Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

ป ฏิ บั ติ ก า ร ฟ สิ ก ส : ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ว มิ น ท ร า ธิ ร า ช ห น า | 1

การทดลอง

การเคลื่อนที่แนวดิ่งแบบตกอิสระ
วัตถุประสงค

เพื่อหาคาความเรงของแรงโนมถวง

ทฤษฎีและหลักการ
การเคลื่อนที่แบบ 1 มิติ ที่มคี วามเรงคงที่ ตัวแปรที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ไดแก การกระจัด 𝑠⃑
, ความเร็วตน 𝑢
�⃑ , ความเร็วปลาย 𝑣⃑ , ความเรง 𝑎⃑ และเวลา t โดยพิจารณา 5 สมการในแนวตรง เราจะได
1 1 �⃑+𝑣
𝑢 �⃑
�⃑𝑡 + 𝑎⃑𝑡 2 ,𝑠⃑ = 𝑣⃑𝑡 − 𝑎⃑𝑡 2 ,𝑠⃑ = �
𝑠⃑ = 𝑢 � 𝑡, 𝑣⃑ 2 = 𝑢
�⃑2 + 2𝑎⃑ ∙ 𝑠⃑
2 2 2

และ 𝑣⃑ = 𝑢
�⃑ + 𝑎⃑𝑡

เมื่อวัตถุตกลงสูสนามโนมถวง
ของโลกจากความสูง s = h
ถึงพื้นดิน พบวามีความเรง
คงที่ a = g โดยไมคิดคาแรง
ตานการเคลื่อนที่ ลักษณะ
เชนนี้เราเรียกวา การตก
อิสระ ถาใหวัตถุเริ่มตนที่เวลา
h t0 = 0 ที่ความเร็วเริ่มตน
u = 0 โดยที่ระยะทางในการ
เคลื่อนที่จะคิดเทียบกับเวลา
t0 จะได
1
s = 𝑢𝑡 + 𝑎𝑡 2 (1)
2

1
h = 𝑔𝑡 2 (2)
2
รูปที่ 1. ติดตั้งชุดทดลองเพื่อหาคาความเรงของแรงโนมถวงกับแผน
ผิวหนาสัมผัส และcounter S
ป ฏิ บั ติ ก า ร ฟ สิ ก ส : ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ว มิ น ท ร า ธิ ร า ช ห น า | 2

ดวยเหตุนี้การตกแบบอิสระจึงเปนตัวอยางหนึ่งของการเคลื่อนที่ดวยความเรงแบบคงที่ ในการทดลองนี้
เปนการศึกษาการตกแบบอิสระของลูกบอลเหล็กที่ถูกยึดติดกับแมเหล็กไฟฟา (ดูรูป 1) เนื่องจากแรงโนมถวงของ
ลูกบอล ดังนั้นเราจะได

𝑊 =𝑚∙𝑔 (3)

โดยที่ 𝑚 คือ มวลของลูกบอลเหล็ก


ทันทีที่เราปดสวิทชสนามแมเหล็กลูกบอลจะตกลง ในชวงเวลานี้มิเตอรวัดเวลาแบบอิเล็กทรอนิกสก็จะ
เริ่มตนทําการจับเวลา และนับเวลาตามระยะทาง h เมื่อลูกบอลตกกระทบลงบนแผนหนาสัมผัส ก็จะไปสั่งให
มิเตอรวัดเวลาหยุดวัด ณ เวลาที่มันตกลง t
จากนั้นทําการบันทึกผลการวัดที่ไดตามระยะทางที่ตกตางๆลงในตารางผลการทดลอง พลอตกราฟระยะ
ทางการตกกับเวลาการตกยกกําลังสอง
จากสมการ(2) ใชสําหรับหาความเรงของแรงโนมถวง g จากความชัน (slope)ของกราฟระยะทางการตก
กับเวลาการตกยกกําลังสอง
1
slope = 𝑔 (4)
2

g = 2 ∙ 𝑠𝑙𝑜𝑝𝑒 (5)
ป ฏิ บั ติ ก า ร ฟ สิ ก ส : ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ว มิ น ท ร า ธิ ร า ช ห น า | 3

ยชน โลหะะห น ย
รายชื่อผูทําการทดลอง....................................................................รหั สนักศึกษา...................................กลุ
6601 1010 IS มที่..........
3 A
ีวเชปฏ
ช พาเ ธย 6601101016

การทดลอง
หาความเรงของการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ(คาความเรงของแรงโนมถวง)
อุปกรณ 1. ชุดอุปกรณปลอยลูกบอล 2. Counter S 3. ลูกบอลโลหะ
วิธีการทดลอง
1. ตั้งคาโหมดการทํางานของ counter S ที่ 𝑡𝐸→𝐹 โดยกดที่ปุม MODE
2. กดที่ปุม START เพื่อใหไฟ LED แสดงสถานการณทํางาน
3. กดปุมสวิตซตัดการทํางานของแมเหล็กอยางรวดเร็วเพื่อใหลูกบอลตกอยางอิสระ
4. เมื่อลูกบอลกระทบกับแผนรองรับจึง บันทึกเวลา
5. ปรับระยะทางการตก h โดยลดลงที่ละ 5 cm จากชุดอุปกรณปลอยลูกบอล กดที่แผนรองรับใหอยูที่
ตําแหนงศูนย และรีเซ็ต counter S ที่ศูนย โดยกดปุม START
6. ยึดติดลูกบอลใหมและทําการวัดซ้ํา

ผลการทดลอง เค อง ดเ ทด ยม 3 3 ต แห

ระยะทาง เวลา /cms


(s)
h ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย,t t2 a
io'
th 15
+

(cm) <ms ( <ms/ <ms <m5) cuss


M
2

100 4 60.66 469. 16 467.06 468.24219,295.52 0.214

95 456.12 457.36 455.0 456. 16208, 081.94 0.208

90 442.66 442.98 443.28 442.97 196,222.42 0.19↓

85 430.03 430.3 431.62 430,65183,499.42 0.185

80 418.97 4 16.6
4
413.82 417.14 174,005.78 0.174

75 404.25 4 04.62 403.77 404.21 163,385.72 0.163


70 390.19 388.9 388.69 389.26 151,323.35 0.151

65 37 6.33 376.0 373.70 376.07 141,428.64 0.14

win: 0.214- 0.14/


0.006 / อง
& <- =
ชั
มั
พี
วิ
ช่
วั
รั

รื่
ป ฏิ บั ติ ก า ร ฟ สิ ก ส : ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ว มิ น ท ร า ธิ ร า ช ห น า | 4

กราฟระยะทางการตกกับเวลาการตกยกกําลังสอง
Com

100 ·

&8 -

96 -
&

94 -

↑2.

9) 0 ·

88 -

86
·

84

82 -

· ( 0.17d, 005
80 -

78 -

resima
slope - #It is # &

·mc
8. Oll
=454.34 am/g2

76 - =4.34 S /s
·

10,163, 35
74

72
-

20 - ·

68 -

66 -

64

62 -

เ >+ 25
oiles 0. 11 0.2 183 disr olles ·201 dzon o 21 0.219
I
0.3
/ ↳

0.135 0.101 0.143 0.4

0.006 52/เ อ งให


6ร /
-7 0 อ
ช่
ญ่
ช่
ป ฏิ บั ติ ก า ร ฟ สิ ก ส : ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ว มิ น ท ร า ธิ ร า ช ห น า | 5

จงหาคาความเรงของแรงโนนถวงจากการทดลอง (แสดงวิธีทําอยางละเอียดพรอมระบุหนวย)

helegt slope : Eg
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จาก

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3 = I slope = 214.343) m//s2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
=9. 09 m /32
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จงหาคาความคลาดเคลื่อนของคาความเรงของแรงโนนถวง กําหนดให g = 9.82 m/s2

Terror: f - าเ /x100 =quilero


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- error = 7.43
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปการทดลอง

จา กการทดลอง งหา ค:ควา มเร็งของการเค ่อน ่แบนตร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรูปว า ค่าความ มเ งโน้มถ่วง ค่าเ ากัน 9.0 9 m/s 2 แล ะ เปอ เ น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เ า บ 7.43 % งความคลาดเ ตลอน ดจา ก ก ปกร ควา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อาจเ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อิ
ที
กิ
ท่
ซึ่
มี
อุ
ร่
ท่
กั
มี
ค่
ณ์
ร์
มี
ซ็
ลื
ริ

You might also like