Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 96

คูมือการพัฒนาสู. ..

องคกรสงเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ

สํสำา�นักโภชนาการ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข
2556
2558
คูมือการพัฒนาสู..องคกรสงเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
ISBN 978-616-11-1081-9

ฉบับปรั
ปรับบปรุ
ปรุงงครั
ครั้ง้งทีที่ 1่ 1 กุพิมภาพั
พ์ครั้งนทีธ่ 32556
เดือนมีนาคม 2558
จํจำา�นวนพิ
นวนพิมมพ์พ 5,700 เล่มเลม
13,000
พิมพ์ที่ สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
พิมพที่ บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จํากัด
1
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
1

คานา

การส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ เป็ นการลงทุนที่ค้ ุมค่าอย่างยิ่ง


เนื่องจากเด็กจะมีโครงสร้ างของร่างกายที่ดี สติปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ สร้ าง
ระบบภูมิต้านทานโรค และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เป็ นผลให้ พลเมืองของประเทศ
มีศักยภาพในการทางาน ผลผลิตเพิ่มขึ้น อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และ
ประเทศชาติในอนาคต อย่างไรก็ตาม การดาเนินงานส่งเสริมให้ เด็กไทยเจริญเติบโตเต็ม
ศักยภาพ จาเป็ นต้ องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องที่จะช่วยกันขับเคลื่อนให้
เกิด “องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ” และมีความยั่งยืน
สานักโภชนาการ กรมอนามัย จึงได้ จัดทาคู่มือการพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนางาน และก้ าวสู่ “องค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ” ซึ่งจะส่งผลให้ เด็กไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดช่วงชีวิต คู่มือ
เล่มนี้ ประกอบด้ วย ความสาคัญของการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ และการพัฒนาสู่องค์กร
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ รวมทั้งแบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็ม
ศักยภาพในระดับหมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน
สานักโภชนาการ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า คู่มือเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อการ
พัฒนางานโภชนาการในหมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน ให้ ดีย่ิงขึ้น และมีความยั่งยืน
ต่อไป

สานักโภชนาการ
มีนาคม 2558
2

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


2

สารบัญ
หน้า
คานา 1
ความสาคัญของการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ 3
การพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
 แนวคิด 7
 ความหมายขององค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 8
 ประโยชน์ขององค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 8
 เกณฑ์องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 8
 แนวทางประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 9
 เกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน 10
 องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก 11
 องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลื่อนฯ 11
 องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และ 12
การเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
3.1 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ 12
3.2 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก 15
 องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโต 26
เต็มศักยภาพ
 องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี 40
ภาคผนวก
 ข้ อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 42
 ชนิดอาหารทดแทนในแต่ละกลุ่มอาหาร 45
 แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 48
 กราฟการเจริญเติบโตของเด็ก
 แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
 หมู่บ้าน 68
 ศูนย์เด็กเล็ก 77
 โรงเรียน 84
3
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
3

ความสาคัญของการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ

การเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึงอะไร
การเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึง การเจริญเติบโตสูงสุดตามที่พันธุกรรม
กาหนด เป็ นผลจากการได้ รับพลังงานและสารอาหารครบถ้ วน เพียงพอ และได้ สมดุล

รูไ้ ด้อย่างไรว่าเด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
การเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็ นตัวชี้วัดสาคัญต่อคุณภาพชีวิตตั้งแต่เด็กจนถึง
ผู้สงู อายุ เนื่องจากมีผลกระทบต่อสติปัญญา พัฒนาการ ภูมิต้านทานโรค และการเกิดโรค
เรื้อรัง
การเจริญเติบโตของเด็ก ดูได้ จากนา้ หนักและส่วนสูง แต่ส่วนสูงแสดงถึงการ
เจริญเติบโตได้ ดีกว่านา้ หนัก เนื่องจากการเจริญเติบโตด้ านส่วนสูงเป็ นผลจากความสมดุลของ
การได้ รับสารอาหารมหโภชนะ (Macronutrient) คือ คาร์โบไฮเดรท ไขมัน และโปรตีน
ในขณะเดียวกัน ยังเกี่ยวข้ องกับสารอาหารจุลโภชนะ (Micronutrient) คือ วิตามินและแร่ธาตุ
บางชนิด เช่น แคลเซียม สังกะสี ไอโอดีน ธาตุเหล็ก วิตามินเอ วิตามินบี โฟเลท วิตามินซี
เป็ นต้ น และการเพิ่มส่วนสูงมีระยะเวลาจากัด นั่นคือ ผู้ชายหยุดสูงเมื่ออายุ 18-19 ปี ผู้หญิง
หยุดสูงเมื่ออายุ 16-17 ปี
วิธกี าร คือ ชั่งนา้ หนัก วัดส่วนสูง และแปลผลโดยใช้ ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ และ
นา้ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ระดับการเจริญเติบโตดี
หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ในคนเดียวกัน)
คานิยาม
ส่วนสูงระดับดี ดูจากส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มี 3 ระดับ คือ สูงตามเกณฑ์
ค่อนข้ างสูง และสูงกว่าเกณฑ์
สมส่วน ดูจากนา้ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
4

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


4

ทาไมเด็กต้องมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
อาหารและโภชนาการ เป็ นรากฐานที่สาคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตตั้งแต่
ในครรภ์มารดาจนถึงวัยสูงอายุ เนื่องจากช่วยในการเสริมสร้ างและซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายและสมอง จึงมีผลต่อโครงสร้ างของร่างกาย การพัฒนาสมอง และการสร้ างภูมิ
ต้ านทานโรค
หากหญิงตั้งครรภ์ขาดอาหาร จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ทาให้
ทารกเกิดมาตัวเล็ก (Intra Uterine Growth Retardation ; IUGR) มีนา้ หนักแรกเกิดน้ อยกว่า
2,500 กรั ม ส่งผลต่อการติดเชื้อโรคซึ่งอาจถึงขั้นเสียชีวิต เจ็บป่ วยบ่อยหรือมีความรุนแรง
การพั ฒนาสมองไม่ดี มีความบกพร่ องพัฒนาการทางด้ านอารมณ์และความสามารถในการ
เรียนรู้ สติปัญญาต่า และมีผลเสียต่อการพัฒนาอวัยวะต่างๆอย่างถาวร เช่น ตับ ตับอ่อน ไต
ซึ่งจะผลต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น ภาวะอ้ วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
และหลอดเลือด เมื่อเป็ นผู้ใหญ่
ส่วนเด็กที่กนิ อาหารไม่เพียงพอเป็ นผลให้ เด็กขาดอาหาร หากขาดอาหารระยะสั้น
เด็กจะผอม ผลกระทบอาจเห็นไม่ชัดเจน แต่หากขาดอาหารเป็ นเวลานานแบบเรื้อรัง จะส่งผล
ให้ เด็กเตี้ย ซึ่งมีผลเสียมากมายต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตทั้งระยะสั้นและระยะยาว ได้ แก่
ภูมิต้านทานโรคต่า สติปัญญาต่า ความสามารถในการเรียนรู้บกพร่อง เมื่อทางานจะมีรายได้
หรือค่าจ้ างต่า เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง และถ่ายทอดการขาดอาหารในรุ่นถัดๆไป (นา้ หนัก
แรกเกิดต่ากว่า 2,500 กรัม และ/หรือภาวะเตี้ย) องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ ระบุว่า
เด็กขาดอาหารระดั บปานกลางและรุ นแรง จะมีความเสี่ยงต่อ การตาย 5 เท่า และ 8 เท่า
ตามลาดับ เมื่อเทียบกับเด็กที่มีภาวะการเจริญเติบโตดี การศึกษาในโครงการพัฒนาการแบบ
องค์รวมของเด็กไทย ปี 2547 ชี้ให้ เห็นว่า เด็กอายุ 2-18 ปี ที่มีส่วนสูงระดับสูงกว่าเกณฑ์
ค่ อ นข้ า งสู ง และสูง ตามเกณฑ์ มี ร ะดั บ เชาวน์ ปั ญ ญามากกว่ า เด็ก ที่ มี ส่ ว นสูง อยู่ ใ นระดั บ
ค่อนข้ างเตี้ยและเตี้ยประมาณ 6 จุด การศึกษาในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ชี้ให้ เห็นว่า ความสูงของ
ผู้ใหญ่ท่ลี ดลงทุก ๆ ร้ อยละ 1 ทาให้ ผลผลิตจากการทางานลดลง ร้ อยละ 1.4 ภาวะเตี้ยยัง
เพิ่ ม ความเสี่ยงต่ อ การเกิด โรคไม่ ติ ด ต่ อ เรื้ อรั งในอนาคต เช่ น โรคกระดู ก พรุ น โรคอ้ ว น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคอ้ วนลงพุง (Metabolic syndrome)
ในทางตรงกันข้ าม เด็กที่กินอาหารมากเกินไปเป็ นผลให้ เด็กอ้ วน เพิ่ มความเสี่ยงต่อการเกิด
โรคเรื้อรังในเด็ก เช่น โรคเบาหวาน เป็ นต้ น
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
5

ปัญหาโภชนาการขาดและเกินดังกล่าว มีผลต่อการพัฒนาประเทศก่อให้ เกิด


ความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้ อม ข้ อมูลจากประเทศกานาแสดง
ให้ เห็นว่า ถ้ าในช่วง 5 ปี ยังมีปัญหาภาวะเตี้ย(ร้ อยละ 39) ในเด็กต่ากว่า 5 ปี จะทาให้
สูญเสียผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศสูงถึง 297 ล้ านเหรียญสหรัฐ
นอกจากนี้ ประเทศไทยกาลังเผชิญปัญหาสุขภาพของคนวัยทางานและผู้ สูงอายุ
รวมทั้งจานวนผู้สงู อายุท่เี พิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ อัตราการเกิดน้ อย ซึ่งหมายความว่า เด็กต้ อง
แบกรับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้ง ๆ ที่ตัวเด็กเองก็ด้อยคุณภาพ
ปัจจุบัน ภาวะโลกร้ อน ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ทาให้ เกิดนา้ ท่วม
หรือภัยแล้ ง ซึ่งมีผลกระทบต่อแหล่งอาหารของชุมชน เกิดความไม่ม่นั คงทางอาหารสาหรับ
หญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด-18 ปี รวมทั้ง มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคเพิ่มขึ้น เช่น
โรคมาเลเรีย โรคไข้ เลือดออก โรคไข้ หวัดนก โรคไข้ หวัดใหญ่ โรคซาร์ส เนื่องจากเชื้อโรค
แพร่พันธุไ์ ด้ ง่ายและมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ ในวัยเด็ก เป็ นวัยที่มีโอกาสติดเชื้อ
โรคได้ ง่าย จึงต้ องเตรียมร่างกายให้ พร้ อมโดยบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมตามวัยเพื่อสร้ าง
ภูมิต้านทานโรคและมีโครงสร้ างของร่างกายที่สมบูรณ์ มีการสะสมสารอาหารในอวัยวะต่างๆ
ของร่างกายอย่างเพียงพอ
จึงมีความจาเป็ นเร่ งด่ วนที่ต้อ งให้ ความสาคัญกับการสร้ างเสริ มสุขภาพอย่า ง
จริ งจั ง โดยการส่งเสริ มให้ เด็ก มีการเจริ ญ เติบ โตเต็มศักยภาพ ซึ่งเป็ นการสร้ า งทรั พ ยากร
มนุษย์ท่มี ีคุณภาพ นั่นคือ ส่งผลให้ เด็กมีสติปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ เป็ นผลให้
การเรียนดี สามารถพัฒนาสู่ความเป็ นเลิศทางวิชาการ มีโอกาสเรียนในระดับสูง เพิ่มรายได้
ในอนาคต สร้ างภูมิต้านทานโรค ลดการเจ็บป่ วยด้ วยโรคติดต่อ เป็ นผลให้ ลดอัตราการตาย
ด้ วยโรคติดเชื้อในเด็ก แรกเกิด-5 ปี และลดค่ารักษาพยาบาล มีสมรรถภาพทางกายภาพดี
ทาให้ มีป ระสิทธิภาพในการทากิจ กรรม/การทางาน และพั ฒนาสู่ความเป็ นเลิ ศ ทางกีฬา
เมื่อเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ มีประสิทธิภาพในการทางาน เพิ่มผลผลิต และลดความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคเรื้อรัง สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อการเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ เป็ นการพัฒนาทั้ง
เศรษฐกิจและสังคม นาไปสู่การพั ฒนาและการเสริ มสร้ างความมั่นคงของประเทศชาติ ใน
อนาคต พื้นที่ใดมีเด็กเติบโตเต็มศักยภาพจานวนมาก แสดงว่า พื้นที่น้ันเป็ นพื้นที่ท่มี ีการ
พัฒนา
6

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


6

ทาอย่างไรเด็กจึ งจะมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพได้ ต้ องดูแลเอาใจใส่ในเรื่องอาหารให้ ได้ รับ
พลั งงานและสารอาหารที่ครบถ้ ว น เพี ยงพอต่ อ ความต้ อ งการของร่ า งกาย โดยการได้ รั บ
อาหารตามวัย คือ เริ่มตั้งแต่ทารกในครรภ์มารดา หญิงตั้งครรภ์ต้องได้ รับอาหารครบ 5 กลุ่ม
อาหาร(กลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้ อสัตว์ และกลุ่มนม) และปริมาณเพียงพอ
หลังคลอด ทารกแรกเกิด - 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว เมื่อทารกอายุ 6 เดือนเริ่มให้ อาหาร
ทารกจนถึงอายุ 12 เดือน ต่อจากนั้น เป็ นอาหารสาหรับเด็กอายุ 1-5 ปี และอาหารเด็ก
วัยเรียนอายุ 6-18 ปี รวมทั้งฝึ กให้ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้ องเหมาะสม เพื่อให้
มีบริโภคนิสยั ที่ดี
7

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


7

การพัฒนาสู่องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ

แนวคิด
โภชนาการ ถือเป็ นการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ข้ันพื้นฐาน ซึ่งต้ องเริ่มตั้งแต่
การปฏิสนธิในครรภ์มารดาและดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงวัยรุ่นโดยการส่งเสริมการเจริญเติบโต
ของเด็กให้ มีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและนา้ หนักตัวเหมาะสมกับส่วนสูง ทั้งนี้ ลักษณะการดาเนิน
งานสร้ างเสริมการเจริญเติบโตต่างจากการแก้ ไขปั ญหาทุพโภชนาการ เพราะการสร้ างเสริม
การเจริญเติบโตมุ่งเน้ นให้ เด็กมีการเจริญเติบโตดี ตลอดไปหรือดีย่ิงขึ้น ไม่ปล่อยให้ เด็กขาด
อาหารและอ้ วน จึงเป็ นลักษณะที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และทุกภาคส่วนต้ องร่ วมแรง
ร่ วมใจกัน ด าเนิ น งาน ครอบครั ว หมู่ บ้ า น ศู น ย์เด็ก เล็ก และโรงเรี ยน จึ งเปรี ย บเสมือ น
ฟั นเฟื องที่ต้องเคลื่ อนไปพร้ อมกัน โดยมีองค์กรส่งเสริ มการปกครองส่วนท้ องถิ่น(อปท.)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) หรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม
ศึกษา(สพม.) และหน่วยงานสาธารณสุข เป็ นผู้ให้ การสนับสนุน
เด็กจะเจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพได้ ต้ องดูแลเอาใจใส่การได้ รับอาหารตาม
วัยที่ถูกต้ องเหมาะสมอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิดจนถึง
วัยรุ่น เพื่อให้ เกิดบริโภคนิสยั ที่ดีและได้ รับสารอาหารครบถ้ วนเพียงพอ รวมทั้งมีการเฝ้ าระวัง
ภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตเด็กแรกเกิด -18 ปี อย่างมีคุณภาพและ
ต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้ องกับหลักการและแนวทางในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของอนุ สัญญาว่ า
ด้ วยสิทธิเด็ก นโยบายและยุ ทธศาสตร์ ระดั บ ชาติ ด้ านการพั ฒนาเด็กตามแนวทาง “โลกที่
เหมาะสมสาหรับเด็ก (A World Fit for Children)” พ.ศ.2550-2559 และเป้ าหมายการ
พัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDG) รวมทั้งสมัชชาอนามัยโลก
(World Health Assembly: WHA)
8

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


8

ความหมายขององค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์กร หมายถึง หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน
เด็กเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน (ในคน
เดียวกัน)
องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึง องค์กรที่ดาเนินการ
ขับเคลื่อนให้ เด็กในองค์กรมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน

ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการเป็ นองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


1. เด็ก ในองค์ ก รที่ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การเจริ ญ เติ บ โต จะส่ ง ผลให้ มี ร ะดั บ
สติปัญญาดี สุขภาพแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง และลดความเสี่ยงทารกแรก
เกิดนา้ หนักน้ อยกว่า 2,500 กรัม ในรุ่นลูกรุ่นหลาน นาไปสู่การพัฒนาชุมชน
2. องค์ ก รมี ก ารพั ฒ นา แสดงถึ ง วิ สั ย ทัศ น์ ข องผู้ บ ริ ห าร ความร่ ว มมื อ ของ
บุคลากรในองค์กร
3. สร้ างความเข็มแข็งให้ กบั องค์กร
4. มีภาคีเครือข่าย
5. เป็ นต้ นแบบและศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนการส่งเสริมการเจริญเติบโต
ของเด็ก

เกณฑ์องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการ
เจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
9

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


9

แนวทางประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
คณะกรรมการหมู่ บ้ าน ครู พ่ี เ ลี้ ยง และคณะกรรมการสถานศึ ก ษาหรื อ
คณะกรรมการโรงเรี ยนส่งเสริ ม สุ ขภาพ ประเมิน การด าเนิ น งานโภชนาการของหมู่ บ้ า น
ศูนย์เด็ก และโรงเรียน โดยใช้ แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ เพื่อ
เป็ นการประเมิ นตนเอง และปรั บปรุ งแก้ ไขการดาเนินงานที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เมื่อประเมิน
ตนเองผ่านเกณฑ์ทุกข้ อแล้ ว แจ้ งไปยังทีมประเมินระดับตาบลเพื่อเข้ ามาประเมินรับรองเป็ น
องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพระดับตาบล และทีมประเมินระดับอาเภอ จังหวัด
ศูนย์อนามัยเขต และประเทศ จะเข้ ามาประเมินรับรองตามลาดับ
การประเมิน องค์ก รส่งเสริ มเด็ก ไทยเติบ โตเต็มศั ก ยภาพ มี 5 องค์ป ระกอบ
แต่ละองค์ประกอบ มีจานวนประเด็นในการประเมิน (รายละเอียดดูตามแบบประเมินองค์กร
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพในภาคผนวก) ดังนี้
จานวนประเด็นใน
เกณฑ์การประเมิน
การประเมิน (ข้อ)
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก 4

องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการและแกนนาดาเนินการขับเคลื่อน 4
ให้ เกิดองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็ม
ศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 - ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิง 6
ตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
(เฉพาะในหมู่บ้าน)
- ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก 13
อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็ม 5
ศักยภาพ (หมู่บ้าน 6 ข้ อ)
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี 1
10

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


10

เกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน
ระดับหมู่บา้ น มีประเด็นในการประเมินรวมจานวน 34 ข้ อ จึงแบ่งระดับผลการ
ประเมินดังนี้
ผ่าน < 24 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน 24-29 ข้ อ หมายถึง พอใช้
ผ่าน 30-33 ข้ อ หมายถึง ดี
ผ่าน 34 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
หมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “หมู่บ้าน
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ”
ระดับศูนย์เด็กเล็ก มีประเด็นในการประเมินรวมจานวน 27 ข้ อ จึงแบ่งระดับ
ผลการประเมินดังนี้
ผ่าน <19 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน 19-23 ข้ อ หมายถึง พอใช้
ผ่าน 24-26 ข้ อ หมายถึง ดี
ผ่าน 27 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
ศูนย์เด็กที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “ศูนย์เด็ก
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ”
ระดับโรงเรียน มีประเด็นในการประเมินรวมจานวน 27 ข้ อ จึงแบ่งระดับผล
การประเมินดังนี้
ผ่าน <19 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน 19-23 ข้ อ หมายถึง พอใช้
ผ่าน 24-26 ข้ อ หมายถึง ดี
ผ่าน 27 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
โรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “โรงเรียน
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ”
11

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


11

องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
ผู้นาองค์กรต้ องสรรหาคนที่จะมาดาเนินการ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการองค์กร
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ ประกอบด้ วย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องทุกภาคส่วน ตัวอย่างเช่น
- ระดับหมู่บ้าน ประกอบด้ วย คณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนอสม. สมาชิก
สภาท้ องถิ่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน ชมรมผู้ปกครอง ชมรมผู้สงู อายุ เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข
- ระดับศูนย์เด็กเล็ก ประกอบด้ วย คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวแทนอสม. สมาชิ กสภาท้ องถิ่น กลุ่มแม่บ้าน ชมรมผู้ ปกครอง ชมรมผู้สูงอายุ เจ้ าหน้ าที่
สาธารณสุข
- ระดับโรงเรียน ประกอบด้ วย คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการ
โรงเรี ยนส่งเสริ มสุขภาพ สพป.หรื อ สพม. ตัวแทนอสม. สมาชิกสภาท้ องถิ่น กลุ่ มแม่ บ้า น
ชมรมผู้ปกครอง ชมรมผู้สงู อายุ เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข
คณะกรรมการดังกล่ า ว ควรมีความรู้ ในการส่งเสริ มการเจริ ญ เติบ โต พร้ อ ม
กาหนดบทบาทกรรมการแต่ ละคนให้ ชั ดเจน มี การประชุ มคณะกรรมการฯ เพื่ อ ร่ ว มกัน
กาหนดนโยบายและมาตรการส่งเสริมการเจริญเติบโตทั้งมาตรการทางวิชาการและมาตรการ
ทางสังคม พร้ อ มทั้งมีก ารสื่อ สารนโยบายมาตรการส่งเสริ มการเจริ ญ เติบ โตที่ครอบคลุ ม
ประเด็นสาคัญอย่างเป็ นลายลักษณ์อักษรและเห็นได้ อย่างชัดเจนให้ คนในองค์กรได้ รับทราบ
เพื่อให้ เกิดความร่วมมือ เช่น ติดป้ ายประกาศ นาเสนอในที่ประชุม เป็ นต้ น
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลือ่ นให้เกิดองค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
คณะกรรมการ/แกนนา นานโยบายสู่การปฏิบัติ โดยกาหนดแผนงาน โครงการ
กิจกรรม พร้ อมทั้งระบุผ้ ูรับผิดชอบ และดาเนินงานตามแผนโดยมีชุมชน พ่อแม่ /ผู้ปกครอง
ครูพ่ีเลี้ยง แกนนานักเรียน นักเรียน ครู สพป./สพม. อปท. ผู้นาชุมชน เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข
ร่วมดาเนินการ เพื่อให้ เกิดความยั่งยืน มีนโยบายสาธารณะ และก่อเกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร
เมื่อดาเนินการไประยะหนึ่ง ควรมีการกากับติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน
12

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


12

องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโต


ของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนือ่ ง
3.1 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ในหมู่บา้ น
ภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
จากการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักเพิ่มขึ้นน้ อยกว่า 10 กิโลกรัม เป็ นปัจจัยเสี่ยงต่อ
ทารกแรกเกิดนา้ หนักน้ อยกว่า 2,500 กรัม ในทางตรงกันข้ าม หญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักมาก
เกินไป มีโอกาสที่ลูกจะมีนา้ หนักแรกเกิดมากกว่า 4,000 กรัม เสี่ยงต่อการเป็ นเด็กอ้ วนใน
อนาคต ส่วนตัวแม่เอง มีความเสี่ยงที่จะอ้ วนหลังคลอด ดังนั้น การเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการ
หญิงตั้งครรภ์ จึงเป็ นเรื่องสาคัญ เพื่อให้ เด็กเกิดมามีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
การเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้าน เป็ นการดาเนินงานต่อจาก
การให้ บริการที่คลินิกฝากครรภ์ ซึ่งมีการประเมินภาวะโภชนาการ โดยการวัดส่วนสูงครั้งแรก
ที่มาฝากครรภ์ ชั่งนา้ หนัก และแปลผลทุกครั้งโดยจุดนา้ หนักในกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
และลากเส้ นเชื่อมจุด เพื่อดูแนวโน้ มการเพิ่มนา้ หนัก(แนวโน้ มการเพิ่มหรือการลดหรือคงที่
ของนา้ หนัก) รวมทั้งประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารทุกครั้งที่มาคลินิกฝากครรภ์ พร้ อม
ทั้งแจ้ งและอธิบายผลภาวะโภชนาการ แนวโน้ มการเพิ่มนา้ หนัก และให้ คาแนะนาปรึกษาทาง
โภชนาการเป็ นรายคน
ดังนั้น การเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้าน จึงมีการดาเนินงาน
ดังนี้
1) คณะกรรมการฯ/แกนนารวบรวมข้ อมูลภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์
จากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และข้ อมูลพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แล้ วนาข้ อมูลมา
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาโภชนาการ ประเมินผลการดาเนินงานที่ผ่านมา และวางแผนการ
ดาเนินงานส่งเสริมโภชนาการให้ หญิงตั้งครรภ์มีนา้ หนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ รวมทั้งป้ องกันและ
แก้ ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักน้ อยและหญิงตั้งครรภ์อ้วน
2) ดาเนินการส่งเสริมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ ควรดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
ดังนี้
2.1 ให้ ความรู้กบั หญิงตั้งครรภ์ เป็ นกลุ่มและรายคน ผ่านสื่อต่างๆ เช่น สื่อ
บุคคล (อสม./แกนนา/เพื่อนบ้ าน) สื่อสิ่งพิมพ์ (แผ่นพับ/หนังสือ/ภาพพลิก/ซีดี/
โปสเตอร์) วิทยุชุมชน เสียงตามสาย หอกระจายข่าว และอบรมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ สามี
และญาติ โดยครอบคลุมเรื่อง ความสาคัญของโภชนาการ สารอาหารสาคัญ ธงโภชนาการ
13

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


13

อาหารหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร เลือกกินอาหารที่มี


คุณค่าทางโภชนาการ ปริมาณเพียงพอ และหลากหลาย
2.2
2.2 ปรับปรุงอาหารมื้อหลักและอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ไม่ ไม่หหวานวาน
ไม่
ไม่มมันัน และไม่
และไม่เค็เค็มมในครอบครั ในครอบครั ว วโดยมี โดยมี อาหารครบ
อาหารครบ 5 กลุ5่มอาหารในกลุ่มอาหารใน 1 วัน ได้1แก่วักลุ น ่มได้
ข้ าแว-ก่
กลุ
แป้ม่ งข้ากลุ
ว-แป้
่มผังก กลุกลุม่ ่มผัผลไม้
ก กลุม่ กลุผลไม้
่มเนื้อกลุสัม่ตเนื
ว์ อ้และกลุ
สัตว์ และกลุ
่มนม ม่มีนม ปริมมีาณเพีปริมาณเพี
ยงพอยงพอ และหลากหลาย
และหลากหลาย ใช้
ใช้เกลืเกลือและเครื
อและเครื่ ออ่งปรุ
งปรุงรสเสริ
งรสเสริมมไอโอดี
ไอโอดีนนในการปรุ
ในการปรุงงประกอบอาหารทุ
ประกอบอาหารทุกกครั ครั้ งง้ และงดเติ
และงดเติมมนน้า้ �ำ ตาลและ
ตาลและ
เครื่องปรุงรสเค็มในอาหารที่ป่ รุงสุกแล้ว
เครื่องปรุงรสเค็มในอาหารทีปรุงสุกแล้ ว
2.3
2.3 ปรั ปรับบปรุปรุงงอาหารที
อาหารที่ข่ายในร้
ขายในร้านค้ านค้าในหมู
าในหมู ่บ้า่บน้านให้ มให้ีคุณ มีคคุ่ณ ค่าทางโภชนาการ
าทางโภชนาการ ไม่
ไม่
หวาน หวาน ไม่ไม่มมันัน ไม่ ไม่เเค็ค็มม โดยให้
โดยให้ชชุมุมชนรัชนรับบทราบปั
ทราบปัญญหาพฤติ หาพฤติกกรรมการบริ
รรมการบริโโภคอาหารของหญิภคอาหารของหญิงง
ตัตั้ง้งครรภ์
ครรภ์ซซึ่ง่ึงได้
ได้จจากการประเมิ
ากการประเมินนพฤติ พฤติกกรรมการบริ
รรมการบริโภคอาหาร โภคอาหาร และจั และจัดดอบรมโภชนาการให้
อบรมโภชนาการให้ แก่แผก่้ ู
ผูปรุ
้ปรุงงประกอบอาหาร/ผู
ประกอบอาหาร/ผู้ จ้จาหน่ ำ�หน่าายอาหารในหมู
ยอาหารในหมู่บ่บ้ า้านน
2.4
2.4 จัจัดดกิกิจกรรมเพื
จ กรรมเพื ่ อสร้่ อาสร้ า งกระแสให้
งกระแสให้ เกิดค่เากินิดยค่มและความตระหนั
า นิ ย มและความตระหนั กถึง ก ถึ ง
ความสำ
ความส�าคั คัญญของโภชนาการในหญิ
ของโภชนาการในหญิงงตัตั้ง้งครรภ์ ครรภ์ เพื เพื่ อ่อให้
ให้คครอบครั
รอบครัวว ชุชุมมชน ชน อปท. อปท. และผู และผู้ ม้มีสีส่ว่วนน
เกีเกี่ย่ยวข้
วข้อองง ดูดูแแลโภชนาการของหญิ
ลโภชนาการของหญิงงตัตั้้งงครรภ์ ครรภ์ใให้ห้มมีกีการเพิ
ารเพิ่ม่มนน้า้ ำ�หนั
หนักกตามเกณฑ์
ตามเกณฑ์ เช่เช่นน รณรงค์ รณรงค์
“หญิ
“หญิงงตัตั้ ง้งครรภ์
ครรภ์นนา้ ้ำ �หนัหนักกดีดี ลูลูกกเติเติบบโตดี
โตดี” ” และประกวดหญิ
และประกวดหญิ งตั้งงครรภ์
ตั้ ง ครรภ์
ท่มี ีนทา้ ี่ มหนั
ี น้ำ �กหนั ก เหมาะสม
เหมาะสม ใน
ในระดั บ ตำ �
ระดับตาบล เป็ นต้ น บล เป็ น ต้ น
2.5 ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมต่างๆ เช่น การอบรม การรณรงค์ การประกวด
เป็ นต้ น และประกาศเชิดชูเกียรติหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักเหมาะสมหรือครอบครัวที่ดูแลหญิง
ตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักเหมาะสม
2.6 ตรวจสอบการได้ รับยาเม็ดไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก และดูแลให้ หญิง
ตั้งครรภ์กนิ ยาเม็ดเสริมไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก ทุกวัน ตามแพทย์ส่งั
2.7 ส่งเสริมให้ ชุมชนมีวิถีชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และครอบครัว
ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ควรส่งเสริมให้ ทาการเกษตรโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ
ปลูกพืชผัก ผลไม้ เลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน เพื่อเป็ นแหล่งอาหารในครอบครัว มีเหลือจึงขาย
3) ดาเนินการป้ องกันและแก้ ไขหญิงตั้งครรภ์ขาดอาหาร มีแนวทางการ
ดาเนินงานดังนี้
3.1 ให้คความรู
3.1 ให้ วามรู้ ก้กบั ับหญิ
หญิงงตัตั้ง้งครรภ์
ครรภ์ขขาดอาหาร
าดอาหารสามี สามีและญาติ
และญาติเป็ นเป็
กลุน่มกลุ ่มและ
และราย
รายคน
คน โดยครอบคลุ
โดยครอบคลุมมเรืเรื่ อ่องผลกระทบของลู
งผลกระทบของลูกทีก่เทีกิ่เดกิจากแม่ ดจากแม่
ท่ขี ทาดอาหาร
ี่ขาดอาหาร สารอาหารสำ
สารอาหารสาคั �คัญญ
14

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


14

ธงโภชนาการ อาหารหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร เลือกกิน


อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ปริมาณเพียงพอ และหลากหลาย
3.2 จัดอาหารกลุ่มข้ าวแป้ ง เนื้อสัตว์ และ/หรืออาหารที่เป็ นแหล่งแคลเซียม
เพิ่มขึ้นตามปริมาณที่ควรได้ รับ และดูแลกินอาหารให้ หมด เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์ท่ขี าด
อาหารจาเป็ นต้ องได้ รับพลังงาน โปรตีน และ/หรือแคลเซียม รวมทั้งวิตามินและแร่ธาตุอ่นื ๆ
เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การเพิ่มอาหารกลุ่มใดควรให้ สอดคล้ องกับปัญหาการขาดอาหารและ
พฤติกรรมการกิน เช่น กินข้ าวน้ อย ก็เพิ่มข้ าว กินเนื้อสัตว์น้อย แต่กนิ นมมาก ไม่ควรให้ นม
เพิ่ม แต่ควรลดปริมาณนมตามที่แนะนา และเพิ่มเนื้อสัตว์ เป็ นต้ น ทั้งนี้ การเพิ่มปริมาณ
อาหาร ควรค่อย ๆ เพิ่มทีละน้ อย เพื่อให้ เกิดการยอมรับ
3.3 จัดอาหารว่างให้ วันละ 3 มื้อ คือ ช่วงสาย ช่วงบ่าย และช่วงค่า เพื่อเพิ่ม
พลังงานและสารอาหาร
3.4 หาอาหารเสริมมทีที่ม่มีพีพลังลังานและโปรตี
3.4 จัจัดดหาอาหารเสริ งงานและโปรตี นสูนงสูง หญิ หญิงงตั้งครรภ์ท่นี า้ำ�หนักก
น้น้ออยย จำจ�าเป็
เป็นนต้ต้อองได้
งได้รรับับพลั
พลังงงานและ/หรื
งานและ/หรือโปรตีนเสริมโดยเร็ว เพื่อการเจริญเติบโตทั้งสมอง สมอง
และร่
และร่าางกายของทารกในครรภ์
งกายของทารกในครรภ์ไม่ม่ใให้ห้เเกิกิดดการชะงั การชะงักกงังันน อาหารเสริ
อาหารเสริมมที่มีพลังงานและโปรตีนสูสูงง
เช่เช่นน นมสดรสจื
นมสดรสจืดด ไข่ไข่ (ควรใช้ (ควรใช้นน�้ำ า้ มัมันนในการทา อาหาร เช่เช่นน ไข่
ในการทาอาหาร ไข่เเจีจียยวว ไข่
ไข่ดดาว
าว เพื
เพื่ อ่อเพิ
เพิ่ ม่มพลั
พลังงงาน)
งาน)
หรื
หรืออถั่ ว ลิถัส่วงทอด
ลิสงทอดทั้ งทันี้ง้นี้ ควรให้
ควรให้ อาหารเสริ
าหารเสริมมตามสภาพปั
ตามสภาพปัญญ หาว่หาว่ า ขาดในกลุ
าขาดในกลุ ่ มโปรตี
่มโปรตี น หรืน อกลุ หรื่มอ
กลุ
นม่มนม
3.5 ตรวจสอบการได้ รับยาเม็ดไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก และดูแลให้ หญิง
ตั้งครรภ์กนิ ยาเม็ดเสริมไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก ทุกวันตามแพทย์ส่งั
4) ดาเนินการป้ องกันและแก้ ไขหญิงตั้งครรภ์อ้วน มีแนวทางการดาเนินงานดังนี้
4.1 ให้ ความรู้ กับ หญิงตั้งครรภ์อ้วน สามี และญาติ เป็ นกลุ่ มและรายคน
โดยครอบคลุมเรื่ องผลกระทบของลูก ที่เกิดจากแม่ ท่ีอ้วน สารอาหารสาคัญ ธงโภชนาการ
อาหารหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร เลือกกินอาหาร
4.2 ลดปริมาณอาหารที่ให้ พลังงานหากบริโภคมากกว่าที่แนะนา เช่น กลุ่ม
ข้ าวแป้ ง และ/หรือกลุ่มไขมัน(นา้ มัน กะทิ) หรือเปลี่ยนวิธกี ารปรุงอาหารจากที่ใช้ นา้ มัน กะทิ
คือ ผัด ทอด แกงกะทิหรือขนมที่มีกะทิ เป็ นการปรุงด้ วยวิธีย่าง อบ ต้ ม ตุ๋น นึ่ง ยา แทน
รวมทั้งหลีกเลี่ยงหรืองดเนื้อสัตว์ติดมัน หนังไก่/เป็ ด อาหาร-ขนม-เครื่องดื่มรสหวาน
4.3 ตรวจสอบการได้รับรับยาเม็
4.3 ตรวจสอบการได้ ยาเม็ดไอโอดี
ดไอโอดีน นโฟเลท เหล็กเหล็และดู
โฟเลทธาตุธาตุ ก และดู
แลให้แหลให้
ญิง
หญิ งต้ั้งครรภ์
ตั้งครรภ์ กินยาเม็
กนิ ยาเม็ดเสริดมเสริ มไอโอดี
ไอโอดี น โฟเลท
น โฟเลท ธาตุเธาตุ
หล็กเหล็
ทุกกวันทุตามแพทย์
กวันตามแพทย์
ส่งั สั่ง
15

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


15

หลังจากดาเนินการส่งเสริมโภชนาการ ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์


ขาดอาหาร/อ้ วน ควรบันทึกสิ่งที่ได้ ดาเนินการเป็ นรายคนโดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์นา้ หนัก
น้ อย อ้ วน และหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีแนวโน้ มโภชนาการไม่ดี
5) ติดตามภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์
โดยติดตามในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักน้ อย อ้ วน และหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีแนวโน้ มการเพิ่ม
นา้ หนักไม่ดี อย่างน้ อย 2 สัปดาห์ ต่อ 1 ครั้ง เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงนา้ หนักตัวและ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารว่าดีข้ ึนหรือไม่
3.2 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก
การดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กในหมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก หรือ
โรงเรียน เป็ นการควบคุมกากับนา้ หนักและส่วนสูงของเด็กให้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพื่อให้ เด็กมีการเจริญเติบโตในระดับดี ซึ่งมีกจิ กรรมดังต่อไปนี้
1) ชี้ แจงการเฝ้ าระวังฯให้กับพ่อแม่/ผูป้ กครอง และ/หรือนักเรียน เพื่อให้
เห็นความสาคัญและเข้ าใจการดาเนินงานเฝ้ าระวังฯ เพื่อให้ เกิดความร่วมมือหรือมีส่วนร่วมใน
การดาเนินงาน
2) กาหนดวันทีเ่ ฝ้ าระวังฯอย่างชัดเจน เนื่องจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล(รพ.สต.) และ pcu ของโรงพยาบาล ต้ องบันทึกข้ อมูลนา้ หนักส่วนสูงของเด็กที่ได้ จาก
การเฝ้ าระวังฯ รวมทั้งเด็กป่ วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลแต่ละวัน ผ่านโปรแกรม JHCIS
หรือ HOSXP HOSXPPCU PCUซึ่งเป็
ซึ่ งนเป็โปรแกรมรายงานข้
นโปรแกรมรายงานข้
อมูลสุอขมูภาพของกระทรวงสาธารณสุ
ล สุ ข ภาพของกระทรวงสาธารณสุ
ข ทาให้ข
ข้ทำอ�มูให้ลขที้อ่ได้มูมลีคทีวามชุ
่ได้มีคกวามชุ
ของเด็กกของเด็ กขาดอาหารสู
ขาดอาหารสู งกว่าความเป็
งกว่าความเป็ นจริง นจริง จึจึงงไม่
ไม่สสามารถสะท้
ามารถสะท้อนถึง
สถานการณ์ภาวะการเจริญเติบโตได้ ดังนั้น การกาหนดช่วงวันที่เฝ้ าระวังฯไม่เกิน 5 วัน และ
ใช้ โปรแกรมเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด - 18 ปี จะช่วยแก้ ไขปัญหาดังกล่าวได้
โดยให้ อยู่ในช่วงเดือนที่กาหนดตามกลุ่มวัยดังนี้
2.1 เด็กแรกเกิด - 5 ปี สาหรับหมู่บ้านและศูนย์เด็กเล็ก
งวดที่ 1 เดือนตุลาคม
งวดที่ 2 เดือนมกราคม
งวดที่ 3 เดือนเมษายน
งวดที่ 4 เดือนกรกฎาคม
16

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


16

2.2 เด็กวัยเรียนอายุ 6-18 ปี


เทอมที่ 1 ภายในเดือนมิถุนายน
เทอมที่ 2 ภายในเดือนธันวาคม
3) เครื่องชัง่ น้าหนัก เครื่องวัดความยาว และเครื่องวัดส่วนสูงมีความ
เหมาะสมและได้มาตรฐาน จะทาให้ ได้ ข้อมูลนา้ หนักส่วนสูงที่ถูกต้ อง ซึ่งมีผลต่อการแปลผล
ภาวะการเจริญเติบโตและแนวโน้ มการเจริญเติบโต
3.1 เครื่องชัง่ น้าหนัก
 เด็กแรกเกิด-5 ปี เครื่องชั่งนา้ หนักต้ องมีสเกลบอกค่านา้ หนักได้ ละเอียด
100 กรัม (0.1 กิโลกรัม) หรือแบ่งย่อยเป็ น 10 ขีดใน 1 กิโลกรัม ซึ่งพบในเครื่องชั่งนา้ หนัก
แบบดิจิตอลหรือตัวเลข นา้ หนักจะเปลี่ยนแปลงทีละ 0.1 กิโลกรัม เช่น 10.1, 10.2, 10.3
เป็ นต้ น ส่วนเครื่องชั่งนา้ หนักแบบเข็ม มีสเกลบอกค่านา้ หนักได้ ละเอียดเพียง 500 กรัม(0.5
กิโลกรัม) จึงไม่เหมาะสมที่จะใช้ กบั เด็กปฐมวัย
 เด็กอายุ 6-18 ปี เครื่องชั่งนา้ หนักควรมีความละเอียด 0.1 กิโลกรัม
(100 กรัม) แต่ไม่เกิน 0.5 กิโลกรัม (500 กรัม)

เครื่องชั่งแบบยืนชนิดตัวเลข
มีความละเอียดของนา้ หนัก
เครื่องชั่งแบบยืนชนิดเข็ม แบบนีม้ ีความละเอียด หลายแบบ แต่ เลือกที่มีความ
0.5 กิโลกรัม ซึ่งใช้ ได้ กับเด็กวัยเรียน ละเอียด 100 กรัม

นอกจากนั้น ต้ องทดสอบมาตรฐานเครื่องชั่งนา้ หนักโดยการนาลูกตุ้มนา้ หนัก


มาตรฐานหรือสิ่งของที่ร้ ูนา้ หนัก เช่น ดัมเบล มาวางบนเครื่องชั่งนา้ หนัก เพื่อดูว่านา้ หนักได้
ตามนา้ หนักลูกตุ้มหรือสิ่งของนั้นหรือไม่ โดยมีวิธดี ังนี้
3.2 เครื่องวัดความยาว ใช้ ในเด็กอายุต่ากว่า 2 ปี เนื่องจากเด็กยังไม่
สามารถยืนเหยียดตรงได้ เครื่องวัดความยาวมีขายแบบสาเร็จรูป แต่ถ้ายังไม่สามารถซื้อหามา
ใช้ ได้ อาจทาเครื่องวัดความยาวใช้ ช่ัวคราวไปก่อน โดยมีวิธกี ารดังนี้
17

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


17

3.2.1 ใช้ สายวัดไม่ยืดไม่หด ตัวเลขมีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร


ตัวเลขเรียงต่อกัน เช่น 0, 1, 2,….10,11,12.......20,21, 22..........เซนติเมตร ตัดปลาย
สายวัดให้ พอดีกบั เลขศูนย์

ตัดปลายสายวัด
ให้พอดีเลข 0

3.2.2 นาไปวางบนโต๊ะที่พ้ ืนเรียบตรง ไม่โค้ งงอ โดยปลายสายวัดที่เลข


ศูนย์อยู่พอดีกบั ปลายโต๊ะและสายวัดวางทาบชิดขอบโต๊ะ ทาให้ เรียบและยึดด้ วยเทปใสที่
สามารถเห็นตัวเลขได้ แต่ต้องให้ ติดแน่น

ปลายสายวัด โต๊ะเรียบ ไม่โค้งงอ


ติดตรงขอบ
โต๊ะให้พอดีเลข
0
สายวัดวางทาบชิดขอบโต๊ะให้เรียบ
และติดยึดกับโต๊ะให้แน่นด้วยเทปใส

3.2.3 จากนั้นนาโต๊ะนี้ไปวางติดกับผนังหรือเสาที่ใหญ่พอกับศีรษะเด็ก
และต้ องมีไม้ ฉากสาหรับวัดค่าความยาว

ฝาผนัง

ไม้ฉากสาหรับวัด
18

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


18

3.3 เครื่องวัดส่วนสูง ใช้ กับเด็กอายุ 2 ปี ขึ้นไป โดยใช้ เครื่องวัดส่วนสูงที่


เป็ นไม้ หรืออลูมิเนียม หรือกระดาษพื้นผิวไม่นูนโป่ งออกมา ตัวเลขมีความละเอียด 0.1
เซนติเมตร และเรียงต่อกัน เช่น จาก 0, 1, 2,…..10,11,12.......20,21,22...... เซนติเมตร
การติดตั้ง ต้ องติดตั้งให้ ถูกต้ องโดยวางทาบกับผนังหรือเสาที่ต้ังฉากกับพื้น
ยึดให้ แน่น ไม่โยกเย้ ไม่เอียง และบริเวณที่เด็กยืน พื้นต้ องเรียบได้ ระดับ ไม่เอียง ไม่นูน และ
มีไม้ ฉากสาหรับวัดค่าส่วนสูง
เครื่องวัดส่วนสูงที่เป็ นกระดาษ มักใช้ กบั เด็กปฐมวัย เช่น ศูนย์เด็กเล็ก ต้ อง
ระมัดระวังในการติดตั้ง เนื่องจากตัวเลขเริ่มต้ นของแผ่นวัดความสูงไม่เท่ากัน บางแผ่นเริ่มต้ น
ที่ 50 เซนติเมตร บางแผ่นเริ่มต้ นที่ 60 เซนติเมตร จึงต้ องวัดระยะที่ติดตั้งสูงจากพื้นตาม
ตัวเลขที่กาหนดบนแผ่นที่วัดส่วนสูง เช่น เริ่มต้ นที่ 50 เซนติเมตร การติดตั้งต้ องสูงจากพื้นที่
เด็กยืน 50 เซนติเมตร เป็ นต้ น
เครื่องวัดส่วนสูงแบบกระดาษติดผนัง

ความสูงเริ่มต้นที่ 50 ซม.

ติดสูงจากพื้น
50 ซม.

4) วิธีการการชัง่ น้าหนัก วัดความยาว และวัดส่วนสูงถูกต้อง จะทาให้ ได้


ข้ อมูลนา้ หนักส่วนสูงที่ถูกต้ องเช่นกัน
4.1 วิธีการชัง่ น้าหนัก
1) ควรถอดเสื้อผ้ าออกให้ เหลือเท่าที่จาเป็ นโดยเฉพาะเสื้อผ้ าหนาๆ
รวมทั้งรองเท้า ถุงเท้า และนาของเล่น ของใช้ ออกจากตัวเด็ก
2) ถ้ าเป็ นเครื่องชั่งแบบยืนที่มีเข็ม ผู้ท่ที าการชั่งนา้ หนักจะต้ องอยู่ใน
ตาแหน่งตรงกันข้ ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้ างทั้งซ้ ายหรือขวาเพราะจะทาให้ อ่านค่านา้ หนัก
มากไปหรือน้ อยไปได้
3) อ่านค่าให้ ละเอียดมีทศนิยม 1 ตาแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม
19

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


19

4.2 วิธีการวัดความยาว
ควรมีผ้ ูวัดอย่างน้ อย 2 คน โดยคน
หนึ่งจับด้ านศีรษะและลาตัวให้ อยู่ในท่านอนราบ
ตัวตรง ไม่เอียง ส่วนอีกคนหนึ่งจับเข่าให้ เหยียด
ตรง และเลื่อนไม้ ฉากเข้ าหาฝ่ าเท้าที่ต้งั ฉากอย่าง
รวดเร็ว อ่านค่าให้ ละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร เช่น
70.2 เซนติเมตร
4.3 วิธีการวัดส่วนสูง
1) ผู้หญิง ถ้ ามีก๊บิ ที่คาดผม หรือมัดผม ควรนาออกก่อน
2) ถอดรองเท้า ถุงเท้า
3) ยืนบนพื้นราบ เท้าชิด ยืดตัวขึ้นไปข้ างบนให้ เต็มที่ ไม่งอเข่า
4) ส้ นเท้า หลัง ก้ น ไหล่ ศีรษะ สัมผัสกับไม้ วัด
5) ตามองตรงไปข้ างหน้ า ศีรษะไม่เอียงซ้ าย-เอียงขวา ไม่แหงนหน้ าขึ้น หรือก้ ม
หน้ าลง
6) ผู้วัดประคองหน้ าให้ ตรง ไม่ให้ แหงนหน้ าขึ้น หรือก้ มหน้ าลง หน้ าไม่เอียง
7) ใช้ ไม้ ฉากในการอ่านค่าส่วนสูง โดยเลื่อนไม้ ฉากให้ สัมผัสกับศีรษะพอดี
8) อ่านตัวเลขให้ อยู่ในระดับสายตาผู้วัด โดยอ่านค่าส่วนสูงให้ ละเอียดถึง 0.1
เซนติเมตร เช่น 118.4 เซนติเมตร

ท่าวางศีรษะและ
เท้าที่ไม่ถูกต้อง

ท่าวางศีรษะและเท้า
ที่ถูกต้อง
20

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


20

เครื่องวัดส่วนสูง ไม้ฉาก อ่านค่าส่วนสูงระดับสายตา

ใช้ไม้ฉาก
ศีรษะชิดเครือ่ งวัดส่วนสูง
ในการอ่าน
หลังชิดเครื่องวัดส่วนสูง ค่าส่วนสูง

ก้นชิดเครื่องวัดส่วนสูง

เข่าชิด เข่าตรง

ส้นเท้าชิดเครื่องวัดส่วนสูง

ท่ามาตรฐานในการวัดส่วนสูง

5) ประเมินภาวะการเจริญเติบโตทุก 3 เดือนสาหรับเด็กแรกเกิด-5 ปี และ


ทุก 6 เดือน สาหรับเด็กอายุ 6-18 ปี โดยการ
5.1 ชั่งนา้ หนัก
5.2 วัดส่วนสูง
5.3 แปลผล มีการจุดนา้ หนักส่วนสูง และลากเส้ นเชื่อมจุดบนกราฟส่วนสูง
ตามเกณฑ์อายุ กราฟนา้ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง และกราฟนา้ หนักตามเกณฑ์อายุ(เฉพาะใน
เด็กแรกเกิด-5 ปี )
21

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


21

6)6) ประเมิ
ประเมินนพฤติ พฤติกกรรมการบริ
รรมการบริโภคอาหารทุ
โภคอาหารทุกก33เดืเดือนสำ
อนส �หรับเด็
าหรั กแรกเกิ
บเด็ ด-5
กแรกเกิ ด-5ปี
และทุ
ปี และทุ ก 6ก เดื
6 อเดืนอสำน�หรั
สาหรั บเด็บเด็
กอายุ
กอายุ6-18
6-18ปี ปีตามแบบฟอร์
ตามแบบฟอร์มม (ดู (ดูใในภาคผนวก)
นภาคผนวก) เพื่อดูว่า
เด็เด็กกมีมีพพฤติกรรมการบริ
รรมการบริโโภคอาหารเหมาะสมหรื
ภคอาหารเหมาะสมหรืออไม่ไม่ มีมีพพฤติ ฤติกกรรมการบริ
รรมการบริโโภคอาหารใดที่ไม่ม่
เหมาะสม
เหมาะสม และเป็ และเป็ นนข้ข้ออมูมูลลสสำาหรั
�หรับบการให้
การให้คคาแนะน
ำ�แนะนำาปรึ
�ปรึกกษาทางโภชนาการ
ษาทางโภชนาการ
7)7) แจ้แจ้งและอธิ
งและอธิบบายผลการประเมิ
ายผลการประเมินนทัทัง้ ภาวะการเจริ
้งภาวะการเจริญญเติเติบบโตโต แนวโน้
แนวโน้มมการการ
เจริญญเติเติบบโต
เจริ โต และพฤติกกรรมการบริ ภคอาหารให้กกับับพ่พ่ออแม่
รรมการบริโภคอาหารให้ แม่ หรือผู้ปกครอง และนั และนักกเรีเรียยนน
ทราบทุ
ทราบทุกกครั ครั้ง้ง เพื่อเพื
จะได้ ดูแลการให้
่ อจะได้ /กิน/อาหารได้
ดูแลการให้ อย่าองเหมาะสมกั
กินอาหารได้ บภาวะการเจริ
ย่างเหมาะสมกั บภาวะการเจริ ญเติญบเติ
โตและ
บโต
ปรับเปลีบย่ เปลี
และปรั นพฤติ กรรมการบริ
่ยนพฤติ โภคอาหารที
กรรมการบริ ไ่ ม่เหมาะสม
โภคอาหารที ่ไม่เหมาะสม
8)8)ให้ให้ ค�ำแนะน�ำปรึ
คาแนะน กษาทางโภชนาการเป็นรายคนตามภาวะการเจริ
าปรึกษาทางโภชนาการเป็ นรายคนตามภาวะการเจริญญเติ เติบบโต
โต
และพฤติ
และพฤติกรรมการบริ รรมการบริโโภคอาหาร ภคอาหาร เพื่ อให้ พ่อแม่ แม่//ผูผู้ ป้ปกครองและนั
กครองและนักกเรีเรียยนมี นมีคความรูวามรู้ ้ ความ
ความ
เข้เข้าาใจใจ และทั
และทักกษะในการจั หาอาหารให้เด็ก หรืหรืออเลืเลืออกซื
ษะในการจัดดหาอาหารให้ กซื้อ้ อ/เลื
/เลืออกกิ
กกินนอาหารที
อาหารที่สอดคล้ อดคล้ องกับบ
ภาวะการเจริ
ภาวะการเจริญญเติเติบบโตโตแนวโน้ แนวโน้มมการเจริ
การเจริญญเติเติบบโตโตและพฤติ
และพฤติกกรรมการบริ รรมการบริโภคอาหารของเด็
โภคอาหารของเด็ กก
9)9)คณะกรรมการฯร่
คณะกรรมการฯร่ วมกัวนมกัวิเนคราะห์
วิเคราะห์ ขอ้ มูขล้อมูเพื ล ่ อเพื
ค้ น่อหาสาเหตุ
ค้นหาสาเหตุ ของปัของปั
ญหาทุ ญหา

ทุโภชนาการ
พโภชนาการประเมิ น การด�ำเนิ น งานที ผ
่ า
่ นมา พร้ อมทั ง

ประเมินการดาเนินงานที่ผ่านมา พร้ อมทั้งจัดทาโครงการ วางแผนการดาเนินงานจั
ด ท�ำ โครงการวางแผนการด�ำเนิ น งาน
ส่ส่งงเสริ
เสริมมการเจริ
การเจริญญเติ เติบบโต
โต ป้ป้ อองกั
งกันนและแก้
และแก้ ไไขเด็
ขเด็กกกลุกลุ่ม่มเสีเสี่ย่ยงต่
งต่ออการขาดอาหารและอ้
การขาดอาหารและอ้ววนน เด็ เด็กกขาด
ขาด
อาหาร/เด็
อาหาร/เด็กกอ้อ้ววนน
10)10)ดาเนิ ด�ำเนิ นการส่
นการส่ งเสริ
งเสริ มการเจริ
มการเจริ ญเติ ญเติ บโตอย่
บโตอย่ างต่างต่
อเนือเนื่องอ่ งเป็เป็นนการด
การด�ำเนิ
าเนินนงานที
งานที่ ่
มุมุ่ ง่งเน้
เน้ นนให้
ให้เเด็ด็กกมีมีกการเจริ
ารเจริญญเติเติ บ โตในระดั
บโตในระดั บดีบต่อดีไปหรื
ต ่ อ ไปหรือดีมอากขึ ดี ม้ นากขึคื้ นอ คื ออยู่ใอยูนระดั ่ ใ นระดั
บส่วบนสูส่งวตาม
นสู ง
ตามเกณฑ์
เกณฑ์ ค่อนข้ ค่อานข้ งสูางงสูหรื
ง หรื
อสูองกว่
สูงกว่
าเกณฑ์าเกณฑ์และมี
และมี รูปรร่ปู าร่งสมส่
างสมส่วนวนและมี และมีแแนวโน้นวโน้มมการเจริ
การเจริญญเติเติบบโตดี
โตดี
โดยมี
โดยมีแแนวทางการด�ำเนิ
นวทางการดาเนินนงานดั งานดังนีงนี้ ้
10.1 ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองเป็ นกลุ่มและรายคน ผ่านสื่อต่างๆ เช่น
สื่อบุคคล (เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข/อสม./แกนนา/เพื่อนบ้ าน) สื่อสิ่งพิมพ์ (แผ่นพับ/หนังสือ/
ภาพพลิก/ซีดี/โปสเตอร์) วิทยุชุมชน เสียงตามสาย หอกระจายข่าว และ/หรืออบรม
โภชนาการพ่อแม่/ผู้ปกครองและญาติ โดยครอบคลุมเรื่อง ความสาคัญของโภชนาการ
สารอาหารสาคัญ ธงโภชนาการ อาหารทารก อาหารเด็กอายุ 1-5 ปี ข้ อปฏิบัติการให้ อาหาร
เพื่อสุขภาพดีของทารก เด็กอายุ 1-5 ปี และเด็กอายุ 6-18 ปี เพื่อให้ มีความรู้และทักษะใน
การเลือกซื้อ/จัดอาหาร/กินอาหาร
22

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


22

10.2 ปรั
10.2 ปรับบปรุ ปรุงงอาหารมื
อาหารมื้ อหลั ้ อ หลั กและอาหารว่
ก และอาหารว่ างให้า งให้
มีคุณมค่ี คาุ ณทางโภชนาการ ไม่
ค่ า ทางโภชนาการ
หวาน
ไม่ หวานไม่ไม่ เค็เมค็มไม่ไม่
มันมนั ในครอบครั
ในครอบครัว วศูนศูย์นเย์ด็เกด็กและโรงเรี และโรงเรียยนนโดยมี โดยมีออาหารครบาหารครบ 55 กลุกลุ่มม่ อาหาร อาหาร
ทุทุกกวัวันน ได้แก่ กลุ่มข้ าว-แป้ ว-แป้ง กลุ กลุ่ม่ ผัก กลุ กลุ่มม่ ผลไม้
ผลไม้ กลุ กลุ่มม่ เนืเนื้ ออ้ สัสัตตว์ว์ และกลุ
และกลุ่มม่ นม นม อาหารมีอาหารมีคความ วาม
หลากหลายในแต่ละกลุ่ม ไม่ซำ�้าซาก จจำาเจ
หลากหลายในแต่ �เจ และตักกอาหารให้ อาหารให้มมีปีปริริมมาณเหมาะสมตามอายุ าณเหมาะสมตามอายุแและ ละ
ภาวะการเจริญญเติเติบบโตของเด็
ภาวะการเจริ โตของเด็กกใช้เกลื ใช้อเกลื
หรืออหรื เครืออ่ เครืงปรุ่ องงปรุ
รสเค็งรสเค็ มเสริมเสริ ไอโอดีมไอโอดี
นในการปรุ นในการปรุ
งอาหารทุ งอาหาร
กครัง้
ทุกครัน้ งในอาหารทารก)
(ยกเว้ (ยกเว้ นในอาหารทารก)
10.3 จัดจัสิด่งสิแวดล้ ่ ง แวดล้ อมให้
อ มให้ เอื้อเ อืต่้ อ ต่การได้
อ การได้ รับอาหารที
รับ อาหารที ่มีคุณ่ มค่ี คาุ ณ
ทางโภชนาการ ไม่
ค่ า ทางโภชนาการ
ไม่
หวาน หวานไม่เไม่ ค็มเค็ไม่
ม มไม่
ัน มโดยให้
นั โดยให้ ชุมชนรั ชมุ ชนรั
บทราบปับทราบปั ญหาพฤติ ญหาพฤติ กรรมการบริ
กรรมการบริ โภคอาหารของเด็
โภคอาหารของเด็ กแต่กแต่ละละ
กลุ
กลุ่มวัยซึ่งได้จากการประเมิ
ากการประเมินนพฤติ พฤติกกรรมการบริ
รรมการบริโภคอาหาร โภคอาหารจัดอบรมโภชนาการให้ จัดอบรมโภชนาการให้ แก่ผแ้ ูปก่รุผง ู้ปรุง
ประกอบอาหาร/ผู
ประกอบอาหาร/ผู้จำ�าหน่ หน่ายอาหารในหมู่บ้าน และปรั และปรับบปรุปรุงการจ งการจำาหน่ �หน่ายอาหารในหมู
ายอาหารในหมู ่บ้า่บนและ
้านและ
รอบรั
รอบรัว้ ้ วโรงเรี
โรงเรียยนให้
นให้มมคี ีคณ
ุ ุณค่ค่าทางโภชนาการ
าทางโภชนาการไม่ไม่หวาน หวานไม่ไม่เค็เมค็มไม่ไม่มมนั ัน
10.4 จัดกิจกรรมเพื่อสร้ างกระแสให้ เกิดค่านิยมและความตระหนักถึง
ความสาคัญของโภชนาการในเด็ก เพื่อดูแลด้ านโภชนาการให้ เด็กมีการเจริญเติบโตดี เช่น
 รณรงค์ “เด็กไทยดื่มนมเหมาะสมตามวัย”
 ประกวดเด็ก “สูงสมส่วน” ในหมู่บ้าน ศูนย์เด็ก และโรงเรียน
 ประกาศเชิดชูเกียรติพ่อแม่/ผู้ปกครองหรือครอบครัวที่มีเด็กสูงสมส่วน
ในงานต่างๆ เช่น วันเด็ก วันครอบครัว วันแม่ เป็ นต้ น
10.5 สื่อสารสาธารณะ เรื่อง “โภชนาการดี เด็กไทยสูงสมส่วน สมองดี
แข็งแรง” อย่างต่อเนื่อง
10.6 ประชาสั
10.6 ประชาสั มพัมนพัธ์กนจิ ธ์กรรมต่
กิ จ กรรมต่ างๆ า งๆ เช่น เช่การอบรม น การอบรม การรณรงค์ การรณรงค์ การ
ประกวด เป็ นเป็ต้นนต้นและประกาศเชิ
การประกวด และประกาศเชิ ดชูดเกีชูยเกีรติยพรติ่อพแม่่อ/แม่ผู้ป/ผูกครอง/ผู ้ปกครอง/ผู ้ ดูแลเด็ กที่ดกูแทีลเด็
้ดูแลเด็ ่ดูแกลเด็ งู -
ให้ กสให้
สูสมส่
ง-สมส่ วน วหรื น อหรื
ครอบครั
อครอบครั วที่ดวูแทีลเด็ กให้กสใหู้ง-สมส่
ด่ แู ลเด็ สงู -สมส่ วน วน
10.7 มีมีกการจั
10.7 ารจัดดหาและให้
หาและให้วิตวามิ ิตามินนนา้ น้/ยาเม็
ำ�/ยาเม็ ดเสริ ดเสริมธาตุ เหล็เกหล็
มธาตุ กับกเด็กับกอายุ
เด็กอายุ 66
เดืออนขึ
เดื นขึน้ ้ นไป
ไป สัสัปปดาห์
ดาห์ลละะ 11 ครัง้ ง ๆ ละ 11 ช้ช้ออนชา/หรื นชา/หรืออ 11 เม็เมด็ ด เนืเนื่ ออ่ งจากเด็
งจากเด็กกตัตั้งง้ แต่แต่อายุ 66 เดืเดืออนน
จนถึง 18
จนถึ 18 ปีปี เป็เป็นนช่วช่งที วงที่มีก่มารเจริ
ีการเจริ ญเติ บโตทั
ญเติ บโตทั ้งร่้างงกายและสมอง
ร่างกายและสมองส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ ได้ รับได้ธาตุ
รับเธาตุ
หล็กเจาก หล็ก
อาหารไม่เพียงพอ
จากอาหารไม่ เพียงพอ จึจึงงจจำาเป็ �เป็นนต้ต้อองเสริ
งเสริมธาตุ มธาตุ เหล็เหล็กให้กให้ เพีเยพีงพอเพื ยงพอเพื ่ อพั่อฒพันาสมองและสร้
ฒนาสมองและสร้ างภูมาง

ภูต้มานทานโรค
ติ า้ นทานโรคเด็กเด็จะมี กจะมี ความสามารถในการเรี
ความสามารถในการเรี ยนรูยนรู้ ได้ไ้ ดด้ี ดและไม่
ี และไม่ เจ็บเจ็ป่บวยบ่
ป่วยบ่ อยอย รวมทั รวมทั้งง้ ติติดดตาม
ตาม
การให้
การให้ววติ ิตามิามินนน้น�ำ /ยาเม็
า้ /ยาเม็ดดเสริ เสริมมธาตุ ธาตุเหล็ กก
เหล็
10.8 ส่ส่งงเสริ
10.8 เสริมมให้ให้มีวมิถีวีชิถีวีชิตีวตามหลั
ิตตามหลั กเศรษฐกิ
กเศรษฐกิ จพอเพี จพอเพี ยง ยง และครอบครั และครอบครัววทีที่ ่
ประกอบอาชี
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ควรส่งเสริมให้ ให้ทาการเกษตรโดยยึ
ำ�การเกษตรโดยยึดดหลั หลักกเศรษฐกิ
เศรษฐกิจจพอเพี พอเพียยงง คืคืออ
ปลู
ปลูกกพืพืชชผัผักก ผลไม้ เลีเลี้ ย้ยงสั งสัตตว์ว์แแบบผสมผสาน
บบผสมผสาน เพืเพื่ อ่อเป็เป็นนแหล่ แหล่งงอาหารในครอบครั
อาหารในครอบครัววมีมีเหลื เหลืออจึจึงขาย
งขาย
23

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


23

11) ดาเนินการป้องกันและแก้ไขเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสีย่ ง ควร


ดาเนินการแก้ ไขปัญหาทั้งเด็กขาดอาหาร(นา้ หนักน้ อยกว่าเกณฑ์, เตี้ย, ผอม) และกลุ่มเสี่ยง
(ค่อนข้ างเตี้ย, ค่อนข้ างผอม) เพื่อป้ องกันไม่ให้ กลุ่มเสี่ยงเปลี่ยนระดับภาวะการเจริญเติบโต
เป็ นเด็กขาดอาหาร โดยพ่อแม่/ผู้ปกครอง นักเรียน ครูพ่ีเลี้ยง ครู และอปท. รวมทั้งชุมชน
ร่วมกันดาเนินการป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กเตี้ย/เด็กผอม/เด็กนา้ หนักน้ อยกว่าเกณฑ์และ
กลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ เด็กได้ รับสารอาหารเพิ่ มขึ้น ครบถ้ วน และได้ สมดุล ทั้งนี้ ต้ องจัดทาบันทึก
การป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กกลุ่มเสี่ยงและเด็กขาดอาหารเป็ นรายคน โดยมีแนวทางดังนี้
11.1 ให้ให้ความรู
11.1 ค วามรู้ กบั ้ กพ่ั บอพ่แม่อ แม่
/ผู้/ปผูกครองและนั
้ ป กครองและนั กเรียกนรายคนและเป็
เรี ย นรายคนและเป็ นกลุ่มน กลุ ผ่าน่ ม
สืผ่่อานสื
ต่าองๆ
่ ต่างๆ โดยครอบคลุ
โดยครอบคลุ มเรืม่ อเรืงผลเสี
อ่ งผลเสี ยทีย่เกิทีดเ่ กิกัดบกัเด็บกเด็ขาดอาหาร
กขาดอาหารสารอาหารส สารอาหารสำาคั�คัญญ ธงโภชนาการ
ธงโภชนาการ
อาหารตามวัย ข้ อปฏิบัติการให้ อาหารเพื่อสุขภาพดีของทารก เด็กอายุ 1-5 ปี และเด็กอายุ
6-18 ปี เพื่อให้ มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้อ/จัดอาหาร/กินอาหาร
11.2 จัดอาหารกลุ่มข้ าวแป้ ง เนื้อสัตว์ และ/หรืออาหารที่เป็ นแหล่ง
แคลเซียมเพิ่มขึ้น และดูแลเด็กกินอาหารให้ หมด เนื่องจากเด็กที่ขาดอาหารจาเป็ นต้ องได้ รับ
พลังงาน โปรตีน และ/หรือแคลเซียม รวมทั้งวิตามินและแร่ธาตุอ่นื ๆเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
การเพิ่มอาหารกลุ่มใดควรให้ สอดคล้ องกับปัญหาการขาดอาหารและพฤติกรรมการกิน เช่น
กินข้ าวน้ อย ก็เพิ่มข้ าว กินเนื้อสัตว์น้อย แต่กนิ นมมาก ไม่ควรให้ นมเพิ่มแต่ควรลดปริมาณ
นมตามทีแ่ นะนำ นะน� า และเพิ่มเนื้ อสัตว์ เป็ การเพิ่ มม่ ปริ
เป็นต้ น ทัทั้งง้ นีนี้ ้ การเพิ ปริมมาณอาหาร
าณอาหาร ควรค่ ควรค่ออยย ๆๆเพิเพิ ่มทีม่
ละน้
ทีละน้ออยยเพืเพื ่ อให้
อ่ ให้เกิเกิดดการยอมรั
การยอมรับบ
11.3 จัดอาหารว่างให้ วันละ 3 มื้อ คือ ช่วงสาย ช่วงบ่าย และช่วงค่า
เนื่องจากเด็กขาดอาหารกินน้ อย จึงต้ องมีอาหารว่างให้ เด็กกินเพื่อเพิ่มพลังงานและสารอาหาร
11.4 จัดหาอาหารเสริมที่มีพลังงานและโปรตีนสูง ให้ กบั เด็กขาดอาหารกิน
ทุกวันตามสาเหตุของการขาดอาหารจนกว่าจะมีการเจริญเติบโตดี เช่น นมสดรสจืด 1 กล่อง
ไข่ 11 ฟอง ฟองถั่วถัลิว่ สลิงต้
สงต้มมหรืหรืออทอด
ทอด2 2ช้ อช้นกิ นข้นาข้วา(ไม่
อนกิ ว (ไม่ รวมเปลื
รวมเปลื อก)อก)เป็ นเป็ต้นนต้การจั ดอาหารเสริ
น การจั ดอาหารเสริ ม มีม
มีความสำ
ความส าคั�ญคัญ และความจำ
และความจ าเป็�เป็ นอย่
นอย่ างมากเพื
างมากเพื ่ อให้่อให้
เด็กเด็ได้กได้
รับรพลั
ับพลั งงานและสารอาหารเพิ
งงานและสารอาหารเพิ ่มขึ้่มนขึอย่้นาอย่
ง าง
เร็วที่สดุ ไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาสมอง โครงสร้ างร่างกาย การทางานของระบบและ
อวัยวะในร่างกาย และการสร้ างภูมิต้านทานโรค การขาดอาหารเป็ นเวลานาน ยิ่งมีผลเสียเพิ่ม
มากขึ้น
11.5 เด็กขาดอาหารตั้งแต่อายุ 6 เดือน จนถึง 18 ปี ต้ องให้ วิตามินนา้ หรือ
ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1 ช้ อนชา หรือ 1 เม็ด ทุกวัน เป็ นเวลา 1 เดือน เพื่อแก้ ไขภาวะ
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
24

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


24

11.6 เด็กที่มีปัญหาด้ านสังคมจิตใจ (Psychosocial factor) เช่น พ่อแม่


ทะเลาะกัน พ่อแม่มองลูกในทางลบ ควรให้ คาปรึกษาแก่พ่อแม่/ผู้ปกครอง
11.7 ครอบครัวของเด็กที่มีฐานะยากจน ควรประสานกับผู้ท่เี กี่ยวข้ องในการ
ส่งเสริมอาชีพ หรือให้ มีท่ดี ินทากิน เพื่อเพิ่มรายได้
12)12) ดดำาเนิ �เนินนการป การป้ ้ องกั
องกันนและแก้ และแก้ไขเด็ ไขเด็กกอ้วอ้นและกลุ วนและกลุ่ม่มเสีเสีย่ ่ยง ง ควรดำ ควรด�าเนิ การ
เนินการ
แก้ไขปัญหาทั้งเด็กอ้ วน(เริ่มอ้อ้วน/อ้
แก้ น/อ้ววน) น) และกลุ่มเสี่ยง(ท้วม) เพื เพื่อ่ อป้ป้อองกั
งกันนไม่ไม่ให้กลุ่มเสี่ยง

เปลี
เปลี่ยนระดับภาวะการเจริ ภาวะการเจริญญเติเติบบโตเป็ โตเป็นนเด็เด็กกอ้อ้ววนน โดยเน้ โดยเน้นนการควบคุการควบคุมมน้นำ�า้ หนั หนักกไม่ ไม่ใให้เพิ่มมาก
มาก
เกิ
เกินไป และไม่ และไม่ค วรลดน้ วรลดนา้ ำ �หนั หนักกเด็เด็กกยกเว้
ยกเว้นนรายที รายที่มีน่ มา้ ี นหนั
ำ้� หนั
กมากๆ ก มากๆซึ่งซึต้่ งอต้งอยู อ งอยู ่ ใ นความดู
่ในความดู แลของแ ล
ของแพทย์
แพทย์ โดยพ่โดยพ่ อแม่อ/แม่ ผู้ป/กครอง
ผู้ปกครอง นักเรีนัยกนเรียครูนพ่ีเครู ลี้ยพง ่ีเลีครู ้ยง และอปท.
ครู และอปท. รวมทัรวมทั ้งชุมชน้งชุมร่ชน
วม
ร่ดวาเนิ
มดำน�เนิ
การป้ นการป้ องกันอและแก้ งกันและแก้ ไขปัญไขปั หาเด็ ญหาเด็
กอ้ วนและกลุกอ้วนและกลุ ่มเสี่ยง่มเสี่ยง เพื เพื่อ่ อให้
ให้เเด็ด็กกได้
ได้รรับับอาหารที
อาหารที่ให้
พลั
พลังงงานสู
งานสูงงลดลง ลดลง ในขณะเดี ในขณะเดียยวกัวกันน ได้ได้รรับบั สารอาหารครบถ้ สารอาหารครบถ้วน เพี เพียงพอ และได้ สมดุล ทั้งนี้
ต้ต้องจัดทำท�าบับันทึกการป้ การป้องกั องกันนและแก้ และแก้ไขปั ไขปัญญหาเด็ หาเด็กกลุกกลุ ่มเสี่มเสี ่ยงและเด็
่ยงและเด็ กอ้กวอ้นเป็ วนเป็นรายคนนรายคน โดยมี
แนวทางดั
แนวทางดังงนีนี้ ้
12.1 ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองและนักเรียนเป็ นรายคนและเป็ นกลุ่ม
ผ่านสื่อต่างๆ โดยครอบคลุมเรื่องผลเสียที่เกิดกับเด็กอ้ วน สารอาหารสาคัญ ธงโภชนาการ
อาหารตามวัย ข้ อปฏิบัติการให้ อาหารเพื่อสุขภาพดีของทารก เด็กอายุ 1-5 ปี และเด็กอายุ
6-18 ปี เพื่อให้ มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้อ/จัดอาหาร/กินอาหาร
12.2 ให้ ให้ววิติตามิามินนนนา้ �้ำหรื
หรืออยาเม็ ยาเม็ดดเสริ เสริมมธาตุ ธาตุเหล็เหล็กกสัสัปปดาห์
ดาห์ละละ1 1ครัครั ้ ง ้งๆ ๆละ ละ
1
1ช้ อช้นชา
อนชาหรืหรื อ 1อ เม็ 1 ดเม็เพืด ่ อเพืป้ องกั
อ่ ป้อนงกัการขาดธาตุ
นการขาดธาตุ เหล็เหล็
กก
12.3 ตักอาหารให้ตามปริมาณทีแ่ นะน�ำ นะนา หากเด็กขอเติมอาหาร ควรตักให้
ครัง้ งแรกน้
ครั แรกน้ออยกว่ ยกว่าาปริ ปริมมาณที
าณทีแ่ ่แนะน�ำและครั
นะนา และครั ง้ ที้ งส่ ทีองเพิ ม่ ในปริ
่สองเพิ ่ มในปริ มาณทีมาณทีเ่ หลื่เหลื
อ อ
12.4 เด็เด็กกอายุ อายุ 33 ปีปีขึ้นข้ไป นึ ไป ควรเปลีควรเปลี ่ยนชนิ ย่ นชนิ ดของนมเป็
ดของนมเป็ น นมพร่
น นมพร่ องมัอยงมัเนย/นม
ยเนย/
นมขาดมั
ขาดมันเนย(รสจื นเนย (รสจื ด) ดเพื)่ อเพื ลดพลัอ่ ลดพลั
งงานที งงานที
่ได้ รไ่ ับด้รบั
12.5
12.5 เด็ เด็กกเล็ เล็กก ส่ส่งงเสริ
เสริมมให้ให้มมีกกี ารเคลื
ารเคลื่อ่อนไหวร่ นไหวร่าางกายเป็
งกายเป็นนประจ�ำ ประจา เช่เช่นน หยิ หยิบบของ
ของ
ให้
ให้คครูรูพพี่เ่ีเลีลี้ย้ ยงง วิวิ่ ง่งเล่เล่นน วิ่วิงผลั
่งผลัดดเต้เต้ นตามจั
นตามจั งหวะเพลงเป็ นเป็ต้นนต้นส่วนเด็
งหวะเพลง ส่วนเด็
กวัยกเรีวัยยนเรียจันดให้จัมดีให้ มีการ
การออก
ออกก�ำลั
กาลังกายทุ งกายทุ กวันกวัๆนละๆ ประมาณ ละ ประมาณ 30 นาที 30 นาที
25

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


25

13) ติดตามภาวะการเจริญเติบโตและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก
กลุ่มเสี่ยง(ค่อนข้ างเตี้ย ค่อนข้ างผอม นา้ หนักค่อนข้ างน้ อย ท้วม) เด็กขาดอาหาร(เตี้ย ผอม
นา้ หนักน้ อย) เด็กอ้ วน(เริ่มอ้ วน อ้ วน) และแนวโน้ มการเจริญเติบโตไม่ดี อย่างน้ อยเดือนละ
1 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้
13.1 ประเมินภาวะการเจริญเติบโตทุกเดือนโดยการชั่งนา้ หนัก วัดส่วนสูง
และแปลผล
13.2 ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
 กลุ่มเด็กขาดอาหาร/เด็กอ้ วนประเมินทุก 2 สัปดาห์
 กลุ่มเสี่ยงต่อการขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยงต่ออ้ วน รวมทั้งเด็กที่มี
แนวโน้ มการเจริญเติบโตไม่ดี ประเมินทุกเดือน จนกว่าจะมีการเจริญเติบโตดี
 หากมีพฤติกรรมดีข้ น ึ ให้ ประเมินทุกเดือนในเด็กขาดอาหารและ
เด็กอ้ วน จนกว่าจะมีการเจริญเติบโตดี
13.3 เยี่ยมบ้ านเด็กขาดอาหาร อ้ วน และกลุ่มเสี่ยง โดยจนท.สาธารณสุข
อสม. และครูพ่ีเลี้ยงหรือครู อย่างน้ อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อดูการจัดอาหาร สภาพแวดล้ อม
ทั้งในและนอกบ้ าน พร้ อมทั้งให้ คาแนะนาและติดตามผล
14) รายงานภาวะการเจริญเติบโตผ่านโปรแกรมเฝ้ าระวังการเจริญเติบโต
ของเด็กแรกเกิด-18 ปี ให้ กบั อปท.และรพ.สต./รพช./รพท./รพศ. ดังนี้
14.1 กาหนดการส่งรายงานภาวะการเจริญเติบโตของหมู่บ้าน ศูนย์เด็ก และ
โรงเรียน ภายในเดือนที่มีการชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูง เพื่ออปท. และรพ.สต./รพช./รพท./
รพศ. รวบรวมข้ อมูลภาวะการเจริญเติบโตในแต่ละระดับได้ ทนั ต่อสถานการณ์ในการนามา
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาโภชนาการ และวางแผนดาเนินงานหรือเปรียบเทียบภาวะการ
เจริญเติบโตว่าเปลี่ยนแปลงดีข้ นึ หรือไม่
14.2 ความถี่ในการรายงาน
14.2.1 เด็กแรกเกิด-5 ปี ส่งรายงานทุก 3 เดือน ภายในช่วงเวลาที่
กาหนด
14.2.2 เด็กอายุ 6-18 ปี ส่งรายงานทุก 6 เดือน ภายในช่วงเวลาที่
กาหนด
26

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


26

องค์ประกอบที่ 4 การจัดสภาวะแวดล้อมทีเ่ อื้ อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ


สภาวะแวดล้ อมที่ดี จะส่งผลให้ เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ ประกอบ-
ด้ วย การจัดอาหารในครอบครัว ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน การจาหน่ายอาหาร รวมทั้งขนม-
เครื่องดื่ม และการเคลื่อนไหวร่างกาย/การออกกาลังกาย รายละเอียดดังนี้
ครอบครัวว ผู้ป้ปรุรุงงประกอบอาหารให้
ครอบครั ประกอบอาหารให้หญิ หญิงตัง้งตัครรภ์
้งครรภ์ และเด็
และเด็ ก ก ควรจั ควรจั ดอาหาร
ดอาหารมื ้อ
มืหลั
อ้ หลั
ก ก3 มื3้ อมืคือ้ อ คืมือ้ อเช้มืาอ้ เช้มื้าอกลางวั
มือ้ กลางวั น และมื
น และมื ้ อเย็นอ้ เย็และอาหารว่
น และอาหารว่ าง 2างมื้อ2 คืมืออ้ อาหารว่
คือ อาหารว่
างเช้ าา(ช่
งเช้วาง
(ช่
สาย) วงสาย) และอาหารว่
และอาหารว่ างบ่าายงบ่(ในหญิ าย (ในหญิ งตัง้ ครรภ์
งตั้งครรภ์ อาจมีออาจมี อาหารว่
าหารว่ ได้) โดยมี
าง 3างมื้อ3ได้มื)อ้ โดยมี อาหารครบ
อาหารครบทั ้ง 5
ทักลุ
ง้ ่ม5อาหารทุ
กลุม่ อาหารทุ
กวัน ได้ กวัแนก่ได้กลุแก่่มข้กลุ ม่ ข้าว-แป้
าว-แป้ ง กลุง่มผักลุกม่ ผักลุก่มกลุ ม่ ผลไม้
ผลไม้ กลุ่มกลุ
เนืม่้ อเนื
สัตอ้ ว์สัตและกลุ
ว์ และกลุ
่มนมม่ นม
มี
มีปริปริมมาณเพี
าณเพียยงพอในแต่
งพอในแต่ลละวัะวันนไม่ไม่ หวานไม่เไม่
หวาน ค็มเค็ไม่
ม มไม่ัน มและใช้
ัน และใช้ เกลือเหรื
กลืออเครื หรือ่ อเครื
งปรุ่องงปรุ
รสเค็งรสเค็
มเสริมม
เสริ
ไอโอดีมไอโอดี นในการปรุ
นในการปรุ งอาหารทุ
งอาหารทุ กครัก้ งครัโดยมี
ง้ โดยมี แนวทางการจั
แนวทางการจั ดอาหารดั
ดอาหารดั งนี้งนี้
1. อาหารทารก มีแนวทางการจัดอาหารดังนี้
1) จัดอาหารให้ ครบกลุ่มอาหาร ประกอบด้ วย ข้ าว เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้
2) จัดอาหารให้ มีความหลากหลายเพื่อสร้ างความคุ้นเคย
3) อาหารควรเป็ นรสธรรมชาติ ไม่ต้องใส่เครื่องปรุงรสใด ๆ
4) ที่อายุ 6 เดือน เริ่มให้ อาหารทีละน้ อยและทีละชนิดโดยเว้ นระยะประมาณ
2-3 วัน ก่อนเริ่มให้ อาหารชนิดใหม่เพื่อสังเกตดูว่าทารกมีการแพ้ อาหารหรือไม่ และนา
อาหารมาบดผสมกันเพิ่มปริมาณที่ละน้ อยจนได้ ปริมาณที่แนะนา
5) ลักษณะของอาหารควรเหมาะสมกับพั ฒนาการของเด็ก เพื่อฝึ กการ
เคี้ยวอาหาร โดยเริ่ มจาก 6 เดือน บดละเอียด 7 เดือน เพิ่ มความหยาบของอาหารมาก
ขึ้น เป็ นลักษณะอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลว อายุ 8-11 เดือนให้ ลักษณะอาหารอ่อนนิ่ม เช่น
ข้ าวสวยหุงนิ่ม ๆ หมูหรือไก่สบั หรือบด หรือปลาหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ เป็ นต้ น
6) จจำานวนครั
6) �นวนครั้ งง้ ของการให้ อาหารทารก คือ อายุ
อายุ 6-7
6-7เดืเดื
อนอนให้ให้
แทนนมแม่
แทนนมแม่1
1มื้อมือ้ อายุอายุ8-9
8-9เดือเดืนให้ แทนนมแม่
อนให้ แทนนมแม่2 มื2้ อมืและอายุ 10-12
อ้ และอายุ เดือเดื
10-12 น อให้นแให้
ทนนมแม่
แทนนมแม่ 3 มื้3อ มือ้
7) วัตถุดิบและภาชนะที่ใช้ ปรุงอาหารและใส่อาหารต้ องสะอาดและปลอดภัย
27

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


27

ตารางที่ 1 ปริมาณอาหารที่แนะนาให้ บริโภคใน 1 วัน สาหรับทารก


อายุ จานวน
ชนิดและปริมาณอาหารต่อมื้ อ
(เดือน) มื้ อ
- ข้ าวบดละเอียด 3 ช้ อนกินข้ าว
- ไข่แดงต้ มสุก ½ ฟอง สลับกับเนื้อสัตว์บดละเอียด 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ตับสุก หรือ
เนื้อปลาสุก หรือเนื้อหมูสุก หรือเนื้อไก่สุก
- ผักใบเขียวต้ มเปื่ อยบดละเอียด ½ ช้ อนกินข้ าว เช่น ตาลึง ฟักทอง เป็ นต้ น
6 1
- ผลไม้ สุกบด 1-2 ชิ้น ได้ แก่ กล้ กล้ววยน ว้าา 1 ผลครูดเอาแต่เนื้อ หรือ มะละกอสุก
ยน้า้ ำ�หว้
1-2 ชิ้น
- เติมนา้ มัน ½ ช้ อนชา
แล้ วให้ กนิ นมแม่ตามจนอิ่มหรือให้ นมแม่ในมื้อถัดไป
อาหารในช่วงวัยนี้ ไม่ต้องบดละเอียด เพื่อฝึ กการเคี้ยวอาหาร
- กินข้ าวบดหยาบ 4 ช้ อนกินข้ าว
- ไข่ต้มสุกครึ่งฟอง สลับกับเนื้อสัตว์บด 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ตับสุก หรือเนื้อปลาสุก
หรือเนื้อหมูสุก หรือเนื้อไก่สุก
7 1
- ผักสุกบด 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ผักกาดขาว ตาลึง ผักหวาน ฟักทอง แครอท เป็ นต้ น
- ผลไม้ สุก 1-2 ชิ้น เช่น มะละกอสุก 1-2 ชิ้น หรือ มะม่วงสุก 1-2 ชิ้น เป็ นต้ น
- เติมนา้ มัน ½ ช้ อนชา
แล้ วให้ กนิ นมแม่ตามจนอิ่มหรือให้ นมแม่ในมื้อถัดไป
- ข้ าวสุกหุงนิ่มๆ บดหยาบ 4 ช้ อนกินข้ าว
- ไข่ครึ่งฟอง สลับกับเนื้อสัตว์สับละเอียด 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ตับสุก หรือเนื้อปลาสุก
หรือเนื้อหมูสุก หรือเนื้อไก่สุก
- ผักสุกสับละเอียด 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ผักกาดขาว ตาลึง ผักหวาน ฟักทอง แครอท
8-9 2
เป็ นต้ น
- ผลไม้ สุก 2-3 ชิ้น เช่น มะละกอสุก 2-3 ชิ้น หรือ กล้ วย ½ ผล เป็ นต้ น
- เติมนา้ มัน ½ ช้ อนชา
หลังมื้ออาหารให้ กนิ นมแม่ตามจนอิ่มหรือให้ นมแม่ในมื้อถัดไป
- ข้ าวสุกหุงนิ่มๆ 4 ช้ อนกินข้ าว
- ไข่ครึ่งฟอง สลับกับเนื้อสัตว์ห่ันเป็ นชิ้นเล็กๆ 1 ช้ อนกินข้ าว เช่น ตับสุก หรือ
เนื้อปลาสุก หรือเนื้อหมูสุก หรือเนื้อไก่สุก
- ผักสุกหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ 1½ ช้ อนกินข้ าว เช่น ผักกาดขาว ตาลึง ผักหวาน ฟักทอง
10-12 3
แครอท เป็ นต้ น
- ผลไม้ สุก 3-4 ชิ้น เช่น มะม่วง 3-4 ชิ้น หรือ ส้ ม 1 ผลเล็ก เป็ นต้ น หลังอาหารทุกมื้อ
- เติมนา้ มัน ½ ช้ อนชา
หลังมื้ออาหารให้ กนิ นมแม่ตามจนอิ่มหรือให้ นมแม่ในมื้อถัดไป
28

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


28

2. อาหารหญิงตั้งครรภ์และเด็กอายุ 1-18 ปี
1) กลุ่มข้ าวแป้ ง ควรกินข้ าวกล้ องหรือข้ าวซ้ อมมือ เพราะจะให้ วิตามินและ
แร่ธาตุมากกว่าข้ าวขาว รวมทั้งใยอาหาร
2) กลุ่มผักและกลุ่มผลไม้ กินเป็ นประจาทุกวัน และกินให้ หลากหลายสี เช่น
สีเหลือง-ส้ ม สีแดง สีเขียวเข้ ม สีม่วง สีขาว เป็ นต้ น เพื่อให้ ได้ วิตามินและแร่ธาตุครบถ้ วน
เพียงพอ
3) กลุ่มเนื้อสัตว์ กินให้ หลากหลาย รวมทั้งไข่ ถั่วเมล็ดแห้ งและผลิตภัณฑ์
เช่น เต้ าหู้ เป็ นต้ น เพื่อให้ ได้ โปรตีน กรดไขมันจาเป็ น แร่ธาตุ และวิตามิน ซึ่งจาเป็ นต่อการ
สร้ างเนื้อเยื่อต่างๆ รวมทั้งการเจริญเติบโตของเซลล์สมองของเด็ก
3.1) จัดอาหารให้ มไี ข่เป็ นส่วนประกอบ สัปดาห์ละ 3-7 วัน ๆ ละ 1
ฟอง เพื่อให้ ได้ โปรตีนคุณภาพดี และยังให้ วิตามินและแร่ธาตุท่สี าคัญหลายชนิด เช่น วิตามิน
เอ วิตามินบี และเลซิติน (ช่วยสร้ างสารสื่อประสาท ช่วยการทางานของระบบประสาท ทาให้ มี
ความจาและความสามารถในการเรียนรู้ดีข้ นึ ) เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม ไข่แดงมีคอเลสเตอรอล
สูง (1 ฟอง มีคอเลสเตอรอล 200 มิลลิกรัม) ปริมาณที่แนะนาควรได้ รับคอเลสเตอรอลไม่
เกินวันละ 300 มิลลิกรัม ดังนั้น จึงควรบริโภคไข่ไม่เกินวันละ 1 ฟอง
3.2) จัดอาหารให้ มีปลา(ต้ องระวังก้ าง) เป็ นส่วนประกอบ อย่างน้ อย
สัปดาห์ละ 3 วัน จะช่วยให้ ได้ รับ DHA (Docosahexaenoic acid) ซึ่งเป็ นกรดไขมันจาเป็ นใน
กลุ่มโอเมก้ า 3 มีบทบาทสาคัญต่อโครงสร้ างและการทางานของสมอง และระบบประสาท
เกี่ยวกับการพัฒนาเรียนรู้และจอประสาทตาซึ่งเกี่ยวกับการมองเห็น
3.3) จัดอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็กสัปดาห์ละ 1-2 วัน (หญิงตั้งครรภ์
สัปดาห์ละ 2-3 วัน) เช่น ตับ เลือด เป็ นต้ น และควรมีแหล่งอาหารวิตามินซีสงู ร่วมด้ วย เช่น
ฝรั่ง ส้ มมะขามป้ อม มะปรางสุก มะละกอสุก เป็ นต้ น เพื่อช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
3.4) เนื้อสัตว์ชนิดอื่น เช่น หมู ไก่ กุ้ง ปลาหมึก เป็ นต้ น สลับ
ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนในแต่ละวัน
4) กลุ่มนม นมเป็ นแหล่งแคลเซียมที่ดีท่สี ดุ เนื่องจากมีปริมาณแคลเซียมสูง
และดูดซึมได้ ดี ควรให้ เป็ นนมสดรสจืด และไม่ควรดื่มหลังอาหารทันที เพราะจะขัดขวางการ
ดูดซึมธาตุเหล็ก จึงควรดื่มในมื้ออาหารว่าง ส่วนแหล่งแคลเซียมจากอาหารอื่น เช่น โยเกิร์ต
เนยแข็ง กะปิ เต้ าหู้แข็ง-อ่อน ปลาเล็กปลาน้ อย สัตว์ตัวเล็ก เช่น กบ เขียด อึ่งอ่าง เป็ นต้ น
29

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


29

ปริมาณอาหารที่แนะนาใน 1 วัน แต่ละกลุ่มวัย ควรแบ่งปริมาณอาหารที่แนะนา


ในกลุ่มอาหาร(กลุ่มข้ าวแป้ ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์ กลุ่มนม) เป็ นอาหารมื้อหลัก
3 มื้อ และอาหารว่าง ๒ มื้อ หากอาหารมื้อเช้ ากินกลุ่มใดมาก มื้อกลางวันต้ องกินกลุ่มนั้น
น้ อยลง ในทางตรงกันข้ าม กินอาหารมื้อเช้ ากลุ่มใดน้ อย ต้ องกินมื้อกลางวันกลุ่มนั้นมากขึ้น
เพื่อให้ ได้ ตามปริมาณที่แนะนา
ตารางที่ 2 ปริมาณอาหารทีแ่ นะนาให้บริโภคต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์อายุ 16-18 ปี
กลุ่มอาหาร ไตรมาสการตั้งครรภ์ที่ 1 ไตรมาสการตั้งครรภ์ที่ 2 และ 3
ข้ าว-แป้ ง (ทัพพี) 8 10
ผัก (ทัพพี) 6 6
ผลไม้ (ส่วน) 5 6
เนื้อสัตว์ (ช้ อนกินข้ าว) 12 12
นม (แก้ ว) 3 3
นา้ ตาล (ช้ อนชา) ไม่เกิน 4 ช้ อนชา ไม่เกิน 5 ช้ อนชา
เกลือ (ช้ อนชา) ไม่เกิน 1 ช้ อนชา ไม่เกิน 1 ช้ อนชา

ตารางที่ 3 ปริมาณอาหารทีแ่ นะนาให้บริโภคต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์อายุ 19 ปี ขึ้ นไป


กลุ่มอาหาร ไตรมาสการตั้งครรภ์ที่ 1 ไตรมาสการตั้งครรภ์ที่ 2 และ 3
ข้ าว-แป้ ง (ทัพพี) 6 9
ผัก (ทัพพี) 6 6
ผลไม้ (ส่วน) 5 6
เนื้อสัตว์ (ช้ อนกินข้ าว) 12 12
นม (แก้ ว) 2-3 2-3
นา้ ตาล (ช้ อนชา) ไม่เกิน 4 ช้ อนชา ไม่เกิน 5 ช้ อนชา
เกลือ (ช้ อนชา) ไม่เกิน 1 ช้ อนชา ไม่เกิน 1 ช้ อนชา
30

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


30

ตารางที่ 4 ปริมาณอาหารทีแ่ นะนาให้บริโภคใน 1 วัน สาหรับเด็กอายุ 1-18 ปี


ปริมาณอาหาร
กลุ่มอาหาร
อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-13 ปี อายุ 14-18 ปี
ข้ าว-แป้ ง (ทัพพี) 3 5 8 10
ผัก (ทัพพี) 2 3 4 5
(6 ช้ อนกินข้ าว)
ผลไม้ (ส่วน) 3 3 3 4
เนื้อสัตว์ (ช้ อนกินข้ าว) 3 3 6 9
นมและผลิตภัณฑ์ 2 2-3 3 3
(แก้ ว)
นา้ ตาล (ช้ อนชา) 2 3 ≤4 ≤6

การปรุงอาหารด้ วยนา้ มัน เนย หรือกะทิ คือ ผัด ทอด แกงกะทิ ควรกระจายใน
แต่ละมื้อ ๆ ละ 1 อย่าง ตัวอย่างเช่น
มื้อเช้ า ข้ าว ปลาทอด แกงจืดตาลึงใส่หมูสบั
มื้อกลางวัน ข้ าว ผัดถั่วฝักยาวใส่กุ้ง ต้ มยาไก่
มื้อเย็น ข้ าว ไข่เจียว แกงส้ มผักรวม
และอาหารว่างที่ใช้ นา้ มันหรือกะทิเป็ นส่วนประกอบ ไม่ควรเกิน 1 อย่างต่อวัน อย่างไรก็ตาม
เด็
เด็กขาดอาหาร สามารถให้อาหารทีป่ รุงด้ววยน้
ขาดอาหาร สามารถให้ ยน�ำ า้ มัมันน กะทิ ได้ได้1-2
1-2อย่าอย่
งต่าองต่มื้อมืส่อ้ วนเด็
ส่วนเด็
กอ้ วกนอ้วไม่น
ไม่ ควรมี
ควรมี อาหารที
อาหารที ่ปรุป่ งรุด้งวด้ยน
วยน้า้ มั�ำ มันนเนย
เนยหรืหรือกะทิทุกทุมืก้ อมือ้
อกะทิ
ในกรณีท่เี ด็กอยู่ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน เด็กจะกินอาหารที่บ้านเฉพาะมื้อเช้ า
และมื้อเย็นในวันธรรมดา และอาจมีอาหารว่างบ่ายด้ วย ดังนั้น การดูแลในเรื่องอาหารต้ องให้
สอดรับกับศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน โดยการสอบถามเด็กว่า กินอาหารอะไรที่ศูนย์เด็กและ
โรงเรียน และปริมาณมากน้ อยหรือกินหมดหรือเติมอาหารหรือไม่ เพื่อจะได้ จัดอาหารให้ ครบ
5 กลุ่มอาหารและปริมาณเพียงพอ
ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน การจัดอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน แบ่งเป็ น
อาหารกลางวัน 1 มื้อ และอาหารว่าง 1-2 มื้อ ซึ่งต้ องมีอาหารครบ 5 กลุ่มทุกวันในปริมาณ
เพียงพอ โดยมีแนวทางการดาเนินงานดังนี้
1. จัดอบรมโภชนาการให้ แก่ครูพ่ีเลี้ยง ครูอนามัยโรงเรียน/ครูท่รี ับผิดชอบ
โครงการอาหารกลางวัน ผู้ปรุงประกอบอาหาร/แม่ครัวในศูนย์เด็กและโรงเรียน
31

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


31

2. จัดอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีปริมาณ
เพียงพอ ครบ 5 กลุ่มอาหารทุกวัน ได้ แก่ กลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์
และกลุ่มนม และตักอาหารให้ มีปริมาณเหมาะสมตามอายุและภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก
3. จัดอาหารให้ มีไข่เป็ นส่วนประกอบ สัปดาห์ละ 1-2 วัน
4. จัดอาหารให้ มีปลา(ต้ องระวังก้ าง) เป็ นส่วนประกอบ สัปดาห์ละ 1-2 วัน
5. จัดอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็กสัปดาห์ละ 1 วัน เช่น ตับ เลือด เป็ นต้ น และ
ควรมีแหล่งอาหารวิตามินซีสูงร่วมด้ วย เช่น ฝรั่ง ส้ ม มะขามป้ อม มะปรางสุก มะละกอสุก
เป็ นต้ น เพื่อช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
6. จัด/จาหน่ายอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ไม่หวาน ไม่เค็ม ไม่มัน
วันละ 1-2 มื้อ ประเภทของอาหารว่างที่แนะนา มีดังนี้
6.1 กลุ่มนม
 ศูนย์เด็กและโรงเรียน จัดนมสดรสจืด ให้ เด็กทุกคนดื่มทุกวัน ๆ ละ
1 กล่อง ในช่วงเช้ า และให้ ก่อนเวลาอาหารกลางวัน 1½ -2 ชั่วโมง
แต่เด็กท้วม เริ่มอ้ วน หรืออ้ วน (อายุ 3 ปี ขึ้นไป) ให้ ด่ ืมนมพร่องมัน
เนยหรือนมขาดมันเนย(รสจืด) แทน
 จาหน่ายนมและผลิตภัณฑ์นมในร้ านสหกรณ์หรือร้ านค้ า เช่น นมสด
รสจื
รสจืดดนมพร่
นมพร่อองมังมันนเนย
เนยนมขาดมั
นมขาดมันนเนย
เนยและโยเกิ
และโยเกิรต์ร์ตเป็เป็นนต้ต้นน
6.2 ผลไม้ จัดให้ ทุกวันมื้อละ 1 ส่วน สาหรับโรงเรียน หากไม่สามารถจัดให้
ได้ ควรมีจาหน่ายโดยใส่ถุงหรือจานละ 1 ส่วน
6.3 ถั่วเมล็ดแห้ ง และพืชหัว เช่น ถั่วลิสงต้ ม ข้ าวโพดเหลืองต้ ม มันเทศต้ ม
เผือกต้ ม เป็ นต้ น
6.4 ขนมไทยรสไม่หวานจัด โดยมีอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง(พืชหัว) กลุ่มผัก
กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์(ถั่วเมล็ดแห้ ง) หรือนม เป็ นส่วนประกอบ เช่น ฟักทองแกงบวด
กล้ วยบวดชี เต้ าส่วน ข้ าวต้ มมัด ถั่วเขียวต้ มนา้ ตาล เป็ นต้ น
6.5 ของว่างอื่น ๆ ที่มีกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์(ถั่วเมล็ดแห้ ง) หรือ
นม เป็ นส่วนประกอบ เช่น ซาลาเปาไส้ หมูแดง ขนมจีบ แซนวิชไส้ ทูน่า ขนมปังไส้ หมูหยอง
7. ใช้ เกลือหรือเครื่องปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกครั้ง เพื่อ
ป้ องกันโรคขาดสารไอโอดีน
32

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


32

8. แจกวิตามินนา้ /ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กให้ กบั พ่อแม่/ผู้ปกครอง เพื่อให้ วิตามิน


เสริมธาตุเหล็กกับเด็กสัปดาห์ละ 11ครัครั ้ ง ง้ ๆ ๆละ ละ
1 ช้ อ1นชาช้อเพื
นชา่ อป้ องกั
เพือ่ นป้การขาดธาตุ เหล็ก เหาก
องกันการขาดธาตุ หล็ก
หากเด็
เด็ กขาดธาตุ
กขาดธาตุ เหล็กเหล็
จะส่กจะส่
งผลต่
งผลต่ อการพั
อการพั ฒนาการเรี
ฒนาการเรี ยนรูย้ นรู
โ้ ดยเฉพาะในเด็
โดยเฉพาะในเด็ กอายุกอายุ22ปีปีแรกจะบกพร่
แรกจะบกพร่อองง
การเรียนรู้อย่างถาวร
9. ตักอาหารกลุ่มข้ าวแป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มเนื้อสัตว์ ตามปริมาณที่แนะนา
ปริมาณอาหารทีแ่ นะนาใน 1 วัน สาหรับการจัดอาหารกลางวันและอาหารว่าง
ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน
อาหาร อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 6-13 ปี อายุ 14-18 ปี

ข้ าว-แป้ ง (ทัพพี) 2 3 4
(6 ช้ อนกินข้ าว)
3
ผัก (ช้ อนกินข้ าว) 2 4 5
(1 ทัพพี)
ผลไม้ (ส่วน) 1 1 1 1.5
เนื้อสัตว์ (ช้ อนกินข้ าว) 1 1.5 2 3
นม (ถุง 200 ซีซี) 1 1 1 1
นา้ ตาล (ช้ อนชา) 1 1.5 2 2

ารที่จ่จะช่ะช่วยให้
วิธวิกีธีการที วยให้กการจั
ารจัดดอาหารมี
อาหารมีคความหลากหลาย
วามหลากหลายไม่ไม่
ซา้ ซซากจ าเจ�เจมีผักมีทุผกั วัทุนกวัมีน
ำ�้ ซากจำ
ไข่
มีไข่ปลา
ปลาและอาหารแหล่
และอาหารแหล่งธาตุ งธาตุเหล็ วนประกอบอาหารตามที่แ่แนะน
เหล็กกเป็เป็นนส่ส่วนประกอบอาหารตามที นะนำา � ก็ก็คคือือ การก
การกำาหนด
�หนด
รายการอาหารล่วงหน้ าประมาณ 1 เดือน และคานวณปริมาณอาหารดิบที่ซ้ ือในกลุ่มผักและ
เนื้อสัตว์ให้ มีปริมาณเพียงพอ ตามตารางข้ างล่างนี้
ปริมาณอาหารดิบที่ซ้ ือต่อคนในแต่ละวัน สาหรับศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน แยกตามกลุ่มอายุ
กลุ่ม
เด็กอายุ 1-3 ปี เด็กอายุ 4-5 ปี อายุ 6-13 ปี อายุ 14-18 ปี
อาหาร
30 กรัม 50 กรัม 70 90
ผัก
(0.03 กิโลกรัม) (0.05 กิโลกรัม) (0.07 กิโลกรัม) (0.09 กิโลกรัม)
20 กรัม 30 กรัม 40 60
เนื้อสัตว์
(0.02 กิโลกรัม) (0.03 กิโลกรัม) (0.04 กิโลกรัม) (0.06 กิโลกรัม)
33

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


33

ส่วนกลุ่มข้ าว-แป้ ง มักไม่พบปัญหาปริมาณไม่เพียงพอ จึงไม่จาเป็ นต้ องคานวณ


ปริมาณการซื้ อ้ อาหารดิบ สสำาหรั �หรับบผลไม้ ผลไม้ปริปริมาณที มาณที่ซ้ ือซ่ ขึอ้ื ้ นขึน้ อยูอยู่กก่บั บั ขนาดของผลไม้
ขนาดของผลไม้เช่นเช่นกล้ วกล้ยไข่ วยไข่
1
ส่1ส่วนวนเท่าเท่กัาบกับ1 ผล 1 ผล ปริมาณทีปริมาณที
่ซ้ ือ จึซ่ งอ้ื เท่าจึกังเท่ กับจำ�นวนเด็
บจาานวนเด็ กทั้งกหมด ทัง้ หมด หรื่งอฝรั1ง่ ส่ว1น ส่เท่วนากับเท่ครึ
หรือฝรั ากั่ งบ
ครึง่ ผล
ผล ปริมปริ
าณที มาณที
่ซ้ ือ ซ่ จึอ้ื งเท่จึงาเท่
กับากัจบานวนเด็
จำ�นวนเด็ กครึกครึ ง่ หนึ
่ งหนึ ่ง ง่ (หรื(หรื อจอานวนเด็
จำ�นวนเด็กทักทั้งหมดหารด้
ง้ หมดหารด้ววยย 2)2) ชนิ ชนิดด
อาหารที่ใช้ทดแทนกันในแต่ ในแต่ลละกลุ ะกลุม่ ่มอาหาร อาหารดูดูใในภาคผนวก
นภาคผนวก
การตักอาหาร ก็มีความสาคัญเช่นเดียวกับปริมาณอาหารดิบที่ซ้ ือ ซึ่งจะมีผลต่อ
ความเพียงพอตามปริมาณที่แนะนา หากตักอาหารน้ อยไปหรือมากไป เด็กจะได้ รับพลังงาน
และสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้ รับพลังงานมากเกินไป ดังนั้น แม่ครัวหรือผู้ตักอาหารควร
ได้ รับการสอนวิธกี ารตักอาหารให้ ได้ ปริมาณตามที่แนะนาและสอดคล้ องกับภาวะการเจริญ
เติบโตของเด็กด้ วย
อย่างไรก็ตาม โรงเรียนบางแห่งจัดอาหารในลักษณะเป็ นร้ านขายอาหารให้ เด็ก
ซื้อกินเอง ต้ องมีการกาหนดรายการอาหารที่ขายดังนี้
1. ร้ านขายข้ าวราดแกง อาหารที่ขายประกอบด้ วย รายการอาหารที่มีเนื้อสัตว์
เป็ นส่วนประกอบหลัก อย่างน้ อย 2 เมนู และรายการอาหารที่มีผักเป็ นส่วนประกอบหลัก
อย่างน้ อย 2 เมนู โดยอาหารประเภทผัด ต้ องใช้ นา้ มันพืช เช่น นา้ มัน ราข้ าว นา้ มันถั่วเหลือง
ส่วนอาหารประเภททอด ควรใช้ นา้ มันปาล์ม เพราะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างไขมัน
เมื่อนา้ มันมีอุณหภูมิสงู ขึ้น ไม่ควรใช้ นา้ มันหมูในการปรุงอาหาร เพราะมีไขมันอิ่มตัวสูง ซึ่ง
ก่อให้ เกิดภาวะคอเลสเตอรอลสูงในเลือด และหลอดเลือดตีบตัน สาหรับปริมาณอาหารที่ซ้ ือ
ให้ กะประมาณจานวนนักเรียนที่ซ้ ือกินต่อวันในแต่ละร้ าน แล้ วคานวณปริมาณอาหารดิบที่ซ้ ือ
ตามตารางข้ างต้ น
2. ร้ านอาหารจานเดียว เช่น ข้ าวขาหมู ข้ าวหมูแดง ต้ องมีผักให้ เติมหน้ าร้ าน
ในกรณีข้าวมันไก่ ควรเป็ นข้ าวธรรมดาที่ไม่มัน
3. ร้ านก๋วยเตี๋ยว การใช้ นา้ มันและปริมาณอาหารดิบที่ซ้ ือ ทาเช่นเดียวกัน
การตักอาหารที่จาหน่ายในกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มเนื้อสัตว์ ให้ ได้ ตาม
ปริมาณที่แนะนา
34

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


34

แนวทางการเลือกอาหารว่าง
การจัดอาหารว่างให้ หญิงตั้งครรภ์และเด็กอายุ 1-18 ปี มีความสาคัญไม่น้อย
กว่าอาหารมื้อหลัก เพราะจะทาให้ ได้ สารอาหารครบถ้ วนเพียงพอตามความต้ องการของ
ร่างกาย โดยมีแนวทางการเลือกอาหารว่างดังนี้
1. อาหารว่างมีคุณค่าทางโภชนาการ
อาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ หมายถึง อาหารที่บริโภคระหว่างมื้อหลัก
พลังงานที่ได้ รับจากการรับประทานอาหารว่าง โดยเฉลี่ยแต่ละมื้อไม่ควรเกินร้ อยละ 10 ของ
พลังงานที่ควรได้ รับทั้งหมดต่อวัน นั่นคือ
 หญิงตั้งครรภ์ พลังงานจากอาหารว่างไม่ควรเกินมื้อละ 200 กิโลแคลอรี
 เด็กอายุ 1-3 ปี พลังงานจากอาหารว่างไม่ควรเกินมื้อละ 100 กิโลแคลอรี
 เด็กอายุ 4-5 ปี พลังงานจากอาหารว่างไม่ควรเกินมื้อละ 130 กิโลแคลอรี
 เด็กอายุ 6-13 ปี พลังงานจากอาหารว่างไม่ควรเกินมื้อละ 160 กิโลแคลอรี
 เด็กอายุ 14-18 ปี พลังงานจากอาหารว่างไม่ควรเกินมื้อละ 200 กิโลแคลอรี
และมีสารอาหารที่จาเป็ นต่อร่างกาย ได้ แก่ โปรตีน แคลเซียม เหล็ก วิตามินเอ วิตามินบี1
วิตามินบี2 วิตามินซี หรือใยอาหาร ไม่น้อยกว่า 2 ชนิด โดยแต่ละชนิดมีปริมาณไม่ต่ากว่า
ร้ อยละ 10 ของปริมาณที่ควรได้ รับต่อวัน
ประเภทของอาหารว่างที่แนะนา ได้ แก่
 นมสดรสจืด
 ผลไม้ สด
 อาหารที่เป็ นพืชหัว เช่น ข้ าวโพดต้ ม มันเทศต้ ม เป็ นต้ น
 ถั่วเมล็ดแห้ ง เช่น ถั่วลิสงต้ ม ถั่วแระต้ ม เป็ นต้ น
 ขนมไทยรสไม่หวานจัดที่มีอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่ม
เนื้อสัตว์(ถั่วเมล็ดแห้ ง) และกลุ่มนม เป็ นส่วนประกอบ เช่น มันเทศต้ มนา้ ตาล ฟักทอง
แกงบวด กล้ วยบวดชี เต้ าส่วน ข้ าวต้ มมัด ถั่วเขียวต้ มนา้ ตาล เป็ นต้ น
 ของว่างอื่น ๆ ที่มีกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์(ถั่วเมล็ดแห้ ง) หรือนม
เป็ นส่วนประกอบ เช่น ซาลาเปาไส้ หมูแดง ขนมจีบ แซนวิชไส้ ทูน่า ขนมปังไส้ หมูหยอง
35
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
35

ในกรณี ท่เี ป็ นทผลิ


ในกรณี ่ีเ ป็ นตภัผลิณตฑ์ภัอณ
าหาร
ฑ์ อ าหาร ให้ให้
ดูจดากฉลากโภชนาการซึ
ูจากฉลากโภชนาการซึ่ ง แสดงข้
แสดงข้ ออมูมูลล
โภชนาการ โดยระบุ
โภชนาการ โดยระบุพพลัลังงงานงาน ชนิ ชนิดดและปริ
และปริมมาณสารอาหารต่
าณสารอาหารต่ างางๆๆ ต่ต่ออการบริ
การบริโภค
โภค 11 ครั้ ง
ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด จะมีจานวนการบริโภคไม่เท่ากัน ให้ ดูข้อความในบรรทัดที่ 2 จะระบุ
จานวนหน่วยบริโภคต่อผลิตภัณฑ์น้ัน ๆ ตัวอย่างฉลากโภชนาการด้ านล่างนี้ ระบุหน่วย
บริโภค เท่ากับ 2.5 ครั้ง หมายความว่า จะต้ องแบ่งรับประทาน 2.5 ครั้ง หากรับประทานหมด
พลังงานและสารอาหารที่ได้ รับ จะเท่ากับ 2.5 เท่าของปริมาณที่ระบุในข้ อมูลโภชนาการ

บอกจานวนครั้ง
ของการบริโภค

ปริมาณโปรตีนต่อ
การบริโภค 1 ครั้ง

ปริมาณวิตามิน
และแร่ธาตุต่อ
การบริโภค 1 ครั้ง
36

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


36

การแสดงฉลากโภชนาการอีกแบบเรียกว่า GDA (Guideline Daily Amounts)


หรือฉลากหวาน มัน เค็ม เป็ นรูปแบบที่อ่านได้ ง่ายขึ้น โดยแสดงปริมาณพลังงาน นา้ ตาล
ไขมัน และโซเดียม ต่อ 1 หน่ หน่ววยบรรจุ
ยบรรจุภณ ั ฑ์ เช่น 11 ถุถุงง หรืหรืออ 11ซอง
ซองหรืหรือ อ1 1กล่กล่
ององหรืหรื
อ อ1
1กระป๋
กระป๋ ององ เป็เป็นนต้ต้นนตามตั
ตามตัววอย่
อย่างด้
างด้านล่
านล่างนี
างนี้ ้

ดังนั้น การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร จึงต้ องเลือกที่มีคุณค่าทางโภชนาการ มี


ไขมัน นา้ ตาล และโซเดียมต่า
2. อาหารว่างไม่หวานจัด มี 2 ประเภท คือ
2.1 ขนมที่มีปริมาณนา้ ตาลไม่เกิน 8 กรัม หรือไม่เกินประมาณ 2 ช้ อนชาต่อ
มื้อ (นา้ ตาล 1 ช้ อนชา หนัก 4 กรัม) โดยมีแนวทางการตรวจสอบดังนี้
2.1.1 ขนมที่ทาเอง ให้ ดูจากสูตรขนม แยกส่วนประกอบแต่ละชนิดและ
นน�า้ำหนักกเป็เป็นนกรักรัมม และจ
และจ�ำนวนชิ
านวนชิ้นหรื้นหรื
อถ้อวถ้ยทีวยที
่ได้ จ่ไากสู
ด้จากสู ตรนัต้นรนัดู้นปริดูมปาณน ริมาณน �้ำตาลที
า้ ตาลที ่ใช้ ท้งั ่หมด
ใช้ทั้งหมด
หาร
ด้หารด้
วยจวานวนชิ
ยจ�ำนวนชิ้ นหรืน้ อหรืถ้อวยถ้วจะได้
ย จะได้
ปริปมริาณน
มาณน� ำ้ ตาลต่อชิอ้ นชิน้ หรืหรืออถ้ถ้ววยยถ้ถ้าาเด็เด็กกกิกินนขนมคนละ
า้ ตาลต่ ขนมคนละ 1 ชิ้น้ จะได้
นา้ ตาลตามปริมาณที่คานวณได้ แต่ถ้าเด็กกิน 2 ชิ้น จะต้ องคูณปริมาณนา้ ตาลด้ วย 2 หากมี
ปริมาณนา้ ตาลสูงเกิน 8 กรัม หรือเกินประมาณ 2 ช้ อนชาต่อมื้อ ต้ องปรับลดปริมาณนา้ ตาล
หรือเปลี่ยนเป็ นขนมอื่นแทน
37

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


37

2.1.2 ขนมสาเร็จรูปที่มีบรรจุภัณฑ์ ให้ ดูจาก


1) ฉลากโภชนาการ มี 2 ลักษณะ คือ ฉลากโภชนาการอยู่ด้านข้ าง
และ/หรือด้ านหน้ าของผลิตภัณฑ์ โดยแสดงปริมาณนา้ ตาลมีหน่วยเป็ นกรัม ตามตัวอย่างใน
กรอบสีแดงข้ างล่างนี้
ตัวอย่างฉลากโภชนาการ

ฉลากโภชนาการที่อยู่ด้านหน้ าผลิตภัณฑ์

แสดงปริมาณนา้ ตาล

ฉลากโภชนาการที่อยู่ด้านข้ างผลิตภัณฑ์

2) ดูท่สี ่วนประกอบ และคานวณปริมาณนา้ ตาล โดยนาค่าร้ อยละของ


นา้ ตาลเทียบกับนา้ หนักของผลิตภัณฑ์น้ัน เช่น
ส่วนประกอบระบุนา้ ตาล 5 %
ผลิตภัณฑ์มีนา้ หนัก 50 กรัม
ปริมาณนา้ ตาล = (50X5)/100 = 2.5 กรัม
ดังนั้น ผลิตภัณฑ์น้ ี ปริมาณนา้ ตาลไม่เกินเกณฑ์
38

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


38

2.2 เครื่องดื่มที่มีรสไม่หวานจัด
2.2.1 เครื่องดื่มสาเร็จรูปที่มีปริมาณนา้ ตาลระบุในฉลากโภชนาการ
ไม่เกินร้ อยละ 4 ต่อการบริโภค 1 ครั้ง หรือมีนา้ ตาลไม่เกิน 4 กรัม ในเครื่องดื่ม 100 ซีซี
2.2.2 เครื่องดื่มผสมเอง
1) เครื
เครื่ ออ่ งดื
งดื่มม่ ผสมเองไม่ใส่นำ�้าแข็ง มีมีสส่วว่ นผสมของนาำ�้ ตาลไม่เกิน 4
ม มต่อต่น�อำ้ น100
4กรักรั า้ 100ซีซซีี ซี
2) เครืเครื่ อ่องดืงดื่ม่มผสมเองใส่
ผสมเองใส่นนา้ แข็
�้ำแข็งงมีสมี่วสนผสมของน
่วนผสมของน� ้ำตาลไม่
า้ ตาลไม่ เกินเกิน8
8 กรักรัมม ต่ต่ออน�นำ ้ า้ 100
100 ซีซี
3. อาหารว่างไม่เค็มจัด
เกลือ หมายถึง เครื่องปรุงรสเค็ม ซึ่งมีโซเดียมปริมาณสูง เกลือ 1 ช้ อนชา
(5 กรัม) จะมีโซเดียม 2000 มิลลิกรัม
โซเดียม หมายถึง แร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจาเป็ นต่อร่างกาย ซึ่งทาหน้ าที่ใน
การรักษาความสมดุลของของเหลวในร่างกายและความดันโลหิตให้ อยู่ในระดับปกติ แต่ถ้า
ได้ รับมากเกินไปเป็ นประจา จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจ
เป็ นต้ น ปริมาณโซเดียมที่ควรได้ รับต่อวัน แสดงตามตารางข้ างล่างนี้
กลุ่มอายุ ปริมาณโซเดียมต่อวัน (มิลลิกรัม)
6-8 ปี 325-950
9-12 ปี 400-1,175
13-15 ปี 500-1,500
16-18 ปี 525-1,600

อาหารว่างไม่เค็มจัด หมายถึง อาหารที่มีปริมาณโซเดียมระบุในฉลากโภชนาการ


ไม่เกินร้ อยละ 4 ของปริมาณโซเดียมที่แนะนาใน 1 วัน ต่อการบริโภค 1 ครั้ง หรือปริมาณ
โซเดียมไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อครั้ง
39

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


39

ตัวอย่างฉลากโภชนาการ

ฉลากโภชนาการที่อยู่ด้านหน้ าผลิตภัณฑ์

แสดงปริมาณโซเดียม

ฉลากโภชนาการที่อยู่ด้านข้ างผลิตภัณฑ์

ในกรณีท่ไี ม่มีฉลากโภชนาการ ให้ ดูปริมาณเกลือจากส่วนประกอบ โดยมีเกลือ


ไม่เกิน 0.25 กรัม (เกลือ 1 ช้ อนชา หนัก 5 กรัม) วิธกี ารคานวณทาเช่นเดียวกับปริมาณ
นา้ ตาล
4. อาหารว่างไม่มีไขมันสูง
อาหารว่
อาหารว่าางไม่ งไม่มมีไไีขมัขมันนสูสูงงหมายถึ
หมายถึง งอาหารที อาหารที่ปรุป่ งโดยใช้
รุงโดยใช้ นา้ นมัำ�้ นมัไม่
นไม่
เกิเนกิน3.25
3.25 กรัมกรั
ต่อม
มืต่้ อมืหรื
อ้ หรื อไม่
อไม่ มากกว่าครึ
มากกว่ าครึ่ งช้ง่ อช้นชา
อนชา(น(น�า้ มัำ้ มันน11ช้ อช้อนชา
นชาหนัหนักก55กรักรัมม) )หรืหรืออสัสังเกตดู งเกตดูว่วาา่ อาหารทอด
อาหารทอด
ด้ วยนา้ มันท่วมหรือไม่ ถ้ าทอดด้ วยนา้ มันท่วมแสดงว่า มีไขมันสูง เช่น มันฝรั่งทอด ลูกชิ้น
ทอด ไส้ กรอกทอด เป็ นต้ น
ดัดังงนันั้นน้ ศูนศูย์นเย์ด็เกด็เล็
กเล็กและโรงเรี
กและโรงเรียยนที นที่จจั่ดดั อาหารว่
อาหารว่าางให้งให้เด็เด็กก และจ และจ�ำหน่ ายในร้านค้
าหน่ายในร้ านค้าาในใน
หมู่บ่บ้ า้านน รอบรั
หมู รอบรั้ ว้วโรงเรี
โรงเรียนยนและในโรงเรี และในโรงเรี ยนยนต้ อต้งเลืองเลื อกอาหารว่
อกอาหารว่ างที่มางที ีคุณ่มค่ีคาุณทางโภชนาการ
ค่าทางโภชนาการ
ไม่
ไม่ ห วานจั ด ไม่ เ ค็ ม จั ด และไม่ ม ไ
ี ขมั น สู
ง และให้
หวานจัด ไม่เค็มจัด และไม่มีไขมันสูง และให้ อาหารว่างก่อนเวลาอาหารมื้อหลักประมาณ 1½ อาหารว่ างก่อ นเวลาอาหารมื อ
้ หลัก ประมาณ
-1½2 - ชั2่วโมง ชั่วโมงเพื่อเพืเด็่อกเด็ได้กรได้ับรพลั
ับพลั งงานและสารอาหารเพี
งงานและสารอาหารเพี ยงพอ ยงพอครบถ้ ครบถ้วนวน ไม่ไม่เสีเสี่ย่ยงต่งต่ออการขาด
การขาด
40

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


40

อาหาร ภาวะอ้ วน และโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและ


หลอดเลือด เป็ นต้ น
ส่งเสริมการออกกาลังกาย
การสร้ างสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การส่งเสริม
การออกกาลังกาย ซึ่งต้ องมีท้งั เครื่องมือ อุปกรณ์ และสถานที่ออกกาลังกายที่มีความ
ปลอดภัย พร้ อมทั้งจัดกิจกรรมการออกกาลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัยและภาวะการ
เจริญเติบโตของเด็กอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
เมื่อดาเนินงานได้ ครบถ้ วนอย่างจริงจังและต่อเนื่องตั้งแต่องค์ประกอบที่ 1-4
ผลลัพธ์ท่ตี ามก็คือ เด็กมีการเจริญเติบโตดี ซึ่งประเมินผลทั้งส่วนสูงและนา้ หนักในเด็กคน
เดียวกัน คือ
“เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 75”
คานิยามเด็กมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน
ส่วนสูงระดับดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้ างสูง
หรือ สูงกว่าเกณฑ์
เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน หมายถึง เด็กมีการเจริญเติบโตดีท้งั
ส่วนสูงและนา้ หนัก (ในคนเดียวกัน) โดยมีลักษณะการเจริญเติบโต 3 แบบ คือ
1. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงตามเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน
2. เด็กมีส่วนสูงระดับค่อนข้ างสูงและมีรูปร่างสมส่วน
3. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงกว่าเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
41

41

ภาคผนวก
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
42
42

ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อ
สุขภาพที่ดีของคนไทย
43

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


43

ข้อปฏิบัติการให้อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของทารก
1. ให้ นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน ไม่ต้องให้ อาหารอื่นแม้ แต่นา้
2. เริ่มให้ อาหารตามวัยเมื่ออายุ 6 เดือนควบคู่ไปกับนมแม่
3. เพิ่มจานวนมื้ออาหารตามวัยเมื่ออายุลูกเพิ่มขึ้น จนครบ 3 มื้อ เมื่อลูกอายุ 10-12 เดือน
4. ให้ อาหารตามวัยที่มีคุณภาพและครบ 5 หมู่ ทุกวัน
5. ค่อย ๆ เพิ่มปริมาณและความหยาบของอาหารขึ้นตามอายุ
6. ให้ อาหารรสธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการปรุงแต่งรส
7. ให้ อาหารสะอาดและปลอดภัย
8. ให้ ด่ ืมนา้ สะอาด งดเครื่องดื่มรสหวานและนา้ อัดลม
9. ฝึ กวิธดี ่มื กินให้ สอดคล้ องกับพัฒนาการตามวัย
10.เล่นกับลูก สร้ างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ

ข้อปฏิบัติการให้อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กเล็ก(อายุ 1-5 ปี)


1. ให้ อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ และอาหารว่างไม่เกิน 2 มื้อต่อวัน
2. ให้ อาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้ หลากหลาย เป็ นประจาทุกวัน
3. ให้ นมแม่ต่อเนื่องถึง 2 ปี เสริมนมสดรสจืดวันละ 2-3 แก้ ว
4. ฝึ กให้ กนิ ผักและผลไม้ จนเป็ นนิสยั
5. ให้ อาหารว่างที่มีคุณภาพ
6. ฝึ กให้ กนิ อาหารรสธรรมชาติ ไม่หวานจัด มันจัด และเค็มจัด
7. ให้ อาหารสะอาดและปลอดภัย
8. ให้ ด่ ืมนา้ สะอาด หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มปรุงแต่งรสหวานและนา้ อัดลม
9. ฝึ กวินัยการกินอย่างเหมาะสมตามวัยจนเป็ นนิสยั
10. เล่นกับลูก สร้ างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
44

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


44

ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กอายุ 6-18 ปี

1. กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้ หลากหลาย และหมั่นดูแลนา้ หนักตัวและส่วนสูง


2. กินข้ าวเป็ นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้ งเป็ นบางมื้อ
3. กินพืชผักให้ มาก และกินผลไม้ เป็ นประจา
4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้ งเป็ นประจา
5. ดื่มนมให้ เหมาะสมตามวัย
6. กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
8. กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้ อน
9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
45
45

ชนิดอาหารทดแทน
ในแต่ละกลุ่มอาหาร
46

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


46

สารอาหาร
กลุ่มอาหาร ปริ มาณ หน่ วย ชนิ ดอาหารทดแทน
หลัก

ข้าว-แป้ง 1 ทัพพี  ข้าวสวย 1 ทัพพี (5 ช้อนกินข้าว) คาร์โบไฮเดรท


 ข้าวเหนียว ½ ทัพพี
 ขนมจีน 1 จับใหญ่
 ขนมปงั โฮลวีท 1 แผ่น
 ก๋วยเตีย๋ ว 1 ทัพพี
 มักกะโรนี ,สปาเกตตีล้ วก 1 ทัพพี
 ข้าวโพดสุก 1 ฝกั
 เผือก 1 ทัพพี
 มันเทศต้มสุก 2 ทัพพี
 เส้นหมี,่ วุน้ เส้น 2 ทัพพี
ผัก 1 ทัพพี  ผักสุกทุกชนิด 1 ทัพพี (3 ช้อนกินข้าว) วิตามินและ
เช่น ผักกาดขาว กะหล่าปลี แตงกวา แร่ธาตุ
บล๊อกโคลี ถัวฝ ั
่ กยาว แครอท ฟัฟกั ทอง
เป็ นต้น
 ผักดิบทีเ่ ป็ นใบ 2 ทัพพี
 ผักดิบทีเ่ ป็ นหัว เช่น มะเขือเปราะดิบ 1
กั ยาวดิบ 1 ทัพพี แตงกวาดิบ
่ว่ ฝักยาวดิ
ทัพพี ถัวฝ
2 ทัพพี มะเขือเทศดิบ 3 ทัพพี เป็ นต้น
ผลไม้ 1 ส่วน  มังคุด 4 ผล วิตามินและ
 ชมพู่ 2 ผลขนาดใหญ่ แร่ธาตุ
 ส้มเขียวหวาน 2 ผลกลาง
 แอบเปิ้ ล 1 ผลเล็ก
 กล้วยน้าว้า 1 ผลกลาง
 กล้วยหอม 2/3 ผลใหญ่
 ฝรัง่ ½ ผลกลาง
 มะม่วงสุก ½ ผลกลาง
 มะละกอสุก 6 ชิน้ ขนาดคา
47

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


47

กลุ่ม สารอาหาร
ปริ มาณ หน่ วย ชนิ ดอาหารทดแทน
อาหาร หลัก

เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว  เนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว เช่น ไก่ หมู วัว โปรตีน


ปลา หอย กุง้ เป็ นต้น
 เครือ่ งในสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว เช่น ตับ
เลือด เป็ นต้น
 ไข่ ½ ฟอง
 ถัวเมล็
่ ดแห้ง 1 ช้อนกินข้าว เช่น ถัวด
่ า
ถัวแดง
่ ถัวเขี
่ ยว เป็ นต้น
 เต้าหูแ้ ข็ง 2 ช้อนกินข้าว
 เต้าหูอ้ อ่ น 6 ช้อนกินข้าว
 นมถัวเหลื
่ อง 1 กล่อง
นม 1 แก้ว  นมสด 1 กล่อง 200 มล. แคลเซียม

(200 ซีซ)ี  นมผง 5 ช้อนกินข้าว


 โยเกิรต์ 1½ ถ้วยตวง
 ปลาเล็กปลาน้อย 2 ช้อนกินข้าว
 เต้าหูแ้ ข็ง 1 ก้อน
 เต้าหูอ้ อ่ น 7 ช้อนกินข้าว
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
48
48

แบบประเมินพฤติกรรม
การบริโภคอาหาร
49

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


49

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์อายุ 14-18 ปี
ชื่อ-สกุล.......................................................................................
ครั้งที่.............วันที่....................................................
ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ แสดงว่า ต้ องปรับปรุง
พฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมา
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัตหิ รือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้นน้ อยกว่าหรือ
มากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ปฏิบตั ิ
น้อยกว่า มากกว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 3 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มเนื้อสัตว์ หรือ กลุ่ม
ข้ าว-แป้ ง กลุ่มเนื้อสัตว์ และกลุ่มผลไม้ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มนม หรือกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่ม
ผลไม้ และกลุ่มนม ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3-4 มื้อ (เช้ า กลางวัน บ่าย เย็นหรือค่า) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2-3 ครั้ง (ช่วงสาย ช่วงบ่าย และ/หรือช่วงค่า) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 10 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 6 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 6 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 12 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม (เลือกให้ ตรงตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์)
 นมสดรสจืด วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่อ้วน
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์อ้วน
5. กินปลา สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 2-3 วัน
8. กินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็กและโฟเลท (เลือกให้ ตรงกับยาที่ได้ รับ)
 ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลท (รวมในเม็ดเดียวกัน) วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมไอโอดีน วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมโฟเลท วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์)
 1- 5 อย่างต่อวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักปกติ
 มากกว่า 5 อย่างต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักน้ อย
 1- 3 อย่างต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์อ้วน
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
17. ไม่กนิ อาหารหมักดอง เช่น ผักดอง ผลไม้ ดอง หอยดอง เป็ นต้ น
18. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
19. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา เป็ นต้ น
50

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


50

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์อายุ 19 ปี ขึ้ นไป


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
ครั้งที่.............วันที่....................................................
ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ แสดงว่า ต้ องปรับปรุง
พฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมา
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัตหิ รือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้นน้ อยกว่าหรือ
มากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ปฏิบตั ิ
น้อยกว่า มากกว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 3 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มเนื้อสัตว์ หรือ
กลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มเนื้อสัตว์ และกลุ่มผลไม้ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และกลุ่มนม หรือกลุ่มข้ าว-แป้ ง
กลุ่มผลไม้ และกลุ่มนม ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3-4 มื้อ (เช้ า กลางวัน บ่าย เย็นหรือค่า) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2-3 ครั้ง (ช่วงสาย ช่วงบ่าย และ/หรือช่วงค่า) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 9 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 6 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 6 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 12 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม (เลือกให้ ตรงตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์)
 นมสดรสจืด วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่อ้วน
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์อ้วน
5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 2-3 วัน
8. กินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็กและโฟเลท (เลือกให้ ตรงกับยาที่ได้ รับ)
 ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลท (รวมในเม็ดเดียวกัน) วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมไอโอดีน วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
 ยาเม็ดเสริมโฟเลท วันละ 1 เม็ด ทุกวัน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์)
 1- 4 อย่างต่อวัน สาหรับหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักปกติ
 มากกว่า 4 อย่างต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์ท่มี ีนา้ หนักน้ อย
 1- 3 อย่างต่อวันสาหรับหญิงตั้งครรภ์อ้วน
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
17. ไม่กนิ อาหารหมักดอง เช่น ผักดอง ผลไม้ ดอง หอยดอง เป็ นต้ น
18. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
19. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา เป็ นต้ น
51

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


51

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของทารก

ชื่อ-สกุล................................................................................ อายุ..................เดือน
ครั้งที่.............วันที่........................................

ทารกแรกเกิด- 6 เดือน
- ให้อาหารอะไรบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
นมแม่ นมขวด น้้า
อาหารอื่น ๆ ระบุ.....................................................................................................

ทารกอายุ 6 – 12 เดือน
- ให้อาหารอะไรบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
นมแม่ นมขวด น้้า
อาหารอื่นที่ให้ต่อวัน ระบุ
 กลุ่มข้าวแป้ง.............................................................ช้อนกินข้าว
 กลุ่มผัก.....................................................................ช้อนกินข้าว
 กลุ่มเนื้อสัตว์.............................................................ช้อนกินข้าว
 กลุ่มผลไม้…………………………………………………………ชิ้นพอค้า
- ปรุงรสอาหารหรือไม่ ไม่ปรุง
ปรุง ระบุชื่อเครื่องปรุงรส.......................................................
- ให้อาหารเสริมทารกชนิดส้าเร็จรูปหรือกึ่งส้าเร็จรูปหรือไม่
ไม่ให้
ให้ ระบุชื่ออาหารเสริม.............................................................................................
- ให้วิตามินน้้าเสริมธาตุเหล็ก สัปดาห์ละ................ครั้ง ๆ ละ..............ช้อนชา
- ลูกกินขนมกรุบกรอบ กิน ไม่กิน
- ลูกดื่มน้้าอัดลมหรือน้้าที่มีรสหวาน ดื่ม ไม่ดื่ม
52

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


52

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 1-3 ปี
ชื่อ-สกุล................................................................................
ครั้งที่.............วันที่........................................

ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ
แสดงว่า ต้ องปรับปรุงพฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้น
น้ อยกว่าหรือมากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารทีเ่ หมาะสม ปฏิบตั ิ น้อย มากก
กว่า ว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ งและเนื้อสัตว์ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ งและนม
ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้ า กลางวัน เย็น) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสายและช่วงบ่าย) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 3 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 2 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 3 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 3 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม
 นมสดรสจืด วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กไม่อ้วนและเด็กอายุ 1-2 ปี
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กอ้ วนอายุ 3 ปี
5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1-2 วัน
8. กินวิตามินนา้ เสริมธาตุเหล็ก (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 1 ช้ อนชา สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 ทุกวัน ๆ ละ 1 ช้ อนชา สาหรับเด็กที่ขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง เป็ นเวลา 1 เดือน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 1- 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 1- 3 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยง
 มากกว่า 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว
53

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


53

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 4-5 ปี
ชื่อ-สกุล................................................................................
ครั้งที่.............วันที่........................................

ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ
แสดงว่า ต้ องปรับปรุงพฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมา
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้น
น้ อยกว่าหรือมากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารทีเ่ หมาะสม ปฏิบตั ิ น้อย มากก
กว่า ว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ งและเนื้อสัตว์ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ งและนม ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้ า กลางวัน เย็น) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสายและช่วงบ่าย) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 5 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 3 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 3 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 3 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม
 นมสดรสจืด วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กไม่อ้วน
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 2-3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กอ้ วน
5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1-2 วัน
8. กินวิตามินนา้ เสริมธาตุเหล็ก (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 1 ช้ อนชา สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 ทุกวัน ๆ ละ 1 ช้ อนชา สาหรับเด็กที่ขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง เป็ นเวลา 1 เดือน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 1- 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 1- 2 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยง
 มากกว่า 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว
54

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


54

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 6-13 ปี
ชื่อ-สกุล................................................................................
ครั้งที่.............วันที่........................................

ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ
แสดงว่า ต้ องปรับปรุงพฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมา
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้น
น้ อยกว่าหรือมากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารทีเ่ หมาะสม ปฏิบตั ิ น้อย มากก
กว่า ว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ งและเนื้อสัตว์ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ งและนม ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้ า กลางวัน เย็น) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสายและช่วงบ่าย) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 8 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 4 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 3 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 6 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม
 นมสดรสจืด วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กไม่อ้วน
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กอ้ วน
5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1-2 วัน
8. กินยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 1 เม็ด สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 ทุกวัน ๆ ละ 1 เม็ด สาหรับเด็กที่ขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง เป็ นเวลา 1 เดือน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 1- 3 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 1- 2 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยง
 มากกว่า 3 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว
55

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


55

แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอายุ 14-18 ปี
ชื่อ-สกุล................................................................................
ครั้งที่.............วันที่........................................

ความหมาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหารแต่ละข้ อนั้น หมายถึง พฤติกรรมที่เหมาะสม หากพฤติกรรมในข้ อใดไม่ปฏิบัติ
แสดงว่า ต้ องปรับปรุงพฤติกรรมในเรื่องนั้น
วิธีประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมา
2. ให้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในพฤติกรรมแต่ละข้ อ ถ้ าไม่ปฏิบัติ ให้ ดูว่าสิ่งที่ทานั้น
น้ อยกว่าหรือมากกว่าจากที่แนะนา
ไม่ปฏิบตั ิ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารทีเ่ หมาะสม ปฏิบตั ิ น้อย มากก
กว่า ว่า
1. กินอาหารเช้ าที่มีกลุ่มอาหารอย่างน้ อย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้ าว-แป้ งและเนื้อสัตว์ หรือกลุ่มข้ าว-แป้ งและนม ทุกวัน
2. กินอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ (เช้ า กลางวัน เย็น) ทุกวัน
3. กินอาหารว่าง วันละ 2 ครั้ง (ช่วงสายและช่วงบ่าย) ทุกวัน
4. ปริมาณอาหารที่บริโภคในแต่ละกลุ่ม
4.1 กินอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง วันละ 10 ทัพพี ทุกวัน
4.2 กินอาหารกลุ่มผัก วันละ 5 ทัพพี ทุกวัน
4.3 กินอาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 4 ส่วน ทุกวัน
4.4 กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 9 ช้ อนกินข้ าว ทุกวัน
4.5 ดื่มนม
 นมสดรสจืด วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กไม่อ้วน
 นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย วันละ 3 แก้ วหรือกล่อง ทุกวัน สาหรับเด็กอ้ วน
5. กินปลาสัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน
6. กินไข่ สัปดาห์ละอย่างน้ อย 3 วัน ๆ ละ 1 ฟอง
7. กินอาหารที่เป็ นแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1-2 วัน
8. กินยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 1 เม็ด สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 ทุกวัน ๆ ละ 1 เม็ด สาหรับเด็กที่ขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง เป็ นเวลา 1 เดือน
9. กินอาหารประเภทผัด ทอด และกะทิ (เลือกให้ ตรงตามภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก)
 1- 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี
 1- 2 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยง
 มากกว่า 4 อย่างต่อวัน สาหรับเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
10. ไม่กนิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู หนังไก่ หนังเป็ ด เป็ นต้ น
11. ไม่กนิ ขนมที่มีรสหวาน เช่น ไอติมหวานเย็น ช็อคโกแล็ต หมากฝรั่ง ลูกอม เยลลี่ เป็ นต้ น
12. ไม่ด่มื เครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นา้ อัดลม นา้ หวาน โกโก้ เย็น ชาเย็น นา้ ปั่น นา้ ผลไม้ นมเปรี้ยว เป็ นต้ น
13. ไม่กนิ ขนมเบเกอรี่ เช่น เค้ ก พาย โดนัท เป็ นต้ น
14. ไม่กนิ ขนมขบเคี้ยว เช่น ปลาเส้ นปรุงรส มันฝรั่งทอด ขนมปังเวเฟอร์ ขนมปังแท่ง เป็ นต้ น
15. ไม่เติมเครื่องปรุงรสเค็ม เช่น นา้ ปลา ซี้อ๊วิ แม็กกี้ ในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว ทุกครั้ง
16. ไม่เติมนา้ ตาลในอาหารที่ปรุงสุกแล้ ว
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
56

56

กราฟการเจริญเติบโต
ของเด็ก
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
57
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
58
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
59
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
60
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
61
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
62
63

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


63
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 64
64
65

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


65
66

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


66
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
67

67

แบบประเมินองค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
68

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


68

แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
ระดับหมู่บา้ น

ชื่อหมู่บา้ น.................................................................. หมูท่ ี่.........ตาบล..............................................


อาเภอ....................................................................จังหวัด............................................................
เทศบาล/อบต.…………………………………………..…………………………………………………………………………….......…...………...
รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. ……………………………………..………………………………………………….......………….……………..
จานวนหญิงตั้งครรภ์ท้ งั หมด.................คน จานวนเด็กแรกเกิด-5 ปี ทั้งหมด................คน

คาชี้ แจง
1. แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพระดับหมู่บ้าน ใช้ สาหรับ
คณะกรรมการหมู่บ้านประเมินตนเอง และใช้ เป็ นแบบประเมินของทีมประเมินเพื่อรับรองการเป็ นองค์กร
ส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพในระดับตาบล อาเภอ จังหวัด ศูนย์อนามัยเขต และประเทศ
2. เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ ได้ แก่
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโต
ของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
3.1 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
3.2 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
3. วิธกี ารประเมิน ให้ ประเมินตามประเด็นในแต่ละองค์ประกอบ โดยทาเครื่องหมายลงในช่อง
การประเมินว่า ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน
4. เกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน
ผ่าน < 24 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน 24-29 ข้ อ หมายถึง พอใช้
ผ่าน 30-33 ข้ อ หมายถึง ดี
ผ่าน 34 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
5. หมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “หมู่บ้านส่งเสริมเด็กไทย
เติบโตเต็มศักยภาพ”
69

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


69

ผลการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน จานวนข้อที่ผา่ น จานวนข้อที่ไม่ผ่าน
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการ
ขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริมเด็กไทย
เติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการ
หญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตของเด็ก
อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
3.1 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
3.2 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญ
เติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
รวม

คาแนะนาของผูป้ ระเมิน
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ขื่อ-สกุลผูป้ ระเมิน..............................................................ตาแหน่ง.........................................
หน่วยงาน..................................................................................................................................
วัน/เดือน/ปี ที่ทาการประเมิน....................................................................................................
70

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


70

เกณฑ์การประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ

องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
1.1 มีคณะกรรมการ/แกนนาส่งเสริม - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
1.2 คณะกรรมการฯ/แกนนามีความรู้ - ใบประกาศนียบัตร
ด้ านการส่งเสริมการเจริญเติบโต - สังเกตจากการสนทนา
1.3 มีนโยบาย และมาตรการทาง - รายงานการประชุม
สังคมส่งเสริมการเจริญเติบโต
1.4 มีการสื่อสารนโยบายและ - ป้ ายนโยบายและมาตรการส่งเสริมการ
มาตรการส่งเสริมการเจริญเติบโต เจริญเติบโตครอบคลุมประเด็นสาคัญอย่าง
เป็ นลายลักษณ์อกั ษรและเห็นได้ อย่างชัดเจน
- มีหลักฐานการสื่อสารนโยบาย เช่น รายงาน
การประชุมมีประกาศนโยบายในที่ประชุม
- สอบถามการรับทราบนโยบายของประชาชน
จานวน 10 คน

องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลือ่ นองค์กร


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
2.1 นานโยบายและมาตรการส่งเสริม - มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับ
การเจริญเติบโตสู่การปฏิบตั ิ นโยบายและมาตรการส่งเสริมการ
เจริญเติบโต
2.2 ดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ - รายงานผลการดาเนินงาน
กิจกรรม
2.3 ผู้นาชุมชน หญิงตั้งครรภ์ พ่อแม่/ - ภาพกิจกรรม
ผู้ปกครอง คนในชุมชน และอปท. - สุ่มสอบถาม จานวน 10 คน
มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน
2.4 กากับ ติดตาม และประเมินผล - รายงานผลการติดตาม/ประเมินผลการ
การดาเนินงาน ดาเนินงาน
- รายงานการประชุม
71

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


71

องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตของเด็กอย่าง


มีคุณภาพและต่อเนือ่ ง
3.1 ดาเนินงานเฝ้ าระวังภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.1.1 มีการชี้แจงการเฝ้ าระวังฯให้ ประชาชน - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น
ในหมู่บ้านทราบ หญิงตั้งครรภ์ พ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก
- ภาพการชี้แจงการเฝ้ าระวังฯ
3.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อค้ นหาสาเหตุของ - รายงานการประชุม
ปัญหาทุพโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ - ข้ อมูลภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
ประเมินการดาเนินงานที่ผ่านมา และวางแผน และข้ อมูลพฤติกรรมการบริโภค
การดาเนินงานร่วมกันโดยคณะกรรมการฯ อาหาร
- มีแผน แนวทาง กิจกรรมการ
ดาเนินงาน 3 ด้ าน คือ
1) ส่งเสริมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์
2) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาหญิง
ตั้งครรภ์นา้ หนักน้ อยกว่าเกณฑ์
3) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาหญิง
ตั้งครรภ์อ้วน
3.1.3 ดาเนินการส่งเสริมโภชนาการหญิง - สื่อ/เนื้อหาการสอนทั้งความรู้และ
ตั้งครรภ์อย่างต่อเนื่อง ทักษะ
1) ให้ ความรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี และญาติ - ภาพกิจกรรม
เป็ นกลุ่มและรายคน - ความถี่ในการดาเนินการ
2) ปรับปรุงอาหารหญิงตั้งครรภ์ใน - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ทุกคน
ครอบครัว
3) รณรงค์ สร้ างกระแส
4) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
5) จัดหาและติดตามการกินยาเม็ดเสริม
ไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก
72

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


72

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.1.4 ป้ องกันและแก้ ไขหญิงตั้งครรภ์ขาดอาหาร - ดูบนั ทึกการดูแลหญิงตั้งครรภ์ขาด
รายคน อาหาร และกลุ่มเสี่ยงเป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กบั หญิงตั้งครรภ์ขาดอาหาร สามี - สื่อ/เนื้อหาการสอน
และญาติ เป็ นกลุ่มและรายคน - ภาพกิจกรรม
2) ปรับปรุงอาหารหญิงตั้งครรภ์ในครอบครัว - ความถี่ในการดาเนินการ
3) จัดหาอาหารเสริมที่มพี ลังงานและโปรตีนสูง - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ขาด
4) จัดหาและติดตามการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน อาหารและกลุ่มเสี่ยงทุกคน
โฟเลท ธาตุเหล็ก
3.1.5 ป้ องกันและแก้ ไขหญิงตั้งครรภ์อ้วนรายคน - ดูบนั ทึกการดูแลหญิงตั้งครรภ์อ้วน
1) ให้ ความรู้กบั หญิงตั้งครรภ์อ้วน สามี และ และกลุ่มเสี่ยงเป็ นรายคน
ญาติ เป็ นกลุ่มและรายคน - สื่อ/เนื้อหาการสอน
2) ปรับปรุงอาหารหญิงตั้งครรภ์ในครอบครัว - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์อ้วน
3) จัดหาและติดตามการกินยาเม็ดเสริม และกลุ่มเสี่ยงทุกคน
ไอโอดีน โฟเลท ธาตุเหล็ก - ภาพกิจกรรม
3.1.6 ติดตามภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการ - ผลการติดตาม
บริโภคอาหารของหญิงตั้งครรภ์นา้ หนักน้ อยและ - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ขาด
อ้ วน รวมทั้งหญิงตั้งครรภ์ท่มี แี นวโน้ มการเพิ่ม อาหาร/อ้ วน และกลุ่มเสี่ยงทุกคน
นา้ หนักไม่ดี อย่างน้ อย 2 สัปดาห์ ต่อ 1 ครั้ง

3.2 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.2.1 มีการชี้แจงการเฝ้ าระวังฯ - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น พ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก
ให้ กบั พ่อแม่/ผู้ปกครอง - ภาพการชี้แจง
3.2.2 มีการกาหนดวันที่ - วันที่เฝ้ าระวังต้ องกาหนดภายในเดือนแรกของงวด
เฝ้ าระวังฯอย่างชัดเจน - บันทึกการประชุม
- ดูจากบันทึกการชั่งนา้ หนัก วัดส่วนสูง 2 งวดย้ อนหลัง
- สอบถามผู้ท่เี กี่ยวข้ อง
3.2.3 เครื่องชั่งนา้ หนัก - เครื่องชั่งนา้ หนักมีความละเอียดไม่เกิน 0.1 กิโลกรัม
เครื่องวัดความยาว และ - ตรวจสอบเครื่องชั่งนา้ หนักโดยใช้ ลูกตุ้มมาตรฐาน
เครื่องวัดส่วนสูงมีความ หรือสิ่งของที่ทราบนา้ หนัก
เหมาะสมและได้ มาตรฐาน - การติดตั้งเครื่องวัดส่วนสูงและการใช้ ไม้ ฉาก
73

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


73

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.2.4 วิธกี ารชั่งนา้ หนัก - สุ่มสอบถามอสม.หรือแกนนาถึงวิธกี ารชั่ง
วัดความยาว และวัดส่วนสูง นา้ หนักและวัดส่วนสูง โดยพิจารณาดังนี้
ถูกต้ อง 1. การชั่งนา้ หนัก มีการนาสิง่ ของทุกอย่างออก
จากตัวเด็กและใส่เสื้อผ้ าที่บางและน้ อยชิ้น
ที่สดุ อ่านค่านา้ หนักมีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
2. การวัดความยาว ท่านอนถูกต้ องและใช้ ไม้
ฉาก อ่านค่าความยาวมีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
3. การวัดส่วนสูง ท่ายืนถูกต้ องและใช้ ไม้ ฉาก
อ่านค่าส่วนสูงมีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
3.2.5 ประเมินภาวะการเจริญ - ดูข้อมูลในโปรแกรมเฝ้ าระวังฯ/กราฟการ
เติบโตทุก 3 เดือน เจริญเติบโต
- ชั่งนา้ หนัก
- วัดส่วนสูง
- แปลผล มีการจุดนา้ หนัก
ส่วนสูง และลากเส้นเชื่อมจุดบน
กราฟส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กราฟ
นา้ หนักตามเกณฑ์อายุ และ
นา้ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
3.2.6 ประเมินพฤติกรรมการ - ดูแบบประเมินพฤติกรรมฯ
บริโภคอาหารทุก 3 เดือน
3.2.7 แจ้ งและอธิบายผลการ - สุ่มสอบถามพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง
ประเมินให้ กบั พ่อแม่ หรือ จานวน 10 คน
ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง - หนังสือ/รายงาน/เอกสารแจ้ งผู้ปกครอง
3.2.8 คณะกรรมการฯร่วมกัน - รายงานการประชุม
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อค้ นหา - ดูข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตและข้ อมูล
สาเหตุของปัญหาทุพ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
โภชนาการ ประเมินการ - มีแผน แนวทาง และกิจกรรมการดาเนินงาน
ดาเนินงานที่ผ่านมา และ 3 ด้ าน คือ
วางแผนการดาเนินงาน 1) ส่งเสริมการเจริญเติบโต
2) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กขาดอาหาร
และกลุ่มเสี่ยง
3) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กอ้ วนและ
กลุ่มเสี่ยง
74

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


74

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.2.9 ดาเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่าง - สื่อ/เนื้อหาการสอนทั้งความรู้และ
ต่อเนื่อง ทักษะ
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองรายคน และเป็ น - ภาพกิจกรรม
กลุ่ม - ความถี่ในการดาเนินการ
2) ปรับปรุงอาหารเด็กในครอบครัว - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง
3) สื่อสารสาธารณะ จานวน 10-20 คน
4) รณรงค์ สร้ างกระแส
5) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
6) จัดหาและติดตามการกินวิตามินนา้ เสริมธาตุ
เหล็ก
3.2.10 ป้ องกันและแก้ ไขเด็กขาดอาหาร และกลุ่ม - ดูบันทึกการดูแลเด็กขาดอาหาร และ
เสี่ยงเป็ นรายคน กลุ่มเสี่ยงเป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองของเด็กขาด - สื่อ/เนื้อหาการสอน
อาหารและกลุ่มเสี่ยงรายคน และเป็ นกลุ่ม - ภาพกิจกรรม
2) ปรับปรุงอาหารเด็กในครอบครัว - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็กกลุ่ม
3) จัดหาอาหารเสริมที่มีพลังงานและโปรตีนสูง เสี่ยง และขาดอาหาร จานวน 10-20 คน
4) จัดหาและติดตามการกินวิตามินนา้ เสริมธาตุ
เหล็ก
3.2.11 ป้ องกันและแก้ ไขเด็กอ้ วน และกลุ่มเสี่ยงเป็ น - ดูบันทึกการดูแลเด็กอ้ วน และกลุ่ม
รายคน เสี่ยงเป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองของเด็กอ้ วน - สื่อ/เนื้อหาการสอน
และกลุ่มเสี่ยงรายคน และเป็ นกลุ่ม - ภาพกิจกรรม
2) ปรับปรุงอาหารเด็กในครอบครัว - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็กกลุ่ม
3) จัดหาและติดตามการกินวิตามินนา้ เสริมธาตุ เสี่ยง และอ้ วน จานวน 10-20 คน
เหล็ก
3.2.12 ติดตามภาวะการเจริญเติบโตและพฤติกรรม - ข้ อมูลการติดตาม
การบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง เตี้ย ผอม - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็กที่มี
นา้ หนักน้ อย อ้ วน และแนวโน้ มการเจริญเติบโต แนวโน้ มการเจริญเติบโตไม่ดี กลุ่ม
ไม่ดี ตามเกณฑ์ เสี่ยง ขาดอาหาร อ้ วน จานวน 10-20
คน
3.2.13 รายงานทุก 3 เดือน ให้ อปท.และรพ.สต./ - วันที่รายงานต้ องกาหนดภายในเดือน
รพช./รพท./รพศ. แรกของงวด
1) กาหนดวันที่หรือช่วงของการรายงานข้ อมูลเฝ้ า - ดูจากไฟล์รายงานที่ส่งผ่านโปรแกรม
ระวังการเจริญเติบโต เฝ้ าระวังฯ
2) รายงานผ่านโปรแกรมเฝ้ าระวังการเจริญเติบโต - ดูรข้ อมูลที่อปท.และรพ.สต./รพช./
ของเด็กแรกเกิด-18 ปี ตามเกณฑ์ท่กี าหนด รพท./รพศ.
75

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


75

องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้อมทีเ่ อื้ อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
4.1 กินอาหาร ครบ 5 กลุ่มอาหาร - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ทุกคน
ทุกวัน (ข้ าว-แป้ ง ผัก ผลไม้ - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก จานวน 10 คน
เนื้อสัตว์ นม)
4.2 กินอาหารที่มีปริมาณเพียงพอ - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ทุกคน
และเหมาะสมตามภาวะโภชนาการ - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก จานวน 10 คน
หญิงตั้งครรภ์และภาวะการ
เจริญเติบโตของเด็ก
4.3 กินอาหารว่างที่มีคุณค่าทาง - สุ่มสอบถามหญิงตั้งครรภ์ทุกคน
โภชนาการ ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัด - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก จานวน 10 คน
ไม่มีไขมันสูง
4.4 ใช้ เกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริม - สุ่มตรวจสอบเกลือในครัวเรือนที่มีเด็กแรกเกิด-5 ปี
ไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกครั้ง จานวน 10 ครัวเรือน
- สุ่มตรวจสอบเกลือในครัวเรือนที่มีหญิงตั้งครรภ์ทุก
ครัวเรือน
- สอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์
4.5 ร้ านค้ าในหมู่บ้านจาหน่ายขนม- - ดูส่วนประกอบของอาหารและปริมาณ
เครื่องดื่มที่มีคุณค่าทาง - ดูข้อมูลโภชนาการที่ภาชนะบรรจุ
โภชนาการ ไม่หวานจัด  พลังงานไม่เกิน ร้ อยละ 10 ของความต้ องการ
ไม่เค็มจัด ไม่มีไขมันสูง  มีสารอาหารไม่น้อยกว่า 2 ชนิด โดยแต่ละชนิดมี
ปริมาณไม่ต่ากว่าร้ อยละ 10 ของปริมาณที่ควรได้ รับ
ต่อวัน
- ดูปริมาณนา้ ตาล
1. ขนมที่มีปริมาณนา้ ตาลไม่เกิน 8 กรัม หรือไม่เกิน 2
ช้ อนชาต่อมื้อ (นา้ ตาล 1 ช้ อนชา หนัก 4 กรัม)
2. เครื่องดื่มสาเร็จรูปที่มีปริมาณนา้ ตาลระบุในฉลาก
โภชนาการไม่เกินร้ อยละ 4 ต่อการบริโภค 1 ครั้ง
หรือมีนา้ ตาลไม่เกิน 4 กรัม ในเครื่องดื่ม 100 ซีซี
3. เครื่องดื่มผสมเอง
 เครื่องดื่มผสมเองไม่ใส่นา้ แข็ง มีส่วนผสมของ
นา้ ตาลไม่เกิน 4 กรัม ต่อนา้ 100 ซีซี
 เครื่องดื่มผสมเองใส่นา้ แข็ง มีส่วนผสมของ
นา้ ตาลไม่เกิน 8 กรัม ต่อนา้ 100 ซีซี
76

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


76

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
4.5 ร้ านค้ าในหมู่บ้าน - ดูปริมาณเกลือ หรือโซเดียม
จาหน่ายขนม-  อาหารที่มปี ริมาณโซเดียมระบุในฉลากโภชนาการไม่
เครื่องดื่มที่มคี ุณค่า เกินร้ อยละ 4 ของปริมาณโซเดียมที่แนะนาใน 1 วัน ต่อ
ทางโภชนาการ การบริโภค 1 ครั้ง หรือปริมาณโซเดียมไม่เกิน 100
ไม่หวานจัด มิลลิกรัมต่อครั้ง หรือมีเกลือไม่เกิน 0.25 กรัม (เกลือ
ไม่เค็มจัด 1 ช้ อนชา หนัก 5 กรัม)
ไม่มไี ขมันสูง - ดูปริมาณไขมัน
 อาหารที่ปรุงโดยใช้ นา้ มันไม่เกิน 3.25 กรัมต่อมื้อ
หรือไม่มากกว่าครึ่งช้ อนชา (นา้ มัน 1 ช้ อนชา หนัก 5
กรัม) หรืออาหารทอดด้ วยนา้ มันไม่ท่วม
4.6 ส่งเสริมการออก - มีสถานที่/อุปกรณ์/กิจกรรมการออกกาลังกาย
กาลังกาย

องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผา่ น
1. เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่ - รายงานภาวะการเจริญเติบโต
น้ อยกว่าร้ อยละ 75 - ชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูงทุกคน
77

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


77

แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
ระดับศูนย์เด็กเล็ก

ชื่อศูนย์เด็ก...................................................................หมู่ที่............ตาบล..........................................
อาเภอ.........................................................................จังหวัด.......................................................
เทศบาล/อบต.………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. …………………………………………………………………………………………………………….……………..
จานวนเด็กทั้งหมด.........................คน จานวนที่มาจริงโดยเฉลีย่ ...........................คนต่อวัน

คาชี้ แจง
1. แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพระดับศูนย์เด็กเล็ก ใช้ สาหรับครูพ่ีเลี้ยง
ประเมินตนเอง และใช้ เป็ นแบบประเมินของทีมประเมินเพื่อรับรองการเป็ นองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโต
เต็มศักยภาพในระดับตาบล อาเภอ จังหวัด ศูนย์อนามัยเขต และประเทศ
2. เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ ได้ แก่
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริมเด็กไทย
เติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
3. วิธกี ารประเมิน ให้ ประเมินตามประเด็นในแต่ละองค์ประกอบ โดยทาเครื่องหมายลงในช่องการ
ประเมินว่า ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน
4. เกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน
ผ่าน < 19 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
ผ่าน 19-23 ข้ อ หมายถึง พอใช้
ผ่าน 24-26 ข้ อ หมายถึง ดี
ผ่าน 27 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
5. ศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “ศูนย์เด็กส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ”
78

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


78

ผลการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน จานวนข้อที่ผา่ น จานวนข้อที่ไม่ผ่าน
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการ
ขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริมเด็กไทย
เติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของ
เด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญ
เติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
รวม

คาแนะนาของผูป้ ระเมิน
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

ขื่อ-สกุลผูป้ ระเมิน...............................................................ตาแหน่ง........................................
หน่วยงาน..................................................................................................................................
วัน/เดือน/ปี ที่ทาการประเมิน....................................................................................................
79

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


79

เกณฑ์การประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ

องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
1.1 มีคณะกรรมการส่งเสริม - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
1.2 คณะกรรมการ/แกนนามีความรู้ - ใบประกาศนียบัตร
ด้ านการส่งเสริมการเจริญเติบโต - สังเกตจากการสนทนา
1.3 กาหนดนโยบาย และมาตรการ - รายงานการประชุม
ทางสังคมส่งเสริมการเจริญเติบโต
1.4 มีการสื่อสารนโยบายและ - ป้ ายนโยบายและมาตรการส่งเสริมการเจริญ
มาตรการส่งเสริมการเจริญเติบโต เติบโตครอบคลุมประเด็นสาคัญอย่างเป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรและเห็นได้ อย่างชัดเจน
- มีหลักฐานการสื่อสารนโยบาย เช่น รายงาน
การประชุม มีประกาศนโยบายในที่ประชุม
- สอบถามการรับทราบนโยบายของบุคลากร
ในศูนย์เด็กและผู้ปกครอง จานวน 10 คน

องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลือ่ นองค์กร


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
2.1 นานโยบายและมาตรการ - มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตสู่การปฏิบตั ิ นโยบายและมาตรการส่งเสริมการ
เจริญเติบโต
2.2 ดาเนินงานตามแผนงาน - รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการ กิจกรรม
2.3 ผู้นาชุมชน พ่อแม่/ผู้ปกครอง - ภาพกิจกรรม
ชุมชน และอปท.มีส่วนร่วมในการ - สุ่มสอบถาม จานวน 10 คน
ดาเนินงาน
2.4 กากับ ติดตาม และประเมินผล - รายงานผลการติดตาม/ประเมินผลการ
การดาเนินงาน ดาเนินงาน
- รายงานการประชุม
80

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


80

องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนือ่ ง


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.1 มีการชี้แจงการเฝ้ าระวังฯ - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น พ่อแม่/ผู้ปกครองเด็ก
ให้ กบั พ่อแม่/ผู้ปกครอง - ภาพการชี้แจง
3.2 มีการกาหนดวันที่เฝ้ าระวังฯ - วันที่เฝ้ าระวังต้ องกาหนดภายในเดือนแรกของงวด
อย่างชัดเจน - บันทึกการประชุม
- ดูจากบันทึกการชั่งนา้ หนัก วัดส่วนสูง 2 งวดย้ อนหลัง
- สอบถามผู้ท่เี กี่ยวข้ อง
3.3 เครื่องชั่งนา้ หนัก และ - เครื่องชั่งนา้ หนักมีความละเอียดไม่เกิน 0.1 กิโลกรัม
เครื่องวัดส่วนสูงมีความเหมาะสม - ตรวจสอบเครื่องชั่งนา้ หนักโดยใช้ ลูกตุ้มมาตรฐานหรือ
และได้ มาตรฐาน สิ่งของที่ทราบนา้ หนัก
- การติดตั้งเครื่องวัดส่วนสูงถูกต้ องและมีไม้ ฉาก
3.4 วิธกี ารชั่งนา้ หนักและวัด - สอบถามครูพ่ีเลี้ยงวิธกี ารชั่งนา้ หนักและวัดส่วนสูง โดย
ส่วนสูงถูกต้ อง พิจารณาดังนี้
1. การชั่งนา้ หนัก มีการนาสิ่งของทุกอย่างออกจากตัว
เด็กและใส่เสื้อผ้ าที่บางและน้ อยชิ้นที่สุด ค่านา้ หนักมี
ทศนิยม 1 ตาแหน่ง
2. การวัดส่วนสูง ท่ายืนถูกต้ องและใช้ ไม้ ฉาก ค่าส่วนสูง
มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
3.5 ประเมินภาวะการเจริญเติบโต - ดูข้อมูลในโปรแกรมเฝ้ าระวังฯ/กราฟการเจริญเติบโต
ทุก 3 เดือน
- ชั่งนา้ หนัก
- วัดส่วนสูง
- แปลผล มีการจุดนา้ หนัก
ส่วนสูง และลากเส้ นเชื่อมจุดบน
กราฟส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กราฟ
นา้ หนักตามเกณฑ์อายุ และนา้ หนัก
ตามเกณฑ์ส่วนสูง
3.6 ประเมินพฤติกรรมการบริโภค - ดูแบบประเมินพฤติกรรมฯ
อาหารทุก 3 เดือน
3.7 แจ้ งและอธิบายผลการ - สุ่มสอบถามพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง จานวน 10 คน
ประเมินให้ กบั พ่อแม่ หรือ - หนังสือ/รายงาน/เอกสารแจ้ งผู้ปกครอง
ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง
81

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


81

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.8 คณะกรรมการฯร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล - รายงานการประชุม
เพื่อค้ นหาสาเหตุของปัญหาทุพ - ข้ อมูลภาวะการเจริญเติบโตและข้ อมูล
โภชนาการ ประเมินการดาเนินงานที่ผ่าน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
มา และวางแผนการดาเนินงาน - มีแผน แนวทาง และกิจกรรมการ
ดาเนินงาน 3 ด้ าน คือ
1) ส่งเสริมการเจริญเติบโต
2) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กขาดอาหาร
และกลุ่มเสี่ยง
3) ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็กอ้ วนและ
กลุ่มเสี่ยง
3.9 ดาเนินการส่งเสริมการเจริญ เติบโต - สื่อ/เนื้อหาการสอนทั้งความรู้และทักษะ
อย่างต่อเนื่อง - ภาพกิจกรรม
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองรายคน - ความถี่ในการดาเนินการ
และเป็ นกลุ่ม - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น พ่อแม่/
2) สอดแทรกความรู้ด้านโภชนาการใน ผู้ปกครอง จานวน 10 คน
กิจกรรมต่าง ๆ ในศูนย์เด็กเล็ก
3) สื่อสารสาธารณะ
4) รณรงค์ สร้ างกระแส
5) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
6) ให้ วิตามินนา้ เสริมธาตุเหล็ก
3.10. ป้ องกันและแก้ ไขเด็กขาดอาหาร - ดูบันทึกการดูแลเด็กขาดอาหาร และกลุ่ม
และกลุ่มเสี่ยงเป็ นรายคน เสี่ยงเป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองของ - สื่อ/เนื้อหาการสอน
เด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยงรายคน และ - ภาพกิจกรรม
เป็ นกลุ่ม - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น พ่อแม่/
2) รูปแบบการจัดอาหาร/ออกกาลังกาย ผู้ปกครอง จานวน 10 คน
3) ให้ วิตามินนา้ เสริมธาตุเหล็ก
3.11. ป้ องกันและแก้ ไขเด็กอ้ วน และกลุ่ม - ดูบันทึกการดูแลเด็กอ้ วน และกลุ่มเสี่ยง
เสี่ยงเป็ นรายคน เป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กับพ่อแม่/ผู้ปกครองของ - สื่อ/เนื้อหาการสอน
เด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยงรายคน และเป็ น - ภาพกิจกรรม
กลุ่ม - สุ่มสอบถามผู้เกี่ยวข้ อง เช่น พ่อแม่/
2) รูปแบบการจัดอาหาร/ออกกาลังกาย ผู้ปกครอง จานวน 10 คน
3) ให้ วิตามินนา้ เสริมธาตุเหล็ก
82
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
82

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.12 ติดตามภาวะการเจริญเติบโตและ - ผลการติดตาม
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่ม - สุ่มสอบถามพ่อแม่/ผู้ปกครองเด็กที่มี
เสี่ยง เตี้ย ผอม นา้ หนักน้ อย อ้ วน และ แนวโน้ มการเจริญเติบโตไม่ดี กลุ่มเสี่ยง
แนวโน้ มการเจริญเติบโตไม่ดี ตามเกณฑ์ ขาดอาหาร อ้ วน จานวน 15 คน
3.13 รายงานทุก 3 เดือน ให้ อปท.และ - วันที่รายงานต้ องกาหนดภายในเดือนแรก
รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. ของงวด
1) กาหนดวันที่หรือช่วงของการรายงาน - ดูจากไฟล์รายงานที่ส่งผ่านโปรแกรมเฝ้ า
ข้ อมูลเฝ้ าระวังการเจริญเติบโต ระวังฯ
2) รายงานผ่านโปรแกรมเฝ้ าระวังการ - ดูรข้ อมูลที่อปท.และรพ.สต./รพช./
เจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด-18 ปี รพท./รพศ.
ตามที่กาหนด

องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้ อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
4.1 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - รายการอาหารย้ อนหลัง 1 เดือน
ว่าง ครบ 5 กลุ่มอาหารทุกวัน
(ข้ าว-แป้ ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์
นม)
4.2 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - ปริมาณอาหารที่ซ้ อื ต่อ 1 คน
ว่างที่มีปริมาณเพียงพอและ เด็กอายุ 1-3 ปี
เหมาะสมตามภาวะการ  กลุ่มผัก 30 กรัม
เจริญเติบโตของเด็ก  กลุ่มเนื้อสัตว์ 20 กรัม
เด็กอายุ 4-5 ปี
 กลุ่มผัก 50 กรัม
 กลุ่มเนื้อสัตว์ 30 กรัม
- สุ่มดูปริมาณอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และ
เนื้อสัตว์ รวมทั้งผลไม้ หรือขนม(ถ้ ามี)ในถาดของเด็ก
จานวน 10 คน
4.3 ใช้ เกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริม - สุ่มตรวจสอบเกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีน
ไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกครั้ง - สอบถามแม่ครัว/ผู้ปรุงประกอบอาหาร
83
83

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


83

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่าการประเมิ
น ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
4.4 จัด/จาหน่ายอาหาร ผ่าน ไม่ผ่าน - ดูส่วนประกอบของอาหารและปริมาณ
4.4ว่างที
จัด่ม/จีคาหน่
ุณค่าาทาง
ยอาหาร -- ดูดูขส้ อ่วนประกอบของอาหารและปริ
มูลโภชนาการที่ภาชนะบรรจุ มาณ
างที่มีคุณค่าทาง
ว่โภชนาการ -1.ดูขพลั ้ อมูงลงานไม่
โภชนาการที เกิน ร้ อ่ภยละ าชนะบรรจุ
10 ของความต้ องการ
โภชนาการ
ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัด 1. พลั ง งานไม่
2. มีสารอาหารไม่น้อยกว่า 2 ชนิ เ กิ น ร้ อ ยละ 10 ของความต้
ด โดยแต่อลงการ ะชนิดมีปริมาณ
ไม่
ไม่หมีไวานจั
ขมันดสูงไม่เค็มจัด 2. มีไม่สตารอาหารไม่่ากว่าร้ อยละ 10 ของปริมาณที่ควรได้ รับต่อดวัมีนปริมาณ
น ้ อ ยกว่ า 2 ชนิ ด โดยแต่ ล ะชนิ
ไม่มีไขมันสูง าร้ อยละ 10 ของปริมาณที่ควรได้ รับต่อวัน
ดูปริมไม่าณน ต่ากว่า้ ตาล
ดู1.ปริมขนมทีาณน่มา้ ตาล ีปริมาณนา้ ตาลสูงไม่เกิน 8 กรัม หรือไม่เกิน
ขนมที่มีปริ2มาณน
1. ประมาณ ช้ อนชาต่า้ ตาลสูอมืง้ อไม่เ(นกินา้ ตาล8 1กรัช้มอนชาหรือหนั ไม่กเกิน4
กรัม) 2 ช้ อนชาต่อมื้อ (นา้ ตาล 1 ช้ อนชา หนัก 4
ประมาณ
2. กรั เครืม่ อ)งดื่มสาเร็จรูปที่มีปริมาณนา้ ตาลระบุในฉลาก
2. เครื ่ องดื่มสาเร็เกิจรูนปร้ ทีอยละ
โภชนาการไม่ ่มีปริม4าณน า้ ตาลระบุ
ต่อการบริ โภคในฉลาก
1 ครั้ง หรือมี
โภชนาการไม่
นา้ ตาลไม่เกิน 4 กรัม ในเครื่องดื่ม 100 ซีซี ครั้ง หรือมี
เ กิน ร้ อ ยละ 4 ต่ อ การบริ โ ภค 1
3. นเครื า้ ตาลไม่
่ องดื่มเผสมเองกิน 4 กรัม ในเครื่องดื่ม 100 ซีซี
3. เครื  ่ อเครื งดื่ อ่มงดื
ผสมเอง ่มผสมเองไม่ใส่นา้ แข็ง มีส่วนผสมของนา้ ตาล
 เครื ไม่เกิน 4มผสมเองไม่
่ อ งดื ่ กรัม ต่อนา้ ใส่100 นา้ แข็ซีซงี มีส่วนผสมของนา้ ตาล
 ไม่ เครืเกิ่ อนงดื4่มผสมเองใส่
กรัม ต่อนา้ น100 า้ แข็งซีมีซสี ่วนผสมของนา้ ตาล
 เครื ไม่เกิ่ อนงดื8่มผสมเองใส่
กรัม ต่อนา้ น100 า้ แข็งซีมีซสี ่วนผสมของนา้ ตาล
ดูปริมาณเกลื ไม่เกิอน หรื 8 กรั อโซเดี ม ต่ยอมนา้ 100 ซีซี
ดูปริมาณเกลื อาหารที อ หรื่มอีปโซเดี ยม ยมระบุในฉลากโภชนาการไม่
ริมาณโซเดี
เกินร้ ออาหารที ยละ 4 ของปริ ่มีปริมาณโซเดี มาณโซเดี ยมระบุ
ยมที่แในะน นฉลากโภชนาการไม่
าใน 1 วัน ต่อการ
เกิ
บริโภค 1 ครั้ง หรือปริมาณโซเดียมไม่เกิน 1001 มิวันลลิต่กอรัการ
น ร้ อ ยละ 4 ของปริ ม าณโซเดี ย มที ่ แ นะน าใน ม
บริ โ ภค 1 ครั ้ ง หรื อ ปริ
ต่อครั้ง หรือมีเกลือไม่เกิน 0.25 กรัม (เกลือ 1 ช้ อนชาม าณโซเดี ย มไม่ เ กิน 100 มิ ล ลิ ก รั ม
ต่หนัอครั
ก 5้ ง หรื กรัมอมี) เกลือไม่เกิน 0.25 กรัม (เกลือ 1 ช้ อนชา
- หนัดูปริกม5าณไขมั กรัม)น
- ดูปริอาหารที มาณไขมั่ปนรุงโดยใช้ นา้ มันไม่เกิน 3.25 กรัมต่อมื้อ
หรือไม่อาหารที มากกว่า่ปครึ รุง่ งโดยใช้
ช้ อนชานา้ (น มันา้ ไม่มันเกิ1นช้3.25 อนชากรัหนัมกต่อ5มื้กรั
อ ม)
หรื
หรือออาหารทอดด้
ไม่มากกว่าครึว่ งยน ช้ อา้ นชา
มันไม่(นทา้ ่วมัมน 1 ช้ อนชา หนัก 5 กรัม)
4.5 ส่งเสริมการออก -หรืมีอสอาหารทอดด้
ถานที่/อุปกรณ์ วยน/กิา้ มัจนกรรมการออกก
ไม่ท่วม าลังกาย
4.5
กาลังส่กาย
งเสริมการออก - มีสถานที่/อุปกรณ์/กิจกรรมการออกกาลังกาย
กาลังกาย

องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่าการประเมิ
น ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
1. เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อย ผ่าน ไม่ผ่าน - รายงานภาวะการเจริญเติบโต
1. เด็
กว่การ้มีอสยละ
่วนสูง75
ระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อย -- รายงานภาวะการเจริ
ชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูญ
งทุเติกคน
บโต
กว่าร้ อยละ 75 - ชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูงทุกคน
84

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


84

แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
ระดับโรงเรียน

ชื่อโรงเรียน...................................................................หมูท่ ี่............ตาบล...........................................
อาเภอ..........................................................................จังหวัด.............................................................
เทศบาล/อบต.……………………………………………………………………………….………………………………………………………………...
รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. ……………………………………………………….…………………………………………………….……………..
จานวนเด็กทั้งหมด.............................คน จานวนที่มาจริงโดยเฉลีย่ ............................คนต่อวัน

คาชี้ แจง
1. แบบประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพระดับโรงเรียน ใช้ สาหรับ
คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประเมินตนเอง และ
ใช้ เป็ นแบบประเมินของทีมประเมินเพื่อรับรองการเป็ นองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็ม
ศักยภาพในระดับตาบล อาเภอ จังหวัด ศูนย์อนามัยเขต และประเทศ
2. เกณฑ์การประเมิน ประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ ได้ แก่
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการและแกนนาดาเนินการขับเคลื่อนให้ เกิดองค์กรส่งเสริม
เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
3. วิธกี ารประเมิน ให้ ประเมินตามประเด็นในแต่ละองค์ประกอบ โดยทาเครื่องหมายลงในช่อง
การประเมินว่า ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน
4. เกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน
 ผ่าน < 19 ข้ อ หมายถึง ควรปรับปรุง
 ผ่าน 19-23 ข้ อ หมายถึง พอใช้
 ผ่าน 24-26 ข้ อ หมายถึง ดี
 ผ่าน 27 ข้ อ หมายถึง ดีมาก
5. โรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกข้ อ จะได้ รับการรับรองให้ เป็ น “โรงเรียนส่งเสริมเด็กไทย
เติบโตเต็มศักยภาพ”
85

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


85

ผลการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน จานวนข้อที่ผา่ น จานวนข้อที่ไม่ผ่าน
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลื่อน
ให้ เกิดองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็ม
ศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก
อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง
องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้ อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโต
เต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
รวม

คาแนะนาของผูป้ ระเมิน
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ขื่อ-สกุลผูป้ ระเมิน...................................................................ตาแหน่ง....................................
หน่วยงาน.................................................................................................................................
วัน/เดือน/ปี ที่ทาการประเมิน....................................................................................................
86
86
86

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


86
เกณฑ์
เกณฑ์กการประเมิ
ารประเมินนองค์
องค์กกรส่
รส่งงเสริ
เสริมมเด็
เด็กกไทยเติ
ไทยเติบบโตเต็
โตเต็มมศัศักกยภาพ
ยภาพ
เกณฑ์การประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก
องค์ประกอบที การประเมิ น
ประเด็น่ การประเมิ
1 มีนโยบายส่ น งเสริมการเจริ ญเติบโตของเด็
การประเมิ น ก หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่การประเมิ
าน ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่ า น ไม่ ผ า
่ น
1.1 มีคประเด็ นการประเมิ
ณะกรรมการส่ งเสริมน ผ่าน ไม่ผ่าน -- คคาสั ่งแต่งตัหลักฐาน/แหล่งข้อมูล
้งคณะกรรมการ
1.1 มีคณะกรรมการส่งเสริม าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
เด็กมีไทยเติ
1.1 บโตเต็มศังกเสริ
คณะกรรมการส่ ยภาพ
ม - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
เด็กไทยเติ บโตเต็มศักยภาพ
1.2 คณะกรรมการ/แกนน
เด็กคณะกรรมการ/แกนน
ไทยเติบโตเต็มศักยภาพ ามี ค วามรู้ - ใบประกาศนียบัตร
1.2 ามีความรู้ - ใบประกาศนียบัตร
ด้
1.2 า นการส่ งเสริ
คณะกรรมการ/แกนน มการเจริ ญ เติ บโต -- สัใบประกาศนี
งเกตจากการสนทนา
ด้ านการส่ งเสริมการเจริญามี เติคบวามรู
โต ้ สังเกตจากการสนทนา ยบัตร
1.3 ก าหนดนโยบาย
ด้ านการส่ และมาตรการ
งเสริมการเจริ ญเติบโต - รายงานการประชุ
- สัรายงานการประชุ
งเกตจากการสนทนา ม
1.3 กาหนดนโยบาย และมาตรการ ม
ส่
1.3 ง เสริ มการเจริ
กาหนดนโยบาย ญ เติ
บ โต - รายงานการประชุม
ส่งเสริ มการเจริญเติและมาตรการ
บโต
1.4 มี
ส่งเสริการสื่ อ สารนโยบายและ
มการเจริ ญเติบโต - ป้ ายนโยบายและมาตรการส่งเสริมการ
1.4 มีการสื ่อสารนโยบายและ - ป้ ายนโยบายและมาตรการส่งเสริมการ
มาตรการส่
1.4 มีการสื่องงสารนโยบายและ
เสริมการเจริญเติบโต - เจริ ญเติบโตครอบคลุมประเด็
ป้เจริายนโยบายและมาตรการส่ นสมาคัการ
งเสริ ญอย่าง
มาตรการส่ เสริมการเจริญเติบโต ญเติบโตครอบคลุมประเด็ นสาคัญอย่าง
มาตรการส่งเสริมการเจริญเติบโต เป็
เจรินนญลายลั กษณ์อกั ษรและเห็
เติบโตครอบคลุ นได้
มประเด็ นสออาคั
ย่าญงชัอย่ดเจน
าง
เป็ ลายลั กษณ์อกั ษรและเห็ นได้ ย่างชัดเจน
- หลั ก ฐานการสื ่ อสารนโยบาย เช่ น รายงานการ
- เป็
หลันกลายลั กษณ์่ออสารนโยบาย
ฐานการสื กั ษรและเห็นเช่ได้นอรายงานการ
ย่างชัดเจน
ประชุ
- หลั ม มีป
กฐานการสืระกาศนโยบายในที ่
่อสารนโยบาย เช่่ปนระชุ ประชุ ม
รายงานการ
ประชุ มมีประกาศนโยบายในที ม
- สอบถามการรั บ
ประชุมมีประกาศนโยบายในทีทราบนโยบายของบุ ่ประชุคมลากร

- สอบถามการรั บทราบนโยบายของบุ ลากร
ในโรงเรี
- ในโรงเรี
สอบถามการรั ย นและผู ้ ป กครอง
บทราบนโยบายของบุ จ านวน 10คลากรคน
ยนและผู ้ ปกครอง จานวน 10 คน
ในโรงเรียนและผู้ปกครอง จานวน 10 คน
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลือ่ นองค์กร
องค์ประกอบที่ 2 คณะกรรมการ/แกนนาดาเนินการขับเคลือ่ นองค์กร
องค์ประกอบที การประเมิ น บเคลือ่ นองค์กร
ประเด็น่ การประเมิ
2 คณะกรรมการ/แกนน น าดาเนินการขั
การประเมิ น หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่การประเมิ
าน ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่ า น ไม่ ผ า
่ น หลัโครงการ
กฐาน/แหล่
2.1 นานโยบายและมาตรการ ผ่าน ไม่ผ่าน -- มีมีแแผนงาน และกิงข้จอกรรมรองรั
มูล บ
2.1 นานโยบายและมาตรการ ผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับ
ส่2.1
งเสริมการเจริญเติบโตสู่การปฏิบตั ิ นโยบายและมาตรการส่
- มีแผนงาน โครงการ และกิ งเสริมจการเจริ ญเติบบโต
ส่งเสรินมานโยบายและมาตรการ
การเจริญเติบโตสู่การปฏิบตั ิ นโยบายและมาตรการส่ กรรมรองรั
งเสริมการเจริ ญเติบโต
2.2
ส่2.2 ด าเนิ
งเสริดาเนิ น
มการเจริงานตามแผนงาน
ญเติบโตสู่การปฏิบตั ิ - รายงานผลการด าเนินงาน
นงานตามแผนงาน -นโยบายและมาตรการส่
รายงานผลการดาเนินงาน งเสริมการเจริญเติบโต
โครงการ กิ
จ กรรม
2.2 ดาเนิกินจงานตามแผนงาน - รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการ กรรม
2.3 ผู
โครงการ ้ น าชุ ม ชน พ่ อ แม่ / ผู้ ป กครอง - ภาพกิจกรรม
2.3 ผู้นาชุกิมจชน กรรมพ่อแม่/ผู้ปกครอง - ภาพกิจกรรม
ชุ2.3
มชนผู้นแกนน านั ก เรี ย
าชุมชนานัพ่กเรีอแม่น นั ก เรี ยน ครู -- ภาพกิ
สุ่มสอบถามนั
จกรรม กกเรี ยนระดับชั้นต่างๆ จานวน
ชุมชน แกนน ยน/นัผูก้ ปเรีกครอง
ยน ครู สุ่มสอบถามนั เรียนระดับชั้นต่างๆ จานวน
และอปท.มี
ชุมชน แกนนสส่ว่วานันร่ วมในการ สุ10-20
- 10-20 คน
และอปท.มี นร่กวเรีมในการ
ยน นักเรียน ครู ่มสอบถามนั
คน กเรียนระดับชั้นต่างๆ จานวน
ดและอปท.มี
าเนินงาน
ดาเนินงาน ส่วนร่วมในการ 10-20 คน
2.4
ด2.4 ก ากั
าเนิกนากั บ
งาน ติ ด ตาม และประเมิ นผล - รายงานผลการติดตาม/ประเมินผลการ
บ ติดตาม และประเมินผล - รายงานผลการติดตาม/ประเมินผลการ
การด
2.4 กาเนิากับนนงาน
ติดตาม และประเมินผล - ดดรายงานผลการติ
าเนินงาน ดตาม/ประเมินผลการ
การด าเนิ งาน าเนินงาน
การดาเนินงาน - รายงานการประชุ
ดาเนินงาน ม
- รายงานการประชุ ม
- รายงานการประชุม
87

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


87

องค์ประกอบที่ 3 ดาเนินงานเฝ้ าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอย่างมีคุณภาพและต่อเนือ่ ง


การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.1 มีการชี้แจงการเฝ้ าระวังฯให้ กับ - สุ่มสอบถามนักเรียนระดับชั้นต่างๆ จานวน 10-20 คน
นักเรียน ครู และพ่อแม่/ผู้ปกครอง - ภาพการชี้แจง
3.2 มีการกาหนดวันที่เฝ้ าระวังฯ - วันที่เฝ้ าระวังต้ องอยู่ภายในเดือนมิถุนายนสาหรับเทอม
อย่างชัดเจน 1 และภายในเดือนธันวาคม สาหรับเทอม 2
- บันทึกการประชุม
- ดูจากบันทึกการชั่งนา้ หนัก วัดส่วนสูง 2 เทอมย้ อนหลัง
- สอบถามผู้ท่เี กี่ยวข้ อง
3.3 เครื่องชั่งนา้ หนักและเครื่องวัด - เครื่องชั่งนา้ หนักมีความละเอียดไม่เกิน 0.5 กิโลกรัม
ส่วนสูงมีความเหมาะสมและได้ - ตรวจสอบเครื่องชั่งนา้ หนักโดยใช้ ลูกตุ้มมาตรฐานหรือ
มาตรฐาน สิ่งของที่ทราบนา้ หนัก
- การติดตั้งเครื่องวัดส่วนสูงถูกต้ องและมีไม้ ฉาก
3.4 วิธกี ารการชั่งนา้ หนักและวัด - สุ่มสอบถามนักเรียนวิธกี ารชั่งนา้ หนักและวัดส่วนสูง
ส่วนสูงถูกต้ อง โดยพิจารณาดังนี้
1. การชั่งนา้ หนัก มีการนาสิ่งของทุกอย่างออกจากตัว
เด็กและใส่เสื้อผ้ าที่บางและน้ อยชิ้นที่สุด ค่านา้ หนักมี
ทศนิยม 1 ตาแหน่ง
2. การวัดส่วนสูง ท่ายืนถูกต้ องและใช้ ไม้ ฉาก ค่าส่วนสูง
มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
3.5 ประเมินภาวะการเจริญเติบโต - ดูข้อมูลในโปรแกรมเฝ้ าระวังฯ/กราฟการเจริญเติบโต
ทุก 6 เดือน
- ชั่งนา้ หนัก
- วัดส่วนสูง
- แปลผล มีการจุดนา้ หนักส่วนสูง
และลากเส้ นเชื่อมจุดบนกราฟส่วนสูง
ตามเกณฑ์อายุ และนา้ หนักตาม
เกณฑ์ส่วนสูง
3.6 ประเมินพฤติกรรมการบริโภค - ดูแบบประเมินพฤติกรรมฯ
อาหาร ทุก 6 เดือน
3.7 แจ้ งและอธิบายผลการประเมิน - สุ่มสอบถามนักเรียนจานวน 10 คน
ให้ กบั นักเรียน และพ่อแม่ หรือ - หนังสือ/รายงาน/เอกสารแจ้ งผู้ปกครอง
ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง
88

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


88

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.8 คณะกรรมการฯร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อค้ นหา - รายงานการประชุม
สาเหตุของปัญหาทุพโภชนาการ ประเมินการ - ดูข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตและข้ อมูล
ดาเนินงานที่ผ่านมา และวางแผนการดาเนินงาน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
- มีแผน แนวทาง และกิจกรรมการ
ดาเนินงาน 3 ด้ าน คือ
4.3.1 ส่งเสริมการเจริญเติบโต
4.3.2 ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็ก
ขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง
4.3.3 ป้ องกันและแก้ ไขปัญหาเด็ก
อ้ วนและกลุ่มเสี่ยง
3.9 ดาเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง - สื่อ/เนื้อหาการสอนทั้งความรู้และ
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองและนักเรียน ทักษะ
รายคน และเป็ นกลุ่ม โดยผ่านทาง - ภาพกิจกรรม
1.1 หลักสูตรการเรียนการสอน - ความถี่ในการดาเนินการ
1.2 กิจกรรม - สุ่มสอบถามนักเรียนระดับชั้นต่างๆ
1.3 อบรม จานวน 10-20 คน
1.4 สื่อต่างๆ
2) สื่อสารสาธารณะ
3) รณรงค์ สร้ างกระแส
4) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
5) ให้ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
3.10 ป้ องกันและแก้ ไขเด็กขาดอาหารและกลุ่มเสี่ยง - ดูบันทึกการดูแลเด็กขาดอาหาร และ
รายคน กลุ่มเสี่ยงเป็ นรายคน
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองและนักเรียนขาด - สื่อ/เนื้อหาการสอน
อาหารและกลุ่มเสี่ยงรายคน และเป็ นกลุ่ม - ภาพกิจกรรม
2) รูปแบบการจัดอาหาร/ออกกาลังกาย - สุ่มสอบถามนักเรียนระดับชั้นต่างๆ
3) ให้ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก จานวน 10-20 คน
3.11 ป้ องกันและแก้ ไขเด็กอ้ วนและกลุ่มเสี่ยงรายคน - ดูบันทึกการดูแลเด็กอ้ วน และกลุ่ม
1) ให้ ความรู้กบั พ่อแม่/ผู้ปกครองและนักเรียน เสี่ยงเป็ นรายคน
อ้ วนและกลุ่มเสี่ยงรายคน และเป็ นกลุ่ม - สื่อ/เนื้อหาการสอน
2) รูปแบบการจัดอาหาร/ออกกาลังกาย - ภาพกิจกรรม
3) ให้ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก - สุ่มสอบถามนักเรียนระดับชั้นต่างๆ
จานวน 10-20 คน
89
89
คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
89

การประเมิน
ประเด็นการประเมิน การประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.12 ติดตามภาวะการเจริญเติบโตและ - ผลการติดตาม
3.12 ติดตามภาวะการเจริญเติบโตและ - ผลการติดตาม
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง - สุ่มสอบถามนักเรียนที่มีแนวโน้ มการ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง - สุ่มสอบถามนักเรียนที่มีแนวโน้ มการ
เตี้ย ผอม นา้ หนักน้ อย อ้ วน และแนวโน้ มการ เจริญเติบโตไม่ดี กลุ่มเสี่ยง ขาดอาหาร
เตี้ย ผอม นา้ หนักน้ อย อ้ วน และแนวโน้ มการ เจริญเติบโตไม่ดี กลุ่มเสี่ยง ขาดอาหาร
เจริญ เติบโตไม่ดี อย่างน้ อยเดือนละ 1 ครั้ง อ้ วน จานวน 20 คน
เจริญ เติบโตไม่ดี อย่างน้ อยเดือนละ 1 ครั้ง อ้ วน จานวน 20 คน
3.13 รายงานเทอมละ 1 ครั้ง ให้ กับรพ.สต./ - วันที่รายงานต้ องกาหนดภายในเดือน
3.13 รายงานเทอมละ 1 ครั้ง ให้ กับรพ.สต./ - วันที่รายงานต้ องกาหนดภายในเดือน
รพช. /รพท./รพศ. และสพป./สพม. ภายใน มิถุนายนสาหรับเทอม 1 และเดือนธันวาคม
รพช. /รพท./รพศ. และสพป./สพม. ภายใน มิถุนายนสาหรับเทอม 1 และเดือนธันวาคม
ช่วงเวลาที่กาหนด สาหรับเทอม 2
ช่วงเวลาที่กาหนด สาหรับเทอม 2
1) กาหนดวันที่หรือช่วงของการรายงานข้ อมูล - ดูจากไฟล์รายงานที่ส่งผ่านโปรแกรมเฝ้ า
1) กาหนดวันที่หรือช่วงของการรายงานข้ อมูล - ดูจากไฟล์รายงานที่ส่งผ่านโปรแกรมเฝ้ า
เฝ้ าระวังการเจริญเติบโต ระวังฯ
เฝ้ าระวังการเจริญเติบโต ระวังฯ
2) รายงานผ่านโปรแกรมเฝ้ าระวังการเจริญ - ดูรข้ อมูลที่รพ.สต./รพช. /รพท./รพศ.
2) รายงานผ่านโปรแกรมเฝ้ าระวังการเจริญ - ดูรข้ อมูลที่รพ.สต./รพช. /รพท./รพศ.
เติบโตของเด็กแรกเกิด-18 ปี ตามเกณฑ์ท่ี และสพป./สพม.
เติบโตของเด็กแรกเกิด-18 ปี ตามเกณฑ์ท่ี และสพป./สพม.
กาหนด
กาหนด

องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้ อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ


องค์ประกอบที่ 4 จัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้ อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน การประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ผ่าน ไม่ผ่าน
4.1 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - รายการอาหารย้ อนหลัง 1 เดือน
4.1 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - รายการอาหารย้ อนหลัง 1 เดือน
ว่าง ครบ 5 กลุ่มอาหารทุกวัน
ว่าง ครบ 5 กลุ่มอาหารทุกวัน
(ข้ าว-แป้ ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม)
(ข้ าว-แป้ ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม)
4.2 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - ปริมาณอาหารดิบที่ซ้ อื ต่อ 1 คน
4.2 จัดอาหารกลางวันและอาหาร - ปริมาณอาหารดิบที่ซ้ อื ต่อ 1 คน
ว่างที่มีปริมาณเพียงพอและ อายุ 4-5 ปี
ว่างที่มีปริมาณเพียงพอและ อายุ 4-5 ปี
เหมาะสมตามภาวะการ  กลุ่มผัก 50 กรัม
เหมาะสมตามภาวะการ  กลุ่มผัก 50 กรัม
เจริญเติบโตของเด็ก  กลุ่มเนื้อสัตว์ 30 กรัม
เจริญเติบโตของเด็ก  กลุ่มเนื้อสัตว์ 30 กรัม
อายุ 6-13 ปี
อายุ 6-13 ปี
 กลุ่มผัก 70 กรัม
 กลุ่มผัก 70 กรัม
 กลุ่มเนื้อสัตว์ 40 กรัม
 กลุ่มเนื้อสัตว์ 40 กรัม
อายุ 14-18 ปี
อายุ 14-18 ปี
 กลุ่มผัก 90 กรัม
 กลุ่มผัก 90 กรัม
 กลุ่มเนื้อสัตว์ 60 กรัม
 กลุ่มเนื้อสัตว์ 60 กรัม
- สุ่มดูปริมาณอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และ
- สุ่มดูปริมาณอาหารกลุ่มข้ าว-แป้ ง กลุ่มผัก และ
เนื้อสัตว์ รวมทั้งผลไม้ หรือขนม(ถ้ ามี)ในถาดของ
เนื้อสัตว์ รวมทั้งผลไม้ หรือขนม(ถ้ ามี)ในถาดของ
เด็ก จานวน 10 คน
เด็ก จานวน 10 คน
4.3 ใช้ เกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริม - สุ่มตรวจสอบเกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีน
4.3 ใช้ เกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริม - สุ่มตรวจสอบเกลือ/เครื่องปรุงรสเค็มเสริมไอโอดีน
ไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกครั้ง - สอบถามแม่ครัว/ผู้ปรุงประกอบอาหาร
ไอโอดีนในการปรุงอาหารทุกครั้ง - สอบถามแม่ครัว/ผู้ปรุงประกอบอาหาร
90
90

สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


90
การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่าการประเมิ
น ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
4.4 จัด/จาหน่ายอาหารว่างที่มี ผ่าน ไม่ผ่าน - ดูส่วนประกอบของอาหารและปริมาณ
คุ4.4ณค่าจัทางโภชนาการ
ด/จาหน่ายอาหารว่ งที่มี
ไม่หาวาน -- ดูดูสข้อ่วนประกอบของอาหารและปริ
มูลโภชนาการที่ภาชนะบรรจุ มาณ
จัคุดณค่ไม่าทางโภชนาการ
เค็มจัด ไม่มีไขมัไม่
นสูหงวาน - 1. ดูข้อพลั
มูลงโภชนาการที งานไม่เกิน ่ภร้ อาชนะบรรจุ ยละ 10 ของความต้ องการ
จัด ไม่เค็มจัด ไม่มีไขมันสูง 1.
2. พลั งงานไม่เกินนร้้ ออยกว่
มีสารอาหารไม่ ยละา 10 2 ชนิ ของความต้
ด โดยแต่อลงการ ะชนิดมี
2. มีปริสมารอาหารไม่ าณไม่ต่ากว่นา้ อร้ยกว่ อยละา 210ชนิของปริ ด โดยแต่ ละชนิ
มาณที ดมีรับ
่ควรได้
ต่อมวันาณไม่ต่ากว่าร้ อยละ 10 ของปริมาณที่ควรได้ รับ
ปริ
ดูปริมาณน ต่อวันา้ ตาล
ดู1.ปริมขนมที
าณน่มา้ ตาล ีปริมาณนา้ ตาลสูงไม่เกิน 8 กรัม หรือไม่เกิน
1. ขนมที ประมาณปริ2มช้าณน ่ ม ี อนชาต่า้ ตาลสูอมื้องไม่(นเกิา้ นตาล8 1กรัช้มอนชา หรือหนั ไม่เกกิน4
กรัม) 2 ช้ อนชาต่อมื้อ (นา้ ตาล 1 ช้ อนชา หนัก 4
ประมาณ
2. เครืม่ อ)งดื่มสาเร็จรูปที่มีปริมาณนา้ ตาลระบุในฉลาก
กรั
2. เครื ่ องดื่มสาเร็เกิจรูนปร้ ทีอยละ
โภชนาการไม่ ่มีปริม4าณน า้ ตาลระบุ
ต่อการบริ โภคในฉลาก
1 ครั้ง
โภชนาการไม่
หรือมีนา้ ตาลไม่ เกินเกิร้นอยละ4 กรั4มต่ในเครื
อการบริ ่ องดืโภค 1 ครัซี้ งซี
่ม 100
3. หรื เครือ่ อมีงดื นา้่มตาลไม่
ผสมเอง เกิน 4 กรัม ในเครื่องดื่ม 100 ซีซี
3.  เครืเครื ่ องดื ่ องดื ่มผสมเอง ่มผสมเองไม่ใส่นา้ แข็ง มีส่วนผสมของ
 นา้ เครื
ตาลไม่เมกิผสมเองไม่
่ อ งดื ่ น 4 กรัม ต่ใอส่นา้ แข็ 100 ง มีซีสซ่วี นผสมของ
 นา้ เครื
ตาลไม่ น 4 กรัม ต่นอา้ นแข็า้ ง100
่ องดืเ่มกิผสมเองใส่ มีส่วซีนผสมของน
ซี า้ ตาล
 ไม่เครื ่ อ งดื ่
เกิน 8 กรัม ต่อนา้ 100 ซีซี ม ผสมเองใส่ น า้ แข็ ง มี ส ่ ว นผสมของน า้ ตาล
เกิน 8อกรัหรืมอต่โซเดี
ดูปริมไม่าณเกลื อนา้ ย100 ม ซีซี
ดูปริมาณเกลื อาหารที อ หรื่มอีปโซเดี ยม ยมระบุในฉลากโภชนาการ
ริมาณโซเดี
ไม่เกินอาหารที
ร้ อยละ ่4มีปของปริ ริมาณโซเดี มาณโซเดี ยมระบุ ยมที ในฉลากโภชนาการ
่แนะนาใน 1 วัน
ไม่
ต่อเการบริ
กินร้ อยละ โภค 41 ของปริ ครั้ง หรืมอาณโซเดีปริมาณโซเดี ยมที่แยนะน มไม่าใน
เกิน1100 วัน
ต่มิอลการบริ
ลิกรัมต่โอภค ครั้1ง หรื
ครัอ้ ง มีหรื
เกลือปริ
อไม่มเาณโซเดี
กิน 0.25 ยมไม่
กรัมเกิน 100
- ดูมิปลลิริมกรัาณไขมั
มต่อครัน้ ง หรือมีเกลือไม่เกิน 0.25 กรัม
- ดูปริอาหารที
มาณไขมั่ปนรุงโดยใช้ นา้ มันไม่เกิน 3.25 กรัมต่อมื้อ
หรือไม่อาหารที
มากกว่า่ปครึ รุง่ งโดยใช้
ช้ อนชานา้ (น มันา้ ไม่
มันเกิ1นช้3.25 อนชากรัหนัมกต่อ5มื้อ
หรื
กรัมอ)ไม่หรื มากกว่ออาหารทอดด้ าครึ่งช้ อนชา วยน(นา้ มัา้ นมัไม่
น 1ท่วช้มอนชา หนัก 5
4.5 ส่งเสริมการออกกาลังกาย -กรัมีมส)ถานที
หรืออาหารทอดด้ ่/อุปกรณ์/กิจวกรรมการออกก ยนา้ มันไม่ท่วม าลังกาย
4.5 ส่งเสริมการออกกาลังกาย - มีสถานที่/อุปกรณ์/กิจกรรมการออกกาลังกาย

องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี
องค์ประกอบที่ 5 เด็กมีการเจริญเติบโตดี การประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
ประเด็นการประเมิน ผ่การประเมิ
าน ไม่ผน่าน หลักฐาน/แหล่งข้อมูล
5.1 เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ผ่าน ไม่ผ่าน - รายงานภาวะการเจริญเติบโต
5.1 ร้เด็อกยละ
มีส่ว75
นสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า -- รายงานภาวะการเจริ
ชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูญ
งทุเติกคน
บโต
ร้ อยละ 75 - ชั่งนา้ หนัก-วัดส่วนสูงทุกคน
91

คู่มือ การพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริม เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ


91

ว ันนี้
วันวานผ่ านล่ วงเลยลับ ไม่ เคยย้ อนกลับคืนได้
ปล่ อยวารผ่ านล่ วงเลยไป อย่ าหมายคืนย้ อนก่ อนมา
ผิดนัก.... ที่จักรอฝั นวันหน้ า
ผัดผ่ อนทอนวันเวลา ผัดว่ ารอก่ อน...รอไป
ผัดอื่นยังอาจผัดผ่ อน ปล่ อยรอไปก่ อนพอได้
บางอย่ างแต่ หากช้ าไป คือสายสุดรัง้ ยัง้ คืน
เด็กน้ อย... เขาคอยอ้ อมแขนฉ่าชื่น
รอยิม้ สร้ างฝั นวันคืน รอรักเต็มตืน้ เต็มใจ
เขาไม่ อาจคอยวันพรุ่ ง รอรุ้งเติมฝั นวันไหน
พรุ่งนีก้ ็อาจสายไป สาหรับหัวใจดวงเล็ก
วันนี.้ ..นาทีนี.้ ..เดี๋ยวนี.้ .. คือช่ วยสร้ างชีวิตเด็ก
ร่ างกาย...สมองเล็กเล็ก ของเด็กกาลังก่ อกาย
วันนี.้ .. คือวันที่มีความหมาย
ชีวิตจิตใจร่ างกาย ลมหายใจเขา...คือวันนี.้ ..
ถอดความและประพันธ์เป็ นภาษาไทยโดย : ดร.ลีลาภรณ์ บัวสาย
สำ�นักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
92 92

คู่มือการพัฒนาสู่...องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ
สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท์ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทร. 0-259-04331 โทรสาร 0-259-04333

ทีป่ รึกษา
นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อานวยการสานักโภชนาการ กรมอนามัย

ผูจ้ ดั ทาและบรรณาธิการ
นางณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล นักโภชนาการชานาญการพิเศษ สานักโภชนาการ

You might also like