Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

1

เมื่อเราดูนาฬิกา ว่าตอนนี้กี่โมงแล้ว ถ้านาฬิกามี


1. แค่เข็มชัว่ โมงก็บอกได้แค่สองโมงกว่า สามโมงครึ่ ง
2. มีเข็มนาทีร่วมด้วย บอกได้วา่ สองโมงยีส่ ิ บ สามโมงครึ่ ง
3. มีเข็มวินาทีร่วมด้วย ก็บอกได้วา่ สองโมงยีส่ ิ บนาทียสี่ ิ บวินาที ซึ่งจริ ง ๆพอมองตรงเวลาที่วา่ เข็มวินาที
ก็เปลี่ยนไปแล้ว กลายเป็ น21..22....ตามองไม่ทนั
ถ้างั้นเข็มวินาทีไม่มีประโยชน์หรื อ ในชีวติ ประจาวันแค่นาทีกพ็ อ แต่ถา้ เป็ นการเปรี ยบเทียบอะไรสัก
อย่าง เช่น วิง่ 100 เมตร 10 วินาที ถือกันว่าดีกว่า 11 วินาที ยังมีเศษทศนิยมของวินาทีอีก เช่น 10.05
วินาทีถือกันว่าดีกว่า 10.06วินาที มีนาฬิกาจับเวลาใช้คนกดถือว่าไม่เที่ยงไม่เป็ นปัจจุบนั หรื อเวลาที่
แท้จริ งพอก็หาเทคโนโลยีม่ าช่วยจนคิดว่าพอเชื่อถือได้ แต่มนั ก็ยงั ได้ แค่ ประมาณ ชั่วขณะ หรื อ "สักแต่
ว่ า" แค่น้ นั

กลับมาที่วนิ าที เราได้เรี ยนรู ้อะไร ลองหาปัจจุบนั ที่แท้จริ ง หาไม่เจอะ บอกไม่ได้ เพราะมัน
เปลี่ยนไปตลอด เราไม่เคยสนใจเลยว่านัน่ แหล่ะ คือความจริ งแท้ ปัจจุบันแท้ จริง คือ การเปลีย่ นแปลงที่
เป็ นไปอยู่ตลอด อดีต อนาคต จึงมีไม่ ได้ ที่มีได้กอ็ ยูใ่ นระบบประสาทซึ่งรับรู ้ขอ้ มูลจากอวัยวะรับรู ้ต่าง ๆ
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่งเชื่อถือไม่ได้เพราะมันก็เปลี่ยนตามเหตุปัจจัยเหมือนกัน แต่ (รู ้ไม่ทนั เพราะ
อายตนะ ฯลฯ) ก็เลยเอาข้อมูลที่ขาดๆหายๆที่มีอยูจ่ าได้ (เวทนา สัญญา) มาเปรี ยบเทียบกับ (นามรู ปใหม่
ที่ได้รับจากผัสสะ) พอรู ้ (วิญญาณ) แล้วก็เติมอะไรๆเข้าไปก็คือมัว่ ๆเอาตามความอยาก (สังขาร) ก็เลย
กลายเป็ นของที่ขาดๆวิน่ ๆเปลี่ยนๆเชื่อไม่ได้ แต่นนั่ แหล่ะคือ สิ่ งที่คิดกันว่านัน่ ๆ นี่ๆ ยึดเอาตามสมมุติถา้
พอเห็นจริ งเข้าบ้างก็จะเบื่อเรื่ องที่รู้เห็นเวียนหัวเพราะมันเชื่อไม่ได้เปลี่ยนตลอดบังคับไม่ได้ (อนิจจัง
ทุกขขัง อนัตตา) จะรู ้กฏธรรมชาติและทางที่พึงปฏิบตั ิ (จะมากหรื อน้อยก็ตามแต่) เหมือนที่พระพุทธ
องค์ตรัสรู ้ทรงบอกอยูเ่ สมอว่า จะมีพระพุทธองค์ หรือไม่ กฏธรรมชาตินี้มันก็มีอยู่เช่ นนี้และตลอดไป
2

นี่คือการพิจารณา อนิจจสัญญา อนิจจลักษณะ อนิจจตา อนิจจตา และ ไตรลักษณ์ จากนาฬิกา แล้ว


น้อมเข้ามาพิจารณาขันธ์หา้ ในตน (เป็ นเพียงวิธีหนึ่งเท่านั้น เพื่อการพิจารณา อริ ยสัจจ์ ๔ ไตรลักษณ์
ปฏิจจสมุปบาท อิทปั ปั จยตา ต่อไปทาได้โดยพิจารณาธรรมชาติท้ งั นอก (เช่นน้ าในแม่น้ า ใบไม้หล่น
ฯลฯ) และในตน ก็จะได้ผลอย่างเดียวกัน คือ มีการเปลีย่ นแปลงของสรรพสิ่งทีเ่ ป็ นไปอยู่ตลอด ไม่ มี
ตัวตนอะไรของใคร ไปฝื นกฏก็ได้ รับผลคือทุกข์ ก็คือที่เรี ยกกันว่า ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขขัง อนัตตา)
การเปลี่ยนแปลงนี้ข้ ึนกับเหตุปัจจัยที่เปลี่ยนตามเหตุปัจจัยอื่น ๆ เรื่ อย ๆต่อกันไปไม่รู้จบ การปรากฏของ
นามรู ปใด ๆชั่วขณะเมื่อเหตุปัจจัยครบสมมุติเรี ยกว่ าเกิด พอไม่ ครบเรี ยกว่ าดับเป็ นเช่ นนีอ้ ยู่ตลอด (เมื่อ
สิ่ งนี่มสี ิ่ งนีก้ ม็ ี เมื่อสิ่ งนีไ้ ม่ มสี ิ่ งนีก้ ไ็ ม่ ม)ี ทุกนามรู ปที่มอี ยู่ทั้งจักรวาลเกีย่ วข้ องเป็ นเหตุปัจจัยแก่ กนั ไม่
มากก็น้อย เมื่อสิ่ งใดเปลี่ยนก็เกิดการเปลี่ยนไปหมด สิ่ งที่ใหญ่ เป็ นปั จจัยแก่ สิ่งเล็กหรื อกลับกัน แต่การ
เปลี่ยนแปลงมีอยูต่ ลอดไม่วา่ สิ่ งใด จึงบอกว่ า มี หรื อ ไม่ มี ก็ไม่ ใช่ (เมื่อสิ่ งนี่มีสิ่งนี้กม็ ี เมื่อสิ่ งนี้ไม่มีสิ่งนี้ก็
ไม่มี) แต่ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์คือการรู ้เหตุปัจจัยในตัวเอง ซึ่งพระพุทธองค์ใช้ถามสอนผูท้ ี่มีเหตุปัจจัย
พอที่จะหลุดพ้นอยูเ่ สมอ สอนว่าขันธ์หา้ ไม่เที่ยง (อนิจจัง) แปรปรวนอยูค่ งที่ไม่ได้ (ทุกข์ ) จึงไม่ใช่
ตัวตนอะไรของใคร (อนัตตา) เห็นอยูอ่ ย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายในขันธ์หา้ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้ นกาหนัด
เพราะสิ้ นกาหนัด จิตก็พน้ เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้วา่ พ้นแล้ว ทราบชัดด้วยตนเองว่า ชาติสิ้นแล้ว
พรหมจรรย์ได้อยูจ่ บแล้ว กิจที่ควรทาได้ทาเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็ นอย่างนี้มิได้มี พ้นแล้วจาก
อาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมัน่ ไตรลักษณ์ เป็ น อิทัปปัจยตา ปฏิจจสมุปบาท คร่ าวๆโดยไม่ ต้องลง
รายละเอียด แค่น้ ีกพ็ อแก่การหลุดพ้นแล้ว แต่ผทู ้ ี่มีปัญญาและรู ้เรื่ องคาสมมุติบญั ญัติต่าง ๆ ก็จะทรงสอน
ลงลึกไปให้ในปฏิจจสมุปบาท (อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรู ป สฬายตนะ ผัสสะ ตัณหา อุปาทาน ภพ
ชาติ ชรา มรณะ โสกปริ เทวทุกขโทมนัสและ อุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ท้ งั มวลนี้ ย่อมมีดว้ ย
ประการอย่างนี้ ทั้งอนุโลมและปฏิโลม) เช่น ท่านพระมหากัจจานะ ฯลฯ ที่ทรงสรุ ปให้ง่ายที่สุดแก่การ
สอนคือ อริ ยสัจจ์ ๔ ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท อิทปั ปัจยตา ตามลาดับความยากซึ่งขึ้นอยูก่ บั สติปัญญา
ของผูฟ้ ังรับการสอน ซึ่งก็คือเรื่ องเดียวกันคือกฏธรรมชาติที่ทรงตรัสรู ้

เวลาจึงไม่มีจริ งเป็ นการสมมุติเพื่อการสื่ อสารเหมือนภาษา น้ าหนัก มิติอื่น ๆ ความยาว ฯลฯของมนุษย์


เท่านั้น

You might also like