Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

@GROUP1 NEUROPHYSIOLOGY

RMP

THE RESTING
MEMBRANE POTENTIAL P O R T
RE

RMP
OBJECTIVE
1 อธิบายความหมายศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก (RESTING MEMBRANE POTENTIAL, RMP) ได้

2 บันทึกค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพักที่ ส่วนต่างๆ ของเซลล์ประสาท (NEURON) ได้

3 อธิบายบทบาทและความสำคัญของ NA+ และ K+ ไอออน ต่อค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก


วิธีการทดลอง

ทดสอบและบันทึกค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้ม ทดสอบและบันทึกค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้ม ทดสอบและบันทึกค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้ม


เซลล์ขณะพักทั้งภายในและภายนอก เซลล์ขณะพักทั้งภายในเซลล์และ เซลล์ขณะพัก ทั้งภายในและภายนอก
เซลล์ เมื่อเซลล์ประสาทอยู่ในสารละลาย ภายนอกเซลล์ เมื่อเซลล์อยู่ในสารละลาย เซลล์ เมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายที่มีความ
ที่มีความเข้มข้นของโพแทสเซียมไอออน ที่มีความเข้มข้นของ โพแทสเซียมไอออน เข้มข้น ของโซเดียมต่ำกว่าปกติ หรือ
และโซเดียมปกติหรือเรียกว่า control สูงกว่าปกติ หรือเรียกว่า high K⁺ ECF เรียกว่า low Na⁺ ECF
extracellular fluid (control ECF),
ผลการทดลอง
EXTRACELLULAR FLUID (ECF) : CONTROL
สรุปผลการทดลอง

1.เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาทมีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายในและภายนอกเซลล์ เรียก
ว่า Resting membrane potential โดยภายในเซลล์มีค่าศักย์ไฟฟ้าเป็นลบเมื่อเปรียบ
เทียบกับภายนอกเซลล์ มีค่าเท่ากับ -70 พบทั้งที่บริเวณ Cell body และ Axon
EXTRACELLULAR FLUID (ECF) : HIGH K+
สรุปผลการทดลอง

2.เมื่อเปลี่ยนสารละลายนอกเซลล์เป็นชนิด High K+ พบว่า ค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก


เป็นบวกมากขึ้น มีค่าเท่ากับ -40
EXTRACELLULAR FLUID (ECF) : LOW NA+
สรุปผลการทดลอง

3.เมื่อเปลี่ยนสารละลายนอกเซลล์เป็นชนิด Low Na+ พบว่า ค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะ


พัก เป็นลบเพิ่มขึ้น มีค่าเท่ากับ - 72 mV
สรุปผลการทดลอง

4.เมื่อเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ K+ ไอออนของละลายภายนอกเซลล์ ส่งผลต่อการ


เปลี่ยนแปลงของค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก มากกว่า การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น
ของ Na+ ไอออน
คำถามท้ายการทดลอง
1.ความหมายของ ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก (RESTING MEMBRANE POTENTIAL, RMP)
และ อธิบายปัจจัยที่มีผลค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก

ตอบ เป็นค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของเยื่อหุ้มเซลล์ประสาทในขณะพัก วัดโดยMICROELETRODE


แทงเข้าไปในเซลล์จะพบว่าภายในเซลล์มีศักย์ไฟฟ้าเป็นลบเมื่อเทียบกับภายนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผล
1.IONIC CONCENTRATION GRADIENT ความเข้มข้น ION ในสารน้ำทั้งภายในและภายนอก
เซลล์ โดยสารน้ำในเซลล์มีความเข้มข้นของ K⁺มากกว่าสารน้ำนอกเซลล์ ส่งผลให้K⁺แพร่ผ่าน
LEAKAGE K⁺ CHANNELออกนอกเซลล์ ส่วนภายนอกเซลล์จะมีความเข้มข้นของ NA⁺ มากกว่า
สารน้ำภายในเซลล์ ส่งผลให้ NA⁺แพร่ผ่าน LEAKAGE NA⁺ CHANNEL เข้าสู่ภายเซลล์
2. MEMBRANE PERMEABILITY คือ ความสามารถในการซึมผ่านของสาร
คำถามท้ายการทดลอง
2. การเพิ่มความเข้มข้นของ EXTRACELLULAR K⁺(HIGH K⁺) ต่อการเกิด DIFFUSION ของ K⁺
ในเซลล์ประสาท ทำให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ขณะพักมีค่าเป็นลบลดลง -40 MV เพราะเหตุใด
จงอธิบาย

ตอบ เพราะเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ K⁺ ภายนอกเซลล์ส่งผลให้ความต่างของความเข้มข้น


ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์ลดลง K⁺ จึงแพร่ออกไปนอกเซลล์น้อยลง ทำให้ค่าศักย์ไฟฟ้า
เป็นบวกมากขึ้น
คำถามท้ายการทดลอง
3. การลดความเข้มข้นของ EXTRACELLULAR NA⁺ (LOW NA⁺) ส่งผลเพียงเล็กน้อยหรืออาจ
ไม่มีผลต่อ RESTING MEMBRANE POTENTIAL จากการทดลองทำให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์
ขณะพักมีค่าเป็นลบเพิ่มขึ้นเป็น -72 MV เพราะเหตุใด จงอธิบาย

ตอบ เพราะปกติ NA⁺ จากข้างนอกจะแพร่เข้ามาภายในเซลล์ แต่เมื่อ NA⁺ มีความเข้มข้นลดลง


ทำให้ NA⁺ แพร่เข้ามาในเซลล์ได้น้อยลง ส่งผลให้ค่าศักย์ไฟฟ้าเป็นลบมากขี้น
คำถามท้ายการทดลอง
4. หากมีการเปลี่ยนแปลง IONIC CONCENTRATION GRADIENT จะส่งผลต่อRMPอย่างไร
คำถามท้ายการทดลอง
5. หากเยื่อหุ้มเซลล์มีการเปลี่ยนแปลง permeability หรือ conductane ต่อ Na⁺ และ K⁺
จะส่งผลต่อ RMP อย่างไร
@GROUP1 NEUROPHYSIOLOGY

THANK YOU
พวกเรากลุ่ม1ขอขอบคุณทุคนที่รับชมและรับฟังครับ/ค่ะ

RMP

You might also like