การออกแบบเครื่องจักรกล 1-7

You might also like

You are on page 1of 37

3-1

บทที่ 3
การหาภาระกระทำกับชิ้นงาน

3.1 บทนำ
ภาระกระทำ (Loads) ในโครงสรางหรือชิ้นสวนของเครื่องจักรนั้น จำเปนตองใชความรูพื้นฐาน
ในการหาขนาดของภาระที่กระทำกับชิ้นงานจากเนื้อในวิชาสถิตศาสตรวิศวกรรม โดยโครงสรางทั่วไป
ของชิ้นงานประกอบดวยลักษณะของระบบรองรับ(Support) พื้นฐาน 4 แบบ คือ
1.) การจับยึดอยางงาย (Simply support) เปนการจับยึดที่ปลายทั้งสองขางของคาน
2.) การจับยึดแบบถาวรดานเดียว (Fixed support) หรือ คานยื่น (Cantilever beam)
3.) การจั บ ยึ ด แบบผสมแบบที่ 1และ 2 เรี ย กการจั บ ยึ ด แบบ Overhung (Overhung
support)
4.) การจับยึดแบบ Statically indeterminate ซึ่งเปนคานที่มีสวนรองรับเกินความจำเปน
ดังแสดงในรูปที่ 3-1 (a-d) ซึ่งคาที่สำคัญมากในการใชงานเพื่อออกแบบคือคาแรงที่จุดจับยึด
หรื อ Support reaction โดยหลั ก การที่ จ ำเป น ในการหาค า ดั ง กล า วคื อ การพิ จ ารณา สมดุ ล
(Equilibriums) ทั้งแรงและโมเมนต การเขี ยน Free body diagram ซึ่งทั้ งสองเรื่องมีความสำคั ญ
อยางยิ่งในการเปนสวนเริ่มตน ของการออกแบบงานทางวิศวกรรม

(a) (b)

(c) (d)
รูปที่ 3-1 รูปแบบชุดรองรับทั่วไปของโครงสราง
3.2 การวิเคราะหภาระกระทำ (Load analysis)
กฎและสมการที่ สามารถนำมาวิเคราะห ภาระกรรมในงานโครงสรางทางวิศวกรรมไดอยาง
กวางขวางคื อ กฎของนิ วตั น (Newton’s law) และสมการของออยเลอร (Euler’s equation) ซึ่ง
3-2

ใชไดวิเคราะหทั้งใน 2 มิติและ 3 มิติ ซึ่งหลักการในการหาคาตัวไมทราบคา (Unknown) นั้นสวนใหญ


จะมีการกำหนดให คาหรือทิศทางเปน บวกเสมอ หลังจากแกส มการแล ว หากค าที่ไดเปน บวก นั่ น
หมายความวา ทิศทางที่กำหนดครั้งแรกนั้นถูกตองแลว แตหากคาที่ไดเปนลบ ทิศทางที่แทจริงตอง
เปนทิศทางตรงขามกับที่กำหนด
กฎของนิวตัน (Newton’s law) ประกอบดวย 3 ขอคือ
ข อ ที่ 1 . เป น กฎที่ เกี่ ย วข อ งกั บ สมดุ ล (Equilibrium) อาจกล าวได ว า “วั ต ถุ จ ะหยุ ด นิ่ งหรื อ
เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่เสมอ หากไมมีแรงมากระทำ” ซึ่งจากคำกลาวดังกลาว ทำใหมีสมการใน
การวิเคราะหในเรื่องของสมดุล ตามสมการที่ 3-1a และ 3-1b

∑F = 0 i (3-1a)
∑M = 0 i (3-1b)

เมื่อ F คือ แรงในแนวแกน i ซึ่ง หมายถึง แกน x, y และ z


M คือ โมเมนตในแนวแกน i ซึ่ง หมายถึง แกน x, y และ z
ข อ ที่ 2 . เป น กฎที่ เกี่ ย วข อ งกั บ สมดุ ล ของแรงภายนอก (External forces) และแรงเฉื่ อ ย
(Inertia forces) อาจกลาวไดอีกรูปแบบหนึ่งวา “วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรง หากมีแรงภายนอกที่
ไมเทากับศูนยมากระทำ” หรือ “ผลรวมของแรงภายนอกที่มากระทำกับวัตถุจะมีคาเทากับ อัตราการ
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัม ของวัตถุในทิศทางของแรงที่กระทำ” ซึ่งจากคำกลาวดังกลาว ทำใหมีสมการ
ในการวิเคราะหในเรื่องของสมดุล ตามสมการที่ 3-2a และ 3-2b

∑ F = ma
i i (3-2a)
∑M = H G G (3-2b)

เมื่อ F คือ แรงในแนวแกน i ซึ่ง หมายถึง แกน x, y และ z ตามลำดับ


a คือ ความเรงในทิศทางแกน i ซึ่ง หมายถึง แกน x และ y ตามลำดับ
MG คือ โมเมนตรอบจุดศูนยถวงของวัตถุ
HG คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตของโมเมนตัมรอบจุดศูนยถวงของวัตถุ
มีคาตามสมการที่ 3-2c

H G = I xϖ x iˆ + I yϖ y ˆj + I zϖ z kˆ (3-2c)

เมื่อ Ix, Iy และ


คือ โมเมนตความเฉื่อยมวลรอบจุดศูนยกลางมวลในแนวแกน x, y
Iz
และ z ตามลำดับ หรือ Mass second moment of inertia
ทำใหสมการที่ 3-2b เปลี่ยนในรูปของสมการที่ 3-2d-f เรียกสมการทั้งสามนั้นวา สมการของออย
เลอร (Euler’s equations)
3-3

∑M x = I xα x − ( I y − I z )ϖ yϖ z (3-2d)
∑M y = I yα y − ( I z − I x )ϖ zϖ x (3-2e)
∑M z = I zα z − ( I x − I y )ϖ xϖ y (3-2f)

เมื่อ M x , M y และ M z คือ โมเมนตในแนวแกน x, y และ z ตามลำดับ


α x ,α y และ α z คือ ความเรงเชิงมุมในแนวแกน x, y และ z ตามลำดับ
ϖ x ,ϖ y และ ϖ z คือ ความเร็วเชิงมุมในแนวแกน x, y และ z ตามลำดับ
ขอที่ 3. เปนกฎที่เกี่ยวแรงกริยา (Action) และแรงปฏิกิริยา (Reaction) นั่นคือ เมื่อมีวัตถุ 2
ชิ้น กระทำตอกัน จะเกิดแรงที่วัตถุตัวที่หนึ่งกระทำกับวัตถุตัวที่สอง เรียกวา “แรงกริยา” (Action
force) ในขณะที่ วัตถุตัวที่ ส องก็ จะมีแรงกระทำยอนกลับ มายังวัตถุตัวที่ห นึ่งเชน กัน เรียกวา “แรง
ปฏิกิริยา” (Reaction force) ซึ่งมีขนาดเทากัน หรือกลาวอีกอยางวา “แรงกริยาจะมีขนาดเทากันกับ
แรงปฏิกิริยา แตมีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงขาม”

3.3 การวิเคราะหภาระกระทำบนคาน (Beam loading)


คานเปน สวนของชิ้นส วนที่ใชรับ ภาระกระทำในแนวขวางและสงตอไปยังแกนของคานและ
รองรับภาระกระทำดังกลาวไปยังลอหรือสวนรองรับ โดยคานที่มีสวนรองรับเปนแบบสลักหรือ Pin
และลูกกลิ้งหรือ Roller ที่ตำแหนงทั้งสองฝงของคาน คานนี้จะถูกเรียกวา “ระบบรองรับแบบงาย”
หรือ Simply supported ดังรูปที่ 3-1(a) สวนคานที่มีการยึดแนนถาวรที่ปลายดานใดดานหนึ่ง จะ
ถูกเรียกวา “ระบบรองรับแบบคานยื่น” หรือ Cantilever beam หรือ Fixed support ดังรูปที่ 3-1
(b) อีกคานประเภทหนึ่งจะเปนการใชงานผสมกันระหวางระบบรองรับแบบงายและระบบรองรับแบบ
คานยื่น เรียกคานดังกลาววา “ระบบรองรับแบบคานหอย” หรือ Overhung beam ดังแสดงในรูปที่
3-1 (c) และ คานที่ มีสวนรองรับเกิน ความจำเปน ตามหลักการทางเสถี ยรภาพของการเคลื่อนไหว
(Kinematics stability) เรี ย กคานดั ง กล า วว า “ระบบรองรั บ คานแบ บหาค า ไม ไ ด ” หรื อ
Indeterminate beam ดั งรูป ที่ 3-1(d) ซึ่งเป น โครงสรางที่ไมส ามารถหาผลเฉลย โดยใชห ลั กการ
ตามการใชสมการสมดุลได เนื่องจากมีตัวไมทราบคาเกินกวาจำนวนสมการที่มี ฉะนั้นในการวิเคราะห
ภาระกระทำที่เกิดขึ้นกับคานนั้น สิ่งสำคัญที่จำเปนในการวิเคราะหภาระกระทำ คือการเขียน Free
body diagram (FBD) หรือการเขี ย นผังของแรงที่ ก ระทำกับ โครงสรางที่ ส นใจ อีก ทั้ งโมเมนต ดั ด
(Bending moment: M ) ตลอดความยาวคาน และ แรงเฉือนในแนวขวางของคาน (Transverse
shear: V ) ในเนื้อหาสวนนี้ เพื่อใหนักศึกษาสามารถเขาและทบทวนเนื้อหาไดเร็วขึ้น จะเสนอวิธีการ
ในวิเคราะหภาระกระทำที่เกิดบนคาน เมื่อรับภาระกระทำแบบตางๆ ดวยวิธีใหมที่ใชงานงาย และ
โอกาสผิดพลาดนอยลง โดยการหาการกระจายของคา แรงเฉือน และโมเมนตดัด ในรูปของ Loading
3-4

function q(x) โดยคา q(x) นิยามตามสมการที่ 3-3a ซึ่งถือเปนตัวทราบคา โดยพิจารณาคานเปน


2 มิติ คือมีการเสียรูปบนระนาบเทานั้น
dV d 2 M
q( x) = = (3-3a)
dx dx 2

เมื่อตองการหาคาการกระจายของแรงเฉือนที่เปนฟงกชันของ x สามารถหาคาไดจากการอินทิกรัล
Loading function เทียบกับ x ตามสมการที่ 3-3b หากตองกำหนดคาเปนชวง เชน พิจารณาจาก
ตำแหนง X A ถึงตำแหนง X B สามารถหาคาไดตามสมการที่ 3-3c
V ( x) = ∫ dV = ∫ q ( x)dx (3-3b)
VB XB

∫ dV = ∫ q( x)dx = V
VA XA
B − VA (3-3c)

ทำนองเดียวกับการหาโมเมนตดัด ซึ่งจะไดคาตามสมการที่ 3-3d-e


M ( x) = ∫ V ( x)dV = ∫ ∫ q ( x)dx (3-3d)
MB XB

∫ dM = ∫V ( x)dx = M
MA XA
B −MA (3-3e)

การกำหนดทิศทางของทั้งแรงเฉือน และ โมเมนตดัด กำหนดตามรูปที่ 3-2

รูปที่ 3-2 การกำหนดทิศทางของแรงเฉือนและโมเมนตดัด

การกำหนดทิศทางของแรงภายนอกที่กระทำกับคาน โดยปกติทั่วไปแลว การเสียรูปของคานที่คุนเคย


เปนลักษณะ แอนลงดานลาง ฉะนั้นการกำหนดทิศทางของแรงจะกำหนดดังนี้
 แรงที่กระทำที่สวนบนของคาน กำหนดใหมีทิศทางเปนแรงกด มีคาเปน ลบ
 แรงที่กระทำที่สวนลางของคาน กำหนดใหมีทิศทางเปนแรงดึง มีคาเปน บวก
ตัวอยางเชน จากรูปที่ 3-1(a) w ถือเปน Loading function ซึ่งเปนแรงกระจายจาก a ถึง l ฉะนั้น
q ( x) = − w เปนตน
3-5

ตัวอยาง 3-1 จงเขียนผังแรงเฉือน และโมเมนตดัดของ simply supported


โดยวิธี Graphical method
โจทยกำหนดให : คานยาว l = 10 in. a = 4 in. และแรงกระจายดวย ϖ = 10 lb / in
ขอจำกัดการวิเคราะห : ไมคิดน้ำหนักคาน

วิธีทำ
ขั้นที่ 1: หา แรงปฏิกิริยาที่สวนรองรับทั้งสอง โดยการรวมโมเมนตรอบแกน z ที่ปลายขวามือของ
คานจะได
+ (l − a )
∑M z = 0 = R1l − w(l − a )
2
(l − a ) 2
(10 − 4) 2
R1 = w = 10 = 18
2l 2 ⋅10
∑ Fy = 0 = R1 − w(l − a) + R2
↑+

R2 = w(l − a ) − R1 = 10(10 − 4) − 18 = 42
ขั้นที่ 2 : หารูปรางของ Shear และ moment diagram พิจารณาการตัดคาน จากซายมือไปขวามือ
ฉะนั้นการกำหนดทิศทางของ Shear (V) และ Moment (M) กำหนดตามรูปที่ 3-2
พิจารณาคา 0 ≤ x ≤ a
โดยพิจารณาสมดุลรวมแรงในแนวแกน y เพื่อหาคาฟงกชันของ Shear และสมดุลโมเมนตรอบ
แกน z ที่จุดตัด จะไดฟงกชันของโมเมนต

∑F
↓+
y = 0 = V − R1 = 0
V = R1 = 18
+
∑ z = 0 = M − R1 x
M
M = R1 x
ที่ x = 0, M = 0
และที่ x = a = 4, M = 18(4) = 72
พิจารณาคา 0 ≤ x ≤ (l − a)
3-6

พิจารณาการตัดคาน จากขวามือไปซายมือ ฉะนั้นการกำหนดทิศทางของ Shear (V) และ


Moment (M) กำหนดตามรูปที่ 3-2

∑F
↑+
y = 0 = V + R2 − = 0
V = wx − R2 = 10 x − 42
ที่ x = 0, V = −42
และที่ x = (l − a) = (10 − 4) = 6, V = 10(6) − 42 = 18
+ x
∑ z = 0 = M − R2 x + wx( 2 )
M

wx 2
M = R2 x −
2
ที่ x = 0, M = 0
10(6) 2
และที่ x = (l − a ) = (10 − 4) = 6, M = 42(6) − = 72
2
จะพบวา ที่จุดเชื่อมตอกันของคาน ไมวาจะพิจารณาจากดานใดของคาน คาแรงเฉือน และ โมเมนต
ดัด จะเทากันเสมอ แตหากตองการหาคาสูงที่สุด ของคาแรงเฉือน หรือโมเมนตดัดนั้น จำเปนตอง
พิจารณาที่สมการของแรงเฉือน หรือ โมเมนตดัดในแตละชวงที่พิจารณา โดยหาพิจารณาโมเมนตดัด
สูงสุดบนคานจะพบวาอยูในชวงระหวาง เลยจุด a ไปแตไมถึงปลายของคาน ซึ่งสามารถหาคาไดจาก
สมการของโมเมนต โดยหาอนุพันธอันดับหนึ่งของสมการโมเมนตดัดแลวใหเทากับศูนย เพื่อหาจุด
วิกฤต หรือจุดที่คาวาจะเปนจุดสูงสุดหรือต่ำสุด จะไดวา
dM
= R2 − wx = 0
dx
แกสมการหาคา x จะได x = R2 = 42 = 4.2 นิ้ว จากขวามือของคาน หรือ 5.8 นิ้วจากซายมือของ
w 10
คาน หากตองการตรวจสอบวาเป น จุดสูงสุดหรือต่ำสุด ตรวจสอบโดย หาอนุพัน ธอัน ดับ สองของ
โมเมนต แลวแทนคาวิกฤตนั้น
 คามากกวาศูนย เปนจุดต่ำสุด
 คาเทากับศูนย เปนจุดเปลี่ยนเวา
 คานอยกวาศูนย เปนจุดสูงสุด
จากตัวอยางจะพบวา อนุพันธอันดับสองของโมเมนตมีคาเปน − w = −10 ซึ่งคานอยกวาศูนย แสดง
10(4.2) 2
วาจุดดังกลาว เปนจุดสูงสุด มีคาสูงสุดเทากับ M max@ x =4.2 = 42(4.2) − = 88.2 lb − in
2
3-7

ซึ่ ง กราฟแสดง Loading, Shear และ Moment diagram แสดงดั ง รู ป ที่ 3-3 (a), (b) และ (c)
ตามลำดับ

(a) Load diagram (b) Shear diagram (c) Moment diagram


รูปที่ 3-3 การกระจายของภาระกระทำบนคานแบบ Simply supported ตัวอยางที่ 3-1
การเขียน Shear และ Moment diagram ตลอดความยาวคาน ยากที่จะใชฟงกชันเดียวหรือ
สมการเพียงสมการเดียว แลวใชไดตลอดทั้งคาน เนื่องจากภาระกระทำอาจจะมีมากกวาหนึ่ง หรือ
ลักษณะของภาระแบบไม มีความตอเนื่อง เชน แรงกระทำที่จุด (Point loads) หรือ แรงกระจาย
(Distributed loads) จึงมีฟงกชันพิเศษที่เรียกวา Singularity functions ซึ่งเปนรูปแบบฟงกชันทาง
คณิ ตศาสตรที่ประดิษฐขึ้น เพื่ อใชแทนคาฟงกชันการกระจายของ Loads, Shear และ Moments
ตลอดความยาวคาน โดย Singularity function ประกอบดวย ตัวแปรตำแหนงที่สนใจ ในที่นี้คือ x
และตัวแปรคาตัวแปรที่กำหนดเอง (User defined parameters) อยูภายในวงเล็บแบบ Brackets
เช น x − a 2 แทน Unit parabolic function ใช แ ทนฟ ง ก ชั น ของแรงกระจายอั น ดั บ สอง
(Quadratically distributed loads) เปนตน
ภาระกระทำในทางวิ ศ วกรรมที่ ก ระทำกั บ คานนั้ น ประกอบด ว ย แรงกระจายอั น ดั บ สอง
(Quadratically distributed loads) แรงกระจายอัน ดั บ หนึ่ ง หรือเชิ งเสน (Linearly distributed
loads) แรงกระจายแบบสม่ำเสมอ (Uniformly distributed loads) แรงหนาแนนหรือแรงกระทำที่
จุด (concentrated force) โมเมนตหนาแนนหรือโมเมนตกระทำที่จุด (concentrated moment)
ซึ่งภาระกระทำทั้งหมดนี้ สามารถเขียนในรูปของ Singularity function ไดดังสมการที่ 3-4a-e
1. Unit parabolic function x − a 2 (3-4a)
x−a = 0 when x ≤ a
2

x−a = ( x − a ) when
2
x>a
2

ใชแทน แรงกระจายอันดับสอง (Quadratically distributed loads)


2. Unit ramp function x−a
1
(3-4b)
x−a = 0 when x ≤ a
1

x−a = ( x − a ) when
1
x>a
ใชแทน แรงกระจายอันดับหนึ่ง (Linearly distributed loads)
3-8

3. Unit step function หรือ Heaviside step function x−a


0
(3-4c)
x−a = 0 when x < a
0

Undefinded at x=a
x−a = 1 when x>a
0

ใชแทน แรงกระจายแบบสม่ำเสมอ (Uniformly distributed loads)


4. Unit impulse function หรือ Dirac delta function x − a −1 (3-4d)
−1
x−a = 0 when x≠a
−1
x−a = −∞ when x=a
ใชแทน แรงหนาแนนหรือแรงกระทำที่จุด (Concentrated force)
5. Unit doublet function x − a −2 (3-4e)
−2
x−a = 0 when x≠a
−2
x−a = ±∞ when x=a
ใชแทน โมเมนตหนาแนนหรือโมเมนตกระทำที่จุด (Concentrated moment)
จะพบวา หากเราเริ่มตนจากฟงกชันภาระกระทำ q เพื่อหาคาฟงกชัน แรงเฉือน ฟงกชันโมเมนตดัด
ฟงก ชัน ความชัน และฟ งกชันการเสียรูป จึงจำเป น ตองรูผ ลการอิน ทิ กรัล ตามลำดับ ขั้น ในสมการ
ที่ 3-3a ถึง 3-3e โดยผลของการอินทิกรัลแสดงในรูปสมการที่ 3-5a ถึง 3-5e ดังนี้
x−a
x 3

∫ λ − a dλ = (3-5a)
2

−∞
3
x−a
x 2

∫ λ − a dλ = (3-5b)
1

−∞
2
x

∫ λ − a dλ =x−a (3-5c)
0 1

−∞
x
−1
∫ λ − a dλ =
x−a (3-5d)
0

−∞
x
−2 −1

−∞
λ −a dλ =
x−a (3-5e)
เมื่อ λ เปนตัวแปรของการอินทิกรัล โดยอินทิกรัลจาก −∞ ถึง x ซึ่งเปนสวนขั้นตอนการหาคา
ฟ งก ชัน ขางตน ต อไปในเนื้ อของบที่ 4 โดยในบทที่ 3 จะยกเฉพาะรูป แบบของการนำ Singularity
function ที่มีการใชงานประจำในงานทางวิศวกรรมคือหาฟงกชัน แรงเฉือน และฟงกชันโมเมนตดัด
ซึ่งเปนอีกวิธีการหนึ่งในการวิเคราะหภาระกระทำที่เกิดขึ้นบนคาน ซึ่งสามารถเขียนในรูปสมการ ซึ่ง
ขั้นตอนการตัดสวนของคานออกเปนสวนยอยๆ โดยใช Singularity function เขามาชวย ซึ่งมีการ
รวบรวมในเอกสารภาคผนวก ง-1 ถึง ง-3 ตามประเภทของคานและชนิดของภาระกระทำ กอนอื่น
นักศึกษาตอทำความรูจักและหาคาของ Singularity function ตางได
3-9

ตัวอยาง 3-2
คำถาม : จงเขียน Shear และ Moment diagram ของ simply supported
โดยวิธีใช Singularity functions
โจทยกำหนดให : คานยาว l = 10 in. a = 4 in. และแรงกระจายดวย ϖ = 10 lb / in
ขอจำกัดการวิเคราะห : ไมคิดน้ำหนักคาน
วิธีทำ

ขั้นที่ 1 พิจารณาหาแรงที่จุดจับยึดทั้งสองขางของคาน จากรูปที่ ง-2 (b) สวนของ Loading จะพบวา


w 10
R1 = (l − a ) 2 = (10 − 4) 2 = 18 lb ↑
2l 2 ⋅10
w 2 10
R2 = (l − a 2 ) = (10 2 − 4 2 ) = 42 lb ↑
2l 2 ⋅10
โดยสมการของ Loading ที่ตำแหนง x ใดๆ คือ q = R1 x −1 − w x − a 0 + R2 x − l −1

(a) Load diagram

ขั้นที่ 2 พิจารณาหา Shear ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา


V = R1 − w x − 1 + R2 x − l
1 0

1 1
= w (l − a) 2 − x − a 
 2l 
VMax = Max( R1 , R2 ) = R2 = 42 lb
Shear diagram พิจารณาจากสมการของ Shear เปนชวงๆ ดังนี้
0 < x < a เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา
1 1
V = w (l − a ) 2 − x − a 
 2l 
1  w 10
= w (l − a ) 2 − 0 = (l − a ) 2 = (10 − 4) 2 = 18
 2l  2l 2 ⋅10
3-10

a < x < l เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา


1 1
V = w (l − a ) 2 − x − a 
 2l 
1  1 
= w (l − a ) 2 − ( x − a) = w (l − a) 2 − ( x − a)
 2l   2l 
จะพบว า Shear diagram ในช ว งนี้ มี ลั ก ษณะเป น กราฟเส น ตรง มี ค วามชั น เท ากั บ −w โดยค า
Shear สูงสุด มีคาเทากับ R2 = 42 lb เมื่อนำมาเขียน Shear diagram ไดดังนี้
(b) Shear diagram

ขั้นที่ 3 พิจารณาหา Moment ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา


w
M = R1 x − x−a + R2 x − l
2 1

2
wx 2
=  (l − a ) 2 − x − a 
2 l 
wx
กรณี a = 0, M Max = (l − x)
2
จากรูปจะพบวา คา a ≠ 0 จึงพิจารณาตามสมการของ Moment
ปกติ
Moment diagram พิจารณาจากสมการของ Moment เปนชวงๆ ดังนี้
0 < x < a เมื่อพิจารณาจากสมการของ Moment จะไดวา
wx 2
M=  (l − a ) 2 − x − a 
2 l 
wx  wx x
=  (l − a ) 2 − 0 = (l − a ) 2 = (10 − 4) 2 = 18 x
2 l  2l 2
จะพบวากราฟของ Moment เปนเสนตรง ที่มีความชันเทากับ 18
a < x < l เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา
wx 2
M=  (l − a ) 2 − x − a 
2 l 
wx  wx w
=  (l − a ) 2 − ( x − a ) 2  = (l − a ) 2 − ( x 2 − 2ax + a 2 )
2 l  2l 2
10 x 10
= (10 − 4) 2 − ( x 2 − 2 ⋅ 4 ⋅ x + 4 2 ) = 18 x − 5 x 2 + 40 x − 80
2 ⋅10 2
= −5 x + 58 x − 80
2
3-11

จะพบว า กราฟของ Moment diagram ในช ว งนี้ เป น พาลาโบลา โดยค า M Max พิ จ ารณา
ตำแหนงที่เกิดจากสมการ Shear ในชวงเดียวกัน โดยพิจารณาหาคา x ที่คา V = 0 จะไดวา
 1 
V = 0 = 10  (10 − 4) 2 − ( x − 4) = 18 − 10 x + 40 = −10 x + 58
 2 ⋅10 
− 10 x + 58 = 0
จะไดวา x = 5.8 in. เปนจุดที่คา Moment สูงสุด นั่นคือ
M Max = −5 x 2 + 58 x − 80 = −5 ⋅ (5.8) 2 + 58 ⋅ (5.8) − 80
= 88.2 lb − in
จากสมการของ Moment ทั้งสองชวง สามารถนำมาเขียน Moment diagram ไดดังนี้
(c) Moment diagram

โดยสรุป เราสามารถใช Singularity function รวมกับการหาคา Load, Shear และ Moment ได
ดังนี้
R1 = 18 lb ↑, R2 = 42 lb ↑, VMax = −42 lb, M Max = 88.2 lb − in ตอบ
ตัวอยาง 3-3
คำถาม : จงเขียน Shear และ Moment diagram ของ Cantilever beam
ที่รับภาระกระทำแบบ Concentrated load โดยวิธี Graphical method
โจทยกำหนดให : คานยาว l = 10 in. a = 4 in. และ Concentrated force F = 40 lb
ขอจำกัดการวิเคราะห : ไมคิดน้ำหนักคาน

วิธีทำ
ขั้นที่ 1: หา แรงปฏิกิริยาและโมเมนตที่จุดยึด โดยการรวมโมเมนตรอบแกน z ที่จุดยึด และรวมแรง
ในแนวแกน y จะได
+
∑ z = 0 = Fa − M 1
M
M 1 = Fa = 40 ⋅ (4) = 160 lb − in (ccw)
∑F
↑+
y = 0 = R1 − F
3-12

R1 = F = 40 lb ↑

ขั้นที่ 2 : หารูปรางของ Shear และ moment diagram พิจารณาการตัดคาน จากซายมือไปขวามือ


ฉะนั้นการกำหนดทิศทางของ Shear (V) และ Moment (M) กำหนดตามรูปที่ 3-2
พิจารณาคา 0 ≤ x ≤ a
โดยพิจารณาสมดุลรวมแรงในแนวแกน y เพื่อหาคาฟงกชันของ Shear และสมดุลโมเมนตรอบ
แกน z ที่จุดตัด จะไดฟงกชันของโมเมนต

∑F
↓+
y = 0 = V − R1 = 0
V = R1 = 40

∑ M z+ = 0 = M − R1 x + M 1
M = R1 x − M 1 = 40 x − 160
สมการของ Moment ในชวงนี้ เปนสมการเสนตรง มีความชัน 40
ที่ x = 0, M = 40 ⋅ (0) − 160 = −160
และที่ x = a = 4, M = 40 ⋅ (4) − 160 = 160 − 160 = 0
พิจารณาคา 0 ≤ x ≤ (l − a)
พิ จารณาการตั ด คาน จากขวามื อไปซ ายมือ ฉะนั้ น การกำหนดทิ ศทางของ Shear (V) และ
Moment (M) กำหนดตามรูปที่ 3-2

จะพบวา บนคาน มีเพียงแรง V และ Moment M เทานั้น ไมมีแรงภายนอกกระทำ ฉะนั้น

∑ F
↑+
y = 0 =V = 0

∑M +
z =0=M =0
3-13

จะไดวา Shear diagram และ Moment diagram ในชวงนี้ จะมีคาเปนศูนย

(a) Load diagram (b) Shear diagram (c) Moment diagram


ตัวอยาง 3-4
คำถาม : จงเขียน Shear และ Moment diagram ของ Cantilever beam
ที่รับภาระกรรมแบบ Concentrated load โดยวิธีใช Singularity functions
โจทยกำหนดให : คานยาว l = 10 in. a = 4 in. และ Concentrated force F = 40 lb
ขอจำกัดการวิเคราะห : ไมคิดน้ำหนักคาน
วิธีทำ

ขั้นที่ 1 พิจารณาหาแรงที่จุดจับยึดทั้งสองขางของคาน จากรูปที่ ง-1 (a) สวนของ Loading จะพบวา


R1 = F = 40 lb ↑
M 1 = Fa = 40 ⋅ (4) = 160 lb − in
−2 −1 −1
โดยสมการของ Loading ที่ตำแหนง x ใดๆ คือ q = M 1 x − R1 x +F x−a
ขั้นที่ 2 พิจารณาหา Shear ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา
−1
V = −M 1 x + R1 − F x − a
0

(
= F 1− x − a
0
)
VMax = R1 = F = 40 lb
Shear diagram พิจารณาจากสมการของ Shear เปนชวงๆ ดังนี้
0 < x < a เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา
V = F (1 − (0) ) = F
a < x < l เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา
V = F (1 − (1) ) = 40(1 − 1)) = 0
3-14

จะพบวา Shear diagram ในชวงนี้มีลักษณะเปนกราฟเสนตรง ทับกับแกน x


ขั้นที่ 3 พิจารณาหา Moment ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา
M = − M 1 + R1 x − F x − a
1

(
= F −a+x− x−a
1
)
M Max = − Fa
กรณี a = l , M Max = − Fl
จากรูปจะพบวา คา a ≠ l จึงพิจารณาตามสมการของ Moment ปกติ
Moment diagram พิจารณาจากสมการของ Moment เปนชวงๆ ดังนี้
0 < x < a เมื่อพิจารณาจากสมการของ Moment จะไดวา
(
M = F −a+ x− x−a
1
)
= F (− a + x − (0) ) = F ( x − a )
= 40 ⋅ ( x − 4) = 40 x − 160
จะพบวากราฟของ Moment เปนเสนตรง ที่มีความชันเทากับ 40
โดยคา M Max เกิดที่ตำแหนง x = 0
ที่ x = 0, M Max = 40 ⋅ (0) − 160 = −160
และที่ x = a = 4, M = 40 ⋅ (4) − 160 = 160 − 160 = 0
a < x < l เมื่อพิจารณาจากสมการของ Shear จะไดวา
M = F (− a + x − x − a ) = F (− a + x − ( x − a) ) = 0
1

จะพบวากราฟของ Moment diagram ในชวงนี้ มีคาเปนศูนย คือทับกับแกน x จากสมการของ


Shear และ Moment ทั้งสองชวง สามารถนำมาเขียน Moment diagram ไดดังรูปที่ 3-4 โดยสรุป
เราสามารถใช Singularity function รวมกับการหาคา Load, Shear และ Moment ไดดังนี้
M 1 = 160 lb − in(CCW ), R1 = 40 lb ↑, VMax = 40 lb, M Max = 160 lb − in ตอบ

จากตัวอยาง 3-2 และ 3-4 จะพบวาเปนตัวภาระกระทำ ที่ไมซับซอนมากนัก แตหากปญหา


โครงสรางที่มีภาระกระทำที่แตกตางออกไป เชน ภาระกระทำที่เปนกระจายแบบเชิงเสน ภาระกระทำ
ที่มีการกระจายแบบกำลังสอง หรือมากกวา การใช Singularity function ตามเอกสารที่มีอยูจะใชได
ไม ค รอบคลุ ม เนื้ อ หาทั้ ง หมดได จึ ง จำเป น ต อ งใช ความสั ม พั น ธ ข อง Load functions, Shear
functions และ Moment functions และหาค า Function จากค า Load function โดย Shear
function หาค าโดยการ Integrated ตามสมการที่ 3-3b และ Moment function หาคาโดยการ
Integrated ตามสมการ 3-3d และมีสวนของการ Integrated ที่ตางจากการ Integrated ปกติดังนี้
x−a
3
x 2

∫−∞
λ − a dλ =
3
x−a
2
x 1

∫−∞
λ − a dλ =
2
3-15

x 0

∫ λ − a dλ = x − a
1
−∞
x −1

∫ λ −a dλ = x − a
0
−∞
−2
x −1
∫−∞
λ −a dλ = x − a
เมื่อ λ ตัวแปรอิสระ หากพิจารณาเปนคาน จะหมายถึงตำแหนงของคานที่ระยะใดๆ นั่นเอง
ดังแสดงในตัวอยาง 3.5
ตัวอยาง 3-5
คำถาม : จงเขียน Shear และ Moment diagram ของ Overhung beam
ที่รับภาระกระทำแบบ Ramp load และ Concentrated moment
โดยวิธีใช Singularity functions
โจทยกำหนดให : คานยาว l = 10 in. a = 4 in.
และ Concentrated moment M 1 = 20 lb − in.
และความชันของ Distribution load คือ w = 10 lb / in.
ขอจำกัดการวิเคราะห : ไมคิดน้ำหนักคาน
วิธีทำ

ขั้นที่ 1 พิจารณาหา Load function q ที่กระทำบนคานที่ตำแหนงตางๆ ไดดังนี้


พิจารณา Load function
−2 −1 −1
q = M1 x + R1 x − a − w x − a + R2 x − l
1

ข อ สั งเกตุ : Moment (M) พิ จ ารณาทิ ศ ทางตามเข็ ม นาิ ก าเป น บวก และ Concentrated load
ทิศทางขึ้นเปนบวก
ขั้นที่ 2 พิจารณาหา Shear ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา
x−a
2
−1
V = ∫ qdx = M 1 x − 0 + R1 x − a − w + R2 x − l + C1
0 0

2
ขั้นที่ 3 พิจารณาหา Moment ที่ตำแหนง x ใดๆ จะพบวา
x−a
3

M = ∫ Vdx =M 1 x − 0 + R1 x − a − w + R2 x − l + C1 x + C 2
0 1 1

2⋅3
จากสมการของ Shear และ Moment จะพบวาคาคงที่ C1 และ C2 สามารถหาคาได จากการแทน
คาเงื่อนไขที่ขอบทั้งสองดานของคาน คือ ที่ x = 0 และ x = l ไมมีทั้ง Shear และ Moment นั่นคือ
3-16

V =M =0 เมื่ อ แ ท น V =M =0 ใน ส ม ก าร Share (V) แ ล ะ Moment (M) จ ะ ได ว า


C1 = C2 = 0 ดังนี้
x−a
2
−1
V = M1 x − 0 + R1 x − a
0
−w + R2 x − l
0
(a)
2
x−a
3

M = M 1 x − 0 + R1 x − a − w
0 1
+ R2 x − l
1
(b)
6
ขั้นที่ 4 พิจารณาหา Support reaction R1 และ R2 จากสมการ Shear (V) และ สมการ Moment
(M) ที่ x = l + ,V = 0, M = 0 แทนคา x ดวย l + จะไดวา
2
+ −1 + 0 l+ − a 0
V = M1 l − 0 + R1 l − a −w + R2 l + − l
2
w
= M 1 (0) + R1 (1) − (l − a) 2 + R2 (1)
2
w
= R1 − (l − a) 2 + R2
2
w
0 = R1 − (l − a) 2 + R2
2
w
R1 + R2 = (l − a ) 2 (c)
2
3
0 1 l+ − a 1
M = M 1 l + − 0 + R1 l + − a − w + R2 l + − l
6
w
= M 1 (1) + R1 (l − a ) − (l − a ) 3 + R2 (0)
6
w
= M 1 + R1 (l − a ) − (l − a ) 3
6
w
0 = M 1 + R1 (l − a ) − (l − a ) 3
6
w
R1 (l − a ) = (l − a ) 3 − M 1
6
w 
R1 =  (l − a) 3 − M 1  (l − a)
6 
แทนคา จะได R1 =  (10 − 4) 3 − 20 (10 − 4) = 56.67 lb ↑
10
6 
แทนคา R1 ในสมการ (c) จะได R2 = w (l − a) 2 − R1 = 10 (10 − 4) 2 − 56.67 = 123.33 lb ↑
2 2
จากสมการ (a) และ (b) ถือเปนสมการ Shear และ Moment โดยเมื่อนำมาเขียนกราฟที่ระยะ x
ใดๆ แสดงดังนี้
3-17

(a) Load diagram (b) Shear diagram (c) Moment diagram


การพิจารณาหาคาสูงสุดของ Shear จากรูปที่ 3-5 (b) มีคาสูงสุดที่ x = l = 10 in มีคาเทากับ
x−a
2
−1
V = M1 x − 0 + R1 x − a −w + R2 x − l
0 0

2
(l − a ) 2
V = M 1 (0) + R1 (1) − w + R2 (0)
2
(l − a ) 2 (10 − 4) 2
= R1 (1) − w = 56.7 − 10
2 2
= 56.7 − 180 = −123.3 lb ↓
และ Moment สู งสุดเกิ ดที่ ตำแหนง Shear มีคาเท ากับ ศูน ย นั่น คือ a < x < l คื อ 4 < x < 10 in.
แทนคา V = 0 ในสมการ (a) จะได
x−a
2
−1
V = M1 x − 0 + R1 x − a −w + R2 x − l
0 0

2
( x − a) 2
= M 1 (0) + R1 (1) − w + R2 (0)
2
( x − a) 2
= R1 (1) − w =0
2
1/ 2
 2 ⋅ 56.7 
1/ 2
 2R 
แทนคา และแกสมการหาคา x จะไดวา x= 1 +a =  + 4 = 7.4 in.
 w   10 
นั่นคือที่ระยะ x = 7.4 in. เปนตำแหนงที่ Shear มีคาเทากับศูนย และในขณะเดียวกัน Moment จะ
มีคาสูงสุด โดยเมื่อแทน x = 7.4 in. ในสมการ (b) จะไดวา
( x − a) 3
M = M 1 (0) + R1 ( x − a )1 − w + R2 (0)
6
( x − a) 3 (7.4 − 4) 3
M Max = R1 ( x − a) − w
1
= 56.7(7.4 − 4) − 10 = 147.2 lb − in.
6 6
ฉะนั้นจะไดวา
R1 = 56.7 lb ↑, R2 = 12.3. lb ↑, VMax = −123.3 lb, M Max = 147.2 lb − in ตอบ
3-18

ตัวอยาง 3-6
คำถาม : จงเขียนสมการของ Load function, Shear และ Moment equations
ของคานที่รับภาระดังรูป และเขียน Shear และ Moment diagram

วิธีทำ
จากรูปสามารถเขียน Singularity function แทน Load function ไดดังนี้
−1 −1 −1 −1
q ( x) = −50 x + R1 x − 20 + R2 x − 40 − 50 x − 60 ตอบ
และหลังจากทำการ Integral Load function จะได Shear function ดังนี้
V ( x) = −50 + R1 x − 20
0
+ R2 x − 40
0
ตอบ
− 50 x − 60
0

และหลังจากทำการ Integral Shear function จะได Moment function ดังนี้


M ( x) = −50 x + R1 x − 20 + R2 x − 40 − 50 x − 60
1 1 1
ตอบ
หากใชคา เมื่อ x → 60 นิ้ว จะไดวา M = 0 จะไดวา
M (60) = −50(60) + R1 (60 − 20) + R2 (60 − 40) − 50(0)
= −3000 + 40 R1 + 20 R2 = 0
40 R1 + 20 R2 = 3000 (1)
หากใชคา เมื่อ x → 60 นิ้ว จะไดวา V = 50 lbf จะไดวา
V (60) = −50 + R1 (1) + R2 (1) − 50(0)
= −50 + R1 + R2 = 50
R1 + R2 = 100 (2)
แกสมการ (1) และ (2) จะได R1 = R2 = 50 lbf ↑
ฉะนั้นสมการของ Shear diagram คือ
V ( x) = −50 + 50 x − 20 + 50 x − 40 − 50 x − 60
0 0 0

และสมการของ Moment diagram คือ


M ( x) = −50 x + 50 x − 20 + 50 x − 40 − 50 x − 60
1 1 1

ที่ 0 < x < 20


V ( x) = −50 + 50(0) + 50(0) − 50(0) = −50
M ( x) = −50 x + 50(0) + 50(0) − 50(0) = −50 x
ที่ 20 < x < 40
V ( x) = −50 + 50(1) + 50(0) − 50(0) = 0
3-19

M ( x) = −50 x + 50( x − 20) + 50(0) − 50(0) = −1000


ที่ 20 < x < 40
V ( x) = −50 + 50(1) + 50(1) − 50(0) = 50
M ( x) = −50 x + 50( x − 20) + 50( x − 40) − 50(0) = 50 x − 3000
3-20

3.4 การใชโปรแกรมสำเร็จรูปวิเคราะหภาระกรรมบนคาน (Beam loading)


การใชงานโปรแกรมสำเร็จรูปชวยในการวิเคราะหภาระที่กระทำตอคาน เปนวิธีการหนึ่งที่ชวย
ลดระยะเวลาการวิเคราะหภาระที่สวนตางๆ ของคานซึ่งถือเปนตัวไมทราบคา ใหสามารถหาคาได
อยางถูกตองและแมนยำ ลดความผิดพลาดจากการกดเครื่องคำนวณผิด อีกทั้งสามารถที่ใชงานไดงาย
โดยหาทำตามขั้นตอนที่ผูสอน แนะนำเปนทีละขั้นตอนตามลำดับดังนี้
3.4.1 รูจักโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรมสำเร็จรูปที่นำมาใหนักศึกษาฝกใชงาน เพื่อชวยในการวิเคราะหภาระที่กระทำตอคาน
คือโปรแกรมชื่อว า MDSolids โดยสามารถโหลดใช งานไดฟรี 30 วัน จากเว็บ ไซตดานลาง โดยมี
ไอคอนของโปรแกรมดังรูปที่ 3-4
https://web.mst.edu/~mdsolids/

รูปที่ 3-4 ไอคอนของโปรแกรม MDSolids

และรูปที่ 3-5 แสดงหนาตางของโปรแกรมเมื่อเปดใชงาน

รูปที่ 3-5 หนาตางการใชงานของโปรแกรม MDSolids


3-21

3.4.2 ขั้นตอนการใชงาน
การใชงาน Determinate Beam สามารถเลือกใชงานการวิเคราะหภาระที่กระทำกับคานตาม
รูปที่ 3-5 โดยเลือกที่สวน Determinate beam ดังรูปที่ 3-6

รูปที่ 3-6 หนาตางของวิเคราะห Determinate beam ของโปรแกรม MDSolids

โดยมีขั้นตอนการฝกทำเปนขั้นตอนดังนี้

ประเภทของ Determinate Beams

มีรูปแบบใหเลือก 3 แบบ คือ

1) แบบ 2 Supports 2) แบบ Fixed support จากขวามือ 3) แบบ Fixed support จากซายมือ
3-22

ตัวอยาง การใชงานแบบ 2 Supports


เมื่อเลือกรูปแบบ 2 Supports จะปรากฏดังรูป

1) เมื่อเลือกแลว จะมี Total Beam Length เปนสวนที่กำหนดความยาวของคาน โดยมีหนวย


ใหเลือกคือ นิ้ว (in.), ฟุต (ft) ,มิลลิเมตร (mm) และ เมตร (m)
2) กำหนด Location of left support กำหนดตำแหนง Support ฝงซาย
3) กำหนด Location of right support กำหนดตำแหนง Support ฝงขวา
สวนที่ตองกำหนด 4 จุดคือ

ตัวอยาง การปอนตัวเลข
3-23

เมื่อกำหนดคาแลว กด Enter จะไดดังรูป

ตั ว อย า ง 3-7 ป อ นแรง Concentrated loads ที่ ต ำแหน ง x = 0.5 m. ขนาด 250 N ดั ง รู ป
หลังจากนั้นกด Enter
3-24

ผลที่ได ประกอบดวย Shear และ Moment diagram และยังมี Support reaction ที่จุด A และ
B ดังรูป
3-25

ตัวอยาง 3-8 จากตัวอยาง 3-7 เพิ่ม Uniform Loads ดังรูป


3-26

สรุปจากผลการจำลองคือ
1) Support reaction ที่จุด A
ตอบ 1,464.47 N ทิศทาง ขึ้น หรือบวก
2) Support reaction ที่จุด B
ตอบ 3,893.40 N ทิศทาง ขึ้น หรือบวก
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ -3,893.40 N ตำแหนง ตำแหนง Support B
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ 1,483.84 N-m ตำแหนง ที่ตำแหนงหางจาก Support A ไปทางขวามือ 1.24 m
3-27

แบบฝกหัด
1. จาก รู ป สำหรั บ ใช ข อ 1 – 2 จงเขี ย น FBD ของชิ้ น ส ว น Brake lever ตามรู ป แบบของ
Support พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน

รูปสำหรับใช ขอ 1 – 2
2. รูปสำหรับ ขอ 3 - 4 จงเขียน FBD ของชิ้นสวน Handgrip ตามรูปแบบของ Support พื้นฐาน
ที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน
3. รู ป สำหรั บ ข อ 3 - 4 จงเขี ย น FBD ของชิ้ น ส ว นหมายเลข 1 ตามรู ป แบบของ Support
พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน

รูปสำหรับใช ขอ 3-4


4. จากรูปสำหรับ ขอ 3 - 4 จงเขียน FBD ของชิ้นสวนหมายเลข 2 ตามรูปแบบของ Support
พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน
5. จากรูป สำหรั บ ข อ 5 - 7 จงเขี ย น FBD ของชิ้ น ส ว นหมายเลข 2 และ 5 ตามรู ป แบบของ
Support พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน
6. จากรูป สำหรั บ ข อ 5 - 7 จงเขี ย น FBD ของชิ้ น ส ว นหมายเลข 4 และ 7 ตามรู ป แบบของ
Support พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน

รูปสำหรับใช ขอ 5 - 7
3-28

7. จากรูปสำหรับ ขอ 5 - 7 จงเขียน FBD ของชิ้นสวนหมายเลข 1 ตามรูปแบบของ Support


พื้นฐานที่นักศึกษาเรียนในชั้นเรียน
8. จากรูปคานแบบ Cantilever beam จงใชหลักการของ Singularity function เขียนสมการ
ของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)

9. จากรูปคานแบบ Cantilever beam จงใชหลักการของ Singularity function เขียนสมการ


ของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)

10. จากรูป คานแบบ Simply support beam จงใชห ลัก การของ Singularity function เขี ย น
สมการของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)

11. จากรูป คานแบบ Simply support beam จงใชห ลัก การของ Singularity function เขี ย น
สมการของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)

12. จากรูปคานแบบ Overhung support beam จงใชหลักการของ Singularity function เขียน


สมการของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)
3-29

13. จากรูปคานแบบ Overhung support beam จงใชหลักการของ Singularity function เขียน


สมการของ Load , สมการ Shear (V) และ สมการ Bending moment (M)

14. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Simply support ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรูปจำลอง โดย


มีแรง P1 = 200 N, P2 = 250 N, P3 = 300 N, P4 = 200 N, และ P5 = 200 N กระทำ ณ
ตำแหนงดังรูป โดยขนาดความยาวคานใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)

จงหา 1) Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Support reaction ที่จุด B
ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................

15. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Simply support ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรูปจำลอง โดย


มี แ รง P1 = 200 N, w1 เป น Uniform distributed load ขนาด 250 N/m กระทำ ณ
ตำแหนงดังรูป โดยขนาดความยาวคานใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)
3-30

จงหา 1) Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Support reaction ที่จุด B
ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................
16. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Over hunging support ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรูป
จำลอง โดยมี แ รง P1 = 200 N, w1 เป น Uniform load ขนาด 250 N/m กระทำ ณ
ตำแหนงดังรูป โดยขนาดความยาวคานใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)

จงหา 1) Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Support reaction ที่จุด B
ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................
17. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Over hunging support ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรูป
จำลอง โดยมี แ รง P1 = 200 N, q1 เป น Linear distributed loads ขนาด 250 N/m
กระทำ ณ ตำแหนงดังรูป โดย q1 เริ่มที่ 0 N/m สิ้นสุดที่ 250 N/m โดยขนาดความยาวคาน
ใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)
3-31

จงหา 1) Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Support reaction ที่จุด B
ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................
18. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Fixed support beam ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรู ป
จำลอง โดยมี แ รง P1 = 200 N, w1 เป น Uniform load ขนาด 250 N/m กระทำ ณ
ตำแหนงดังรูป โดยขนาดความยาวคานใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)

จงหา 1) Force Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Moment Support reaction ที่จุด A
ตอบ ......................... N-m ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................

19. จงสรางแบบจำลองของคานแบบ Fixed support beam ดังรูป จงใชโปรแกรมสำเร็จรู ป


จำลอง โดยมีแรง P1 = 200 N, M1= 250 N-m, w1 เปน Uniform load ขนาด 250 N/m
กระทำ ณ ตำแหนงดังรูป โดยขนาดความยาวคานใชหนวยที่ใชเปนเมตร (Meter)
3-32

จงหา 1) Force Support reaction ที่จุด A


ตอบ ......................... N ทิศทาง ...................
2) Moment Support reaction ที่จุด A
ตอบ ......................... N-m ทิศทาง ...................
3) ขนาด Max. shear (V) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ .................... N ตำแหนง ......................
4) ขนาด Max. Bending Moment (M) และตำแหนงที่เกิด
ตอบ ................ N-m ตำแหนง ....................
3-20 จากรูปคานที่กำหนดให ตามรูปสำหรับขอ 20 จงหาแรงที่ Support คาแรงเฉือนสูงสุด และ
โมเมนตดัดสูงสุด พรอมระบุตำแหนงที่เกิด โดยตัวแปรกำหนดคาตามตารางขอมูลสำหรับ ขอ
20-23

รูปสำหรับ ขอ 20

ตารางขอมูลสำหรับ ขอ 20-23


ขอที่ l (in) a (in) b (in) P (lb) or p (lb/in)
a 20 16 18 1000
b 12 2 7 500
c 14 4 12 750
d 8 4 8 1000
e 17 6 12 1500
f 24 16 22 750
3-33

21. จากรูปคานที่กำหนดให ตามรูปสำหรับ ขอ 21 จงหาแรงที่ Support คาแรงเฉือนสูงสุด และ


โมเมนตดัดสูงสุด พรอมระบุตำแหนงที่เกิด โดยตัวแปรกำหนดคาตามตารางขอมูลสำหรับ ขอ
20-23

รูปสำหรับ ขอ 21
22. จากรูปคานที่กำหนดให ตามรูปสำหรับขอ 22 จงหาแรงที่ Support คาแรงเฉือนสูงสุด และ
โมเมนตดัดสูงสุด พรอมระบุตำแหนงที่เกิด โดยตัวแปรกำหนดคาตามตารางขอมูลสำหรับ ขอ
20 -23

รูปสำหรับ ขอ 22
23. จากรูปคานที่กำหนดให ตามรูปสำหรับ ขอ 23 จงหาแรงที่ Support คาแรงเฉือนสูงสุด และ
โมเมนตดัดสูงสุด พรอมระบุตำแหนงที่เกิด โดยตัวแปรกำหนดคาตามตารางขอมูลสำหรับ ขอ
20 -23

รูปสำหรับ ขอ 23
3-34

24. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 1)

25. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 2)

26. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 3)
3-35

27. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 4)

28. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 5)

29. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 6)

30. จากรูปที่กำหนดใหตอไปนี้ จงวิเคราะหภาระที่กระทำกับชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องมือตอไปนี้


(โครงงาน 7)
3-36

เฉลยบทที่ 3

เฉลย ขอ 1-2

เฉลย ขอ 5-7


3-37

เฉลย ขอ 5-7 (ตอ)

You might also like