Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 65

แนวข้ อสอบ พรบ.

วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง
1. พระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง มิให้บงั คับใช้ แก่ขอ้ ใด
ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
ข. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
ค. การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง
ง. ถูกทุกข้อ

2. การเตรี ยมการและการดาเนิ นการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครองหรื อกฎและรวมถึ งการ


ดาเนินการใดๆในทางปกครอง เป็ นความหมายของข้อใด
ก. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ข. การปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ค. วิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

3. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครองเป็ นความหมายของข้อใด


ก. ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครอง
ข. การพิจารณาทางปกครอง
ค. เตรี ยมการพิจารณาทางการปกครอง
ง. ดาเนินการพิจารณาทางการปกครอง
4. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็ นการสร้างนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะ
ก่อ เปลี่ ยนแปลงโอนสงวนระงับหรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ์ หรื อหน้าที่ของบุคคลไม่ว่าจะ
เป็ นการถาวรหรื อชัว่ คราวเช่นการสั่งการการอนุญาตการอนุมตั ิการวินิจฉัยอุทธรณ์การรับรองและการรับ
จดทะเบียนแต่ไม่หมายรวมความถึงอะไร
ก. การขึ้นทะเบียน
ข. การออกกฎ
ค. การลงโทษ
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

5. พระราชกฤษฎี กากฎกระทรวงประกาศกระทรวงข้อบัญญัติทอ้ งถิ่ นระเบียบข้อบังคับหรื อบทบัญญัติ


อื่นที่มีผลบังคับเป็ นการทัว่ ไปโดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บงั คับแก่กรณี ใดหรื อบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ เป็ น
ความหมายของคาว่า
ก.ระเบียบ
ข.กฎ
ค.กฎหมาย
ง.ข้อบังคับ

6. คณะกรรมการที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณาสาหรับการวินิจฉัยชี้ ขาดสิ ทธิ


และหน้าที่ตามกฎหมายเป็ นความหมายของคณะกรรมการใด
ก. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
ข. คณะกรรมการ กรรมาธิการวินิจฉัยข้อพิพาท
ค. คณะกรรมการวิเคราะห์ และวินิจฉัยข้อพิพาท
ง. คณะกรรมการ สั่งการทางข้อพิพาท
7. บุคคลคณะบุคคลหรื อนิ ติบุคคลซึ่ งใช้อานาจหรื อได้รับมอบให้ใช้อานาจทางปกครองของรัฐในการ
ดาเนิ นการอย่างหนึ่ งอย่างใดตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็ นการจัดตั้งขึ้นตามระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อ
กิจการอื่นของรัฐหรื อไม่ก็ตามเป็ นความหมายของข้อใด
ก. เจ้าพนักงาน
ข. พนักงานเจ้าหน้าที่
ค. เจ้าหน้าที่
ง. ข้าราชการ

8. ผูย้ นื่ คาขอหรื อผูค้ ดั ค้านคาขอผูอ้ ยูใ่ นบังคับหรื อจะอยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครองและผูซ้ ่ ึ งได้เข้ามา
ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่ องจากสิ ทธิ์ ของผูน้ ้ นั จะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคาสั่งทาง
ปกครองเป็ นความหมายของ ข้อใด
ก. คู่พิพาท
ข. คู่กรณี
ค. ผูต้ อ้ งคาสั่งทางปกครอง
ง. ผูเ้ สี ยประโยชน์

9. ผูใ้ ดรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
ก. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม
10. ผูร้ ักษาการ ตามพระราชบัญญัติน้ ี มีอานาจในการออก ................ เพื่อปฏิบตั ิ การตามพระราชบัญญัติ
นี้
ก. กฎกระทรวงและคาสั่ง
ข. กฎกระทรวงและประกาศ
ค. ประกาศและคาสั่ง
ง.ไม่มีขอ้ ถูก

11. คณะกรรมการวิธีปฏิ บตั ิราชการทางปกครอง ให้ใครเป็ นผูแ้ ต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ


ผูท้ รงคุณวุฒิ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐสภา
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ

12. ผูใ้ ด แต่งตั้งเลขานุการและผูช้ ่วยเลขานุการ คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. ประธาน คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ข. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. ไม่มีขอ้ ถูก
13. ส านัก งานคณะกรรมการใดท าหน้า ที่ เป็ นส านัก งานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการวิธี ก ารปฏิ บ ัติ
ราชการทางปกครอง
ก. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ข. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สานักงานเลขานุการนายกรัฐมนตรี
ง. สานักงาน คณะรัฐมนตรี

14. เจ้าหน้าที่ดงั ต่อไปนี้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้คือข้อใด


ก. เป็ นญาติของคู่กรณี
ข. เป็ นคู่กรณี เอง
ค. เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้หรื อเป็ นนายจ้างของคู่กรณี
ง.ถูกทุกข้อ

15. ถ้าปรากฏภายหลังว่าเจ้าหน้าที่หรื อคณะกรรมการในคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง


ใดขาดคุณสมบัติ หรื อ มีลกั ษณะต้องห้ามหรื อการแต่งตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมายอันเป็ นเหตุให้ผนู ้ ้ นั ผลจาก
ตาแหน่งการพ้นจากตาแหน่งนั้น มีผลทาให้
ก. การพ้นจากตาแหน่ งเช่ นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนถึ งการณ์ ใดที่ ผนู ้ ้ นั ได้ปฏิ บตั ิตามอานาจ
หน้าที่
ข. การพ้นจากตาแหน่งเช่นว่านั้นให้ถือว่าการปฏิ บตั ิหน้าที่ที่แล้วมาเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิ
ชอบด้วยกฎหมาย
ค. การพ้นจากตาแหน่ งเช่ นว่านั้น มี ผลทาให้ คาสั่งหรื อประกาศที่ ออกโดยบุ คคลนั้นไม่มีผ ล
บังคับใช้อีกต่อไป
ง. ไม่มีขอ้ ถูก
16. ผูม้ ีอานาจกากับควบคุม รัฐมนตรี น้ นั คือผูใ้ ด
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐสภา
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ

17. คู่ ก รณี ใ นการพิ จ ารณาทางปกครองได้ ต ามขอบเขตของตนถู ก กระทบกระเทื อ นหรื ออาจถู ก


กระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ คือ ผูใ้ ด
ก. บุคคลธรรมดา
ข. คณะบุคคล
ค.นิติบุคคล
ง.ถูกทุกข้อ

18. ผูใ้ ดไม่สามารถกระทาการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้


ก. ผูซ้ ่ ึ งไม่บรรลุนิติภาวะ
ข. นิติบุคคล
ค. คณะบุคคล
ง. ไม่มีขอ้ ถูก
19. ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณี ตอ้ งมาปรากฏตัวต่อเจ้าหน้าที่คู่กรณี มีสิทธิ์ นาทนายความหรื อที่
ปรึ กษาของตนเข้ามาในการพิจารณาทางปกครองได้ดา้ นใดที่ทนายความหรื อที่ปรึ กษาได้ทาลงต่อหน้า
คู่กรณี ให้ถือว่าเป็ นการกระทาของคู่กรณี เว้นแต่ขอ้ ใด
ก. คู่กรณี จะได้คดั ค้านเสี ยแต่ในขณะนั้น
ข. คู่กรณี คดั ค้านไม่เห็นด้วยความเห็นของ ทนายหรื อที่ปรึ กษา
ค. คู่กรณี คดั ค้านทนายที่ได้รับการแต่งตั้งมาแทน
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

20. หากปรากฏว่าผูไ้ ด้รับการแต่งตั้งให้กระทาการแทนผูใ้ ดไม่ทราบข้อเท็จจริ งในเรื่ องนั้นเพียงพอหรื อมี


เหตุไม่ควรไว้วางใจในความสามารถของบุคคลดังกล่าวให้เจ้าหน้าที่แจ้งให้คู่กรณี ทราบ โดย..........
ก.ทางโทรศัพท์
ข.อย่างรวดเร็ ว
ค.ไม่ชกั ช้า
ง.ทันที

21. ความตายของคู่กรณี เป็ นเหตุ ให้การแต่งตั้งให้กระทาแทนไม่สิ้นสุ ดลงหรื อไม่


ก. ผูก้ ระทาแทนที่ได้รับการแต่งตั้ง สิ้ นสุ ดหน้าที่ลง
ข. ผูก้ ระทาแทนที่ได้รับการแต่งตั้งไม่สิ้นสุ ดหน้าที่
ค. ผูก้ ระทาแทนที่ได้รับการแต่งตั้งต้องได้รับการแต่งตั้ง จาก ทายาท
ง. ผูก้ ระทาแทน สิ้ นสุ ดหน้าที่ลง และให้ทายาทเป็ นผูก้ ระทาแทนต่อ
22. เมื่อคู่กรณี แต่งตั้งผูก้ ระทาแทน ถึงแก่ความตาย ผูใ้ ดเป็ นผูถ้ อนการแต่งตั้ง ผูแ้ ทนคู่กรณี
ก. ทายาท
ข. เจ้าพนักงาน
ค. ผูส้ ื บสิ ทธิ ตามกฎหมายของคู่กรณี
ง. ผูร้ ับมรดกสิ ทธิ์

23. เอกสารที่ยนื่ ต่อเจ้าหน้าที่ให้จดั ทาเป็ นภาษา ......


ก. ภาษาไทย
ข. ถ้าเป็ นภาษาต่า งประเทศคู่ก รณี ต้องทาค าแปลเป็ นภาษาไทยที่ มีก ารรั บรองถู กต้องภายใน
ระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่ตารวจ
ค. เจ้าหน้าที่ยอมรับเอกสารที่จดั ทาขึ้นเป็ นภาษาต่างประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ

24. การรั บ รองความถู ก ต้ อ งของค าแปลเป็ นภาษาไทยหรื อการยอมรั บ เอกสารที่ ท าขึ้ นเป็ น
ภาษาต่างประเทศให้เป็ นไปตาม.............
ก.หลักเกณฑ์ของเจ้าหน้าที่
ข. ระเบียบงานสารบรรณ
ค. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
ง. ถูกทุกข้อ
29. ในกรณี ที่คาสั่งทางปกครองเป็ นคาสั่งด้วยวาจาผูร้ ับคาสั่งนั้นร้องขอและการร้องขอได้กระทาโดยมี
เหตุอนั สมควรภายในกี่วนั นับตั้งแต่วนั ที่มีคาสั่งดังกล่าวเจ้าหน้าที่ผอู ้ อกคาสั่งต้องยืนยันคาสั่งเป็ นหนังสื อ
ก.3 วัน
ข.5 วัน
ค.7 วัน
ง.15 วัน

30. คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อและการยืนยันคาสั่งทางปกครองเป็ นหนังสื อต้องจัดให้มีเหตุผลไว้


ด้วยและเหตุผลนั้นอย่างน้อยต้องประกอบด้วยอะไร ข้อใดไม่เป็ นเหตุผล
ก. ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ
ข. ข้อกฎหมายที่อา้ งอิง
ค. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ
ง. พยานหลักฐานในการสนับสนุนคาสั่ง

31. การออกคาสั่งทางปกครองเป็ นหนังสื อในเรื่ องใดหากมิได้มีกฎหมายหรื อกฎกาหนดระยะเวลาในการ


ออกคาสั่งทางปกครองในเรื่ องนั้นไว้เป็ นประการอื่นให้เจ้าหน้าที่ออกคาสั่งทางปกครองให้แล้วเสร็ จ
ภายในกี่วนั นับแต่วนั ที่เจ้าหน้าที่ได้รับคาขอและเอกสารถูกต้องครบถ้วน
ก.15 วัน
ข.30 วัน
ค.45 วัน
ง.60 วัน
32. ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่บุคคลใดหากบุคคลนั้นถึงแก่ความตายให้ดาเนิ นการบังคับ
ทางปกครองต่อไปได้แก่ ผูใ้ ด
ก. ทายาทผูร้ ับมรดก
ข. ผูจ้ ดั การมรดก
ค. ถูกทั้ง ก. ข.
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

33. ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่มีคาสั่งทางปกครอง ที่กาหนดให้ชาระเงิ นถ้าถึ งกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดย


ถู กต้องครบถ้วนให้เจ้าหน้าที่ ผูท้ าคาสั่งทางปกครองมี หนังสื อเตื อน ให้ผูน้ ้ นั ชาระภายในระยะเวลาที่
กาหนดแต่ไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั
ก.5 วัน
ข.7 วัน
ค.9 วัน
ง.15 วัน

34. เมื่ อมี ค าสั่ งเป็ นหนัง สื อ เตื อน ทางปกครองให้ไ ปชาระเงิ น ถ้า ไม่ ได้บ ตั รตามคาเตื อนเจ้า หน้า ที่ มี
มาตรการบังคับทางการปกครองโดย
ก. นากาลังเจ้าหน้าที่ควบคุมตัว เพื่อดาเนินคดี
ข. ยึดหรื ออายัดทรัพย์สินผูน้ ้ นั
ค. นาทรัพย์สินที่ยดึ หรื ออายัดทรัพย์สินผูน้ ้ นั ไปขายทอดตลาดเพื่อชาระเงินให้ครบถ้วน
ง.ถูกทั้ง ข. เเละ ค.
35. หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงินต้องดาเนิ นการยึดหรื ออายัดทรัพย์สินภายในกี่ปีนับแต่วนั ที่
คาสั่งทางปกครอง ที่กาหนดให้ชาระเป็ นที่สุด
ก.10 ปี
ข.12 ปี
ค.13 ปี
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

36. คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินเป็ นที่สิ้นสุ ดในกรณี ใด


ก. ไม่มีการอุทธรณ์คาสั่งต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์
ข. เจ้าหน้าที่ผมู ้ ีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ มีคาวินิจฉัยอุทธรณ์ และไม่มีการฟ้ องคดี ต่อศาลภายใน
ระยะเวลาการฟ้ องคดี
ค. ศาลมีคาสัง่ หรื อคาพิพากษายกฟ้ องหรื อเพิกถอนคาสัง่ บางส่ วนและคดีถึงที่สิ้นสุ ดแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ

37. จะยึดหรื ออายัดทรัพย์สินเพิ่มเติมอีกนิดได้ในกรณี ใด


ก. ศาลมี คาสั่งหรื อมีคาพิพากษายกฟ้ อง
ข. เพิกถอนคาสั่ง บางส่ วน
ค. คดีถึงที่สิ้นสุ ดแล้ว
ง.ถูกทุกข้อ
38. หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงินหมายถึง
ก. พนักงานเจ้าหนี้
ข. เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
ค. หน่วยงานเจ้าหนี้
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

39. ผูท้ ี่อยูใ่ นขั้นตอนและวิธีการเกี่ ยวกับการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สิน อยูใ่ นบังคับ


ของมาตรการบังคับทางปกครองหมายถึง
ก. ลูกหนี้ของหน่วยงานรัฐ
ข. ลูกหนี้ของ ราชการ
ค. ผูต้ อ้ งชาระหนี้ของหน่วยงานรัฐ
ง. ลูกหนี้ตามคาพิพากษา

40. เจ้าพนักงาน บังคับคดี ตามขั้นตอนและวิธีการเกี่ ยวกับการยึดและอายัดการขายทอดตลาดทรัพย์สิน


หมายถึงข้อใด
ก. เจ้าพนักงานปกครอง
ข. เจ้าพนักงานทางการบังคับปกครอง
ค. เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง
ง. เจ้าพนักงานบังคับคดีทางปกครอง
41. สารใดไม่อยูใ่ นภายใต้บงั คับ การโต้แย้งหรื อการใช้สิทธิ์ ทางศาลเกี่ยวกับการยึดการอายัดและการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินโดยผูอ้ ยูใ่ นบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองรวมทั้งบุคคลภายนอก ผูม้ ีส่วนได้
ส่ วนเสี ยเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกยึดหรื ออายัด
ก. ศาลปกครอง
ข. ศาลแรงงาน
ค. ศาลภาษีอากร
ง. ศาลเยาวชนและครอบครัว

42. ค่าปรับที่เจ้าหน้าที่ส่งให้ผทู ้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิ บตั ิ ตามคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละ


เว้นการกระทา ชาระเป็ นรายวันไปจนกว่าจะยุติการฝ่ าฝื นคาสั่งหรื อได้มีการปฏิบตั ิตามคาสั่งแล้วไม่วา่ จะ
เป็ นค่าปรับที่กาหนดโดยพระราชบัญญัติน้ ี หรื อโดยกฎหมายอื่นหมายความคือข้อใด
ก. ค่าปรับบังคับการ
ข. ค่าปรับละเมิดคาสั่งปกครอง
ค. ค่าปรับทางปกครอง
ง. ค่าปรับ เพื่อชาระการละเมิดทางปกครอง

43. ผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครองของเจ้าที่ ผูฝ้ ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม ต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่ม


รายวันอัตราร้อยละ เท่าใดต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว แก่หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่น้ นั สังกัด
ก.ร้อยละ 10
ข.ร้อยละ 15
ค.ร้อยละ 20
ง.ร้อยละ 25
44. ผูอ้ ยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ผฝู ้ ่ าฝื นไม่ปฏิ บตั ิตาม ผูน้ ้ นั ให้มีการชาระค่าปรับ
บังคับการตามจานวนที่สมควรแก่เหตุแต่ตอ้ งไม่เกินกี่บาทต่อวัน
ก.10,000 บาท
ข.20,000 บาท
ค.30,000บาท
ง.4.50,000บาท

45. ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองเจ้าหน้าที่จะต้อง ทาอย่างไร ถูกต้องที่สุด


ก. มีคาเตือนเป็ นหนังสื อ ให้มีการกระทาหรื อละเว้นการกระทา
ข. มีคาเตือนเป็ นวาจาให้มีการกระทาหรื อละเว้นการกระทา
ค. ไม่ตอ้ งแนบคาสั่งทางปกครอง ไปกับหนังสื อเตือน
ง. แนบคาสัง่ ทางปกครองไปกลับ คาเตือนเป็ นหนังสื อก็ได้

46. การแจ้งเป็ นหนังสื อให้บุคคลนาไปส่ ง ถ้าผูร้ ับไม่ยอมรับหรื อขณะนาไปส่ งไม่มีผรู ้ ับและหากได้ส่ง


ให้กบั บุ คคลใดซึ่ งบรรลุ นิติภาวะที่ อยู่หรื อทางานในสถานที่ น้ นั หรื อในกรณี ที่ผูน้ ้ นั ไม่ยอมรั บต้องท า
อย่างไร
ก. ประกาศ ณ หน่วยงานที่บงั คับทางปกครองเป็ นเวลา 15 วันหรื อว่า ผูน้ ้ นั รับทราบ
ข. วางหนังสื อปิ ดหนังสื อนั้นไว้ในที่ซ่ ึ งเห็นได้ง่าย ณ สถานที่แห่ งนั้นต่อหน้าเจ้าพนักงานตามที่
กาหนดไว้ในกฎกระทรวงที่ไปเป็ นพยานก็ถือว่าได้รับแจ้งแล้ว
ค. มอบหนังสื อแก่ ผูน้ าชุ มชนเพื่อปิ ดไว้ในบอร์ ด เป็ นเวลา 15 วัน ประชาคมหมู่บา้ นถื อว่าผูน้ ้ นั
รับทราบแล้ว
ง. นาคาสั่งทางปกครองลงบันทึกประจาวันเมื่อพ้น 15 วันแล้วถือว่าผูน้ ้ นั รับทราบ
เฉลย
1.ง 2.ก 3.ข 4.ข 5.ข 6.ก 7.ค 8.ง 9.ค 10.ข
11.ค 12.ข 13.ข 14.ง 15.ก 16.ค 17.ง 18.ก 19.ก 20.ค
21.ข 12.ค 13.ง 24.ค 25.ง 26.ง 27.ค 28.ง 29.ค 30.ง
31.ข 32.ค 33.ข 34.ง 35.ก 36.ง 37.ง 38.ข 39.ง 40.ค
41.ก 42.ก 43.ง 44.ง 45.ง 46.ข
ชุดที่ 2
1. ความในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. นายกรัฐมนตรี เป็ นผูร้ ักษาการตามกฎหมายนี้
ข. นายกรัฐมนตรี มีอานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ
ค. นายกรัฐมนตรี มีอานาจแต่งตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ
ง. ข้อ ก. ข. และ ค. ไม่ถูกต้อง

2. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติน้ ี
ก. ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี
ข. ตราขึ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ค. ตราขึ้นโดยสภานิติบญั ญัติแห่งชาติในยุครัฐประหาร
ง. พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า "พระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539"

3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติฉบับนี้
ก. ไม่มีการแก้ไข
ข. พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
ค. พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
ง. พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561
4. หน่วยงานใดทาหน้าที่เป็ นสานักงานเลขานุการคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ก. สานักงานคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ข. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สานักงานอัยการสู งสุ ด
ง. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

5. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ก. ดาเนินการตามที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย
ข. ให้คาปรึ กษาแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี
ค. ให้คาแนะนะเกี่ยวกับการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่
ง. เสนอแนะการออกระเบียบตามพระราชบัญญัติน้ ี

6. เกี่ยวกับวาระดารงตาแหน่งในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ประธานกรรมการมีวาระดารงตาแหน่ง 4 ปี
ข. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิมีวาระดารงตาแหน่ง 3 ปี
ค. ประธานกรรมการพ้นจากตาแหน่งเมื่อคณะรัฐมนตรี มีมติให้ออก
ง. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิพน้ จากตาแหน่งเมื่อต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
7. พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับแก่กรณี ใด
ก. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ข. ระยะเวลาอุทธรณ์ตามกฎหมายควบคุมอาคาร
ค. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ง. การดาเนินกิจการขององค์การทางศาสนา

8. ข้อใดมิใช่บทบาทสาคัญของเลขาธิ การคณะกรรมการกฤษฎีกาตามกฎหมายนี้
ก. ร่ วมพิจารณากับคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ข. ให้คาแนะนาการปรับปรุ งปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ค. สนับสนุนฝ่ ายเลขานุการคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ง. รับผิดชอบงานประชุมของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

9. ข้อใดคือความหมายของคาสั่งทางปกครอง
ก. การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ เช่น การออกกฎ
ข. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ เช่น การไม่อนุญาต
ค. การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ เช่น คาสั่งวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
ง. การออกคาสัง่ ของเจ้าหน้าที่ตามสัญญาก่อสร้าง
10. ข้อใดคือความหมายของวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ก. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่
ข. มีวตั ถุประสงค์เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครองหรื อกฎ
ค. รวมถึงการดาเนินการใดๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัติน้ ีดว้ ย
ง. ถูกทุกข้อ

11. เกี่ยวกับคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ข้อใดไม่ถูกต้อง


ก. ประธานกรรมการ แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี จากผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
ข. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒ มีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง
ง. เลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง

12. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ไม่จาเป็ นต้องมีความเชี่ยวชาญ


ด้านใด
ก. นิติศาสตร์
ข. รัฐศาสตร์
ค. ศึกษาศาสตร์
ง. บริ หารราชการแผ่นดิน
13. ข้อบัญญัติท ้องถิ่ นที่ มี ผลบังคับ เป็ นการทัว่ ไป ไม่ มุ่ง หมายให้ใ ช้แก่ ก รณี ใ ดหรื อบุ ค คลใดเป็ นการ
เฉพาะ จัดอยูใ่ นความหมายของเรื่ องใด
ก. คาสั่งทางปกครอง
ข. กฎ
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. ประกาศกระทรวง

14. การปฏิ บตั ิ การตามพระราชบัญญัติน้ ี จาเป็ นจะต้องออกกฎกระทรวงและประกาศ ซึ่ งอยู่ในอานาจ


หน้าที่ของบุคคลในข้อใด
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

15. ผูจ้ ะอยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครอง เนื่องจากสิ ทธิ จะถูกกระทบกระเทือน คือผูใ้ ด


ก. เจ้าหน้าที่
ข. ผูม้ ีส่วนได้เสี ย
ค. คู่กรณี
ง. คู่กรณี ผมู ้ ีส่วนได้เสี ย
16. การดาเนินการยกเว้นไม่ให้นาพระราชบัญญัติน้ ีมาใช้บงั คับ จะต้อง
ก. ให้คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองออกประกาศกาหนด
ข. ตราพระราชกาหนดตามข้อเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ค. ให้คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองออกกฎ
ง. ตราพระราชกฤษฎีกาตามข้อเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

17. พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไม่ใช้บงั คับกับ


ก. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการบังคับคดี
ข. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการวางทรัพย์
ค. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี
ง. ถูกทุกข้อ

18. ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. ขั้นตอนการอุทธรณ์ตอ้ งเป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี เพราะเป็ นหลักเกณฑ์ที่ประกันความเป็ น
ธรรมและมีมาตรฐานในการปฏิบตั ิราชการ
ข. ระยะเวลาการอุทธรณ์ตอ้ งเป็ นไปตามกฎหมายเฉพาะกาหนด
ค. ขั้นตอนและระยะเวลาการอุ ทธรณ์ ตอ้ งเป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี เพราะเป็ นหลักเกณฑ์ที่
ประกันความเป็ นธรรมและมีมาตรฐานในการปฏิบตั ิราชการ
ง. ขั้นตอนและระยะเวลาการอุทธรณ์ตอ้ งเป็ นไปตามกฎหมายเฉพาะกาหนด
19. วันใช้บงั คับพระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. วันพ้นกาหนด 180 วัน นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. วันพ้นกาหนด 180 วัน นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

20. วันใช้บงั คับตามข้อ 19 ตรงกับวันใด


ก. 14 พฤศจิกายน 2539
ข. 15 พฤศจิกายน 2539
ค. 14 พฤษภาคม 2540
ง. 15 พฤษภาคม 2540

เฉลย
1.ตอบ ค. (ดูมาตรา 7 วรรคสอง)
2.ตอบ ค. (ดูคาปรารภ)
3.ตอบ ข. (พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ประกาศในราชกิ จจา
นุเบกษา เล่ม 131 ตอนที่ 89 ก วันที่ 30 ธันวาคม 2557)
4.ตอบ ข. (ดูมาตรา 10)
5.ตอบ ง. (ดูมาตรา 11 (4) เสนอแนะการตราพระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง/ประกาศ)
6.ตอบ ก. (ดูมาตรา 8 และมาตรา 76)
7.ตอบ ค. (ดูมาตรา 3 และมาตรา 4)
8.ตอบ ข. (ดูมาตรา 4 มาตรา 10 มาตรา 11)
9.ตอบ ข. (ดูมาตรา 5)
10.ตอบ ง. (ดูมาตรา 5)
11.ตอบ ก. (ดูมาตรา 7)
12.ตอบ ค. (ดูมาตรา 7)
13.ตอบ ข. (ดูมาตรา 5)
14.ตอบ ก. (ดูมาตรา 6)
15.ตอบ ค. (ดูมาตรา 5)
16.ตอบ ง. (ดูมาตรา 4 วรรคท้าย)
17.ตอบ ง. (ดูมาตรา 4 (4))
18.ตอบ ง. (ดูมาตรา 3)
19.ตอบ ง. (ดูมาตรา 2)
20.ตอบ ค. (ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษาเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2539 และมีผลใช้บงั คับเมื่อวันที่ 14
พฤษภาคม 2540 เป็ นต้นไป ซึ่ งเป็ นวันที่ พน้ กาหนด 180 วัน นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิ จจา
นุเบกษา)
ชุดที่ 3
1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ไม่ใช่บงั คับองค์กรหรื อหน่วยราชการตามข้อ
ใด
ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
ข. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ค. การดาเนินกิจการทางศาสนา
ง. ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดเป็ นคาสั่งทางปกครอง
ก. คาสั่งของเจ้าหน้าที่ ซ่ ึ งใช้อานาจตามกฎหมายในการสั่งและมี ผลกระทบต่อสถานภาพของ
สิ ทธิหรื อหน้าที่ของบุคคล
ข. การอนุญาตหรื อไม่อนุญาตอันก่อให้เกิดสิ ทธิ หรื อระงับซึ่ งสิ ทธิ ของบุคคล
ค. การวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่อนั มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ

3. คาว่า "กฎ" ตามพระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด


ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกาศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ
4. บุคคลตามข้อใดเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม
ง. อธิบดีกรมการปกครอง

5. บุคคลตามข้อใดเป็ นประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ง. บุคคลซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้ง

6. ผูด้ ารงตาแหน่งประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ต้องเป็ นบุคคลตามข้อใด


ก. เป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
ข. ต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
ค. ต้องเป็ นผูม้ ีความเชี่ ยวชาญในทางนิ ติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐ ศาสตร์ สังคมศาสตร์
บริ หารราชการแผ่นดิน
ง. ต้องอายุไม่เกิน 50 ปี บริ บูรณ์
7. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง กาหนดจานวนไว้ตามข้อใด
ก. ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
ข. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ค. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ง. ไม่นอ้ ยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน

8. บุคคลข้อใดที่ทาตามหน้าที่เลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
ก. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ข. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. ข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิ การคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้ง
ง. ข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิ การคณะรัฐมนตรี แต่งตั้ง

9. กรรมการในคณะกรรมการวิธีป ฏิ บ ตั ิ ราชการทางปกครองที่ ค ณะรั ฐมนตรี แต่ ง ตั้ง มี วาระการดารง


ตาแหน่ง คราวละกี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี
ค. 4 ปี ง. 5 ปี

10. หน่ วยงานที่ ทาหน้าที่ สานัก งานเลขานุ การของคณะกรรมการวิธี ปฏิ บตั ิ ราชการทางปกครอง คื อ
หน่วยงานในข้อใด
ก. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ข. สานักงานคณะกรรมการรัฐมนตรี
ค. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ง. กรมการปกครอง

11. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. สอดส่ อ งดู แ ลและให้ ค าแนะนาเกี่ ย วกับ การด าเนิ น งานของเจ้า หน้า ที่ ใ นการปฏิ บ ัติ ต าม
พระราชบัญญัติน้ ี
ข. เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎี ก าและการออกกฎกระทรวงหรื อประกาศตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
ค. พิจารณาคดีทางการปกครอง
ง. จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ีเสนอนายกรัฐมนตรี

12. เจ้าหน้าที่ตามข้อใดทาการพิจารณาทางปกครองได้
ก. เป็ นคู่กรณี ในคดี
ข. เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้ หรื อเป็ นนายจ้างของคู่กรณี
ค. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี
ง. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี ในคดี

13. บุคคลตามข้อใดเป็ นคู่กรณี ในการพิจารณาปกครองได้


ก. บุคคลธรรมดา ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล ง. ถูกทุกข้อ

14. บุคคลตามข้อใดเป็ นตัวแทนร่ วมของคู่กรณี ในกรณี ที่มีคู่กรณี เกิน 50 คนยืน่ คาขออย่างเดียวกันได้


ก. บุคคลธรรมดา ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล ง. ถูกทุกข้อ

15. กรณี ที่คาขอหรื อคาแถลงของคู่กรณี ในการพิจารณาทางปกครอง มีขอ้ บกพร่ องอันเกิดจากความไม่รู้


ของคู่กรณี เจ้าหน้าที่จะดาเนินการตามข้อใด
ก. ให้จาหน่ายเรื่ องออกการพิจารณา
ข. ให้เจ้าหน้าที่แนะนาให้คู่กรณี แก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
ค. ให้เจ้าหน้าที่แก้ไขให้ถูกต้อง
ง. ให้พิจารณาไปตามข้อเท็จจริ งเพียงเท่าที่มีอยู่

16. ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่สามารถดาเนินการได้ตามข้อใด


ก. สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริ งตามความเหมาะสม
ข. ไม่ผกู พันอยูก่ บั คาขอของคู่กรณี
ค. ไม่ตอ้ งผูกพันกับพยานหลักฐานของคู่กรณี
ง. ถูกทุกข้อ

17. ในการจัดพิจารณาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ ง เจ้าหน้าที่มีอานาจดาเนินการตามข้อใด


ก. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
ข. ขอให้ผคู ้ รอบครองเอกสารส่ งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค. ออกไปตรวจสถานที่
ง. ถูกทุกข้อ
18. การดาเนิ นการของเจ้าหน้าที่ตามข้อใดไม่ถูกต้องในกรณี ที่คาสั่งทางการปกครองจะกระทบถึงสิ ทธิ
ของคู่กรณี
ก. เจ้าหน้าที่ให้คู่กรณี มีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริ ง และมีโอกาสโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานของ
ตน
ข. เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณี ทราบข้อเท็จจริ งเนื่ องจากเป็ นมาตรการบังคับทางการปกครอง
ค. เจ้าหน้าที่ให้โอกาสคู่กรณี โต้แย้งพยานหลักฐานถึงแม้วา่ จะก่อให้เกิดผลเสี ยหายอย่างร้ ายต่อ
ประโยชน์ สาธารณะ
ง. เจ้า หน้า ที่ ไ ม่ ใ ห้โ อกาสคู่ ก รณี ไ ด้ท ราบข้อเท็จจริ ง เนื่ องจากจะท าให้ ระยะเวลาที่ ก ฎหมาย
กาหนดไว้ในการทา คาสัง่ ทางปกครองต้องล่าช้าออกไป

19. คู่กรณี มีสิทธิ ขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็ นต้องรู ้เพื่อการโต้แย้งสิ ทธิ หรื อชี้ แจงหรื อป้ องกันสิ ทธิ ของตน
ได้ การขอ ดังกล่าวไม่รวมถึงการขอในข้อใด
ก. ขอตรวจดูเอกสารต้นร่ างคาวินิจฉัย ในขณะที่ยงั ไม่ได้ทาคาสั่งทางปกครอง
ข. ขอสาเนาเอกสารที่เป็ นพยานหลักฐานทั้งหมด
ค. ขอดูหลักฐานที่เจ้าหน้าที่เก็บรักษาไว้
ง. มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี

20. รู ปแบบคาสั่งทางการปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ทาเป็ นหนังสื อ
ข. เป็ นคาสั่งด้วยวาจาก็ได้
ค. สั่งทางจดหมายอิเล็คทรอนิกส์
ง. คาสั่งทางปกครองอาจใช้รูปแบบได้ท้ งั ข้อ ก , ข และข้อ ค

21. ในกรณี คาสั่งทางปกครองเป็ นคาสั่งด้วยวาจา ถ้าผูร้ ับสั่งร้องขอภายในกี่วนั นับแต่วนั มีคาสั่งเจ้าหน้าที่


ต้องยืนยันคาสั่งนั้นเป็ นหนังสื อ
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน

22. เหตุผลที่ตอ้ งจัดให้มีไว้ในคาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อ คือข้อใด


ก. ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ
ข. กฎหมายที่ใช้อา้ งอิง
ค. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลยพินิจ
ง. ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค

23. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
ก. ให้คู่กรณี อุทธรณ์คาสั่งทางปกครองต่อเจ้าหน้าที่ทาคาสั่งภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้ง
คาสั่ง
ข. การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองสามารถอุทธรณ์ดว้ ยวาจาได้
ค. การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง
ง. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์ภายในไม่เกิน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รับการ
อุทธรณ์
24. ในการพิจารณาอุทธรณ์ เจ้าหน้าที่มีอานาจพิจารณาในประเด็นตามข้อใด
ก. พิจารณาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริ ง
ข. พิจารณาประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย
ค. พิจารณาความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางการปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ

25. การเพิกถอนคาสั่งทางการปกครองที่มีลกั ษณะเป็ นการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายในกี่วนั นับแต่ได้


รู้ถึงเหตุ
ที่จะให้เพิกถอนคาสัง่ ทางการปกครองนั้น
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน

26. เมื่อคู่กรณี มีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรื อแก้ไขเพิม่ เติมคาสัง่ ทางปกครองที่พน้ กาหนดอุทธรณ์


ก. มี พ ยานหลัก ฐานใหม่ อนั อาจท าให้ข ้อเท็จจริ ง ที่ ฟั ง เป็ นข้อยุติแ ล้วนั้น เปลี่ ย นแปลงไปใน
สาระสาคัญ
ข. คู่กรณี ที่แท้จริ งไม่ได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรื อได้เข้ามาในกระบวนการ
ค. เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจที่จะทาคาสั่งทางการปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
27. คาสั่งทางปกครองที่ กาหนดใช้ชาระเงิ น ถ้าถึ งกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถู กต้องครบถ้วน ให้
เจ้าหน้าที่มีหนังสื อเตือนให้ชาระภายในเวลาที่กาหนด โดยจะต้องให้มีเวลาไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน

28. คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ละเว้นการกระทา ถ้าผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งฝ่ าฝื น เจ้าหน้าที่อาจบังคับ


ให้ไป ชาระค่าปรับทางปกครองได้ โดยจานวนเงินที่กาหนดต้องไม่เกินอัตราตามข้อใด
ก. 500 บาทต่อวัน
ข. 1,000 บาทต่อวัน
ค. 2,000 บาทต่อวัน
ง. 20,000 บาทต่อวัน

29. ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่จะต้องมีคาเตือนเป็ นหนังสื อให้มีการกระทาหรื อละ


เว้นการ กระทาตามคาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กาหนด คาเตือนดังกล่าวจะต้องระบุตามข้อใด
ก. มาตรการบังคับทางการปกครองที่จะใช้
ข. ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการด้วยตนเอง
ค. จานวนค่าปรับทางปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
30. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับ ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดเวลาตาม
ข้อใด
ก. 5 วันนับแต่ส่งสาหรั บกรณี ภายในประเทศ หรื อ 7 วันนับแต่วนั ที่ ส่งสาหรั บกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ข. 7 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 15 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ค. 15 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 30 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ง. 20 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 45 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
เฉลยแนวข้อสอบ
1. ง 2. ง 3. ง 4. ก 5. ง 6. ค 7. ค 8. ค
9. ข 10. ก 1 1. ค 12. ค 13. ง 14. ก 15. ข 16. ง
17. ง 18. ค 19. ก 20. ง 21. ค 22. ง 23. ข 24. ง
25. ค 26. ง 27. ก 28. ง 29. ง 30. ข
ชุดที่ 4
1.ผูท้ ี่จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้คือข้อใด
ก. เป็ นคู่กรณี เอง
ข. เป็ นคู่หมั้นของคู่กรณี
ค. เป็ นญาติของคู่กรณี
ง. ถูกทุกข้อ

2.ที่ประชุ มมีมติให้กรรมการผูถ้ ูกคัดค้านปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไป ต้องมีคะแนนเสี ยงเท่าใดของกรรมการที่ไม่


ถูกคัดค้าน ก็ให้กรรมการผูน้ ้ นั ปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปได้
ก. ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ง ข. ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งในสาม
ค. ไม่นอ้ ยกว่าสองในสาม ง. ไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่

3.ในกรณี ที่ มี ก ารยื่นค าขอหลายคาขอนั้นมี ข ้อความท านองเดี ย วกัน สามารถที่ จะระบุ บุ ค คลใดเป็ น
ตัวแทนร่ วมได้ ในกรณี เช่นนี้ตอ้ งมีผลู ้ งชื่อร่ วมเกินกว่ากี่คน
ก. เกินสามสิ บคน ข. เกินห้าสิ บคน
ค. เกินห้าร้อยคน ง. เกินหนึ่งพันคน

4.คาสั่งทางปกครองของคณะกรรมการนั้น คู่กรณี มีสิทธิ โต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้ องทุกข์ ได้


ภายในกี่วนั นับแต่วนั ได้รับแจ้งคาสั่ง
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
5.ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่งทางปกครอง มีสิทธิ ได้รับค่าทดแทนความเสี ยหาย ซึ่ งต้องรอ
ค่าทดแทนภายในระยะเวลาใด นับแต่ได้รับแจ้งการเพิกถอน
ก. 30 วัน ข. 60 วัน
ค. 120 วัน ง. 180 วัน

6.คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทา แล้วผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครองฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม


เจ้าหน้าที่จะดาเนินการด้วยตัวเองและต้องชดใช้เงินเพิ่มให้แก่เจ้าหน้าที่ร้อยละเท่าใดต่อปี
ก. ร้อยละห้า
ข. ร้อยละสิ บ
ค. ร้อยละสิ บห้า
ง. ร้อยละยีส่ ิ บห้า

7.จากข้อข้างต้น อาจมีการชาระค่าปรับทางปกครองในอัตราไม่เกินเท่าใดต่อวัน
ก. 5,000 บาท/วัน
ข. 10,000 บาท/วัน
ค. 15,000 บาท/วัน
ง. 20,000 บาท/วัน
8.การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับ ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดกี่วนั นับ
แต่วนั ส่ ง ทั้งในกรณี ภายในประเทศและต่างประเทศ
ก. 3 วัน, 7 วัน ข. 5 วัน, 7 วัน
ค. 7 วัน, 15 วัน ง. 15 วัน, 30 วัน

9.ในการนัดการประชุมนั้น ต้องแจ้งให้คณะกรรมการทุกคนทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั


ก. ไม่นอ้ ยกว่าสามวัน
ข. ไม่นอ้ ยกว่าห้าวัน
ค. ไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดวัน
ง. ไม่นอ้ ยกว่าสิ บห้าวัน

10.ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการใน พรบ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 ฉบับนี้คือใคร


ก. นายอานันท์ ปันยารชุน
ข. นายบรรหาร ศิลปอาชา
ค. นายสมัคร สุ นทรเวช
ง. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
เฉลย
1.ตอบ ง. ถูกทุกข้ อ
เจ้าหน้าที่ดงั ต่อไปนี้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
(1) เป็ นคู่กรณี เอง
(2) เป็ นคู่หมัน่ หรื อคู่สมรสของคู่กรณี
(3) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการี หรื อผูส้ ื บสันดานไม่วา่ ชั้นใด ๆ หรื อเป็ นพี่น้องหรื อลูกพี่ลูกน้อง
นับได้เพียงภายในสามชั้น หรื อเป็ นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น
(4) เป็ นหรื อเคยเป็ นผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผูพ้ ิทกั ษ์หรื อผูแ้ ทนหรื อตัวแทนของคู่กรณี
(5) เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้ หรื อเป็ นนายจ้างของคู่กรณี
(6) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
(พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 13)
2. ตอบ ค. ไม่ น้อยกว่าสองในสาม
ถ้าที่ประชุมมีมติให้กรรมการผูถ้ ูกคัดค้านปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปด้วยคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของ
กรรมการที่ ไ ม่ ถู ก คัด ค้า น ก็ ใ ห้ ก รรมการผูน้ ้ ัน ปฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ต่ อ ไปได้ มติ ดัง กล่ า วให้ ก ระท าโดยวิ ธี
ลงคะแนนลับให้เป็ นที่สุด (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 15)
3.ตอบ ข. เกินห้ าสิ บคน
ในกรณี ที่มีการยืน่ คาขอโดยมีผลู ้ งชื่อร่ วมกันเกินห้าสิ บคนหรื อมีคู่กรณี เกินห้าสิ บคนยืน่ คาขอที่มีขอ้ ความ
อย่างเดียวกันหรื อทานองเดียวกัน ถ้าในคาขอมีการระบุให้บุคคลใดเป็ นตัวแทนของบุคคลดังกล่าวหรื อมี
ข้อ ความเป็ นปริ ย ายให้เ ข้า ใจได้เช่ นนั้น ให้ถื อว่า ผูท้ ี่ ถู ก ระบุ ชื่ อดัง กล่ า วเป็ นตัวแทนร่ ว มของคู่ ก รณี
เหล่านั้น (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 25)
4.ตอบ ค. 90 วัน
คาสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่าง ๆ ไม่ว่าจะจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายหรื อไม่ ให้คู่กรณี มี
สิ ทธิ โต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้ องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎี กาได้ท้ งั ปั ญหา
ข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมาย ภายในเก้าสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งคาสั่งนั้น แต่ถา้ คณะกรรมการดังกล่าว
เป็ นคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
สิ ท ธิ ก ารอุ ท ธรณ์ และก าหนดเวลาอุ ท ธรณ์ ใ ห้เป็ นไปตามที่ บ ญ
ั ญัติใ นกฎหมายว่า ด้วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกา (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 48)
5.ตอบ ง. 180 วัน
คาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรื อบางส่ วนได้ แต่ผไู ้ ด้รับผลกระทบ
จากการเพิกถอนคาสั่งทางปกครองดังกล่าวมีสิทธิ ได้รับค่าทดแทนความเสี ยหายเนื่ องจากความเชื่ อโดย
สุ จริ ตในความคงอยูข่ องคาสั่งทางปกครองได้ แต่ตอ้ งร้องขอค่าทดแทนภายในหนึ่งร้อยแปดสิ บวันนับแต่
ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการเพิกถอนนั้น (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 52)
6.ตอบ ง. ร้ อยละยีส่ ิ บห้ า
คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละเว้นกระทา ถ้าผูอ้ ยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครองฝ่ าฝื น
หรื อไม่ปฏิ บตั ิตามเจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการด้วยตนเองหรื อ
มอบหมายให้บุคคลอื่นกระทาการแทน โดยผูอ้ ยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่าย
และเงินเพิ่มในอัตราร้อยละยีส่ ิ บห้าต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าวแก่เจ้าหน้าที่ (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 58)
7. ตอบ ง. 20,000 บาท/วัน
คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละเว้นกระทา ถ้าผูอ้ ยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครองฝ่ าฝื น
หรื อไม่ปฏิ บตั ิตามเจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ให้มีการชาระค่าปรับทางปกครองตาม
จานวนที่สมควรแก่เหตุแต่ตอ้ งไม่เกินสองหมื่นบาทต่อวัน (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 58)
8.ตอบ ค. 7 วัน, 15 วัน
การแจ้งโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรั บให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่ อครบกาหนดเจ็ดวันนับแต่วนั ส่ งสาหรั บ
กรณี ภายในประเทศหรื อเมื่อครบกาหนดสิ บห้าวันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยังต่างประเทศ เว้นแต่
จะมีการพิสูจน์ได้วา่ ไม่มีการได้รับหรื อได้รับก่อนหรื อหลังจากวันนั้น (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 71)
9.ตอบ ก. ไม่ น้อยกว่าสามวัน
การนัดประชุ มต้องทาเป็ นหนังสื อและแจ้งให้กรรมการทุกคนทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่าสามวัน เว้นแต่
กรรมการนั้น จะได้ท ราบการบอกนัด ในที่ ป ระชุ ม แล้ว กรณี ดัง กล่ า วนี้ จะท าหนัง สื อ แจ้ง นัด เฉพาะ
กรรมการที่ไม่ได้มาประชุมก็ได้ (พรบ.วิธีปฏิบตั ิฯ มาตรา 80)
10.ตอบ ข. นายบรรหาร ศิลปอาชา
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ นายบรรหาร ศิลปะอาชา นายกรัฐมนตรี

ชุดที่ 5
1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ไม่ใช่บงั คับองค์กรหรื อหน่วยราชการตามข้อ
ใด
ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
ข. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ค. การดาเนินกิจการทางศาสนา
ง. ถูกทุกข้อ

2. กฎหมายวิธีปฎิบตั ิราชการปกครองใช้บงั คับในกรณี ใด


ก. การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง
ข. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
ค. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
3. ข้อใดเป็ นคาสั่งทางปกครอง
ก. คาสั่งของเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งใช้อานาจตามกฎหมายในการสั่งและมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ
หรื อหน้าที่ของบุคคล
ข. การอนุญาตหรื อไม่อนุญาตอันก่อให้เกิดสิ ทธิ หรื อระงับซึ่ งสิ ทธิ ของบุคคล
ค. การวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่อนั มีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ

4. คาสั่งทางปกครอง หมายความว่า การใช้อานาจตามกฏหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็ นการสร้ างนิ ติ


สัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับหรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพ
ของสิ ทธิหรื อหน้าที่ของบุคคล ฯ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คาสั่งทางปกครอง
ก. การสัง่ การ
ข. การอนุญาต
ค. การวินิจฉัยอุทธรณ์
ง. การออกกฎ

5. กรณี ใดเป็ น "คาสั่งทางการปกครอง"


ก. ประกาศของราชการกาหนดว่าการยื่นขอต่อใบอนุ ญาต โรงงานต้องส่ งรายงานวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมด้วย
ข. คาสั่งของผูอ้ านวยการธนาคารออมสิ น สั่งซื้ อหุ น้ สามัญเพิ่มทุนของธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่ง
ค. ไฟจราจร (เขียว แดง) ที่สี่แยกแห่งหนึ่ง
ง. รายงานผลการสอบวินยั ข้าราชการผูห้ นึ่งที่คณะกรรมการการสอบสวนวินยั เสนอต่ออธิ บดี
6. คาว่า "กฎ" ตามพระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด
ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกาศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดต่อไปนี้หมายความว่า “กฎ”ตามพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ.2539


ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกาศกระทรวง
ง. ทุกข้อ

8. บุคคลตามข้อใดเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี


ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม ง. อธิ บดีกรมการปกครอง

9. บุคคลตามข้อใดเป็ นประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ง. บุคคลซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้ง
10. ผูด้ ารงตาแหน่งประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ต้องเป็ นบุคคลตามข้อใด
ก. เป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
ข. ต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
ค. ต้องเป็ นผูม้ ี ค วามเชี่ ย วชาญในทางนิ ติศาสตร์ รั ฐประศาสนศาสตร์ รั ฐศาสตร์ สังคมศาสตร์
บริ หารราชการแผ่นดิน
ง. ต้องอายุไม่เกิน 50 ปี บริ บูรณ์

11. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง กาหนดจานวนไว้ตามข้อใด


ก. ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน ข. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ค. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน ง. ไม่นอ้ ยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน

12. บุคคลข้อใดที่ทาตามหน้าที่เลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. ข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิ การคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้ง
ง. ข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิ การคณะรัฐมนตรี แต่งตั้ง

13. หน่ วยงานที่ ทาหน้าที่ สานัก งานเลขานุ การของคณะกรรมการวิธี ปฏิ บตั ิ ราชการทางปกครอง คื อ
หน่วยงานในข้อใด
ก. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. สานักงานคณะกรรมการรัฐมนตรี
ค. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน ง. กรมการปกครอง
14. กรรมการในคณะกรรมการวิธีปฏิ บตั ิราชการทางปกครองที่ คณะรั ฐมนตรี แต่งตั้งมี วาระการดารง
ตาแหน่ง คราวละกี่ปี
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี

15. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง


ก. สอดส่ อ งดู แ ลและให้ ค าแนะน าเกี่ ย วกับ การด าเนิ น งานของเจ้า หน้ า ที่ ใ นการปฏิ บ ัติ ต าม
พระราชบัญญัติน้ ี
ข. เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎี ก าและการออกกฎกระทรวงหรื อ ประกาศตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
ค. พิจารณาคดีทางการปกครอง
ง. จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ีเสนอนายกรัฐมนตรี

16. เจ้าหน้าที่ตามข้อใดทาการพิจารณาทางปกครองได้
ก. เป็ นคู่กรณี ในคดี ข. เป็ นเจ้าหนี้ หรื อลูกหนี้ หรื อเป็ นนายจ้างของ
คู่กรณี
ค. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี ง. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี ในคดี

17. เจ้าหน้าที่ในข้อใดที่จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
ก. เป็ นคู่หมั้นของคู่กรณี ข. เป็ นญาติของคู่กรณี
ค. เป็ นนายจ้างของคู่กรณี ง. ทุกข้อที่กล่าวมาจะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้

18. กรณี ใดที่เจ้าหน้าที่ทาการพิจารณาทางการปกครองได้


ก. เป็ นคู่กรณี เอง ข. เป็ นเพื่อนของคู่สมรส
ค. เป็ นคู่หมั้นหรื อคู่สมรสของคู่กรณี ง. เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้ของคู่กรณี

19. บุคคลตามข้อใดเป็ นคู่กรณี ในการพิจารณาปกครองได้


ก. บุคคลธรรมดา ข. คณะบุคคล ค. นิติบุคคล ง. ถูกทุกข้อ
20. บุคคลตามข้อใดเป็ นตัวแทนร่ วมของคู่กรณี ในกรณี ที่มีคู่กรณี เกิน 50 คนยืน่ คาขออย่างเดียวกันได้
ก. บุคคลธรรมดา ข. คณะบุคคล ค. นิติบุคคล ง. ถูกทุกข้อ

21. ในกรณี ที่ มี คู่ ก รณี เ กิ น ห้ า สิ บ คนยื่ น ค าขอให้ มี ค าสั่ ง ทางปกครองในเรื่ อ งเดี ย วกัน โดยไม่ มี ก าร
กาหนดให้บุคคลใด เป็ นตัวแทนร่ วมของตน ให้เจ้าหน้าที่ในเรื่ องนั้นแต่งตั้งบุคคล ดังข้อใดเป็ นตัวแทน
ร่ วมของบุคคลดังกล่าว
ก แต่งตั้งบุ คคลที่คู่กรณี คดั เลื อกเป็ นตัวแทนร่ วม ข แต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณี แต่งตั้งขึ้นเป็ น
ตัวแทนร่ วม
ค แต่งตั้งคู่กรณี ฝ่ายข้างมากเห็นชอบเป็ นตัวแทนร่ วม ง แต่งตั้งคู่กรณี ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด
เป็ นตัวแทนร่ วม

22. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เอกสารที่จะใช้พิจารณาการปกครอง


ก. ต้องเป็ นภาษาไทยเท่านั้น
ข. ถ้าเป็ นเอกสารที่เป็ นภาษาต่างประเทศต้องมีคาแปลภาษาไทยและมีการรับรองที่ถูกต้อง
ค. เป็ นภาษาไทยหรื อภาษาต่างประเทศก็ได้
ง. ต้องเป็ นภาษาไทยและต่างประเทศ

23. กรณี ที่คาขอหรื อคาแถลงของคู่กรณี ในการพิจารณาทางปกครอง มีขอ้ บกพร่ องอันเกิดจากความไม่รู้


ของคู่กรณี เจ้าหน้าที่จะดาเนินการตามข้อใด
ก. ให้จาหน่ายเรื่ องออกการพิจารณา ข. ให้เจ้าหน้าที่แนะนาให้คู่กรณี แก้ไขเพิ่มเติมให้
ถูกต้อง
ค. ให้เจ้าหน้าที่แก้ไขให้ถูกต้อง ง. ให้พิจารณาไปตามข้อเท็จจริ งเพียงเท่าที่มีอยู่

24. ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่สามารถดาเนินการได้ตามข้อใด


ก. สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริ งตามความเหมาะสม ข. ไม่ผกู พันอยูก่ บั คาขอของคู่กรณี
ค. ไม่ตอ้ งผูกพันกับพยานหลักฐานของคู่กรณี ง. ถูกทุกข้อ

25. ในการจัดพิจารณาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ ง เจ้าหน้าที่มีอานาจดาเนินการตามข้อใด


ก. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง ข. ขอให้ผคู ้ รอบครองเอกสารส่ งเอกสารที่
เกี่ยวข้อง
ค. ออกไปตรวจสถานที่ ง. ถูกทุกข้อ

26. การดาเนิ นการของเจ้าหน้าที่ตามข้อใดไม่ถูกต้องในกรณี ที่คาสั่งทางการปกครองจะกระทบถึงสิ ทธิ


ของคู่กรณี
ก. เจ้าหน้าที่ให้คู่กรณี มีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริ ง และมีโอกาสโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานของตน
ข. เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณี ทราบข้อเท็จจริ งเนื่ องจากเป็ นมาตรการบังคับทางการปกครอง
ค. เจ้าหน้าที่ ให้โอกาสคู่กรณี โต้แย้งพยานหลักฐานถึ งแม้ว่าจะก่ อให้เกิ ดผลเสี ยหายอย่างร้ ายต่อ
ประโยชน์ สาธารณะ
ง. เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณี ได้ทราบข้อเท็จจริ งเนื่องจากจะทาให้ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้
ในการทาคาสั่งทางปกครองต้องล่าช้าออกไป

27. คู่กรณี มีสิทธิ ขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็ นต้องรู ้เพื่อการโต้แย้งสิ ทธิ หรื อชี้ แจงหรื อป้ องกันสิ ทธิ ของตน
ได้ การขอดังกล่าวไม่รวมถึงการขอในข้อใด
ก. ขอตรวจดูเอกสารต้นร่ างคาวินิจฉัย ในขณะที่ยงั ไม่ได้ทาคาสั่งทางปกครอง
ข. ขอสาเนาเอกสารที่เป็ นพยานหลักฐานทั้งหมด
ค. ขอดูหลักฐานที่เจ้าหน้าที่เก็บรักษาไว้
ง. มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี
28. รู ปแบบคาสัง่ ทางการปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ทาเป็ นหนังสื อ ข. เป็ นคาสั่งด้วยวาจาก็ได้
ค. สั่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ ง. คาสั่งทางปกครองอาจใช้รูปแบบได้ท้ งั ข้อ ก ,
ข และข้อ ค

29. ข้อใดเป็ นรู ปแบบของคาสั่งการปกครอง


ก. สื่ อความต่าง ๆ ที่ชดั เจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้
ข. วาจา
ค. หนังสื อ
ง. เป็ นทุกข้อ
30. ในกรณี คาสั่งทางปกครองเป็ นคาสั่งด้วยวาจา ถ้าผูร้ ับสั่งร้องขอภายในกี่วนั นับแต่วนั มีคาสั่งเจ้าหน้าที่
ต้องยืนยันคาสั่งนั้นเป็ นหนังสื อ
ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน

31. เหตุผลที่ตอ้ งจัดให้มีไว้ในคาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อ คือข้อใด


ก. ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ
ข. กฎหมายที่ใช้อา้ งอิง
ค. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลยพินิจ
ง. ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค

32. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
ก. ให้คู่กรณี อุทธรณ์ คาสั่งทางปกครองต่อเจ้าหน้าที่ทาคาสั่งภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ ได้รับแจ้ง
คาสั่ง
ข. การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองสามารถอุทธรณ์ดว้ ยวาจาได้
ค. การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง
ง. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาคาอุทธรณ์ และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์ ภายในไม่เกิ น 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รับการ
อุทธรณ์

33. การอุทธรณ์ คาสั่งทางปกครอง กรณี คาสั่งใดไม่ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมายกาหนดขั้นตอน


การอุทธรณ์ ฯให้คู่กรณี อุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง ยืน่ อุทธรณ์ต่อเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งนั้นภายในกี่วนั
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน

34. กรณี ทวั่ ไป คู่กรณี อาจอุทธรณ์คาสั่งทางการปกครองได้ภายใน


ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 1 ปี

35. ผูว้ ่า ราชการจัง หวัด มี ค าสั่ ง ให้นายแดงกรรมการองค์ก รปกครองส่ วนท้องถิ่ นแห่ ง หนึ่ ง พ้นจาก
ตาแหน่ง นายแดงต้องการอุทธรณ์ จะยืน่ อุทธรณ์ต่อใคร Act.
ก. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดที่ออกคาสั่งนั้น ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย ง. ศาลปกครอง

36. ในการพิจารณาอุทธรณ์ เจ้าหน้าที่มีอานาจพิจารณาในประเด็นตามข้อใด


ก. พิจารณาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริ ง
ข. พิจารณาประเด็นปั ญหาข้อกฎหมาย
ค. พิจารณาความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางการปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ

37. การเพิกถอนคาสั่งทางการปกครองที่มีลกั ษณะเป็ นการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายในกี่วนั นับแต่ได้


รู ้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอนคาสั่งทางการปกครองนั้น
ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน
38. การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่มีลกั ษณะการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายในกี่วนั
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน

39. เมื่อคู่กรณี มีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรื อแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครองที่พน้ กาหนดอุทธรณ์


ก. มี พ ยานหลัก ฐานใหม่ อ ัน อาจท าให้ ข ้อ เท็ จ จริ ง ที่ ฟั ง เป็ นข้อ ยุ ติ แ ล้ว นั้น เปลี่ ย นแปลงไปใน
สาระสาคัญ
ข. คู่กรณี ที่แท้จริ งไม่ได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรื อได้เข้ามาในกระบวนการ
ค. เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจที่จะทาคาสั่งทางการปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ

40. คาสั่งทางปกครองที่ กาหนดใช้ชาระเงิ น ถ้าถึ งกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถู กต้องครบถ้วน ให้


เจ้าหน้าที่มีหนังสื อเตือนให้ชาระภายในเวลาที่กาหนด โดยจะต้องให้มีเวลาไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน

41. คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ผใู ้ ดชาระเงิน ถ้าถึงกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้


เจ้าหน้าที่มีหนังสื อเตือนให้ผนู ้ ้ นั ชาระภายในระยะเวลาที่กาหนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั .. ซึ่ งถ้าไม่มีการ
ปฏิบตั ิตาม คาเตือน เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรื ออายัดทรัพย์สิน...ฯ
ก. 90 วัน ข. 30 วัน ค. 15 วัน ง. 7 วัน

42. คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ละเว้นการกระทา ถ้าผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งฝ่ าฝื น เจ้าหน้าที่อาจบังคับ


ให้ไป ชาระค่าปรับทางปกครองได้ โดยจานวนเงินที่กาหนดต้องไม่เกินอัตราตามข้อใด
ก. 500 บาทต่อวัน ข. 1,000 บาทต่อวัน ค. 2,000 บาทต่อวัน ง. 20,000 บาทต่อวัน
43. ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่จะต้องมีคาเตือนเป็ นหนังสื อให้มีการกระทาหรื อละ
เว้นการ กระทาตามคาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กาหนด คาเตือนดังกล่าวจะต้องระบุตามข้อใด
ก. มาตรการบังคับทางการปกครองที่จะใช้
ข. ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการด้วยตนเอง
ค. จานวนค่าปรับทางปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ

44. การแจ้งคาสัง่ ทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับ ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดเวลาตาม


ข้อใด
ก. 5 วันนับแต่ส่งสาหรั บกรณี ภายในประเทศ หรื อ 7 วันนับแต่วนั ที่ส่งสาหรั บกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ข. 7 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 15 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ค. 15 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 30 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
ง. 20 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศ หรื อ 45 วันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ
45. คาสั่งทางปกครองอาจทาเป็ นหนังสื อหรื อวาจาหรื อโดยการสื่ อความหมายในรู ปแบบอื่นก็ได้แต่ตอ้ ง
มีขอ้ ความหรื อความหมายที่ชดั เจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับคาสั่งทางปกครองที่
ทาเป็ นหนังสื อ
ก ต้องระบุวนั เดือนและ ปี ที่ทาคาสั่ง
ข ชื่อและตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่ง
ค ลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสัง่
ง ถูกทุกข้อ

46. คาสั่งทางปกครองให้มีผลใช้ยนั ต่อบุคคลตั้งแต่เมื่อใด


ก. ผูน้ ้ นั ได้รับแจ้งเป็ นต้นไป ข. วันที่ออกคาสั่งทางปกครอง
ค. วันที่ระบุในคาสั่งทางปกครอง ง. วันที่ผนู ้ ้ นั เซนต์รับคาสั่งทางปกครอง

47. ผูไ้ ด้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีสิทธิ ได้รับค่าทดแทน


ความเสี ยหาย เนื่ องจากความเชื่อโดยสุ จริ ตในความคงอยูข่ องคาสั่งทางปกครองได้ ต้องร้องขอค่าทดแทน
ดังกล่าวได้ภายในกี่วนั นับแต่ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการเพิกถอนนั้น
ก. 1 ปี ข. 180 ค. 120 ง 90

48. กรณี ใดที่คาสั่งทางการปกครอง ไม่สมบูรณ์


ก. ออกคาสั่งโดยยังไม่มีผยู ้ นื่ คาขอ
ข. คาสั่งที่ตอ้ งการได้รับความเห็นชอบจากเจ้าหน้าอื่นก่อน
ค. พิจารณาโดยไม่รับฟังคู่กรณี
ง. ทุกข้อ
49. คาสั่งทางการปกครองที่อาจอุทธรณ์โต้งแย้งได้ ถ้าไม่มีการระบุระยะเวลาในการอุทธรณ์ไว้ ระยะเวลา
ในการ อุทธรณ์เริ่ มนับแต่วนั ที่ได้รับทราบคาสั่งทางการปกครอง ภายใน
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 1 ปี

50. คาสั่งทางการปกครองที่อาจอุทธรณ์ต่อไปได้ แต่เจ้าหน้าที่ที่มิได้แจ้งสิ ทธิ์ การอุทธรณ์ และระยะเวลา


อุทธรณ์ไว้ ในคาสัง่ ดังกล่าว จะมีผลอย่างไร Act.
ก. คาสั่งนั้นเป็ นโมฆะ
ข. คาสั่งนั้นไม่สมบูรณ์
ค. ต้องดาเนินการออกคาสั่งใหม่ให้ถูกต้อง
ง. ระยะเวลาอุทธรณ์เริ่ มนับใหม่ นับแต่ได้แจ้งสิ ทธิ ดงั กล่าว

51. เจ้าหน้าที่ได้ออกคาสั่งไม่อนุ ญาตให้ก่อสร้ างอาคารตามคาขอของเอกชนรายหนึ่ ง ต่อมาเจ้าหน้านั้น


เห็นว่า คาสั่งที่ไม่อนุ ญาตของตนไม่ถูกต้อง เพราะความเข้าใจผิดของตนเอง เจ้าหน้าผูน้ ้ นั จะแก้ไขคาสั่ง
ของตนได้ หรื อไม่
ก. ไม่ได้ ต้องให้ผบู ้ งั บัญชาสั่งจึงจะแก้ไขได้
ข. ไม่ได้ ถ้าเขาไม่อุทธรณ์
ค. ไม่ได้ แม้เขาจะอุทธรณ์ก็ตอ้ งให้ผมู ้ ีอานาจพิจารณาสั่งอุทธรณ์แก้ไข
ง. ได้เสมอ ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้อง
เฉลย
1.ตอบ ง. มาตรา ๔ พระราชบัญญัติน้ ี มิให้ ใช้บงั คับแก่
(๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
(๒) องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
(๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง
(๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การ
บังคับคดี และการวางทรัพย์
(๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่ องร้องทุกข์และการสัง่ การตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
(๖) การดาเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
(๗) การดาเนิ นงานเกี่ยวกับราชการทหารหรื อเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งปฏิบตั ิหน้าที่ทางยุทธการร่ วมกับทหารในการ
ป้ องกันและรักษาความมัน่ คงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ
(๘) การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(๙) การดาเนินกิจการขององค์การทางศาสนา
การยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ีมาใช้บงั คับแก่การดาเนินกิจการใดหรื อกับหน่วยงาน
ใดนอกจากที่ กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ ง ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎี กาตามข้อเสนอของคณะกรรมการวิธี
ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
2.ตอบ ง.

3.ตอบ ง. “คาสั่งทางปกครอง” หมายความว่า


(๑) การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็ นการสร้างนิติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะ
ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ไม่วา่ จะ
เป็ นการถาวรหรื อชัว่ คราว เช่น การสั่งการ การอนุ ญาต การอนุ มตั ิ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และ
การรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ
4.ตอบ ง.จากข้อ2.

5.ตอบ ก. จากข้อ2.
6. ตอบ ง. (๒) การอื่นที่กาหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎี ก า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท ้องถิ่ น ระเบี ย บ
ข้อบังคับ หรื อบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็ นการทัว่ ไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บงั คับแก่กรณี ใดหรื อบุคคล
ใดเป็ นการเฉพาะ
ไม่รวมพระราชบัญญัติ
7.ตอบ. ง.

8.ตอบ ก. มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรี รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง


และประกาศ เพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี
9.ตอบ ง. มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า “คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง”
ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิ การ
คณะรั ฐมนตรี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก าและ
ผูท้ รงคุณวุฒิอีกไม่นอ้ ยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเก้าคนเป็ นกรรมการ
ให้ ค ณะรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการผูท้ รงคุ ณ วุฒิ โดยแต่ ง ตั้ง จากผูซ้ ่ ึ ง มี ค วาม
เชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรื อการบริ หารราชการแผ่นดิน
แต่ผนู ้ ้ นั ต้องไม่เป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
ให้ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก าแต่ ง ตั้ง ข้า ราชการของส านัก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าเป็ น
เลขานุการและผูช้ ่วยเลขานุการ
10.ตอบ ค. มาตรา 7 จากข้อ 9.

11.ตอบ ค. จากข้อ 9.

12.ตอบ. ค.
13.ตอบ. ก.

14.ตอบ ข. มาตรา ๘ ให้กรรมการซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งมีวาระดารงตาแหน่งคราวละสามปี กรรมการ


ซึ่ งพ้นจากตาแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
ในกรณี ที่กรรมการพ้นจากตาแหน่ งตามวาระ แต่ยงั มิ ได้แต่งตั้งกรรมการใหม่ ให้กรรมการนั้นปฏิ บตั ิ
หน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการใหม่
15.ตอบ ค. มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) สอดส่ องดูแลและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติ
นี้
(๒) ให้คาปรึ กษาแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี ตามที่บุคคลดังกล่าวร้องขอ ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองกาหนด
(๓) มีหนังสื อเรี ยกให้เจ้าหน้าที่หรื อบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรื อแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้
(๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรื อประกาศตามพระราชบัญญัติน้ ี
(๕) จัดทารายงานเกี่ ยวกับการปฏิ บตั ิ ตามพระราชบัญญัติน้ ี เสนอคณะรั ฐมนตรี เป็ นครั้งคราวตามความ
เหมาะสมแต่อย่างน้อยปี ละหนึ่ งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุ งการปฏิ บตั ิราชการทางปกครองให้เป็ นไป
โดยมีความเป็ นธรรมและมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น
(๖) เรื่ องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรี หรื อนายกรัฐมนตรี มอบหมาย
16.ตอบ ค. มาตรา ๑๓ เจ้าหน้าที่ดงั ต่อไปนี้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
(๑) เป็ นคู่กรณี เอง
(๒) เป็ นคู่หมั้นหรื อคู่สมรสของคู่กรณี
(๓) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการี หรื อผูส้ ื บสันดานไม่ว่าชั้นใด ๆ หรื อเป็ นพี่นอ้ งหรื อลูกพี่ลูกน้อง
นับได้เพียงภายในสามชั้น หรื อเป็ นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น
(๔) เป็ นหรื อเคยเป็ นผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผูพ้ ิทกั ษ์หรื อผูแ้ ทนหรื อตัวแทนของคู่กรณี
(๕) เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้ หรื อเป็ นนายจ้างของคู่กรณี
(๖) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
17.ตอบ . ง
18.ตอบ .ข

19ตอบ ง.มาตรา ๒๑ บุ ค คลธรรมดา คณะบุ ค คล หรื อนิ ติบุ ค คล อาจเป็ นคู่ ก รณี ใ นการพิ จารณาทาง
ปกครองได้ตามขอบเขตที่ สิ ท ธิ ข องตนถู ก กระทบกระเทื อนหรื ออาจถู ก กระทบกระเทื อนโดยมิ อาจ
หลีกเลี่ยงได้
20.ตอบ ก. มาตรา ๒๕ ในกรณี ที่มีการยื่นคาขอโดยมีผลู ้ งชื่ อร่ วมกันเกินห้าสิ บคนหรื อมีคู่กรณี เกินห้าสิ บ
คนยื่นคาขอที่มีขอ้ ความอย่างเดียวกันหรื อทานองเดียวกัน ถ้าในคาขอมีการระบุให้บุคคลใดเป็ นตัวแทน
ของบุ คคลดังกล่ า วหรื อมี ขอ้ ความเป็ นปริ ยายให้เข้าใจได้เช่ นนั้น ให้ถือว่าผูท้ ี่ ถูกระบุ ชื่อดังกล่ า วเป็ น
ตัวแทนร่ วมของคู่กรณี เหล่านั้น
ในกรณี ที่มีคู่กรณี เกินห้าสิ บคนยื่นคาขอให้มีคาสั่งทางปกครองในเรื่ องเดียวกัน โดยไม่มีการกาหนดให้
บุคคลใดเป็ นตัวแทนร่ วมของตนตามวรรคหนึ่ ง ให้เจ้าหน้าที่ในเรื่ องนั้นแต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณี ฝ่ายข้างมาก
เห็นชอบเป็ นตัวแทนร่ วมของบุคคลดังกล่าว ในกรณี น้ ี ให้นามาตรา ๒๔ วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ตัวแทนร่ วมตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสองต้องเป็ นบุคคลธรรมดา
คู่กรณี จะบอกเลิ กการให้ตวั แทนร่ วมดาเนิ นการแทนตนเมื่ อใดก็ได้แต่ตอ้ งมีหนังสื อแจ้งให้เจ้าหน้าที่
ทราบและดาเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองต่อไปด้วยตนเอง
ตัวแทนร่ วมจะบอกเลิกการเป็ นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ตอ้ งมีหนังสื อแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบกับต้องแจ้งให้
คู่กรณี ทุกรายทราบด้วย
21.ตอบ. ค.

22.ตอบ ค. มาตรา ๒๖ เอกสารที่ ยื่นต่อเจ้า หน้า ที่ ให้จดั ท าเป็ นภาษาไทย ถ้า เป็ นเอกสารที่ ท าขึ้ นเป็ น
ภาษาต่างประเทศ ให้คู่กรณี จดั ทาคาแปลเป็ นภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกต้องมาให้ภายในระยะเวลา
ที่เจ้าหน้าที่กาหนด ในกรณี น้ ี ให้ถือว่าเอกสารดังกล่าวได้ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ในวันที่เจ้าหน้าที่ได้รับคาแปล
นั้น เว้นแต่เจ้าหน้าที่จะยอมรับเอกสารที่ทาขึ้นเป็ นภาษาต่างประเทศ และในกรณี น้ ี ให้ถือว่าวันที่ได้ยื่น
เอกสารฉบับที่ทาขึ้นเป็ นภาษาต่างประเทศเป็ นวันที่เจ้าหน้าที่ได้รับเอกสารดังกล่าว
การรับรองความถูกต้องของคาแปลเป็ นภาษาไทยหรื อการยอมรับเอกสารที่ ทาขึ้นเป็ นภาษาต่างประเทศ
ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
23.ตอบ ข. มาตรา ๒๗ ให้เจ้าหน้าที่แจ้งสิ ทธิ และหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองให้คู่กรณี
ทราบตามความจาเป็ นแก่กรณี
ถ้าคาขอหรื อคาแถลงมีขอ้ บกพร่ องหรื อมีขอ้ ความที่อ่านไม่เข้าใจหรื อผิดหลงอันเห็นได้ชดั ว่าเกิ ด
จากความไม่รู้หรื อความเลินเล่อของคู่กรณี ให้เจ้าหน้าที่แนะนาให้คู่กรณี แก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
24.ตอบ. ง.มาตรา ๒๘ ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่อาจตรวจสอบข้อเท็จจริ งได้ตามความ
เหมาะสมในเรื่ องนั้น ๆ โดยไม่ตอ้ งผูกพันอยูก่ บั คาขอหรื อพยานหลักฐานของคู่กรณี
25.ตอบ. ง.มาตรา ๒๙ เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็ นว่าจาเป็ นแก่การพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ ง
ในการนี้ ให้รวมถึงการดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
(๒) รับฟังพยานหลักฐาน คาชี้แจง หรื อความเห็นของคู่กรณี หรื อของพยานบุคคลหรื อพยานผูเ้ ชี่ ยวชาญที่
คู่กรณี กล่าวอ้าง เว้นแต่เจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็ นการกล่าวอ้างที่ไม่จาเป็ นฟุ่ มเฟื อยหรื อเพื่อประวิงเวลา
(๓) ขอข้อเท็จจริ งหรื อความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล หรื อพยานผูเ้ ชี่ยวชาญ
(๔) ขอให้ผคู ้ รอบครองเอกสารส่ งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
(๕) ออกไปตรวจสถานที่
คู่กรณี ตอ้ งให้ความร่ วมมือกับเจ้าหน้าที่ ในการพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ ง และมี หน้าที่ แจ้งพยานหลักฐานที่ตน
ทราบแก่เจ้าหน้าที่
พยานหรื อพยานผูเ้ ชี่ ยวชาญที่ เจ้าหน้าที่เรี ยกมาให้ถอ้ ยคาหรื อทาความเห็ นมีสิทธิ ได้รับค่าป่ วยการตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
26.ตอบ ข.มาตรา ๓๐ ในกรณี ที่คาสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิ ทธิ ของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ตอ้ งให้คู่กรณี
มีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริ งอย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน
ความในวรรคหนึ่ งมิให้นามาใช้บงั คับในกรณี ดงั ต่อไปนี้ เว้นแต่เจ้าหน้าที่จะเห็นสมควรปฏิบตั ิเป็ นอย่าง
อื่น
(๑) เมื่อมีความจาเป็ นรี บด่วนหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรงแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด
หรื อจะกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ
(๒) เมื่ อจะมี ผ ลทาให้ระยะเวลาที่ กฎหมายหรื อกฎก าหนดไว้ในการท าค าสั่ ง ทางปกครองต้องล่ าช้า
ออกไป
(๓) เมื่อเป็ นข้อเท็จจริ งที่คู่กรณี น้ นั เองได้ให้ไว้ในคาขอ คาให้การหรื อคาแถลง
(๔) เมื่อโดยสภาพเห็นได้ชดั ในตัวว่าการให้โอกาสดังกล่าวไม่อาจกระทาได้
(๕) เมื่อเป็ นมาตรการบังคับทางปกครอง
(๖) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ห้า มมิ ใ ห้เ จ้า หน้า ที่ ใ ห้โอกาสตามวรรคหนึ่ ง ถ้า จะก่ อให้ เ กิ ดผลเสี ย หายอย่า งร้ า ยแรงต่ อ ประโยชน์
สาธารณะ
27.ตอบ ก . มาตรา ๓๑ คู่ กรณี มี สิท ธิ ข อตรวจดู เอกสารที่ จาเป็ นต้องรู ้ เพื่อการโต้แย้ง หรื อชี้ แจงหรื อ
ป้ องกันสิ ทธิ ของตนได้ แต่ถา้ ยังไม่ได้ทาคาสั่งทางปกครองในเรื่ องนั้น คู่กรณี ไม่มีสิทธิ ขอตรวจดูเอกสาร
อันเป็ นต้นร่ างคาวินิจฉัย
การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสาร หรื อการจัดทาสาเนาเอกสารให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๓๒ เจ้าหน้าที่อาจไม่อนุ ญาตให้ตรวจดูเอกสารหรื อพยานหลักฐานได้ ถ้าเป็ นกรณี ที่ตอ้ งรักษาไว้
เป็ นความลับ
28.ตอบ ง.มาตรา ๓๔ คาสั่งทางปกครองอาจทาเป็ นหนังสื อ หรื อ วาจา หรื อโดยการสื่ อความหมายใน
รู ปแบบอื่นก็ได้ แต่ตอ้ งมีขอ้ ความหรื อความหมายที่ชดั เจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้
29.ตอบ ง.

30.ตอบ ค. มาตรา ๓๕ ในกรณี ที่คาสั่งทางปกครองเป็ นคาสั่งด้วยวาจา ถ้าผูร้ ับคาสั่งนั้นร้องขอและการ


ร้องขอได้กระทาโดยมีเหตุอนั สมควรภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่มีคาสั่งดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผอู ้ อกคาสั่งต้อง
ยืนยันคาสั่งนั้นเป็ นหนังสื อ
31.ตอบ ง.มาตรา ๓๗ คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อและการยืนยันคาสั่งทางปกครองเป็ นหนังสื อ
ต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ดว้ ย และเหตุผลนั้นอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ (๒) ข้อกฎหมายที่อา้ งอิง (๓) ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุน
ในการใช้ดุลพินิจ
นายกรัฐมนตรี หรื อผูซ้ ่ ึ งนายกรัฐมนตรี มอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุ เบกษากาหนดให้คาสั่งทาง
ปกครองกรณี หนึ่งกรณี ใดต้องระบุเหตุผลไว้ในคาสั่งนั้นเองหรื อในเอกสารแนบท้ายคาสั่งนั้นก็ได้
บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไม่ใช้บงั คับกับกรณี ดงั ต่อไปนี้
(๑) เป็ นกรณี ที่มีผลตรงตามคาขอและไม่กระทบสิ ทธิ และหน้าที่ของบุคคลอื่น
(๒) เหตุผลนั้นเป็ นที่รู้กนั อยูแ่ ล้วโดยไม่จาต้องระบุอีก
(๓) เป็ นกรณี ที่ตอ้ งรักษาไว้เป็ นความลับตามมาตรา ๓๒
(๔) เป็ นการออกคาสั่งทางปกครองด้วยวาจาหรื อเป็ นกรณี เร่ งด่วนแต่ตอ้ งให้เหตุผลเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ในเวลาอันควรหากผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งนั้นร้องขอ
32.ตอบ ข. มาตรา ๔๔ ภายใต้บงั คับมาตรา ๔๘ ในกรณี ที่คาสั่งทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี
และไม่มีกฎหมายกาหนดขั้นตอนอุทธรณ์ภายในฝ่ ายปกครองไว้เป็ นการเฉพาะ ให้คู่กรณี อุทธรณ์ คาสั่ง
ทางปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้าหน้าที่ ผูท้ าคาสั่งทางปกครองภายในสิ บห้าวันนับแต่วนั ที่ ตนได้รับแจ้ง
คาสั่งดังกล่าว
คาอุทธรณ์ตอ้ งทาเป็ นหนังสื อโดยระบุขอ้ โต้แย้งและข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายที่อา้ งอิงประกอบด้วย
การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับตาม
มาตรา ๕๖ วรรคหนึ่ง
มาตรา ๔๕ ให้เจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์โดยไม่ชกั ช้า แต่
ต้องไม่ เกิ นสามสิ บ วันนับ แต่ ว นั ที่ ไ ด้รับ อุ ท ธรณ์ ในกรณี ที่ เ ห็ นด้วยกับ ค าอุ ท ธรณ์ ไ ม่ ว่า ทั้ง หมดหรื อ
บางส่ วนก็ให้ดาเนินการเปลี่ยนแปลงคาสั่งทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกาหนดเวลาดังกล่าว
ด้วย
33.ตอบ ก.

34.ตอบ ข.
35.ตอบ ก.

36.ตอบ ง. มาตรา ๔๖ ในการพิจารณาอุทธรณ์ ให้เจ้าหน้าที่พิจารณาทบทวนคาสั่งทางปกครองได้ไม่ว่า


จะเป็ นปั ญหาข้อเท็จจริ ง ข้อกฎหมาย หรื อความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางปกครอง และอาจมีคาสั่ง
เพิกถอนคาสั่งทางปกครองเดิ มหรื อเปลี่ ยนแปลงคาสั่งนั้นไปในทางใด ทั้งนี้ ไม่วา่ จะเป็ นการเพิ่มภาระ
หรื อลดภาระหรื อใช้ดุลพินิจแทนในเรื่ องความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางปกครองหรื อมีขอ้ กาหนด
เป็ นเงื่อนไขอย่างไรก็ได้
37.ตอบ ค.มาตรา ๔๙ เจ้าหน้าที่หรื อผูบ้ งั คับบัญชาของเจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนคาสั่งทางปกครองได้ตาม
หลักเกณฑ์ในมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ไม่วา่ จะพ้นขั้นตอนการกาหนดให้อุทธรณ์หรื อให้
โต้แย้งตามกฎหมายนี้หรื อกฎหมายอื่นมาแล้วหรื อไม่
การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่มีลกั ษณะเป็ นการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายในเก้าสิ บวันนับแต่ได้รู้
ถึ ง เหตุ ที่ จะให้เพิก ถอนคาสั่ งทางปกครองนั้น เว้นแต่ ค าสั่ งทางปกครองจะได้ทาขึ้ นเพราะการแสดง
ข้อความอันเป็ นเท็จหรื อปกปิ ดข้อความจริ งซึ่ งควรบอกให้แจ้งหรื อการข่มขู่หรื อการชักจูงใจโดยการให้
ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย
38.ตอบ ง.

39.ตอบ ง.มาตรา ๕๔ เมื่อคู่กรณี มีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรื อแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครองที่พน้


กาหนดอุทธรณ์ตามส่ วนที่ ๕ ได้ในกรณี ดงั ต่อไปนี้
(๑) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทาให้ขอ้ เท็จจริ งที่ฟังเป็ นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญ
(๒) คู่ ก รณี ที่ แ ท้จริ ง มิ ไ ด้เข้า มาในกระบวนการพิ จารณาทางปกครองหรื อได้เข้า มาในกระบวนการ
พิจารณาครั้งก่ อนแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็ นธรรมในการมีส่วนร่ วมในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครอง
(๓) เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจที่จะทาคาสั่งทางปกครองในเรื่ องนั้น
(๔) ถ้าคาสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริ งหรื อข้อ
กฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญในทางที่จะเป็ นประโยชน์แก่คู่กรณี
การยืน่ คาขอตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) หรื อ (๓) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อคู่กรณี ไม่อาจทราบถึงเหตุน้ นั ในการ
พิจารณาครั้งที่แล้วมาก่อนโดยไม่ใช่ความผิดของผูน้ ้ นั
การยื่นคาขอให้พิจารณาใหม่ตอ้ งกระทาภายในเก้าสิ บวันนับแต่ผนู ้ ้ นั ได้รู้ถึงเหตุ ซ่ ึ งอาจขอให้พิจารณา
ใหม่ได้
40.ตอบ ก.มาตรา ๕๗ คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ผใู ้ ดชาระเงิน ถ้าถึ งกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดย
ถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสื อเตือนให้ผนู ้ ้ นั ชาระภายในระยะเวลาที่กาหนดแต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า
เจ็ดวัน ถ้าไม่มีการปฏิ บตั ิ ตามคาเตื อน เจ้าหน้าที่ อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรื ออายัด
ทรัพย์สินของผูน้ ้ นั และขายทอดตลาดเพื่อชาระเงินให้ครบถ้วน
วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สินให้ปฏิบตั ิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
โดยอนุโลม ส่ วนผูม้ ีอานาจสั่งยึดหรื ออายัดหรื อขายทอดตลาดให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
41.ตอบ ง.
42.ตอบ ง.มาตรา ๕๘ คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละเว้นกระทา ถ้าผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่ง
ทางปกครองฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิ บตั ิตาม เจ้าหน้าที่ อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองอย่างหนึ่ งอย่างใด
ดังต่อไปนี้
(๑) เจ้าหน้าที่เข้าดาเนิ นการด้วยตนเองหรื อมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทาการแทนโดยผูอ้ ยูใ่ นบังคับของ
คาสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มในอัตราร้อยละยี่สิบห้าต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าวแก่
เจ้าหน้าที่
(๒) ให้มีการชาระค่าปรับทางปกครองตามจานวนที่สมควรแก่เหตุแต่ตอ้ งไม่เกินสองหมื่นบาทต่อวัน
เจ้าหน้าที่ระดับใดมีอานาจกาหนดค่าปรับทางปกครองจานวนเท่าใดสาหรับในกรณี ใด ให้เป็ นไปตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณี ที่มีความจาเป็ นที่ จะต้องบังคับการโดยเร่ งด่วนเพื่อป้ องกันมิให้มีการกระทาที่ขดั ต่อกฎหมายที่มี
โทษทางอาญาหรื อมิให้เกิ ดความเสี ยหายต่อประโยชน์สาธารณะ เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทาง
ปกครองโดยไม่ตอ้ งออกคาสั่งทางปกครองให้กระทาหรื อละเว้นกระทาก่อนก็ได้ แต่ท้ งั นี้ตอ้ งกระทาโดย
สมควรแก่เหตุและภายในขอบเขตอานาจหน้าที่ของตน
43.ตอบ ง.มาตรา ๕๙ ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา ๕๘ เจ้าหน้าที่จะต้องมีคาเตือนเป็ น
หนังสื อให้มีการกระทาหรื อละเว้นกระทาตามคาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กาหนดตามสมควร
แก่กรณี คาเตือนดังกล่าวจะกาหนดไปพร้อมกับคาสั่งทางปกครองก็ได้
คาเตือนนั้นจะต้องระบุ
(๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชดั แจ้ง แต่จะกาหนดมากกว่าหนึ่ งมาตรการในคราวเดียวกัน
ไม่ได้
(๒) ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่ เข้าดาเนิ นการด้วยตนเองหรื อมอบหมายให้บุคคลอื่ นกระทาการแทน
หรื อจานวนค่าปรับทางปกครองแล้วแต่กรณี
การกาหนดค่าใช้จ่ายในคาเตือน ไม่เป็ นการตัดสิ ทธิ ที่จะเรี ยกค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หากจะต้องเสี ยค่าใช้จ่าย
จริ งมากกว่าที่ได้กาหนดไว้
44.ตอบ ค. มาตรา ๗๑ การแจ้งโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดเจ็ดวัน
นับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ภายในประเทศหรื อเมื่อครบกาหนดสิ บห้าวันนับแต่วนั ส่ งสาหรับกรณี ส่งไปยัง
ต่างประเทศ เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้วา่ ไม่มีการได้รับหรื อได้รับก่อนหรื อหลังจากวันนั้น
45.ตอบ ง.มาตรา ๓๖ คาสัง่ ทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื ออย่างน้อยต้องระบุ วัน เดือนและปี ที่ทาคาสัง่ ชื่ อ
และตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่ง พร้อมทั้งมีลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งนั้น
46.ตอบ ก .มาตรา ๔๒ คาสั่งทางปกครองให้มีผลใช้ยนั ต่อบุคคลตั้งแต่ขณะที่ผนู ้ ้ นั ได้รับแจ้งเป็ นต้นไป

47.ตอบ ข .มาตรา ๕๒ คาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่อยูใ่ นบังคับของมาตรา ๕๑ อาจ


ถูกเพิกถอนทั้งหมดหรื อบางส่ วนได้ แต่ผไู ้ ด้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่งทางปกครองดังกล่าวมี
สิ ทธิ ได้รับค่าทดแทนความเสี ยหายเนื่ องจากความเชื่ อโดยสุ จริ ตในความคงอยูข่ องคาสั่งทางปกครองได้
และให้นาความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บงั คับโดยอนุโลม แต่ตอ้ งร้องขอ
ค่าทดแทนภายในหนึ่งร้อยแปดสิ บวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการเพิกถอนนั้น
ค่าทดแทนความเสี ยหายตามมาตรานี้ จะต้องไม่สูงกว่าประโยชน์ที่ผนู ้ ้ นั อาจได้รับหากคาสั่งทางปกครอง
ดังกล่าวไม่ถูกเพิกถอน
48.ตอบ ง. มาตรา ๔๑ คาสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ ไม่
เป็ นเหตุให้คาสั่งทางปกครองนั้นไม่สมบูรณ์
(๑) การออกคาสั่งทางปกครองโดยยังไม่มีผยู ้ ื่นคาขอในกรณี ที่เจ้าหน้าที่จะดาเนิ นการเองไม่ได้นอกจาก
จะมีผยู ้ นื่ คาขอ ถ้าต่อมาในภายหลังได้มีการยืน่ คาขอเช่นนั้นแล้ว
(๒) คาสั่งทางปกครองที่ตอ้ งจัดให้มีเหตุผลตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง ถ้าได้มีการจัดให้มีเหตุผลดังกล่าว
ในภายหลัง
(๓) การรับฟังคู่กรณี ที่จาเป็ นต้องกระทาได้ดาเนิ นการมาโดยไม่สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟั งให้สมบูรณ์ใน
ภายหลัง
(๔) คาสั่งทางปกครองที่ตอ้ งให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าที่น้ นั ได้ให้ความเห็นชอบ
ในภายหลัง
เมื่ อมีก ารดาเนิ นการตามวรรคหนึ่ ง (๑) (๒) (๓) หรื อ (๔) แล้ว และเจ้าหน้าที่ ผูม้ ี ค าสั่ง ทางปกครอง
ประสงค์ให้ผลเป็ นไปตามคาสั่งเดิ มให้เจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั บันทึกข้อเท็จจริ งและความประสงค์ของตนไว้ใน
หรื อแนบไว้กบั คาสั่งเดิมและต้องมีหนังสื อแจ้งความประสงค์ของตนให้คู่กรณี ทราบด้วย
กรณี ตาม (๒) (๓) และ (๔) จะต้องกระทาก่อนสิ้ นสุ ดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ ตามส่ วนที่ ๕ ของ
หมวดนี้ หรื อตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยการนั้น หรื อถ้าเป็ นกรณี ที่ไม่ตอ้ งมีการอุ ทธรณ์ ดงั กล่าวก็ตอ้ ง
ก่อนมีการนาคาสั่งทางปกครองไปสู่ การพิจารณาของผูม้ ีอานาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกต้องของคาสั่ง
ทางปกครองนั้น
49.ตอบ ง. มาตรา ๔๐ คาสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์ หรื อโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบุกรณี ที่อาจอุทธรณ์
หรื อโต้แย้ง การยืน่ คาอุทธรณ์หรื อคาโต้แย้ง และระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์หรื อการโต้แย้งดังกล่าวไว้
ด้วย
ในกรณี ที่มีการฝ่ าฝื นบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ ง ให้ระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์ หรื อการโต้แย้งเริ่ มนับ
ใหม่ ต้ งั แต่วนั ที่ ไ ด้รับ แจ้ง หลัก เกณฑ์ตามวรรคหนึ่ ง แต่ ถ้า ไม่มี ก ารแจ้ง ใหม่ และระยะเวลาดัง กล่ า วมี
ระยะเวลาสั้นกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็ นหนึ่งปี นับแต่วนั ที่ได้รับคาสั่งทางปกครอง
50.ตอบ ง.

51.ตอบ ง.มาตรา ๔๓ คาสั่งทางปกครองที่มีขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อยหรื อผิดหลงเล็กน้อยนั้น เจ้าหน้าที่อาจ


แก้ไขเพิ่มเติมได้เสมอ
ในการแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครองตามวรรคหนึ่ งให้แจ้งให้ผทู ้ ี่เกี่ ยวข้องทราบตามควรแก่กรณี ใน
การนี้ เจ้าหน้าที่ อาจเรี ยกให้ผทู ้ ี่ เกี่ ยวข้องจัดส่ งคาสั่งทางปกครอง เอกสารหรื อวัตถุ อื่นใดที่ได้จดั ทาขึ้ น
เนื่องในการมีคาสั่งทางปกครองดังกล่าวมาเพื่อการแก้ไขเพิ่มเติมได้

You might also like