Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

ประเภท

ความหมาย 1. สุขนาฏกรรม [ Comedy ]


2. โศกนาฏกรรม [ Tragedy ]
3. หัสนาฏกรรม [ Farce ]
การนำจินตนาการของ
มนุษย์มาผูกเป็นเรื่องและ
4. นาฏกรรมเรื่องรัก [ Romantic Drama ]
5. นาฏบทจินตนาการ [ Fantasy ]
6. นาฏกรรมสะเทือนอารมณ์ [ Melodrama ]
การละครสากล
นำเสนอต่อผู้ชม 7. สุขนาฏกรรมชีวิต [ Comedy of Manners ]
8. นาฏกรรมทางสังคม [ Social Drama ]
ในรูปของการแสดง ณ
สถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง
บทบาทหน้าที่
ผู้อำนวยการแสดง

องค์ประกอบ
ผู้จัด หรือ หัวหน้าที่มีอำนาจสูงสุดในการจัดการแสดง เป็นผู้วางจุดประสงค์ในการแสดง ดูแลเงินทุน และคอยแนะนำ / แก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น
ผู้กำกับการแสดง
เป็นตัวจักรที่สำคัญที่สุดของการแสดง มีหน้าที่ฝึกซ้อมนักแสดง และควบคุมการแสดง
ผู้ช่วยผู้กำกับการแสดง

1. เรื่อง หรือ บท
รับผิดชอบการแสดงทั้งหมด โดยประสานงานกับผู้กำกับเวทีเป็นผู้ช่วยที่คอยรับคำสั่งจากผู้กำกับการแสดงมาดำเนินการต่อ
ผู้กำกับเวที
มีหน้าที่รับผิดชอบดูแล กำกับทุกอย่างบนเวที เช่น ฉาก อุปกรณ์การแสดง แสง สี เสียง

2. การแสดงละคร ผู้เขียนบท
เป็นหัวใจของการแสดง เพราะเป็นผู้สร้างโครงเรื่อง และเหตุการณ์ทั้งหมดในการแสดง
ผู้จัดการฝ่ายธุรการ
3. ผู้ชม จัดการเกี่ยวกับธุรกิจการแสดง เช่น หาสถานที่แสดง จำหน่ายบัตร จัดที่นั่ง ทำสูจิบัตร
ฝ่ายเครื่องแต่งกาย และแต่งหน้า
จัดเตรียมเครื่องแต่งกายผู้แสดงตามที่ผู้กำกับเวทีมอบหมาย และแต่งหน้า ทำผมให้กับนักแสดง
เจ้าหน้าที่เวที
ประสานงานกับผู้กำกับเวที โดยทำหน้าที่จัดเวที ฉาก อุปกรณ์ประกอบฉาก เป็นต้น
นักแสดง
คือ ผู้สวมบทบาทเป็นตัวละคร เพื่อถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้สึกนึกคิดที่มีอยู่ในบทละครมาสู่ผู้ชม

นางสาวชิชญา จันทร์ชมภู ม.6/3 เลขที่ 11ก

You might also like