Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 87

หน1วยการเรียนรู+ที่ 1

เอกภพ

ผลการเรียนรู+

• ว 3.1 ม.6/1 อธิบายการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงในช่วงเวลาตHาง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ


• ว 3.1 ม.6/2 อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธSระหวHางความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี รวมทั้งข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลัง
จากอวกาศ
• ว 3.1 ม.6/3 อธิบายโครงสร\างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุตำแหนHงของระบบสุริยะ พร\อมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็น
ทางช้างเผือกของคนบนโลก
• ว 3.1 ม.6/4 อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษS โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาดจากดาวฤกษSก่อนเกิดจนเป`นดาวฤกษS
• ว 3.1 ม.6/5 ระบุปbจจัยที่สHงผลตHอความสHองสวHางของดาวฤกษS และอธิบายความสัมพันธSระหวHางความสHองสวHางกับโชติมาตรของดาวฤกษS
หน1วยการเรียนรู+ที่ 1
เอกภพ

ตัวชี้วัด

• ว 3.1 ม.6/6
อธิบายความสัมพันธSระหวHางสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษS
• ว 3.1 ม.6/7
อธิบายลำดับวิวัฒนาการที่สัมพันธSกับมวลตั้งต\น วิเคราะหSการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษS
• ว 3.1 ม.6/8
อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการแบHงเขตบริวารของดวงอาทิตยS และลักษณะของดาวเคราะหSที่เอื้อตHอการดำรงชีวิต
• ว 3.1 ม.6/9
อธิบายโครงสร\างของดวงอาทิตยS การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และสืบค้นข้อมูล วิเคราะหSและนำเสนอปรากฏการณSหรือเหตุการณSที่เกี่ยวข้อง
กับผลของลมสุริยะและพายุสุริยะที่มีตHอโลกรวมทั้งประเทศไทย
• ว 3.1 ม.6/10 สืบค้นข้อมูล อธิบายการสำรวจอวกาศโดยใช้กล\องโทรทรรศนSในช่วงความยาวคลื่นตHางๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ
และนำเสนอแนวคิดการนำความรู\ทางด\านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกตSใช้ในชีวิตประจำวันหรือในอนาคต
เอกภพในอดีตกับป>จจุบันเหมือนกันหรือไม1 ?
ทฤษฎีบิกแบง

เมื่อประมาณ 13.8 ล+านปPก่อน เกิดบิกแบงขึ้น โดยช่วงเริ่มต+นเอกภพมี


ขนาดเล็กและอุณหภูมิสูง จากนั้นเอกภพขยายใหญ1ขึ้นและอุณหภูมิลดลง
ทฤษฎีบิกแบง

10-32 วินาทีหลังบิกแบง
เกิดอนุภาคมูลฐาน (elementary particle)
และปฏิยานุภาค (antiparticle)

ควาร[ก อิเล็กตรอน นิวทริโน

แอนติควาร[ก โพซิตรอน แอนตินิวทริโน


ทฤษฎีบิกแบง

10-6 วินาทีหลังบิกแบง
เกิดอนุภาคโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน)
และอนุภาคนิวตรอน จากการรวมตัวกันของควารSก

โปรตอน นิวตรอน

2 1
u = up quark ประจุ + d = down quark ประจุ −
3 3
ทฤษฎีบิกแบง

3 นาทีหลังบิกแบง

เกิดนิวเคลียสของฮีเลียมจากการรวมกันของโปรตอนและนิวตรอน
ทฤษฎีบิกแบง

300,000 ปPหลังบิกแบง

เกิดอะตอมไฮโดรเจน และอะตอมฮีเลียม

ไฮโดรเจน ฮีเลียม
ทฤษฎีบิกแบง

1,000 ล+านปPหลังบิกแบง

เกิดเนบิวลารุHนแรก ดาวฤกษS และกาแล็กซี

เนบิวลา กาแล็กซี
ทฤษฎีบิกแบง

13,800 ล+านปPหลังบิกแบง
(ป>จจุบัน)

เอกภพในปbจจุบัน
หลักฐานสนับสนุนบิกแบง

กฎฮับเบิล ยิ่งกาแล็กซีอยูHหHางจากผู\สังเกตมาก ความเร็ว


ในการเคลื่อนที่ออกหHางจากผู\สังเกตจะยิ่งมีค่ามาก

v = H0 D

นั่นคือ เอกภพกำลังขยายตัว
หลักฐานสนับสนุนบิกแบง

พบรังสีไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศที่หลงเหลือมาหลังจากเกิดบิกแบง
กาแล็กซี

กาแล็กซี ประกอบด\วยดาวฤกษSหลายแสนล\านดวง
และเทหSฟwาอื่น ๆ เช่น เนบิวลา และสสารระหวHางดาว
กาแล็กซี ประเภทของกาแล็กซี

กาแล็กซีปกติ กาแล็กซีไม1มีรูปแบบ

กาแล็กซีรี กาแล็กซีกังหัน กาแล็กซีเลนส[

กาแล็กซีกังหัน กาแล็กซีกังหัน
แบบธรรมดา แบบมีคาน
กาแล็กซี กาแล็กซีทางช้างเผือก เป`นกาแล็กซีกังหันแบบมีคาน

นิวเคลียส
ส1วนปeองตรงกลาง
มีดาวฤกษ[อยู1หนาแน1น

จาน
30,000 ปPแสง ส1วนที่แบนออกเปfนระนาบ

ระบบสุริยะ
อยู1ห1างจากจุดศูนย[กลาง
30,000 ปPแสง
ฮาโล
บริเวณที่ล+อมรอบ
กาแล็กซีเปfนทรงกลม
ดาวฤกษ[

- ดาวฤกษ[ที่เราเห็นบนท+องฟhาตอน
กลางคืนส1วนใหญ1เปfนดาว.......
ดาวฤกษ[
ดาวฤกษ[
ดาวฤกษ[
ดาวฤกษ[
ดาวฤกษ์ (Stars) คือ วัตถุขนาดใหญ่ในอวกาศ
ที4มีแสงสว่างและพลังงานในตัวเอง เป็ นมวลก๊าซขนาด
ใหญ่ที4ให้กาํ เนิดอณูพGืนฐานในจักรวาล ทัGงการสร้างและ
ส่ งผ่านพลังงาน แสงสว่างและธาตุต่างๆ ไปในห้วง
อวกาศ
ดาวฤกษ์นG นั ถือกําเนิดภายใต้การรวมตัวกัน
ของกลุ่มก๊าซและฝุ่ นขนาดใหญ่ในอวกาศ ที4เรี ยกว่า
“หมอกเพลิง” หรื อ “เนบิวลา” (Nebula)
ดาวฤกษ[

เนบิวลาที4อยูใ่ กล้โลก
ที4สุด คือ เฮลิกซ์
เนบิวลา (Helix Nebula)
ดาวฤกษ[

ดาวฤกษ์ เกิดจากการหดตัวของฝุ่ นแก๊สระหว่าง


ดวงดาว (interstellar dust) เมื4อกลุ่มแก๊สเหล่านีGหดตัวและ
สะสมมวลมากพอก็จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวส์ชนั
กลายเป็ นดาวฤกษ์
ดาวฤกษ[
หน่ วยวัดระยะทางทางดาราศาสตร์
k. หน่วย AU (Astronomical unit) เหมาะสําหรับดาวฤกษ์ที4อยูไ่ ม่ไกลมากนัก โดย
1 AU = 1.496 x 108 กิโลเมตร
y. หน่วยปี แสง (ly) เป็ นระยะทางที4แสงเดินทางได้ใน k ปี
k ปี แสง = {.| x 1012 กิโลเมตร
}. หน่วย parsec (pc) คือระยะทางที4ทาํ ให้ค่ามุม parallax ของดาวดวงนัGนมีค่าเท่ากับ k ฟิ ลิป
ดา 1 pc = 206,265 AU = 3.08 x 1013 กิโลเมตร = }.y„ ปี แสง
ดาวฤกษ[

ดาวฤกษ[ในระบบสุริยะคือ......................
ดาวฤกษ[

การกระพริบแสงของดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์
- ลําแสงจากดาวแต่ละดวงได้ถูกหักเหไปมา อัน
เนื4องมาจากความหนาแน่นและอุณหภูมิของชัGน
บรรยากาศต่างๆที4มีไม่เท่ากัน และเคลื4อนไหว
อยูต่ ลอดเวลา โดยจะเห็นดาวฤกษ์เป็ นแสง
กระพริ บ
ดาวฤกษ[

สมบัตขิ องดางฤกษ์
- สี
- อุณหภูมิ
- ขนาด
- สเปกตรัม
- ความส่ องสว่าง
ดาวฤกษ[

ความส่ องสว่ าง (brightness)


คือ พลังงานของดาวฤกษ์ดวงนัGนที4ปลดปล่อย
ออกมาใน k วินาที/หน่วยพืGนที4 มีหน่วยเป็ น
วัตต์/ตารางเมตร
ดาวฤกษ[

อันดับความสว่ าง (Magnitude) หรื อ โชติมาตร


คือ ค่ าทีใY ช้ เปรียบเทียบความส่ องสว่ างของดาว ณ
ตําแหน่ งของผู้สังเกต มี aระดับ (ความส่ องสว่ างมาก
สุ ดมีโชติมาตรเป็ น d น้ อยสุ ดเป็ น a
ดาวฤกษ[

กําลังส่ องสว่ าง (Luminosity:L) ของดาวฤกษ์


หมายถึง พลังงานของดาวฤกษ์ ทปีY ลดปล่ อยออกมา
ในเวลา d วินาที ซึYงขึนl อยู่กบั ขนาดและอุณหภูมผิ วิ
ดาวฤกษ์ มีหน่ วยเป็ นวัตต์ (W)
ดาวฤกษ[
ความส1องสว1าง : พลังงานที่ดาวฤกษSปลดปลHอยออกมาในเวลา 1 วินาทีตHอหนHวยพื้นที่ ณ ตำแหนHงของผู\สังเกต
ป>จจัย ตำแหนHงของผู\สังเกต
ขนาดของดาวฤกษS

โชติมาตร : ค่าที่แสดงระดับความสHองสวHางของดาวฤกษS ณ ตำแหนHงของผู\สังเกต


โชติมาตรปรากฏ : โชติมาตรของดาวฤกษSที่สังเกตเห็นจากโลก
โชติมาตรสัมบูรณ[ : โชติมาตรเมื่อดาวฤกษSอยูHหHางจากโลก 10 พารSเซก
ดาวฤกษ[
ดาวฤกษ[

นักดาราศาสตรSแบHงชนิดของดาวฤกษSตาม

สี อุณหภูมิผิว และชนิดสเปกตรัม

O B A

M
F G K
ดาวฤกษ[
สี อุณหภูมิผิว และชนิดสเปกตรัม

O B A
น้ำเงิน น้ำเงินแกมขาว ขาว
> 30,000 K 10,000 - 30,000 K 7,500 - 10,000 K

F G K M
ขาวแกมเหลือง เหลือง ส\ม แดง
6,000 – 7,500 K 4,900 - 6,000 K 3,500 - 4,900 K 2,500 - 3,500 K
ดาวฤกษ[
สี อุณหภูมิผิว และชนิดสเปกตรัม

O B A
น้ำเงิน น้ำเงินแกมขาว ขาว
> 30,000 K 10,000 - 30,000 K 7,500 - 10,000 K

F G K M
ขาวแกมเหลือง เหลือง ส\ม แดง
6,000 – 7,500 K 4,900 - 6,000 K 3,500 - 4,900 K 2,500 - 3,500 K
ดาวฤกษ[
สี อุณหภูมิผิว และชนิดสเปกตรัม
ดาวฤกษ[
กำเนิดดาวฤกษ[
ดาวฤกษSมีแหลHงกำเนิดเจากเนบิวลา

ดาวฤกษSทุกดวงเกิดจากการยุบรวมกันของฝุ่ นและกลุHมแก๊สจนเกิด
แรงโน\มถHวงแกนกลางรวมตัวขึ้นเป`นดาวเริ่มต\นที่เรียกวHา proto-star
ดาวฤกษ[
กำเนิดดาวฤกษ[ เกิดปฏิกิริยาเทอรSมอนิวเคลียรS
ดาวฤกษSก่อนเกิดกลายเป`นดาวฤกษS

สสารภายในเนบิวลายุบตัว
ความดันและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
เกิดดาวฤกษSก่อนเกิด

ดาวฤกษSอยูHในสภาพ
สมดุลอุทกสถิตและปลดปลHอย
พลังงานเป`นเวลานาน
ดาวฤกษ[ วิวัฒนาการของดาวฤกษ[

วิวัฒนาการและจุดจบของดาวฤกษSขึ้นอยูHกับ มวลตั้งต\นของดาวฤกษS

“จุดจบของดาวฤกษSจะช้าหรือเร็ว ขึ้นอยูHกับมวลสารของดาวฤกษSนั้น”
ดาวฤกษ[ วิวัฒนาการของดาวฤกษ[
มวล
เวลา น+อย ดาวฤกษ[ก่อนเกิด ดาวฤกษ[ก่อนเกิด ดาวฤกษ[ก่อนเกิด มาก
น+อย มวล 0.08-9 เท1าของดวงอาทิตย[ มวล 9-25 เท1าของดวงอาทิตย[ มวลมากกว1า 25 เท1าของดวงอาทิตย[

ดาวฤกษ[
คล+ายดวงอาทิตย[ ดาวยักษ[ใหญ1
(super giant) ดาวยักษ[ใหญ1
(main sequence) (super giant)

ดาวยักษ[ใหญ1แดง
ดาวยักษ[แดง (red supergiant) ซูเปอร[โนวา
(red giant) (supernova)

ซูเปอร[โนวา
(supernova) หลุมดำ
เนบิวลาดาวเคราะห[ (black hole)
(planetary nebula)
ดาวนิวตรอน
มาก ดาวแคระขาว
(neutron star)
(white dwaf)
ระบบสุริยะ
สสารบริเวณรอบ ๆ รวมตัวกัน
กำเนิดระบบสุริยะ เป`นดาวเคราะหSวงใน ดาวเคราะหSวงนอก
และบริวารของดวงอาทิตยS
สสารภายในเนบิวลาสุริยะ
รวมตัวกัน

มวล 99.8% ของเนบิวลา


รวมตัวกันบริเวณใจกลาง
ดาวฤกษSก่อนเกิด กลายเป`นดวงอาทิตยS
เกิดเป`นดาวฤกษSก่อนเกิด
สสารอื่น ๆ เริ่มรวมตัวกัน
และมวล 0.2% รวมตัวกันเป`นจานรอบ ๆ
ระบบสุริยะ
การแบ1งเขตบริวารของดวงอาทิตย[
แถบดาวเคราะหSน\อย แถบไคเปอรS

ดาวเคราะหSวงใน ดาวเคราะหSวงนอก
- ดาวเคราะหSหิน - ดาวเคราะหSแก๊ส
- ผิวดาวเป`นของแข็ง - ผิวดาวเป`นแก๊ส
ระบบสุริยะ
ดาวเคราะห[ที่เอื้อต1อการดำรงชีวิต

โคจรรอบดวงอาทิตยSในระยะที่เหมาะสม

มีอุณหภูมิเหมาะสม

สามารถเกิดน้ำที่ยังคงสถานะเป`นของเหลว
ดวงอาทิตย[

คอโรนา (corona)
โครโมสเฟPยร[ (chromosphere)
โฟโตสเฟPยร[ (photosphere)

เขตการพาความร+อน (convection zone) : ได\รับพลังงาน


จากเขตการแผHรังสีแล\วสHงไปยังชั้นบรรยากาศ
เขตการแผ1รังสี (radiation zone) : ได\รับพลังงาน
จากแก่นแล\วสHงตHอไปยังเขตการพาความร\อน
แก่น (core) : บริเวณใจกลางซึ่งเกิดปฏิกิริยา
เทอรSมอนิวเคลียรSฟ‚วชัน
ดวงอาทิตย[

จุดมืด (sunspot) :
บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำที่สุดบนดวงอาทิตยS

เปลวสุริยะ (prominence) :
การระเบิดอยHางรุนแรงบริเวณจุดมืดบนดวงอาทิตยS

การลุกจ้า (flare) :
การระเบิดอยHางรุนแรงบริเวณจุดมืดบนดวงอาทิตยS
ดวงอาทิตย[
ลมสุริยะ เกิดจากการปลดปลHอยอนุภาค พายุสุริยะ เกิดจากการพHนมวลคอโรนารHวมกับการลุกจ้า
ที่มีประจุไฟฟwาพลังงานสูงจากชั้นคอโรนา ทำให\อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด\วยความเร็วสูง
มีความเร็ว 200 – 900 km/s
ทำให+เกิด ทำให+เกิด

หางของดาวหาง แสงเหนือแสงใต\ รบกวนการสHง กระทบวงจร


กระแสไฟฟwา อิเล็กทรอนิกสS
และการสื่อสาร ของดาวเทียม
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ คือ เทคโนโลยีที0ใช้ในการสํารวจอวกาศ
หรื อศึกษาโลกของเราจากอวกาศ

ตัวอย่าง เทคโนโลยีอวกาศ เช่น กล้องโทรทรรศน์ จรวด


ดาวเทียม สถานีอวกาศ ระบบขนส่ งอวกาศ

นักดาราศาสตร์นาํ สมบัติของทัศนอุปกรณ์มาใช้
ในการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
เทคโนโลยีอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์แต่ละชนิดใช้สงั เกตวัตถุทอ้ งฟ้าในช่วงคลื4น
ช่ วงความยาวคลื7นทีส7 ามารถ
ชนิดของกล้ องโทรทรรศน์ วัตถุอวกาศทีเ7 หมาะสมในการศึกษา
รับสั ญญาน

กล้ องโทรทรรศน์ ฟาสต์ 1 cm - 20 m ซุปเปอร์โนวา หลุมดํา กาแล็กซี


สสารระหว่างดาว กาแล็กซี
กล้ องโทรทรรศน์ อวกาศฮับเบิล 10 - 320 nm
องค์ประกอบของเนบิวลาดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์คล้ายโลก เอกภพและ
กล้ องโทรทรรศน์ อวกาศเจมส์ เวบบ์ 1 m – 1 mm
กาแล็กซี ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์

กล้ องโทรทรรศน์ อวกาศสปิ ตเซอร์ 1 m – 1 mm ดาวฤกษ์เกิดใหม่ กาแล็กซี

ดาวนิวตรอน เศษซากของดาวฤกษ์ทีS
กล้ องโทรทรรศน์ อวกาศจันทรา 10 - 0.1 nm หลงเหลือจากซุปเปอร์โนวา หลุดดํา
ในใจกลางกาแล็กซี
เทคโนโลยีอวกาศ
กล+องโทรทรรศน[ที่สังเกตการณ[บนพื้นโลก

ช่ วงคลื(นแสงทีต( ามองเห็น
ใช้ ศึกษาดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ กาแล็กซี

ช่ วงคลื(นวิทยุ
ใช้ ศึกษาซู เปอร์ โนวา หลุมดํา กาแล็กซี
เทคโนโลยีอวกาศ
กล+องโทรทรรศน[อวกาศ ช่ วงคลื(นไมโครเวฟ
ใช้ ศึกษารังสี ไมโครเวฟพืนP หลังจากอวกาศ
ช่ วงคลื(นอินฟราเรด
ใช้ ศึกษาดาวฤกษ์ เกิดใหม่ กาแล็กซี

ช่ วงคลื(นอัลตราไวโอเลต
ใช้ ศึกษาสสารระหว่ างดาว กาแล็กซี เนบิวลาดาวเคราะห์
ช่ วงคลื(นรังสี เอกซ์
ใช้ ศึกษาดาวนิวตรอน เศษซากของดาวฤกษ์ จากซู เปอร์ โนวา
ช่ วงคลื(นรังสี แกมมา
ใช้ ศึกษาดาวนิวตรอน สสารมืด การลุกจ้ าของดวงอาทิตย์
เทคโนโลยีอวกาศ
คําถามชวนคิด
ถ้าจะศึกษาวัตถุทอ้ งฟ้าที4มีความยาวคลื4นในช่วงรังสี เอกซ์
สามารถใช้กล้องโทรทรรศน์บนพืGนโลกได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ไม่ได้ เนื*องจากคลื*นในช่วงรังสี เอกซ์ จะถูกดูดกลืนจากชั>นบรรยากาศของโลก

ทําไมกล้องโทรทรรศน์ที4ใช้ศึกษาวัตถุทอ้ งฟ้าต้องใช้ความยาวคลื4น
ในช่วงต่าง ๆ
เนื*องจากกล้องโทรทรรศน์แต่ละชนิดให้รายละเอียดของวัตถุทอ้ งฟ้าแตกต่างกัน
(วัตถุทอ้ งฟ้าแผ่พลังงานหลายช่วงคลื*น)
เทคโนโลยีอวกาศ
หอดูดาว
เทคโนโลยีอวกาศ
หอดูดาว
เทคโนโลยีอวกาศ
คําถามชวนคิด

เพราะเหตุใดหอดูดาวขนาดใหญ่ จะนิยมใช้ กล้ องโทรทรรศน์ แบบสะท้ อนแสง

เนื(องจากการผลิตกระจกสะท้ อนขนาดใหญ่ สามารถผลิตได้ ง่ายและมีราคาถูกกว่ าเลนส์


ทีม( ขี นาดหน้ ากล้ องเท่ ากัน
เทคโนโลยีอวกาศ
กล้องโทรรศน์ชนิดหักเหแสง
ฮานส์ ลิเพอร์ซี (Hans Lippershey)
ช่างทําแว่นตาชาวฮอลแลนด์ ซึ4ง
ค้นพบคุณสมบัติการขยายภาพเมื4อ
นําเลนส์นูนสองชิGนมาเรี ยนกันใน
ระยะที4เหมาะสม ต่อมา
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)
เป็ นบุคคลแรกที4ริเริ4 มนํากล้องมาใช้
สังเกตดวงดาว
เทคโนโลยีอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง
เทคโนโลยีอวกาศ

ยานอวกาศ
ยานอวกาศ หมายถึง ยานพาหนะทีถ( ูกส่ งออกไปในอวกาศ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื(อใช้ สํารวจ
อวกาศและวัตถุท้องฟ้ าทีอ( ยู่ไกลออกไป
ยานอวกาศ ประโยชน์ ด้านการสํ ารวจ

Apollo สํารวจดวงจันทร์

Curiosuty สํารวจดาวอังคาร

Juno สํารวจดาวพฤหัสบดี

Cassini-Huygens สํารวจดาวเสาร์

New Horizons สํารวจดาวเคราะห์แคระพลูโต


เทคโนโลยีอวกาศ

ยานอวกาศ : ยานพาหนะทีถ( ูกส่ งไปสํ ารวจอวกาศและวัตถุท้องฟ้ าต่ างๆ

สถานีอวกาศ : ห+องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร[ที่อยู1ในอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
สถานีอวกาศ

สถานีอวกาศที4ใหญ่ที4สุด คือ สถานีอวกาศนานาชาติ ( International Space Station : ISS )


เทคโนโลยีอวกาศ
สถานีอวกาศ

ความสํ าคัญและภารกิจของสถานีอวกาศนานาชาติ ( International Space Station : ISS )


- เกิดจากความร1วมมือขององค์กรของ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุeน แคนาดา และรัสเซีย
- มีวตั ถุประสงค์ เพืYอวิจยั ทดลอง และประดิษฐ์ คดิ ค้ นในสภาพไร้ นําl หนัก
เทคโนโลยีอวกาศ
สถานีอวกาศ

ประโยชน์ ของสถานีอวกาศ
- ด้านโครงสร้างเคมี : ในสภาพไร้นG าํ หนักจะมีขนาดใหญ่ ทําให้วเิ คราะห์ได้ง่ายกว่า
- ด้านการแพทย์ : พัฒนายาชนิดใหม่
- ด้านเชืGอเพลิง : ศึกษากระบวนการเผาไหม้เชืGอเพลิง

สภาพไร้น> าํ หนัก หมายถึง สภาพไร้แรงโน้มถ่วง


เทคโนโลยีอวกาศ
ดาวเทียม

ดาวเทียม ( satellite ) หมายถึง สิ0 งประดิษฐ์ที0ส่งขึQนไปโคจรรอบโลก


โดยมีความเร็ วสัมพันธ์กบั มวลและระยะห่างจากโลก
เทคโนโลยีอวกาศ
ดาวเทียม วงโคจรค้างฟhา ≈ 35,780 km
(Geostationary Earth Orbit ; GEO)

วงโคจรระดับกลาง ≈ 10,000 – 20,000 km


(Medium Earth Orbit ; MEO)

วงโคจรระดับต่ำ ≈ 160 – 2,000 km


(Low Earth Orbit ; LEO)
เทคโนโลยีอวกาศ
ประเภทของดาวเทียม
ดาวเทียม

N.ดาวเทียมทีOอยูว่ งโคจรใกล้โลก ! .ดาวเทียมวงโคจระดับกลาง F .ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า


( Low Earth Orbit , LEO ) ( Medium Earth Orbit , MEO ) ( Geostationary Earth Orbit , GEO )

ดาวเทียม ดาวเทียมอินเทลแซต (Intelsat)


ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมจีพเี อส
ทรัพยากรธรรมชาติ

ดาวเทียมไทยคม (Thaicom)

ดาวเทียมแลนด์ แซต ,
ดาวเทียมธีออส
ดาวเทียมเทอร์ รา ดาวเทียมฮิมาวาริ (Himawari)
(THEOS)
( LANDSAT , TERRA )

ดาวเทียม FY-2
เทคโนโลยีอวกาศ
ดาวเทียม ระดับวงโคจรของดาวเทียมสั มพันธ์ กบั การใช้ งานของดาวเทียม

- ดาวเทียมที*อยูว่ งโคจรใกล้โลก : สํารวจสภาพแวดล้อมของโลก ถ่ายภาพผิวโลกและเมฆ


- ดาวเทียมวงโคจรระดับกลาง : ใช้ในด้านการบอกตําแหน่งบนโลก
- ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า : ดาวเทียมประเภทสื* อสาร และอุตุนิยมวิทยา
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด

- จรวด ( rocket ) หมายถึง เครื* องยนต์ที*มีพลังงานขับดันสู งมาก ใช้ในการส่ งดาวเทียมและ


ยานอวกาศออกนอกโลก
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด
ความเร็ วหลุดพ้น ( escape velocity ) คือ ความเร็ วที4ใช้ในการส่ งจรวดออก
นอกโลก มีความเร็ วเท่ากับ kk.y กิโลเมตรต่อวินาที
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด
. จรวดแบ่งออก เป็ น y ประเภท คือ
k. จรวดเชืGอเพลิงแข็ง : จรวดที4อยูต่ ิดถังเชืGอเพลิงทัGงสองข้าง เมื4อใช้เชืGอเพลิงหมดจะ
สลัดทิGงลงทะเลและนํากลับมาใช้ใหม่ได้
y. จรวดเชืGอเพลิงเหลว : ที4เก็บเชืGอเพลิง เมื4อเชืGอเพลิงหมดจะแยกตัวออกจากยาน
อวกาศ และเผาไหม้ในชัGนบรรยากาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด
.ระบบขนส่ ง ประกอบด้วย } ส่ วนหลัก
เทคโนโลยีอวกาศ
จรวด
. การอาศัยอยูใ่ นอวกาศของมนุษย์อวกาศเป็ นเวลานาน ๆ มีผลกระทบต่อมนุษย์อวกาศ
- ระบบต่าง ๆในร่ างกายเปลี4ยนแปลง เช่น กล้ามเนืGอมีขนาดเล็กลง หัวใจเต้นช้าลง
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
การประยุกต[ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
ด+านวัสดุศาสตร[ ด+านอาหาร
§ ยางรถยนตSที่ใช้งานได\นาน § การทำแห\งเยือกแข็งแบบสุญญากาศ (freeze drying)
§ เครื่องตรวจจับควัน
§ เซลลSสุริยะ ด+านการแพทย[
§ ชุดนักดับเพลิง § กล\องสHองตรวจและผHาตัดอวัยวะภายใน 3 มิติ
§ ที่นอนลดการปวดเมื่อย § เครื่องวัดอุณหภูมิทางหู
สรุป บิกแบง เอกภพเริ่มจากขนาดเล็กมากและอุณหภูมิสูงมาก
จากนั้นเอกภพขยายตัวใหญHขึ้นและอุณหภูมิลดลง
ระหวHางที่เอกภพขยายตัวมีการเปลี่ยนแปลงสสารและพลังงาน

13,800 ล+านปP หลังบิกแบง


เอกภพปbจจุบันประกอบด\วยเนบิวลา กาแล็กซี และวัตถุท\องฟwาตHาง ๆ
1,000 ล+านปP หลังบิกแบง
เกิดเนบิวลา ดาวฤกษS หลักฐานสนับสนุนบิกแบง
300,000 ปP หลังบิกแบง และกาแลกซีรุHนแรก - การขยายตัวของเอกภพตามกฎฮับเบิล
เกิดอะตอมไฮโดรเจน
อะตอมฮีเลียม และรังสี V=H0D
3 นาที หลังบิกแบง
ไมโครเวฟพื้นหลัง ยิ่งกาแล็กซีอยู1ห1างจากผู+สังเกตมาก
เกิดนิวเคลียสของฮีเลียม
10-6 วินาที หลังบิกแบง ความเร็ ว ในการเคลื ่ อ นที ่ อ อกห1 า ง
10-32 วินาที หลังบิกแบง จากผู+สังเกตก็จะยิ่งมีค่ามาก
เกิดอนุภาคโปรตอน
เอกภพขยายตัวรวดเร็ว
และอนุภาคนิวตรอน - การพบรังสีไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ
เกิดอนุภาคและปฏิยานุภาค
สรุป กาแล็กซี ทางช้างเผือก
คือ จานกาแล็กซีที่มองเห็นจากโลก
กาแล็กซีทางช้างเผือก
เป`นกาแล็กซีกังหันแบบมีคาน
ฮาโล
บริเวณทรงกลมที่
ล\อมรอบกาแล็กซี

จาน
สHวนที่แบนออก
เป`นระนาบ ระบบสุริยะ
นิวเคลียส
อยูHบริเวณจานกาแล็กซี
สHวนป‰องตรงกลางกาแล็กซี
หHางจากศูนยSกลางของกาแล็กซี
มีดาวฤกษSอยูHหนาแนHน
ประมาณ 30,000 ปŠแสง
สรุป ดาวฤกษ[
ความส1องสว1าง โชติมาตร
พลังงานจากดาวฤกษSที่ปลดปลHอย ค่าแสดงระดับความสHองสวHางของดาวฤกษS
ออกมาในเวลา 1 วินาทีตHอหนHวย ณ ตำแหนHงของผู\สังเกต
พื้นที่ ณ ตำแหนHงของผู\สังเกต

โชติมาตรมาก ความส1องสว1างน+อย
สี อุณหภูมิผิว
และ ชนิดสเปกตรัม โชติมาตรน+อย ความส1องสว1างมาก

สี น้ำเงิน น้ำเงินแกมขาว ขาว ขาวแกมเหลือง เหลือง ส+ม แดง


อุณหภูมิผิว (K) >30,000 10,000-30,000 7,500-10,000 6,000-7,500 4,900-6,000 3,500-4,900 2,500-3,500
สรุป
ดาวฤกษ[ ดาวยักษ[แดง เนบิวลาดาวเคราะห[
วิวัฒนาการของดาวฤกษ[ คล\ายดวงอาทิตยS
ดาวแคระขาว

ดาวฤกษ[ก่อนเกิด
นวล 0.08-9 เทHา
ของดวงอาทิตยS
ดาวยักษ[ใหญ1แดง
ดาวฤกษ[ก่อนเกิด ซูเปอร[โนวา
เนบิวลา มวล 9-25 เทHา ดาวยักษ[ใหญ1 ดาวนิวตรอน
การระเบิดอยHางรุนแรง
ของมวลดวงอาทิตยS

ซูเปอร[โนวา
การระเบิดอยHางรุนแรง หลุมดำ
ดาวฤกษ[ก่อนเกิด
มวลมากกวHา 25 เทHา
ดาวยักษ[ใหญ1
ของมวลดวงอาทิตยS
สรุป คอโรนา
บรรยากาศชั้นนอกสุด มีบรรยากาศเบาบาง
ดวงอาทิตย[ โครโมสเฟPยร[
อยูHถัดจากชั้นโฟโตสเฟŠยรS อุณหภูมิประมาณ 4,000 – 20,000 เคลวิน
โฟโตสเฟPยร[
ชั้นบรรยากาศที่ติดกับเขตการพาความร\อนซึ่งเปลHงแสงออกสูHอวกาศ
เขตการพาความร+อน
บริเวณที่ได\รับพลังงานจากเขตการแผHรังสี แล\วสHงตHอไปยังชั้นบรรยากาศ
เขตการแผ1รังสี
บริเวณที่ได\รับพลังงานจากแก่น แล\วสHงตHอไปยังเขตการพาความร\อน
แก่น
บริเวณใจกลาง ซึ่งเกิดปฏิกิริยาเทอรSมอนิวเคลียรSฟ‚วชัน อุณหภูมิสูงถึง 15 ล\านเคลวิน

จุดมืดดวงอาทิตย[ (sunspot) การลูกจ้า (flare) และเปลวสุริยะ (prominence)


เกิดจากแกรนูล ซึ่งเป`นบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำที่สุด เป`นการระเบิดอยHางรุนแรงบริเวณจุดมืดบนดวงอาทิตยS
สรุป เทคโนโลยีอวกาศ
การสำรวจอวกาศ
กล+องโทรทรรศน[ที่ติดตั้งบนโลก กล+องโทรทรรศน[อวกาศ ยานอวกาศ
ใช้ศึกษาวัตถุ ใช้ศึกษาวัตถุ พาหนะที่ใช้สำรวจอวกาศ
- ช่วงคลื่นแสงที่มองเห็น - ช่วงคลื่นอินฟราเรด สถานีอวกาศ
- ช่วงคลื่นวิทยุ - ช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต
ห\องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรS
- ช่วงคลื่นรังสีเอกซ์
ที่อยูHในอวกาศ
- ช่วงคลื่นรังสีแกมมา
การประยุกต[ใช้
ด+านวัสดุศาสตร[ ด+านอาหาร ด+านการแพทย[
- ยางรถยนตSที่ใช้งานได\นาน - การทำแห\งเยือกแข็งแบบ - กล\องสHองตรวจและผHาตัดอวัยวะ
- เครื่องตรวจจับควัน สุญญากาศ (freeze drying) ภายในรHางกาย 3 มิติ
- เซลลSสุริยะ - เครื่องวัดอุณหภูมิทางหู
- ชุดนักดับเพลิง ลดอุณหภูมิและความชื้นในอาหาร (infrared ear thermometer)
- ที่นอนลดการปวดเมื่อย ทำให\อาหารมีน้ำหนักเบา เก็บไว\ได\นาน
แนวข้อสอบ
เพิ่มเติม
เพิ่มเติม
เพิ่มเติม
เพิ่มเติม

You might also like