0บทที่ 5 วิวัฒนาการทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

บทที 5 วิวัฒนาการทางสังคมและการเปลียนแปลงของสังคม

5.1 บทนําเบืองต้ น
วิวฒั นาการของมนุษย์เกิดขึนไปพร้ อมกับพัฒนาการทางสังคม ซึงสังคมย่อมมีการเปลียนแปลงไปตาม
การเวลา สมัยก่อนอาจดูเป็ นเรื องยากทีจะสังเกตเห็นการเปลียนแปลงทีเกิดขึนในสังคม เพราะการ
เปลียนแปลงดังกล่าวเกิดขึนอย่างช้ า ๆ แต่ปัจจุบนั ทุกคนแทบไม่สามารถปฏิเสธได้ วา่ สภาพสังคมมีการ
เปลียนแปลงได้ อย่างรวดเร็ว และสามารถเห็นผลของการเปลียนเเปลงได้ ภายในชัวอายุคน แม้ กระนันใน
แต่ละสังคมมีพฒ ั นาการของการเปลียนแปลงช้ าเร็วไม่เท่ากัน เราอาจจะรู้สกึ หงุดหงิดถ้ าวันไหนไม่ได้ ใช้
อินเทอร์ เน็ตรับส่งอีเมล์ มือถือเสียทําให้ ติดต่อเพือนไม่ได้ หรื อไม่ได้ ฟังเพลงหรื อรายการทีชืนชอบ เราชินกับ
สังคมไฮเทค แต่ในโลกใบเดียวกันนียังมีบางคนบางกลุม่ ดําเนินวิถีชีวิตเรี ยบง่าย อาศัยอยูใ่ นป่ าดงพงไพร
ประทังชีวิตด้ วยการหาของป่ าและล่าสัตว์ ใช้ ชีวิตเหมือนกับบรรพบุรุษของมนุษย์ในสังคมโบราณ โลกเรานี
จึงเปรี ยบเสมือนประกอบขึนด้ วยกระเบืองโมเสก หลากหลายสีทีสะท้ อนให้ เห็นว่าสังคมโลกมีลกั ษณะที
แตกต่างและหลากหลาย
5.2 วิวัฒนาการของสังคม
John J. Macionis (2001) กล่าวว่า สังคมมีหลากหลายรูปแบบบ้ างก็เรี ยบง่ายผู้คนอาศัยอยู่
ตามป่ าเขาลําเนาไพร อาศัยธรรมชาติเป็ นแหล่งอาหารเพือประทังชีวิต เช่น แถบเอเชีย และแอฟริกา
บ้ างก็ซบั ซ้ อนผู้คนเคยชินกับความสะดวกสบายด้ วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เช่น แถบยุโรป อเมริกา
นักสังคมวิทยา 2 ท่านคือเกอร์ ฮาร์ ด เลนสกี และ จีน เลนสกี (Gerhard Lanski and Jean
Lenski) มีคําตอบทีช่วยให้ เราเข้ าใจถึงเรื องความแตกต่างด้ านพัฒนาการทางสังคมมนุษย์
โดยเสนอทฤษฎีทีมีชือว่า “วิวฒ ั นาการทางสังคมวัฒนธรรม” ซึงอธิบายว่าการเปลียนแปลงในสังคมหนึง
ๆ เกิดขึนในสังคมนัน ๆ มีการเปลียนแปลงด้ านเทคโนโลยี หรื อเทคโนโลยีเป็ นตัวขับเคลือนให้ สงั คมมีการ
เปลียนแปลงไป กล่าวคือ สังคมทีมีสงั คมเทคโนโลยีตําจึงมีความสามารถในการควบคุมแก้ ไขธรรมชาติ
ได้ น้อยตรงกันข้ ามกับสังคมทีมีความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีสงู จึงมีความสามารถในการควบคุมหรื อ
ดัดแปลงธรรมชาติได้ มาก
5.3 ความหมายของการเปลียนแปลงทางสังคม
การเปลียนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปลียนแปลง ของระบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคม
และการเปลียนแปลงทางด้ านโครงสร้ างของ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ และระหว่างส่วนประกอบของสังคม
นัน เช่นความสัมพันธ์ระหว่างชาวชนบท ชาวเมือง เป็ นต้ น การเปลียนแปลงทางสังคมเกิดขึนได้ ทงในระดั
ั บ
กลุม่ บุคคลและในระดับสถาบันทางสังคม
กล่าวโดยสรุปได้ วา่ การเปลียนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปลียนแปลงรูปร่างลักษณะของสังคม
หรื อรูปแบบความสัมพันธ์ การเปลียนแปลงทางสังคมเกียวกับการพัฒนาชุมชน แผนพัฒนา ความทันสมัย
การพัฒนาสังคม ผลกระทบต่อสังคม การเปลียนแปลง การพัฒนา สังคมเปลียนแปลง การพัฒนาสังคม
ของชุมชน ส่วนการเปลียนแปลงทางวัฒนธรรม เป็ นการเปลียนแปลงสิงทีมนุษย์ได้ กําหนดให้ มีขนึ เช่น
ค่านิยม บรรทัดฐาน ความเชือ เป็ นต้ น
5.4 ประเภทของการเปลียนแปลงทางสังคม
การเเบ่งประเภทของการเปลียนแปลงทางสังคม สามารถแบ่งออกได้ หลายวิธีดงั นี
1. แบ่ งตามระดับของการเปลียนแปลงมี 2 ระดับคือ

1.1 การเปลียนในระดับตัวบุคคลหรื อระดับจุลภาค ซึงได้ แก่ ทัศนคติสว่ นบุคคล พฤติกรรมส่วนบุคคล


และรูปแบบการมีปฏิสมั พันธ์ตอ่ กัน เป็ นต้ น
1.2 การเปลียนแปลงในระดับสถาบันหรื อระดับมหภาค ซึงประกอบด้ วย เทคโนโลยี เศรษฐกิจ
การเมือง ศาสนา การศึกษา ครอบครัว ชนชัน ลักษณะประชากรในชุมชน ลักษณะประชากรในสังคม
ระดับกว้ าง และระดับการเมืองโลก เป็ นต้ น
2. แบ่ งตามแหล่ งทีมาของการเปลียนแปลงแบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
2.1 การเปลียนแปลงจากภายใน เช่น จากการประดิษฐ์ คิดค้ นวิธีการผลิตใหม่ขนในสั
ึ งคมนันเอง จากการ
ต่อสู้ขดั แย้ งระหว่างกลุม่ และกระบวนการในสังคม
2.2 การเปลียนแปลงจากภายนอก เช่น การรับเอาเทคโนโลยีจากภายนอก การล่าอาณานิคมของ
จักรวรรดินิยมอังกฤษต่ออาณานิคม การเปลียนแปลงจากภายนอกบางครังก็เกิดขึนโดยความสมัครใจ
และเลือกสรรโดยสังคมผู้เปลียนแปลง
3. การเปลียนแปลงทีเป็ นไปเองและเป็ นไปตามแผน แบ่ งออกได้ เป็ น 2 ประเภท
3.1 การเปลียนแปลงแบบเป็ นไปเอง (Spontaneous Change) การเปลียนแปลงทาง
สังคมในสมัยโบราณมักเป็ นแบบนี เพราะไม่มีการวางแผน แต่อาจไม่เป็ นเช่นนีเสมอไปก็ได้
3.2 การเปลียนแปลงตามแผน (Planned Change) เป็ นการเปลียนแปลงโดยชนชันนําใน
สังคม ซึงอาจเป็ นสมาชิกทีครองฐานะ และอํานาจ พยายามเข้ ามามีสว่ นกําหนดทิศทางอัตรา
และขันตอนของการเปลียนแปลง
5.5 ปั จจัยของการเปลียนแปลงทางสังคม
ปั จจัยทีก่อให้ เกิดการเปลียนแปลงทางสังคม อาจจะมาจากสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติทีอยูเ่ หนือการ
ควบคุมของมนุษย์ หรื อการกระทําของมนุษย์เอง ซึงประกอบด้ วยหลายปั จจัยดังนี
5.5.1 ปั จจัยทีส่ งผลต่ อการเปลียนแปลงทางสังคม
1) สภาพเเวดล้ อมทางธรรมชาติ คือ สิงแวดล้ อมทางภูมิศาสตร์ เช่น ทีตัง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ
ทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นต้ น
2)การเปลียนแปลงทางโครงสร้ างของประชากร ได้ แก่ การเพิมลดจํานวนประชากร การย้ ายถินฐาน
สัดส่วนของประชากรชายหญิง สัดส่วนของประชากรในด้ านอายุ การกระจายตัวของประชากร ความ
หลากหลายในชาติพนั ธุ์ ฯลฯ
3)เทคโนโลยี คือ การประดิษฐ์ คิดค้ นใหม่หรื อการนําเข้ าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ ในสังคมส่งผลให้ เกิดการ
เปลียนแปลงในแบบแผนการดํารงชีวิต เช่น การใช้ เครื องจักรแทนแรงงานมนุษย์ในช่วงการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรมในยุโรป
4) เศรษฐกิจ คือ การเปลียนแปลงในกฎเกณฑ์ทีเกียวกับกิจกรรมการผลิต การจําหน่ายจ่ายเเจกและ
การอุปโภคและบริโภคสินค้ าและบริการ เช่นระบบกรรมสิทธิ ระบบการผลิต ช่องทางซือสินค้ า การ
ส่งออกและนําเข้ าสินค้ า เป็ นต้ น
5) อุดมการณ์ ทางการเมือง หมายถึง การเปลียนแปลงในแนวคิดทางการเมืองของผู้นําหรื อประชากร
ส่วนใหญ่ อันส่งผลให้ เกิดการเปลียนแปลงในระบบการเมืองการปกครอง
6) อุดมการณ์ ทางศาสนา หมายถึง คําสังสอนทางศาสนาทีส่งผลให้ เกิดการเปลียนแปลงความคิด
ความเชือ และพฤติกรรมของผู้นบั ถือ เช่น หลักจริยธรรมของนิกายโปรเตสแตนต์ในเรื องการทํางาน เช่น
การทํางานหนัก ความขยัน การประหยัด และความมีวินยั
7) จิตวิทยา คือ ความรู้สกึ ของมนุษย์ทีชอบแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ หรื อข้ อเท็จจริง เพือตอบสนองความรู้
อยากเห็นและความสงสัยของตน เช่น การค้ นพบว่าโลกกลม การค้ นพบแรงดึงดูดของโลกและเเสดงหา
วิธีรักษาพยาบาลใหม่ๆ เป็ นต้ น
8) การวางแผนหรือการพัฒนา คือ การกําหนดทิศทางของการเปลียนแปลงทีควรจะเกิดในสังคมโดย
การวางแผนเพือการเปลียนแปลงมันจะเกิดจากวิศยั ทัศน์ของผู้นําหรื ผ้ บู ริหารประเทศ ซึงจะกําหนด
ทิศทาง อัตรา และขันตอนการเปลียนแปลงเอง เช่น นโยบายการสร้ างระบบขนส่งมวลชนใต้ ดินหรื อลอย
ฟ้าเพือลดปั ญหาการจารจร มลพิษ และพลังงาน
9) ขบวนการเคลือนไหวทางสังคม หมายถึง การกระทําทีมีความต่อเนืองของกลุม่ คน ทีมีจดุ มุง่ หมาย
ไปสูก่ ารเปลียนแปลงแบบอย่างของสถาบันทางสังคม
5.5.2 ประเด็นการศึกษาการเปลียนแปลงทางสังคม มี 4 ด้ าน ได้ แก่
1) การเปลียนแปลงในลักษณะทางสังคมของประชาชน เช่น ชาติพนั ธุ์ อาชีพ รายได้ ระดับ การศึกษาเป็ น
ต้ น
2) ด้ านการเปลียนแปลงในพฤติกรรมบางอย่างของสมาชิกในสังคม เช่น การย้ ายถิน การหย่าร้ าง การก่อ
อาชญากรรม การอุปโภคบริโภคสินค้ าและการบริการ เป็ นต้ น
3) ด้ านการเปลียนแปลงในโครงสร้ างทางสังคมและแบบแผนพฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
ในสังคม เช่น ลักษณะครอบครัว ระบบการเรี ยนการสอน ระบอบการเมือง เป็ นต้ น
4) ด้ านการเปลียนแปลงในแบบแผนทางวัฒนธรรม เช่น ค่านิยม ความเชือ ทัศนคติ วิถีชีวิต เป็ นต้ น

5.6 รูปแบบการเปลียนแปลงทางสังคม
วัฒนธรรมเป็ นมรดกของสังคม เขาแบ่งวัฒนธรรมออกเป็ น 3 ส่วนคือ
1) ส่ วนเทคโนโลยี (Technology Subsystem) ประกอบด้ วยวัตถุ เครื องจักรกล เครื องมือ
เครื องใช้ ตา่ ง ๆ
2) ส่ วนสังคม (Sociogical Subsystem) ประกอบด้ วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม
ซึงแสดงออกเป็ นพฤติกรรมทีเป็ นแบบแผน จะเกียวกับครอบครัว เครื อญาติ จริยธรรม การทหาร ฯลฯ
3) ส่ วนอุดมการณ์ (ldeological Subsystem) ประกอบด้ วยแนวคิด ความเชือ หรื อความรู้
ต่าง ๆ
5.7 ทฤษฎีการเปลียนแปลงทางสังคม
ทฤษฎีการเปลียนแปลงทางสังคมทีมีมาตังแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั สามารถจําแนกและแบ่งกลุม่ ได้ ดงั นี
5.7.1 ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) เป็ นแนวคิดทีได้ รับอิทธิพลจากทฤษฎี
วิวฒ
ั นาการทางชีววิยา การพัฒนาของสังคมจะมีวิวฒ ั นาการเป็ นไปตามกฎของธรรมชาติ กล่าวคือ
มนุษย์ทีมีความสามารถในการปรับตัวให้ เข้ ากับสภาวะแวดล้ อมใหม่ ๆ ได้ เป็ นอย่างดีจะมีชีวิตอยู่
รอดตลอดไป และนําไปสูก่ ารพัฒนาทีดีขนต่ึ อไป
5.7.2 ทฤษฎีโครงสร้ าง-หน้ าที (Structural- functional Theory)
แนวความคิดในการพัฒนาทฤษฎีโครงสร้ าง-หน้ าที เป็ นผลมาจากการนําเอาแนวคิดทางด้ านชีววิทยา
มาใช้ โดยอุปมาว่า โครงสร้ างของสังคมเป็ นเสมือนร่างกายทีประกอบไปด้ วยเซลล์ตา่ ง ๆ และมองว่า
หน้ าทีของสังคมก็คือ การทําหน้ าทีของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยแต่ละส่วนช่วยเหลือเกือกูล
กันและกัน
5.7.3 ทฤษฎีความขัดแย้ ง (conflict Theory) เป็ นแนวความคิดทีมีข้อสมมุติฐานทีว่า
พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้ าใจได้ จากความขัดแย้ งระหว่างกลุม่ ต่าง ๆ และบุคคลต่าง ๆ เพราะการ
แข่งขันในการเป็ นเจ้ าของทรัพยากรทีมีคา่ และหายาก

ลําดับขันของการนําไปสูก่ ารปฏิวตั ิของชนชันล่างของสังคมเกิดจากกระบวนการดังต่อไปนี


1) มีความต้ องการในการผลิต
2) เกิดการแบ่งแยกแรงงาน
3 มีการสะสมและพัฒนาทรัพย์สนิ ส่วนบุคคล
4) ความไม่เท่าเทียมทางสังคมมีมากขึน
5) เกิดการต่อสู้ระหว่างชนชันในสังคม
6) เกิดตัวแทนทางการเมืองเพือทําการรักษาผลประโยชน์ของแต่ละชนชัน
7) เกิดการปฏิวตั ิ
5.7.4 ทฤษฎีความทันสมัย (Modernization Theory)
ทฤษฎีความทันสมัยมีพืนฐานมาจากความคิดทีว่า สังคมทังหลายพัฒนามาจากสภาพทีล้ าหลังไปสู่
สภาพทีก้ าวหน้ าขึน โดยมีสงั คมยุโรป และอเมริกาเป็ นแบบอย่าง
การพัฒนาสังคมทีด้ อยพัฒนาหรื อกําลังพัฒนาให้ ไปสูค่ วามทันสมัยหรื อพัฒนาแล้ ว จะต้ องมีการ
ปรับปรุงเปลียนแปลงส่วนต่าง ๆ ของสังคม เช่น ระบบการเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบ
การศึกษา ความคิดและความเชือทางวัฒนธรรม ระบบเมือง ระบบครอบครัว และเทคโนโลยี เป็ นต้ น
5.7.5 ทฤษฎีโลกาภิวัตน์ (Globalization Theory)
“โลกาภิวตั น์” (Globalization) คือขบวนการปฏิสมั พันธ์ระหว่างประเทศและประชาชนทัวโลก
ประกอบด้ วยการผนวกรวมกันทางการตลาดการผลิตและทรัพยากรระหว่างประเทศไว้ ด้วยกัน โดย
ผ่านระบบการค้ าและระหว่างประเทศ การเคลือนย้ ายของแรงงานและกาาเคลือนย้ ายเงินลงทุน
ระหว่างประเทศ
5.8 การจัดการเปลียนแปลงทีเกียวข้ องกับวัตกรรม
องค์ ประกอหลักของการพัฒนา
จะประกอบด้ วย
1) พืนฐานทางด้ านสังคม
2) ความสําคัญกับการพัฒนาสมาชิกขององค์กร
3) เพิมความสามารถในการทํางานขององค์กร
5.9 ปั จจัยในการรับนวัตกรรมทางสังคม
นวัตกรรมเป็ นโครงสร้ างทีสําคัญในขบวนการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
5.9.1 ปั จจัยเกียวกับคนและวิธีการ
1) เพศ ได้ ทําการวิจยั ทีตําบลบางชัน อําเภอมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ในช่วงปี 1954-1956 พบว่า เพศ
ชายรับวัตกรรมได้ ดีกว่าเพศหญิง
2) อายุ ผลปรากฏจากงานวิจยั เดียวกันว่า คนอายุน้อยรับนวัตกรรมได้ ดีกว่าคนอายุมาก
3) การศึกษา ผู้ทีมีการศึกษาสูงมักจะเป็ นคนมีจิตใจเปิ ดกว้ างยอมรับผู้อืนง่ายกว่าผู้ทีมีการศึกษาน้ อย
4)องค์กรเผยแพร่นวัตกรรม ซึงประกอบด้ วยหน่วยงานรัฐบาลและเอกชนทีเกียวข้ องกับการพัฒนาหรื อ
การเปลียนแปลงสังคม

5.9.2 ปั จจัยเกียวกับสิงประดิษฐ์ หรือตัวนวัตกรรม


การยอมรับนวัตกรรมขึนอยูก่ บั ปั จจัยทางด้ านสิงประดิษฐ์ หรื อตังของนวัตกรรมด้ วย ได้ แก่
1) บุคคลจะต้ องเห็นประโยชน์อนั มากมายของสิงประดิษฐ์ เสียก่อน และสามารถนําไปใช้ ได้ หลากหลาย
ทาง เช่น เครื องปั นดินเผานันสามารถใช้ แทนตะกร้ าสานแทนกระเป๋ าทีทําจากหนังได้
2) การประดิษฐ์ ไม่ยงุ่ ยากซับซ้ อน เช่น ภาชนะดินเผาสามารถเอาดินเหนียวมาเผาในเตาอันเดียวกับเตา
ทําอาหารได้
5.10 แนวโน้ มการเปลียนแปลงของมนุษย์
สังคมมนุษย์ มีลักษณะเป็ นพลวัตรทีมีการเปลียนแปลงอยูเ่ สมอ ทังนีเพราะมีปัจจัยทีก่อให้ เกิดการ
เปลียนแปลงหลายประการ
5.10.1 แนวโน้ มจองสังคมโลกโดย Alvin Toffler
1) รูปแบบครอบครัวในอนาคตจะมีลกั ษณะทีสามีภรรยาได้ อยูใ่ กล้ ชิดกันมากขึน
2) วีถีการทํางานจะเป็ นไปในลักษณะบ้ านสํานักงาน
3) ปั ญหาสังคมจะเกิดขึนในอนาคต
4)สังคมแห่งความเท่าเทียม
5.10.2 เครือข่ ายทางสังคมหรือสังคมออนไลน์ Social Network
วงการธุรกิจได้ ให้ ความสําคัญกับสังคมออนไลน์เป็ นอย่างมาก เพราะนับว่าเป็ นสือทางสังคมทีเข้ าถึง
กลุม่ ลูกค้ าได้ ง่าย ไม่เสียค่าใช้ จ่าย และรวดเร็วทีสุด

You might also like