Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

20/1/2024 R

งาน Work
กําลัง Power
พลังงาน Energy

งาน (Work)
คือปริมาณของพลังงานทีเ- ป็ นผลมาจากแรงซึง- กระทําต่อวัตถุ ก่อนส่งผลให้วตั ถุดงั กล่าว
เคลือ- นทีไ- ปตามแนวแรงได้ในระยะทางหนึ-ง เป็ นปริมาณสเกลาร์
งานเนื-องจากแรงคงที-
W = F̅ · S"

W = งานทีเ) กิดขึน0 จากแรงกระทํา มีหน่วยเป็ น Nm หรือ จูล (J)


F = แรงทีก) ระทําต่อวัตถุ มีหน่วยเป็ น นิวตัน (N)
S = การกระจัดทีว) ตั ถุเคลือ) นทีไ) ปตามแนวแรง มีหน่วยเป็ น เมตร (m)

1
20/1/2024 R

Types of Work

Types of Work

2
20/1/2024 R

Let’s try
จากข้อความต่อไปนีU
A. ออกแรงกระทํากับวัตถุ แต่วตั ถุไม่เคลือ- นที-
B. ออกแรงกระทํากับวัตถุในทิศทางตังU ฉากกับการเคลือ- นที-
C. แรงทีก- ระทํากับวัตถุตรงข้ามกับทิศของการเคลือ- นที-
D. ออกแรงกระทํากับวัตถุในทิศทํามุม 30 องศา กับการเคลือ- นที-

ข้อใดมีงานเกิดขึนU กับวัตถุ
1. A และ B
2. B และ C
3. C และ D
4. A และ D

Let’s try

ชายคนหนึ-งแบกวัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไว้บนบ่าขึนU สะพานลอยข้ามถนนซึง- สูง 5 เมตร ยาว 30 เมตร จง


หางานของชายคนนันU ทีก- ระทําต่อวัตถุ
ก. ตอนขึนU สะพาน ข. ตอนเดินบนสะพาน
ค. ตอนลงสะพาน ง. งานทังU หมดในการแบกวัตถุขา้ มถนน

3
20/1/2024 R

Let’s try

ออกแรง 40 นิวตัน ดึงวัตถุทว-ี างบนพืนU ราบเกลียU งในแนวทํามุม 60 องศา กับแนวระดับ เมือ- วัตถุ
เคลือ- นทีไ- ปตามพืนU ราบได้ไกล 10 เมตร งานของแรงทีด- งึ วัตถุมขี นาดเท่าใด

Let’s try

มวล 10 กิโลกรัม วางบนพืนU เอียงทํามุม 30 องศา กับแนว Note:


ระดับ สัมประสิทธิ nความเสียดทานระหว่างพืนU วัตถุกบั พืนU อี
ยงเท่ากับ 0.2 จงหางานของแรงฉุดวัตถุในแนวขนานกับพืนU
เอียงให้วตั ถุเคลือ- นทีข- นUึ ด้วยความเร็วคงที- เป็ นระยะทาง 10
เมตร

4
20/1/2024 R

งานเนื-องจากแรงไม่คงที-

เนื-องจากงาน เป็ นผลของแรงทีก- ระทําต่อวัตถุ แล้วทําให้วตั ถุเคลือ- นทีต- ามแนวแรง


กราฟทีแ- สดงความสัมพันธ์ระหว่างแรง (F̅ ) และ การกระจัด ("S)
จะบอกให้ทราบขนาดของงานทีท- าํ โดยพิจารณาจากพืนU ทีใ- ต้กราฟ

Let’s try

จงหางานเนื-องจากความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ
กระจัด ดังรูป

10

5
20/1/2024 R

กําลัง (Power)
คืออัตราของงานทีท- าํ ได้ในหนึ-งหน่วยเวลา โดยกําลังเป็ นตัวชีวU ดั ความสามารถในการ
ทํางานของทังU เครือ- งยนต์ มนุษย์ สัตว์ หรือสิง- มีชวี ติ อืน- ๆ

P = กําลัง มีหน่วยเป็ น J/s หรือ วัตต์ (W)


W
P = t
W = งานทีท) าํ ได้ มีหน่วยเป็ นจูล (J)
t = ระยะเวลาของการทํางาน มีหน่วยเป็ นวินาที (s)

ในกรณีทว-ี ตั ถุเคลือ- นทีด- ว้ ยความเร็วคงที- เนื-องจาก แรง F กําลังทีใ- ช้คอื

11

Let’s try

) งวัตถุมวล 1000 กิโลกรัมขึน0 จากพืน0 ได้สงู 20 เมตร ในเวลา 10 วินาที ด้วยความเร่งคงที) 0.4 m/s2 จงหา
ปั น0 จันดึ
ก. แรงฉุดของปั น0 จัน) ข. งานทีป) ั น0 จันทํ
) าได้ ค. กําลังของปั น0 จัน)

12

6
20/1/2024 R

Let’s try

รถลากซุงมวล 10 ตัน ขึน0 เนินเอียง 30 องศา กับแนวระดับได้ไกล 600 เมตร ในเวลา 10 นาที ด้วยความเร็วคงที)
ถ้าสัมประสิทธ์ความเสียดทานระหว่างพืน0 เนินกับซุง เท่ากับ 1/ 3 จงหากําลังของรถลากซุงนี0ในหน่วยกิโลวัตต์

13

พลังงาน (Energy) เป็ นสมบัตอิ ย่างหนึ-งของระบบทีบ- ง่ บอกขีดความสามารถในการทํางาน


พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้ า พลังงานกล พลังงานนิวเคลียร์

พลังงานกล พลังงานจลน์ (Kinetic Energy ; Ek)


(Mechanical Energy)
พลังงานศักย์ (Potential Energy ; Ep)

14

7
20/1/2024 R

พลังงานจลน์ (Kinetic Energy ; Ek)


คือ พลังงานทีเ) กิดขึน0 ในขณะทีว) ตั ถุกาํ ลังเคลือ) นที)
เช่น การไหลของกระแสนํ0า การบินของนก และการเคลือ) นทีข) องรถยนต์

1
Ek = 2 mv2

Ek = พลังงานจลน์ มีหน่วยเป็ นนิวตันเมตร หรือ จูล (J)


m = มวล มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
v = ความเร็ว มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที (m/s)

ปัจจัยที'มีผลต่อพลังงานจลน์ คือ มวลของวัตถุและความเร็วในการเคลือ) นที) ซึง) โดยทัวไปแล้ ) ว วัตถุทเ)ี คลือ) นทีด) ว้ ยความเร็ว
สูงมักมีพลังงานจลน์มากกว่าวัตถุซง)ึ เคลือ) นทีด) ว้ ยความเร็วตํ)า แต่ถา้ วัตถุดงั กล่าวเคลือ) นทีด) ว้ ยความเร็วเท่ากัน วัตถุทม)ี มี วล
มากกว่าจะมีพลังงานจลน์มากกว่า

15

พลังงานศักย์ศกั ย์ (Potential Energy ; Ep)

คือ พลังงานทีส) ะสมอยูใ่ นวัตถุหรือสสารทีห) ยุดนิ)งอยูก่ บั ที) โดยพลังงานศักย์สามารถจําแนกออกเป็ น f ประเภท ได้แก่

พลังงานศักย์โน้ มถ่วง คือ พลังงานทีส) ะสมอยูใ่ นวัตถุ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น คือ พลังงานทีสV ะสมอยูใ่ นวัตถุทมVี คี วามยืดหยุน่
เนื)องจากแรงโน้มถ่วงของโลก โดยพลังงานจะสะสมอยูใ่ นรูปของการหดตัว บิดเบียZ ว หรือโค้งงอ จากการ
ได้รบั แรงกระทํา ก่อนมีแรงดึงตัวกลับเพือV คืนสูส่ ภาพเดิม เช่น สปริง
ขดลวด หรือนาฬิกาไขลาน

Ep = mgh

Ep = พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็ นนิวตันเมตร หรือจูล (J)


m = มวล มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
g = ความเร่งจากแรงโน้มถ่วงโลก มีคา่ ราว M.O เมตรต่อวินาทีกาํ ลังสอง (m/s2)
h = ระยะความสูงของวัตถุ มีหน่วยเป็ นเมตร (m)

16

8
20/1/2024 R

ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน
The total done on an object equals the change
in the object’ kinetic energy or gravitational potential energy

งานทีใ) ห้แก่วตั ถุ สามารถเปลีย) นรูปไปเป็ นพลังงาน งานสามารถเปลีย) นไปเป็ นพลังงานศักย์โน้มถ่วงได้โดยงาน


จลน์ทเ)ี ปลีย) นแปลงของวัตถุ ทีใ) ช้ยกวัตถุให้สงู ขึน0 มีคา่ เท่ากับ
พลังงานศักย์โน้มถ่วงทีเ) ปลีย) นไป

17

พลังงานเป็ นปริมาณพืนU ฐานของระบบ ซึง- ไม่มวี นั สูญสลาย แต่สามารถเปลีย- นไปอยูใ่ นรูปแบบต่างๆ ของ
พลังงาน ตาม “กฎการอนุรกั ษ์พลังงาน” (Law of Conservation of Energy)

กฎการอนุรกั ษ์พลังงานกล

Ek1 + Ep1 = Ek2 + Ep2

18

9
20/1/2024 R

Let’s try

19

Let’s try

วัตถุมวล 5 และ 10 kg ตกลงอย่างอิสระจากทีส) งู 10 และ 5 เมตร ตามลําดับ จงเลือกข้อทีถ) กู ต้อง

1. วัตถุทงั 0 สองจะตกถึงพืน0 พร้อมกัน


2. วัตถุทงั 0 สองมีความเร็วสุดท้ายเท่ากัน
3. วัตถุทงั 0 สองมีพลังงานจลน์และพลังงานศักย์เท่ากันทีร) ะดับความสูงเดียวกัน
4. วัตถุทงั 0 สองมีความเร่งเท่ากัน

20

10
20/1/2024 R

Let’s try

ปล่อยวัตถุมวล 2 กิโลกรัม จากทีส) งู 10 เมตร ให้ตกในแนวดิง) ขณะวัตถุอยูส่ งู จากพืน0 3 เมตร วัตถุม ี


พลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานจลน์เท่าไร และพลังงานศักย์ลดลงจากเริม) ต้นเท่าไร

21

Let’s try

วัตถุหนึ)งเมือ) เพิม) อัตราเร็วให้เป็ น 2 เท่า ของอัตราเร็วเดิมจะมีพลังงานจลน์เป็ นกีเ) ท่าของเดิม

22

11

You might also like