของ Al
ทาเครื่ องบิน หน้ าต่ าง Al2O3 (คอรันดัม)
กลอนประตู สายไฟฟ้ า KAl(SO4)2.12H2O
สารส้ ม กระป๋องนา้ อัดลม
ธาตุแคลเซียม (Ca)

ลักษณะและสมบัติ
มีความหนาแน่ นตา่ มีสีขาวเงิน
เป็ นมันวาว ในธรรมชาติไม่ พบอยู่
ประโยชน์ ในสภาพอิสระ
ปูนขาว ดินสอพอง ชอล์ ก สารประกอบของ Ca
CaC2 ใช้ ผลิตก๊ าซอะเซทิลนี CaCO3
เป็ นองค์ ประกอบของฟัน CaSO4.2H2O
และกระดูก
ธาตุทองแดง (Cu)

ลักษณะและสมบัติ
เป็ นโลหะสีแดง มีความหนาแน่ นสู ง
จุดหลอมเหลว-จุดเดือดสู ง นาไฟฟ้ า
และนาความร้ อนได้ ดี
ประโยชน์ แร่ ทมี่ ที องแดงเป็ นองค์ ประกอบ
ใช้ ทาสายไฟฟ้ า ทองเหลือง Cu2CO3(OH)2 (แร่ มาลาไคต์ )
กุญแจ ใบพัดเรื อ กระดุม Cu2S (แร่ คาลโคไซด์ )
ทองบรอนซ์ ใช้ ทาปื นใหญ่ CuFeS2 (แร่ คาลโคไพไรต์)
ระฆัง Cu2O (แร่ ควิ ไพรต์ )
ธาตุโครเมียม (Cr)

ลักษณะและสมบัติ
Cr เป็ นโลหะสีขาวเงินเป็ นมันวาว
และแข็งมาก ทนทานต่ อการผุกร่ อน
ไม่ พบธาตุอสิ ระในธรรมชาติ
ประโยชน์ สารประกอบของ Cr
ใช้เป็ นตี่วนตผีมในตเหล็กกล้าไั้ีนติ ม Cr2O3
(Stainless steel) ปัะกอบด้วย Fe 73% Cr 18% Cr(OH)3
Ni 8% และ C 0.4% ใช้ทาเคัื่ องมือผ่าตัด CrO2
ตัวเัื อนตนตาฬิกา ช้อนต และภาชนตะต่าง ๆ
ใช้เคลือบบนตผิวเหล็กเพื่อความีวยงามและ
ป้องกันตกาัผุกั่ อนตของเหล็ก
ใช้เป็ นตี่วนตปัะกอบในตเหล็กกล้าที่ใช้ทาตูนต้ ิัภัย
เคัื่ องยนตต์ เกัาะกันตกัะีุ นต
ธาตุเหล็ก (Fe)

ลักษณะและสมบัติ
Fe เป็ นโลหะสีเทา มี m.p. b.p. สู ง
ถูกดูดแม่ เหล็กได้ ง่าย
ประโยชน์ สารประกอบของ Fe
ทาเหล็กกล้ าใช้ ในงานก่ อสร้ าง FeO
ผลิตเครื่ องยนต์ ทาลวด Fe2O3
ทาตัวถังรถยนต์ ตะปู K3Fe(CN)6
เหล็กเคลือบผิว NH4Fe(SO4)2.12H2O
ด้ วยดีบุกใช้ ทากระป๋องอาหาร
ธาตุสังกะสี (Zn)

ลักษณะและสมบัติ
Zn เป็ นโลหะค่ อนข้ างอ่ อน เ
m.p. b.p. ตา่ เป็ นไอได้ ง่าย
ประโยชน์
สารประกอบของ Zn
ใช้ เป็ นสารเร่ งปฏิกริ ิยา
ZnO
ใช้ ทาเหล็กอาบสังกะสี
ZnS
ใช้ ป้องกันเหล็กเป็ นสนิม
ทาหลังคา ถังบรรจุนา้
ธาตุไอโอดีน (I)

ลักษณะและสมบัติ
I เป็ นอโลหะทีม่ สี ถานะของแข็ง
เป็ นเกล็ดมันวาวสีม่วง ระเหิดได้ ง่าย
ละลายนา้ ได้ น้อย ละลายในเอทานอล
เฮกเซน
ประโยชน์
สารประกอบของ I
ใช้ ทาแผลฆ่ าเชื้อโรค
NaI
ใช้ ผสมในเกลือสินเธาว์
KI
ธาตุไนโตรเจน (N)

ลักษณะและสมบัติ
N เป็ นก๊ าซไม่ มสี ี ไม่ มกี ลิน่ ทีอ่ ุณหภูมิ
ปกติไม่ ทาปฏิกริ ิยากับธาตุอื่นแต่ ทาปฏิกริ ิยา
ประโยชน์ ทีอ่ ุณหภูมสิ ู ง เป็ นก๊ าซเสถียร
ใช้ เป็ นอุตสาหกรรมทา NH3 สารประกอบของ N
และกรดไนตริก NH3 เป็ น NO N2O
สารตั้งต้ นในการผลิตโซดาแอช N2O5 NO2
HNO3 ใช้ ในอุตฯ การทาสี
ไหมเทียม วัตถุระเบิด
ธาตุออกซิเจน(O)

ลักษณะและสมบัติ
O เป็ นก๊ าซไม่ มสี ี ไม่ มกี ลิน่
ช่ วยให้ ตดิ ไฟแต่ ไม่ ตดิ ไฟ เกิดสาร
ประกอบกับธาตุโลหะและอโลหะได้ ดี
ประโยชน์ สารประกอบของ O
ช่ วยในการหายใจ ใช้ ตดั เชื่ อม Na2O2 BaO2
โลหะ ในรู ป O3 ใช้ ฟอกสี KO2 H2O2
กระดาษ และฆ่ าเชื้อโรคในนา้ CsO2 RbO2
H2O2 ใช้ ฟอกสีขนสัตว์ ผม
ฟาง ยาฆ่ าเชื้อโรค
ธาตุฟอสฟอรัส (P)

ลักษณะและสมบัติ
P มีหลายรู ป เช่ น ฟอสฟอรัสขาว
(นิ่มคล้ ายขีผ้ งึ้ m.p, ตา่ ระเหยง่ าย มีพษิ
ไม่ ละลายนา้ ไม่ เสถียร)
ฟอสฟอรัสแดง (เป็ นผงสีแดงเข้ ม
ประโยชน์ ไม่ ระเหย ไม่ เป็ นพิษ)
ใช้ ทาสารฆ่ าแมลง ฟอสฟอรัส ฟอสฟอรัสดา (มีโครงสร้ างและสมบัติ
แดงใช้ ทาระเบิดเพลิง คล้ ายแกรไฟต์ ของแข็งสีเทาเข้ ม
ระเบิดหมอกควัน และไม้ ขีดไฟ เป็ นแผ่นมีเงาโลหะ นาไฟฟ้ าและความร้ อน)
ธาตุซิลคิ อน (Si)

Si
ลักษณะและสมบัติ
เป็ นผลึกสีเทา เป็ นมันวาว มีโครง
สร้ างคล้ ายเพชร แต่ แข็งน้ อยกว่ าเพชร
ประโยชน์
สารประกอบของ Si
เป็ นสารกึง่ ตัวนา ในรู ปซิลเิ กต
SiO2
ใช้ เป็ นวัตถุดบิ ในอุตฯ ทาแก้ ว
SiC
SiC นิยมใช้ ทาเครื่ องสับ บด
เครื่ องโม่
ธาตุเรเดียม (Ra)

ลักษณะและสมบัติ
เป็ นธาตุกมั มันตรังสี
ประโยชน์ เตรียมได้ จากระบวนการสลายสาร
Ra – 226 เสถียรทีส่ ุ ด ประกอบแฮไลด์ ของเรเดียมด้ วยไฟฟ้ า
เมื่อสลายตัวจะได้ เรดอน โดยใช้ ปรอทเป็ นขั้ว เรเดียมแฮไลต์ มกั
และเกิดตะกัว่ สลายตัว ตกผลึกออกมาพร้ อมกับแบเรียมแฮไลด์
ให้ รังสีแกมมา ยับยั้งการ ในแร่ ฟิตซ์ เบลนด์
เจริญของมะเร็ง
เป็ นสารเรื องแสง
ธาตุกงึ่ โลหะ (Metalloids)
ธาตุกงึ่ โลหะ คือ ธาตุทมี่ สี มบัตบิ างประการคล้ ายโลหะ และมีสมบัตบิ าง
ประการคล้ ายอโลหะ ได้ แก่

B (โบรอน) Si (ซิลกิ อน) Ge (เจอร์ เมเนียม)


As (อาร์ เซนิก) Sb (แอนติโมนี) Te (เทลลูเรียม)
Po (โพโลเนียม) At (แอสทาทีน)
ธาตุกงึ่ โลหะ
โบรอน (B)
- มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสู งเหมือนโลหะ แต่
เปราะ และไม่ นาไฟฟ้ า

- มีโครงสร้ างแบบโครงผลึกร่ างตาข่ ายทีแ่ ข็งแรงมาก


มีรูปผลึกหลายรู ป
ธาตุกงึ่ โลหะ
ซิลกิ อน (Si)
- เป็ นผลึกสีเทาเงิน มีจุดเดือด จุดหลอม เหลวสู งเหมือน
โลหะ แต่ เปราะเหมือนอโลหะ

- เป็ นสารกึง่ ตัวนา


- อะตอมของ Si ยึดต่ อกันในรู ปโครงผลึก ร่ างตาข่ าย

- ใช้ ทาแผงวงจรไฟฟ้ าและอุปกรณ์ ไฟฟ้ าต่ างๆ เช่ น วิทยุ


โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
ธาตุกงึ่ โลหะ
เจอร์ เมเนียม (Ge) มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสู งเหมือนโลหะ
แต่ เปราะเหมือนอโลหะ เป็ นธาตุกงึ่ ตัวนา ใช้ ทาส่ วนประกอบ
ของอิเล็กทรอนิกส์

อาร์ เซนิก (As) มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวค่ อนข้ างสู ง นาไฟฟ้ าได้


เหมือนโลหะ แต่ เปราะ

You might also like