การวิเคราะห์แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 57

การวิเคราะห์แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

กรณีนายจ่ายจ้างให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
โดย
วรัทกร เจริญชัย
นักวิชาการสรรพากรชานาญการพิเศษ
สานักงานสรรพากรพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร 9
โจทก์ ข้อ 1 สาวสวยนางหนึ่ง เป็ นพนักงานบริษทั แห่ งหนึ่ง ถูกเลิกจ้ าง เนื่องจากบริษัทฯ
ขาดทุนต้ องปิ ดกิจการ ทางานมาแล้ ว 4 ปี 320 วัน ออกจากงานเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564
เงินเดือน 12 เดือนสุ ดท้ ายได้ รับเงินเดือนเท่ ากันทุกเดือน เดือนละ 86,000 บาท ได้รับเงินได้
ออกจากงานดังนี้
1.เงินตอบแทนพิเศษ จานวน 172,000 บาท
2.เงินชดเชย จานวน 516,000 บาท
สาวสวยนางหนึ่ง ประสงค์ เลือกเสี ยภาษีเงินได้ โดยไม่ นาไปรวมคานวณกับเงินได้ อื่น
โจทก์ ข้อ 2 สาวสวยนางสอง เป็ นพนักงานธนาคารเอกชนแห่ งหนึ่ง ทางานมาแล้ว 12 ปี
ออกจากงานเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2564 ได้ รับเงินเดือน 12 เดือนสุ ดท้ าย เท่ ากันทุกเดือน
เดือนละ 86,000 บาท ได้ รับเงินได้ ออกจากงาน เงินตอบแทนพิเศษ จานวน 860,000 บาท
ประเภทเดียว
สาวสวยนางสอง เลือกเสี ยภาษีเงินได้ โดยไม่ นาไปรวมคานวณกับเงินได้ อื่น
ม.48(1)

ม.48(2)
ม.48(5)
หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข
ของเงินได้ พงึ ประเมินตำมมำตรำ 40(1) และ (2)
สำคัญ แห่ งประมวลรัษฎำกร ซึ่งนำยจ้ ำงจ่ ำยให้ ครั้งเดียว
ประกำศอธิบดีฯ เพรำะเหตุออกจำกงำน
ภำษีเงินได้ ฉบับที่45 ตำมมำตรำ 48(5) และมำตรำ 50(1)
แห่ งประมวลรัษฎำกร
สิ ทธิใช้ ใบแนบฯ แยกคำนวณภำษี

ระยะเวลำทำงำน
ไม่ น้อยกว่ ำ 5 ปี

ข้อหารื อ กค 0811/00140 ลว.7 ม.ค.2542


เราจะดูอายุงาน
จากไหน
กำรนับระยะเวลำกำรทำงำนต่ อเนื่อง
ออกจากงานเดิม เข้าทางานใหม่
โอนเงินและผลประโยชน์

ไม่เกิน 1 ปี

กค 0811/3165 ลว.30 มี.ค.2544


ข้อหารื อ กค 0702/8514 ลว.26 ก.ย. 2545
กค 0702/4372 ลว.30 พ.ค.2555
กำรนับระยะเวลำกำรทำงำนต่ อเนื่อง

ออกจากงานเดิม
ไม่เกิน 1 ปี
กลับทางานนายจ้างเดิม

ไม่ได้ใช้สิทธิ เลือกเสี ยาาีี


จำนวนปี ที่ทำงำน
เมื่อนับได้ ครบ 5ปี แล้ ว
เศษของปี ถ้ ำถึง 183 วัน
ให้ ถือเป็ น 1 ปี ถ้ ำไม่ ถึง
183 วัน ให้ ปัดทิง้
เริ่มงำนวันที่ 27 กันยำยน 2547
ถึงวันที่ 31 สิ งหำคม 2564
1.วันที่ 27 กันยำยน 2547 ถึง
วันที่ 26 กันยำยน 2563 รวม 16 ปี
2. วันที่ 27 กันยำยน 2563 ถึง
วันที่ 31 สิ งหำคม 2564 รวม 339 วัน
3. ทำงำน 16 ปี 339 วัน
4. จำนวนวันเกิน 183 วัน จึงปัดเป็ น 1 ปี
5. อำยุงำนนำไปกรอกในใบแนบ 17 ปี
ม.48(5) เลือกเสี ยาาีีแยกต่างหาก เงินได้ ก
ต้องไม่นาไปรวมไม่วา่ ทั้งหมดหรื อบางส่ วน
เงินอะไรได้ตอนออกจากงาน
กลุ่มแรก
กลุ่มสอง
1.เงินบำเหน็จฯข้ำรำชกำร
หรือลักษณะเดียวกัน
เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียว
2.เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ
ซึ่งมีการคานวณแตกต่างจากกลุ่มแรก
กองทุนบำเหน็จบำนำญข้ำรำชกำร
3.เงินชดเชยตำมกฎหมำยแรงงำน
ต้ องเป็ นเงินได้ ที่ได้ รับใน
ปี ภำษีแรกทีอ่ อกจำกงำน

กค 0811/02286 ลว.11 มี.ค.2542


ข้อหารื อ กค 0702/9608 ลว.26 ต.ค.2555
กค 0702/3211 ลว.10 เม.ย.2556
กค 0702/6277 ลว.9 ส.ค.2561
ก การคานวณเงินได้

กลุ่มแรก
1.เงินบำเหน็จข้ำฯ หรือลักษณะเดียวกัน
2.เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ กบข.
3.เงินชดเชยตำมกฎหมำยแรงงำน
รำชกำรจ่ ำยให้
บาเหน็จ คือ เงินตอบแทนที่ได้
ข้ ำรำชกำรหรื อ รับราชการหรือทางานมา
เงินบาเหน็จฯ ข้ าราชการ ลูกจ้ ำงประจำ ซึ่งจ่ายครั้งเดียวเมื่อออกจากงาน

บานาญ X 15 เท่า
ไม่เกินห้าแสนบาท

กฎกระทรวง ฉบับ 126 (64) ยกเว้นบาเหน็จดารงชีพ กฎกระทรวง


(พ.ศ2509) บาเหน็จดารงชีพ คือ เงินที่จ่าย กาหนดอัตราและวิธีการรับ
แก้ ไขเพิม่ เติม ฉบับ 245 ให้แก่ผรู ้ ับบานาญ บาเหน็จดารงชีพ (ฉบับที่ 3)
พ.ศ.2547 เพื่อช่วยเหลือในการดารงชีพ พ.ศ.2563
กฎกระทรวง ฉบับ 126
(พ.ศ.2509)
เงินบาเหน็จฯ ข้ าราชการ
แก้ ไขเพิม่ เติม
กฎกระทรวง ฉบับ 126 กฎกระทรวง ฉบับ 258
(พ.ศ.2509) (พ.ศ2549)
แก้ ไขเพิม่ เติม 1.การรถไฟแห่งประเทศไทย
กฎกระทรวง ฉบับ 268 2.การท่าเรื อแห่งประเทศไทย
(พ.ศ2552) 3.ธนาคารออมสิ น (73)
(79) สภำกำชำดไทย ข้อหารื อ กค 0706/5092 ลว.16 มิ.ย.2549
กค 0702/2750 ลว.20 เม.ย.2553
เงินบาเหน็จดารงชีพ
ข้ าราชการส่ วนท้ องถิน่
ข้อสะกิดใจ
สังเกตผู้จ่ายและ
ชื่อเงินได้ที่ถูก
ระบุใน 50 ทวิ
เงินทีจ่ ่ ำยจำกกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ/กบข.

สำคัญต้ องดู
หนังสื อรับรอง
หัก ณ ทีจ่ ่ ำย 50 ทวิ

1. จำนวนเงินทีไ่ ด้ รับถูกหักภำษี ณ ทีจ่ ่ ำยหรื อไม่ กฎกระทรวง ฉบับ 126


2. อำยุผ้ มู เี งินได้ อำยุสมำชิกกองทุน PVD (พ.ศ.2509) ข้อ 36
ลำออกจำก PVD แต่ ไม่ ได้ ออกจำกงำน แก้ไขเพิม่ เติม ประกำศ
ข้อหารื อ กค 0811/02152 ลว.18 ก.พ.2541 อธิบดีฯ
กค 0706/9434 ลว.18 ก.ย.2550 ภำษีเงินได้ ฉบับที่ 223
กค 0702/875 ลว.31 ม.ค.2561
เงิน/ผลประโยชน์ ที่รับจากกองทุนสารองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)

เงินสะสมตัวเอง เงินผลประโยชน์ เงินสมทบ เงินผลประโยชน์


เงินสะสมตัวเอง จำกนำยจ้ ำง เงินสมทบจำกนำยจ้ ำง
ยกเว้นาาีี เงินนี้ตอ้ งนามาพิจารณาว่าเสี ยาาีีหรื อไม่
กรณี แรก กรณี สอง กรณี สาม อายุสมาชิกไม่ถึง 5 ปี
อายุสมาชิกถึง 5 ปี อายุสมาชิกถึง 5 ปี (ไม่คานึงอายุ)
และ อายุ => 55ปี และ อายุ < 55 ปี
สิ ทธินาไปคานวณ 1.คงไว้ จนอายุ 55 ปี บริ บูรณ์
ในใบแนบ เสี ยาาีีเงินได้ปกติ และเป็ นสมาชิก PVD 5 ปี ขี้นไป
ยกเว้นาาีี
2.โอนไป PVD นายจ้างใหม่
ยกเว้นาาีี 3.โอนไป RMF ของกองทุน PVD
กรณี แรก
อายุสมาชิกถึง 5 ปี
ตัวอย่ างที่ 1 และ อายุ => 55ปี
1 2 1 2 3

สั งเกต ถ้ ำไม่ เสี ยภำษีจะไม่ ถูกหักภำษี ณ ที่จ่ำย


ตัวอย่ างที่ 2 กรณี สอง
อายุสมาชิกถึง 5 ปี
และ อายุ < 55 ปี เกิดวันที่ 12/07/2511
ออกจากงานวันที่ 28/07/2564
อายุตวั ถึงวันที่ออกจากงาน 53 ปี

สั งเกต ถ้ ำเสี ยภำษีจะถูกหักภำษี ณ ที่จ่ำย


ตัวอย่ างที่ 3 กรณี สาม อายุสมาชิกไม่ถึง 5 ปี
โอน PVD จำกนำยจ้ ำงเก่ำไป PVD นำยจ้ ำงใหม่
นับอำยุสมำชิก PVD ต่ อเนื่องกัน
กรณี สาม อายุสมาชิกไม่ถึง 5 ปี
(ไม่คานึงอายุ) เข้าทางานใหม่
ออกจากงานเดิม
โอนเงินและผลประโยชน์
1.คงไว้ จนอายุ 55 ปี บริ บูรณ์
และเป็ นสมาชิก PVD 5 ปี ขี้นไป
2.โอนไป PVD นายจ้างใหม่ ไม่เกิน 1 ปี
3.โอนไป RMF ของกองทุน
PVD
กค 0706/9455 ลว.19 ก.ย.2550 สำคัญ
ข้อหารื อ ประกำศอธิบดีฯ
ยกเว้นาาีี กค 0702/8514 ลว.26 ก.ย.2555
ภำษีเงินได้ ฉบับที่ 223
โอน PVD ไปกองทุนรวมเพื่อกำรเลีย้ งชีพ RMF
RMF For PVD

อายุ => 55ปี


สมาชิก PVD + ถือ RMF =>5ปี ขาย
ข้อ 92 กฎกระทรวง 126 (พ.ศ.2509) ตาย
แก้ไขเพิ่มเติม กฎกระทรวง ฉบับ 324 ทุพพลาาพ ยกเว้นาาีี
ประกาศอธิบดีฯาาีีเงินได้ ฉบับที่ 286
โอน PVD ไปกองทุนรวมเพื่อกำรเลีย้ งชีพ RMF
RMF For PVD

นับระยะเวลาระหว่างที่ถือ RMF ทุกกองทุน เป็ นระยะเวลาที่ถือหน่วยลงทุน


โอนจำก กบข ไปกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
อายุ => 55ปี
ขาย
สมาชิก กบข + อายุ PVD=>5ปี
ตาย
ทุพพลาาพ ยกเว้นาาีี
ข้อ 36
กฎกระทรวง 126 (พ.ศ.2509)
ประกาศอธิบดีฯาาีีเงินได้ ฉบับที่ 223
เงิน/ผลประโยชน์ ที่รับจากกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ

เกีียณ 60 ปี บริ บูรณ์


ลาออกอายุครบ 50 ปี
ตาย เหตุทุพพลาาพ เหตุทดแทน เหตุสูงอายุ
บริ บูรณ์

รับราชการ=>25 ปี แต่
ลาออก อายุ < 50 ปี และเข้า
ยกเว้นาาีี
โครงการตามมติครม.
(ลาออกก่อนเกีียณอายุ)
ข้อ 44
กฎกระทรวง 126 (พ.ศ.2509)
ประกาศอธิบดีฯาาีีเงินได้ ฉบับที่ 189
เงินชดเชยตำมกฎหมำยแรงงำน เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน หรื อ
พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541
ม.5 ค่าชดเชย หมายถึง เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
เมื่อเลิกจ้าง นอกเหนือจากเงินประเาทอื่นซึ่ งนายจ้าง
ตกลงให้แก่ลูกจ้าง

ม.118 ให้นายจ้างจ่ายค่าเชยให้แก่ลูกจ้างเมื่อลูกจ้าง
-การกระทาใดที่นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทางานต่อไปและ
ไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่วา่ จะเป็ นเพราะสิ้ นสุ ดสัญญาจ้างหรื อ
ม.118/1 การเกีียณอายุตามที่นายจ้างและลูกจ้าง เหตุอื่นใด เช่น เกีียณอายุ
ตกลงกันหรื อตามที่นายจ้างกาหนดไว้ ถือว่าเป็ น -ลูกจ้างไม่ได้ทางานและไม่ได้รับค่าจ้างเพราะนายจ้าง
การเลิกจ้าง ตามม.118 ไม่สามารถดาเนินกิจการได้ เช่นปิ ดกิจการ ยุบหน่วยงาน
กฎกระทรวง 126 (พ.ศ.2509) ข้อ 51

อายุงาน เงินชดเชย
120 วัน ถึง < 1ปี 30 วัน ยกเว้น PIT เท่าที่ได้รับจริ งไม่เกินค่าจ้าง
1 ปี ถึง < 3 ปี 90 วัน การทางาน 300 วันหรื อไม่เกิน 3 แสนบาท
3 ปี ถึง < 6 ปี 180 วัน
6 ปี ถึง < 10 ปี 240 วัน เงินชดเชยได้มาเพราะเกษียณอายุหรื อ
10 ปี ถึง < 20 ปี 300 วัน หมดสัญญาจ้างต้องนามาคานวณทั้งจานวน
20 ปี ขึ้นไป 400 วัน
แต่ถา้ ลาออกเอง หรื อถูกไล่ออกด้วยความผิด
ของลูกจ้างเอง ส่ วนมากจะไม่ได้รับเงินชดเชย
ออกจากงาน 1 ธันวาคม 2564 ถูกเลิกจ้ าง
ตัวอย่างที่ 1 ได้ รับเงินชดเชย จานวน 200,000 บาท
พฤศจิกายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
ตุลาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท นา 300 วันสุ ดท้ าย 247,321.43 บาท
กันยายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท เปรียบเทียบกับ 300,000 บาท
สิ งหาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท ซึ่งน้ อยกว่ า
กรกฎาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
จึงได้ รับยกเว้ น 247,321.43 บาท
มิถุนายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
แต่ ได้ รับชดเชย 200,000 บาท
พฤษภาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
เมษายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท เท่ ากับได้ รับยกเว้ น 200,000 บาท
มีนาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
กุมภาพันธ์ 64 มี 25 วัน(25,000*25/28) เงินที่ได้ รับ 22,321.43 บาท
รวม 300 วันสุ ดท้ ายที่เป็ นเงิน 247,321.43 บาท
ออกจากงาน 1 ธันวาคม 2564 ถูกเลิกจ้ าง
ตัวอย่าง 2
ได้ รับเงินชดเชย จานวน 270,000 บาท
พฤศจิกายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท
ตุลาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท นา 300 วันสุ ดท้ าย 247,321.43 บาท
กันยายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท เปรียบเทียบกับ 300,000 บาท
สิ งหาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท ซึ่งน้ อยกว่า
กรกฎาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท จึงได้ รับยกเว้น 247,321.43 บาท
มิถุนายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท แม้ จะได้ รับ เงินชดเชย 270,000 บาท
พฤษภาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท เท่ ากับได้ รับยกเว้น 246,428.57 บาท
เมษายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท ส่ วนเกิน 22,678.57 บาท
มีนาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 25,000 บาท ไปคานวณภาษี
กุมภาพันธ์ 64 มี 25 วัน(25,000*25/28) เงินที่ได้ รับ 22,321.43 (270,000-247,321.43)
รวม 300 วันสุ ดท้ ายที่เป็ นเงิน 247,321.43 บาท
ออกจากงาน 1 ธันวาคม 2564 ถูกเลิกจ้ าง
ตัวอย่างที่ 3 ได้ รับเงินชดเชย จานวน 350,000 บาท
พฤศจิกายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 35,000 บาท
ตุลาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 35,000 บาท นา 300 วันสุ ดท้ าย 311,785.71 บาท
กันยายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 35,000 บาท เปรียบเทียบ กับ 300,000 บาท
สิ งหาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท ซึ่งมากกว่า
กรกฎาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท จึงได้รับยกเว้นไม่เกิน 300,000บาท
มิถุนายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท แต่ ได้ รับชดเชย 350,000 บาท
พฤษภาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท จึงต้ องนาส่ วนเกินไป
เมษายน 64 มี 30 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท คานวณภาษี 50,000 บาท
มีนาคม 64 มี 31 วัน เงินที่ได้ รับ 30,000 บาท (350,000-300,000)
กุมภาพันธ์ 64 มี 25 วัน(30,000*25/28) เงินที่ได้ รับ 26,785.71 บาท
รวม 300 วันสุ ดท้ ายที่เป็ นเงิน 311,785.71 บาท
นาส่วนที่หัก
เงินชดเชยที่
ได้รับยกเว้น
มากรอก
เงินได้ ทจี่ ่ ายให้ ครั้งเดียวทีว่ ธิ ีการคานวณแตกต่ างไป

เงินได้ ทรี่ ับมาที่ไม่ ใช่


ข้ อ 1 ข้ อ 2 และข้ อ 3
จะเป็ นเงินได้ ข้อ 5 ทั้งหมด

1.สิ นจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
2.ค่าจ้างสาหรับหยุดพักผ่อนประจาปี
ข้อหารื อ กค 0724/มจ/ว1131 ลว.26 ก.ค.2556 ที่ไม่ได้ใช้
ภาษีออกให้
ทีน่ ายจ้ างจ่ ายให้ ครั้งเดียวเพราะ
เหตุออกจากงาน
ถือเป็ นเงินได้ จากเงินที่นายจ้ าง
จ่ ายให้ ครั้งเดียวเพราะเหตุออก
จากงาน จึงต้ องกรอกใน ก 5

กค 0811/02288 ลว.11 มี.ค.2542


ข้อหารื อ
ข การคานวณค่ าใช้ จ่าย

ต้ องอ่ านเพื่อจะหา
จานวนเงินได้ ทเี่ ป็ นฐาน
คานวณค่ าใช้ จ่าย
ข การคานวณค่ าใช้ จ่าย

1.เงินเดือนสุ ดท้ าย
2.เงินเดือนถั่วเฉลีย่ 12 เดือน
+ร้ อยละ 10 ของเงินเดือนถั่วเฉลีย่
นา 1 กับ 2 เปรียบเทียบกัน
ต่ากว่ าใช้ ตัวนั้น
การคานวณจานวนเงินได้
ที่จะนามาเป็ นฐานคานวณค่ าใช้ จ่าย

กรณีที่ 2
กรณีที่ 3
กรณีที่ 1 รับเงินได้เฉพาะ ก5
รับเงินได้
รับเงินได้เฉพาะ 1. ก5 ต่ากว่า ข1
ทั้ง ก1 ถึง ก3
ก 1 ถึง ก 3 หรื อ
และ ก5
2. ก5 มากกว่า ข 1
กรณีที่ 1
รับเงินได้เฉพาะ
ก 1 ถึง ก 3
นาจานวนเงิน
รวมข้อ ก 4
มากรอก
เงินได้ ก 2 เงินจากกองทุนสารองเลี้ยงชีพ จานวน 620,000 บาท
เงินได้ ก 3 เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน จานวน 500,000 บาท
ตัวอย่างที่ 1 ทางานมา 10 ปี 4 เดือน รวมเงินได้ ก 2 + ก 3 = ก 4 เท่ากับ 1,120,000 บาท

เงินได้เฉพาะ
ก 1 ถึง ก 3
ให้นาจานวน
เงินรวมข้อ ก 4
มากรอก
กรณีที่ 2
รับเงินได้ เฉพาะ ก5
1. ก5 ต่ากว่ า ข1
หรื อ
2. ก5 มากกว่ า ข 1
นาจานวนทีต่ ่ากว่ ากรอก
ตัวอย่างที่ 2 ทางานมา 10 ปี 4 เดือน
เงินได้ ก5 เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะออกจากงาน รับเงินได้เฉพาะ ก5
จานวน 600,000 บาท 1.ก5 ต่ากว่า ข1
การคานวณค่าใช้จ่าย ข1 หรื อ
1.เงินเดือนเดือนสุ ดท้าย = 50,000 2.ก5 มากกว่า ข 1
2.เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 12 เดือนสุ ดท้าย + ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย
นาจานวนที่ต่ากว่า
มค-มิย เงินเดือน 45,000*6 = 270,000
กรอกในข 2 =500,000
กค-ธค เงินเดือน 50,000*6 = 300,000 = 570,000 บาท
เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 570,000/12 = 47,500 บาท นา 1 กับ 2
บวก ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 4,750 บาท เปรี ยบเทียบกัน
รวมเป็ น 52,250 บาท ต่ากว่าใช้ตวั นั้น
ข 1 ( 50,000*10) = 500,000 บาท กรอก ข1
รับเงินได้เฉพาะ ก5
1.ก5 ต่ากว่า ข1
หรื อ
2.ก5 มากกว่า ข 1
กรณีที่ 3
รับเงินได้
ทั้ง ก1 ถึง ก3
และ ก5

1.ก5 ไม่เกิน ข1
นา ก6 กรอก
2.ก5 มากกว่า ข 1
นา ก4 + ข1 กรอก
ตัวอย่างที่ 3 ทางานมา 10 ปี 4 เดือน
เงินได้ ก2 เงินที่จ่ายจากกองทุนสารองเลีย้ งชีพ จานวน 300,000 บาท
เงินได้ ก5 เงินที่นายจ้ างจ่ ายให้ ครั้งเดียวเพราะออกจากงาน จานวน 600,000 บาท
รวมรับเงินได้ ก6 จานวน 900,000 บาท
การคานวณค่าใช้จ่าย ข1 1.เงินเดือนเดือนสุ ดท้าย = 50,000
2.เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 12 เดือนสุ ดท้าย + ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย
1.ก5 ไม่ เกิน ข1
มค-มิย เงินเดือน 45,000*6 = 270,000 นา ก6 กรอก
กค-ธค เงินเดือน 50,000*6 = 300,000 = 570,000 บาท 2.ก5 มากกว่ า ข 1
เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 570,000/12 = 47,500 บาท นาก4 +ข1 กรอก
บวก ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 4,750 บาท
รวมเป็ น 52,250 บาท 300,000+500,000
ข 1 ( 50,000*10) = 500,000 บาท =800,000
1.ก5 ไม่ เกิน ข1
นา ก6 กรอก
2.ก5 มากกว่ า ข 1
นาก4 +ข1 กรอก
การคานวณค่าใช้จ่าย

ค่ าใช้ จ่ายส่ วนแรก


7,000 x จานวนปี ที่ทางาน

หากจ่ายบาเหน็จส่ วนหนึ่ง
และจ่ายบานาญ ส่ วนหนึ่ง
จะใช้ 3,500 บาทคานวณ

ข้อหารื อ กค 0724/8636 ลว.21 ต.ค.2554


ตัวอย่างที่ 4 ทางานมา 10 ปี 4 เดือน
เงินได้ ก2 เงินรับจากกองทุนสารองเลีย้ งชีพ จานวน 300,000 บาท
เงินได้ ก5 เงินที่นายจ้ างจ่ ายให้ ครั้งเดียวเพราะออกจากงาน จานวน 600,000 บาท
รวมรับเงินได้ ก6 จานวน 900,000 บาท
การคานวณค่าใช้จ่าย ข1 1.เงินเดือนเดือนสุ ดท้าย = 50,000
2.เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 12 เดือนสุ ดท้าย + ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย
มค-มิย เงินเดือน 45,000*6 = 270,000
กค-ธค เงินเดือน 50,000*6 = 300,000 = 570,000 บาท หำฐำนคำนวณค่ ำใช้ จ่ำย
เงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 570,000/12 = 47,500 บาท
บวก ร้อยละ 10 ของเงินเดือนถัว่ เฉลี่ย 4,750 บาท
รวมเป็ น 52,250 บาท
ข 1 ( 50,000*10) = 500,000 บาท
ฐานคานวณค่ าใช้ จ่าย
ก5 มากกว่ า ข 1
300,000+500,000
นาก4 +ข1 กรอก =800,000
ค่ าใช้ จ่ายส่ วนแรก
7,000 x 10 ปี

ค่ าใช้ จ่ายส่ วนสอง


(ฐานคานวณค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายส่ วนแรก) 50

ค่ าใช้ จ่ายทั้งสิ้น ข6
ค่าใช้จ่ายส่ วนแรก
ค่าใช้จ่ายส่ วนสอง
ค การคานวณภาษี
ไม่ ยกเว้น
150,000
ใบแนบ โจทก์ข้อที่ 2
ใบแนบ โจทก์ข้อที่ 2
จบการนาเสนอ

You might also like