Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

การศึกษามาตรฐานการออกแบบทางเท้า

A Study of Standards of Footpath Design

1 2 3
กุสุมา สาเบาะ ฐาปนนท์ คุ่ยเสงี่ยม นันทิวัฒน์ ถวิลไพร
1 2 3
Kusuma Saboh Thapanon Khuisangeam Nanthiwat Tawilpri
1 2 3
61010098@kmitl.ac.th 61010268@kmitl.ac.th 61010576@kmitl.ac.th

บทคัดย่อ
อุบัติเหตุบนทางเท้าเป็ นปั ญหาสำคัญในการคมนาคมภายในเมืองที่สะสมเป็ นระยะ
เวลายาวนานจนถึงปั จจุบัน โดยสาเหตุหลักๆมาจากสภาพทางเท้าไม่ได้มาตรฐาน งานวิจัย
นี้จึงจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาตรฐานการออกแบบทางเท้าในประเทศไทย (
มาตรฐานทางเท้า โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย) และต่าง
ประเทศ ได้แก่ ประเทศนิวซีแลนด์ (NZ Transport Agency: NZTA), ประเทศอินเดีย
(Institute for Transportation and Development Policy: ITDP) และประเทศ
ออสเตรเลีย (Austroads) นำมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และศึกษาแนวทางการออกแบบ
ทางเท้าที่ครบถ้วนและเหมาะสมที่สุด จากการศึกษาพบว่าแต่ละมาตรฐานมีความแตกต่าง
กันตามความเหมาะสมของประเทศนั้น โดยแต่ละมาตรฐานมีการเน้นประเด็นสำคัญที่แตก
ต่างกันไป ซึ่งได้ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ โดยแบ่งเป็ นหัวข้อหลักๆ คือ (1) ความกว้างควร
มีความสอดคล้องกับปริมาณผู้ใช้งาน โดยนำมาตรฐานของ NZTA ที่มีนำจำนวนคนเดิน
เท้าที่ผ่านมาใน 1 นาที มาเป็ นเกณฑ์การกำหนดความกว้าง (2) ความสูงของทางเท้าควร
มีความสูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร (3) พื้นผิวของทางเท้าที่ดีต้องเรียบ แข็งแรง ไม่ลื่นเมื่อ
เปี ยก ไม่มีแอ่งที่จะก่อให้เกิดน้ำขัง (4) ทางลาดต้องออกแบบให้มีความชันและความยาวที่

1,2,3
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
2

3
ทำให้ผู้ใช้งานสัญจรได้สะดวก โดยนำมาตรฐานของ Austroads มาใช้กำหนดความชัน
และความยาวของทางลาด (5) มีการกำหนดสิ่งของบนทางเท้าให้ชัดเจน โดยต้องระบุว่า
ของสิ่งนั้นๆ ควรจัดให้อยู่บริเวณใดบนทางเท้า (6) ทางเข้าออกทางเท้าควรมีการติดตั้งเสา
เพื่อป้ องกันไม่ให้ยานพาหนะขึ้นไปบนทางเท้าได้ และมีการใช้ทางลาดที่ทางเข้าออก
ทางเท้าทุกจุด (7) ควรมีการกำหนดขนาดทางข้ามทั้งความยาวและความกว้างเหมาะสม
กับการใช้งานตามแต่ละสถานที่ต่างๆ (8) การใช้ทางเท้าร่วมกับจักรยานต้องมีการ
ออกแบบให้มีระยะห่างระหว่างผู้คนที่เดินและใช้จักรยาน
คำสำคัญ : มาตรฐานการออกแบบทางเท้า, อุบัติเหตุบนทางเท้า

Abstract
Footpath accidents have been a serious problem in urban
transportation that has accumulated for a long time. The main reason is
due to the substandard footpath conditions. This research aims to study
standards of footpath design in Thailand (Standard of road, Walkway and
footpath by the Department of Local Administration, Ministry of Interior)
and other countries included New Zealand (NZ Transport Agency: NZTA),
India (Institute for Transportation and Development Policy: ITDP) and
Australia (Pedestrian and Cyclist Paths by Austroads). Then analyzed,
compared, and compiled a complete and suitable standard of footpath
design. According to a research, each standard is different based on
suitability for each country which can conclude in several main topics
consist of (1) The width should be consistent with the number of users by
using NZTA standard that width depends on maximum pedestrian flow in 1
minute. (2) The height of the curb above the carriageway should not
exceed 150 millimeters. (3) The footpath surface should have flat surfaces,
stable, slip resistant even when wet and allowing for proper drainage. (4)
The ramp must be designed with a slope and length that allows users to
travel conveniently by using Austroads standard to determine the slope
and length of the ramp. (5) Specifying all the street furniture that can place
on the footpath and where should it be placed to avoid obstructions. (6)
Bollards should be installed on the footpath entrances to prevent vehicles
from parking or driving on the footpath and use ramp every entrance of
the footpath. (7) The crossing length and width should be specified, both
length and width must be suitable for its location (8) The footpath that
share route with bicycle must be designed to separate pedestrian and
cyclist for safety.
Keywords : Standards of footpath design, Footpath accidents
และยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีกด้วย ซึ่งสาเหตุ
1.บทนำ หลักๆ ของอุบัติเหตุมาจากการที่ผู้ขับขี่ไม่เคารพ
ทางเท้าหรือฟุตพาท มีความหมายตามพระราช กฎจราจร และสภาพทางเท้าที่ไม่ได้มาตรฐาน [3]
บัญญัติทางหลวง พศ.2535 ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ การที่จักรยานยนต์ขึ้นมาขับขี่บนทางเท้า การที่
ทางหลวงที่ทำหรือจัดไว้สำหรับคนเดิน [1] โดย ร้านค้าหรือป้ ายประกาศต่างๆ ขวางทางเท้าจน
ทางเท้าเป็ นพื้นที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับการเดินซึ่ง ทำให้ผู้ที่ใช้ทางเท้าต้องลงมาเดินบนถนน สภาพ
เป็ นกิจกรรมพื้นฐานในการใช้ชีวิตของคนที่อาศัย พื้นผิวทางเท้าที่ขรุขระหรืออยู่ในสภาพไม่สมบูรณ์
อยู่ในเมืองโดยตรง จากการสำรวจพฤติกรรมการ จนไม่สามารถใช้งานได้ สิ่งเหล่านี้เป็ นสิ่งที่ผู้ใช้
เดินในชีวิตประจำวันจากกลุ่มตัวอย่างใน ทางเท้าพบเห็นเป็ นประจำจนชินตา แต่อาจมอง
กรุงเทพมหานคร พบว่าคนที่ไม่มียานพาหนะส่วน เป็ นเรื่องไม่สำคัญ และมองข้ามเรื่องความ
บุคคลมีสัดส่วนเท่าๆกับคนที่มี โดยคนที่ไม่มียาน ปลอดภัยไป ซึ่งอาจนำไปสู่อุบัติเหตุเล็กน้อย หรือ
พาหนะส่วนบุคคลส่วนใหญ่จะใช้การขนส่ง กระทั่งมีอันตรายถึงชีวิตได้
สาธารณะและการเดินเท้าเป็ นหลัก ซึ่งระยะการ ผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะศึกษามาตรฐานการ
เดินเฉลี่ยของคนในกรุงเทพมหานครคือ 807.6 ออกแบบทางเท้าต่างๆ ได้แก่ มาตรฐานทางเท้า
เมตรต่อวัน [2] โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวง
ในทางกลับกัน การพัฒนาและให้ความสำคัญ มหาดไทย, มาตรฐานทางเท้าของ NZ Transport
กับทางเท้ากลับน้อยจนกลายเป็ นปั ญหาในการ Agency (NZTA) (ประเทศนิวซีแลนด์), มาตรฐาน
คมนาคมในเมือง โดยจากการเก็บสถิติจำนวน ทางเท้าของ Institute for
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับคนเดินเท้า พบว่าช่วง 5 ปี ที่
ผ่านมา คนเดินเท้าประสบอุบัติเหตุเฉลี่ยปี ละ Transportation and Development Policy
2,490 ราย และเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มี (ITDP) (ประเทศอินเดีย) และมาตรฐานทางเท้า
ผู้เดินเท้าประสบอุบัติเหตุเฉลี่ยถึงปี ละ 821 ราย โดย Austroads (ประเทศออสเตรเลีย) และนำ
มาตรฐานเหล่านี้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ 4) ทางเท้าชั่วคราว เป็ นการปิ ดถนนบางสายใน
ศึกษาแนวทางการออกแบบทางเท้าที่ครบถ้วน วันพิเศษ เพื่อใช้เป็ นทางเท้าหรือเพื่อจัดกิจกรรม
ครอบคลุม และเหมาะสมที่สุด นันทนาการ
5) ทางเท้าที่อยู่ในแนวขวางเส้นทาง
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(Crosswalk) ทางเท้าประเภทนี้ช่วยให้การเชื่อม
2.1 ความหมาย ประเภท และองค์ประกอบ
ต่อทางเดินเท้าเป็ นระบบที่มีความต่อเนื่อง มี 2
ของทางเท้า
ประเภทคือ ทางเท้าแนวขวางเส้นทางที่อยู่เหนือ
2.1.1 นิยามของทางเท้า
ระดับพื้นดิน และทางเท้าแนวขวางเส้นทางที่อยู่
ทางเท้า หมายถึง ส่วนหนึ่งของทางหลวงที่ทำ
บนระดับพื้นดิน
หรือจัดไว้สำหรับคนเดิน [1]

2.1.2 ประเภทของทางเท้า 2.1.3 องค์ประกอบทางเท้า

ทางเท้ามีการแบ่งประเภทตามลักษณะรูปแบบ ทางเท้าแบ่งออกเป็ น 3 องค์ประกอบสำคัญ

ทางเท้าได้เป็ น 5 ประเภท ได้แก่ [4] ได้แก่ [5]

1) ทางเท้าที่ขนานไปกับแนวถนน (Sidewalk) 1) Frontage Zone หรือเขตด้านหน้าอาคาร

เป็ นรูปแบบทางเท้าที่พบได้ในเขตเมืองที่มีการ พื้นที่บริเวณนี้เป็ นเส้นแบ่งระหว่างอาคารกับทาง

จราจรหนาแน่น มักใช้วัสดุที่มีโครงสร้างแข็งแรง เดินเท้า ส่วนมากคนเดินเท้ามักจะไม่เข้าไปเดินใน

และมีการยกระดับให้สูงกว่าผิวถนนหรืออาจใช้ บริเวณนี้

แนวต้นไม้หรือรั้วแบ่ง 2) Pedestrian Through Zone หรือเขตทาง

2) ทางเท้าชนิดที่เป็ นทางลัด เป็ นทางเท้าที่รู้จัก คนเดิน เป็ นบริเวณที่ต้องเปิ ดโล่ง ไม่มีสิ่งกีดขวาง

กันเฉพาะกลุ่มลัดไปตามตรอกซอกซอย ด้านหลัง มีพื้นผิวเรียบเสมอกัน ทางเท้าที่มีความปลอดภัย

อาคาร หรือริมแม่น้ำ ทางเท้าประเภทนี้ได้รับการ ควรออกแบบให้มีความกว้างที่เพียงพอต่อการเดิน

ส่งเสริมให้อยู่ในระบบทางเท้าของเมืองเพื่อเพิ่ม สวนกัน

ความคล่องตัวในระบบสัญจรของเมืองได้ 3) Street Furniture/Curb Zone หรือเขต

3) ย่านทางเดินเท้า (Pedestrian Zone) เป็ น ขอบและอุปกรณ์ประกอบถนน แยกกับเขตทาง

บริเวณที่จัดเตรียมเพื่อการเดินเท้าโดยเฉพาะ คน คนเดินอย่างชัดเจน ใช้วางอุปกรณ์ประกอบถนน

สามารถเดินติดต่อกันได้โดยไม่มีการสัญจร เช่น ป้ าย โคมไฟ ม้านั่ง ต้นไม้ และยังเป็ นบริเวณ

ประเภทอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่บางที่อาจมี ที่สิ้นสุดทางเท้า มีหน้าที่กั้นทางเท้ากับถนน

จักรยานเข้ามาร่วมด้วย มักอยู่ในย่านพาณิชยกร
2.2 มาตรฐานการออกแบบทางเท้า
รม มีบรรยากาศเชิงนันทนาการ
2.2.1 มาตรฐานทางเท้า โดยกรมส่งเสริมการ - ทางเท้าที่มีผู้สัญจรเป็ นจำนวนมาก เช่น เขต
ปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย [6] โรงเรียนหรือสวนสาธารณะ ที่มี Maximum
1) ความกว้าง Pedestrian Flow อยู่ที่ 80 คน/นาที ควรมีความ
กำหนดให้ความกว้างขั้นต่ำของไหล่ทาง ให้มี กว้างรวมไม่ต่ำกว่า 4.5 เมตร
ความกว้างขั้นต่ำของไหล่ทางเท่ากับ 1.50 เมตร - ทางเท้าบริเวณที่มีผู้สัญจรปานกลาง เช่น เขต
ในแต่ละฝั่ งของถนน ซึ่งความกว้างของทางเท้านั้น โรงงาน เขตพาณิชย
จะรวมไปถึงสิ่งของต่างๆบนทางเท้าเช่น ตู้ กรรม ที่มี Maximum Pedestrian Flow อยู่ที่
โทรศัพท์ ต้นไม้ สิ่งอำนวยความสะดวก 60 คน/นาที ควรมีความกว้างรวมไม่ต่ำกว่า 3.6
2) องค์ประกอบทางเท้า เมตร
กำหนดให้มีองค์ประกอบหลักๆ ได้แก่ เพื่อการ - ทางเท้าบริเวณทางหลวงสายรอง ที่มี
สัญจรบนถนน ระบบขนส่งมวลชน ป้ ายบอกทาง Maximum Pedestrian Flow อยู่ที่ 60 คน/นาที
ระบบสาธารณูปโภค การอำนวยความสะดวก ควรมีความกว้างรวมไม่ต่ำกว่า 3.0 เมตร
และโฆษณาประชาสัมพันธ์ - ทางเท้าบริเวณที่มีผู้สัญจรน้อย มี Maximum
3) อุปสรรคทางเท้า Pedestrian Flow ต่ำกว่า 50 คน/นาที ควรมี
- อุปสรรคทั่วไป (Regular Obstacles) จะมี ความกว้างรวมไม่ต่ำกว่า 2.7 เมตร
การติดตั้งถาวรบนทางเท้า เช่น เสาไฟ รากไม้ที่ยื่น 2) พื้นผิว
- อุปสรรคไม่ปกติถาวร (Permanent Non- กำหนดให้พื้นผิวทางเท้าที่ดีควรมีความมั่นคง
Regular Obstacle) เป็ นองค์ประกอบที่ถูกจัดตั้ง แข็งแรง ต้านทานความลื่นเมื่อพื้นเปี ยก และความ
โดยหน่วยงานเทศบาลด้วย จุดประสงค์การใช้ ต่างระดับของพื้นผิวแบบฉับพลันไม่ควรเกิน 5
ประโยชน์นอกเหนือจากการสัญจร และวางในจุด มิลลิเมตร
ที่ชัดเจน เช่น ถังขยะ ม้านั่ง 3) ความสูงของขอบทางเท้า
- อุปสรรคไม่ปกติที่เคลื่อนที่ได้ (Moveable กำหนดให้ความสูงของขอบทางเท้าจากถนน
Non-Regular Obstacles) เป็ นอุปสรรคที่เกิด ควรมีความสูงประมาณ 150 มิลลิเมตร
จากกลุ่มผู้ใช้ชั่วคราว เช่น การติดป้ าย 4) ทางลาด
กำหนดให้ทางลาด มีค่าเฉลี่ยของทางลาด (การ
2.2.2 NZ Transportation Agency เปลี่ยนระดับความสูงในแนวตั้งระหว่างจุดสองจุด)
(NZTA) [7] สูงสุด 5% ค่าความลาดชัน (การเปลี่ยนแปลง
1) ความกว้าง ระดับในแนวตั้ง) มีค่าไม่เกิน 8% ในระยะทางไม่
กำหนดให้ความกว้างของทางเท้าที่เหมาะสม เกิน 9 เมตร และมีค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและ Maximum ความชัน ไม่เกิน 13% เพื่อให้สะดวกต่อการสัญจร
Pedestrian Flow หรือจำนวนคนเดินเท้าที่สัญจร 5) ตะแกรงและฝาท่อ
ไปมาในเวลา 1 นาที โดยแบ่งได้ดังนี้
กำหนดให้อยู่ใน Furniture Zone หรืออยู่ที่ เดินเท้า คนขับ - พิจารณาให้
ขอบทางเดิน โดยมีระยะของรูท่อกว้างน้อยกว่า บางคนจะแซงรถ มีสัญญาณคน
13 มิลลิเมตร และยาวน้อยกว่า 15 มิลลิเมตร โดย ที่จอดอยู่ใน เดินเท้า
ตั้งฉากกับคนเดิน ฝาท่อควรมีพื้นผิวที่หยาบ เลนส์อื่น
สังเกตได้ง่ายและทนต่อการลื่นล้มแม้ในขณะเปี ยก ใกล้ทาง คนขับสนใจทาง - พิจารณาให้
6) อุปกรณ์ประกอบทางเท้า แยก แยกมากกว่าคน มีเกาะทางเท้า
อุปกรณ์ประกอบทางเท้าควรเห็นได้ชัด มีความ ข้ามถนน - พิจารณาให้
สูงที่ง่ายต่อการสังเกต และจัดวางในบริเวณที่แยก ทัศนวิสัยในการ มีสัญญาณ
กับเขตทางคนเดินแบบชัดเจน เพื่อไม่ให้เป็ น มองเห็นคนข้าม ที่ทางแยกรวม
อุปสรรคต่อการเดินเท้า น้อยลง ถึงมีระยะ
7) ทางข้าม สำหรับทาง
Zebra crossing (ทางม้าลาย) ทางข้ามที่มี เดินเท้า
แถบลายสีขาวอยู่บนพื้น
ถนนมักถูกใช้โดยคนเดินเท้าหรือรถเข็นคนพิการ ในพื้นที่เขตตัวเมืองที่ตั้งทางม้าลายอาจจะเป็ น
รวมไปถึงยานพาหนะแบบล้อเลื่อน เช่น สเก็ตบ อันตรายต่อความปลอดภัยของคนเดินเท้า ดังนั้น
อร์ด สกูตเตอร์ ทางม้าลายไม่ควรอยู่ในสถานที่ดัง ควรพิจรณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับทางข้าม
ต่อไปนี้ คุณสมบัติหลักของการข้ามทางม้าลายมีราย
- โดยปกติแล้วทางม้าลายไม่ควรมีระยะภายใน ละเอียดดังต่อไปนี้
100 เมตรจากข้อกำหนดต่อไปนี้ จุดที่คนเดินเท้า
เดินสวนในเส้นทางเดียวกัน ทางแยกที่สำคัญและ ตารางที่ 2 คุณสมบัติหลักของการทางม้าลาย
จากสัญญาณทางข้ามทางม้าลาย มาตรฐานของ NZTA

- สถานที่ที่จำกัดความเร็วเกิน 50
กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยไม่ได้รับอนุญาติจากทางกรม
ขนส่งทางบก
- ใกล้ลูกเนินชะลอความเร็ว

ตารางที่ 1 สถานที่ที่ไม่เหมาะกับทางม้าลายตาม
มาตรฐานของ NZTA
ที่ตั้งที่ไม่ ความยาก การแก้ปั ญหา
เหมาะสม ลำบาก
ถนนหลาย ยานพาหนะที่อยู่ - พิจารณาให้
เลนส์ กับที่บังทางคน มีเกาะทางเท้า
สัญลักษณ์ ขนาดและที่ตั้ง - เว้นระยะห่าง 1 เมตรทั้งสองด้านของเส้นทาง

แถบ แถบทางม้าลายต้องมีสีขาว เพื่อให้ผู้ปั่ นจักรยานสามารถประคองตัวได้อีกครั้ง

ทางม้ สะท้อนแสง มีความยาว หลังการสูยเสียการควบคุมหรือหักเลี้ยว

าลาย อย่างน้อย 2 เมตรและกว้าง - รักษาระยะ overhead clearance 2.4


0.3 เมตรโดยมีระยะห่าง เมตร
เครื่องห แต่ละแถบ 0.6 เมตร - ควรแยกระหว่างถนนและทางที่อยู่ติดกันโดย
มายบน เส้น หากมีเส้นแถบกลางบนถนน มีระยะ 1.5 เมตร
ถนน แถบ เส้นเป็ นเส้นสีขาวเส้นเดียว เส้นทางที่แยกกันระหว่างคนเดินเท้าและผู้ปั่ น
กลาง ยาว 50 เมตรหรือ 30 เมตร จักรยานมีการใช้พื้นผิวหรือเครื่องหมายที่ตัดกัน
เส้น ควรมีความยาวอย่างน้อย 6 เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่หลงทางในเส้นทางการปั่ น
ห้าม เมตรของเส้นแบ่งสีเหลือง จักรยาน พื้นที่ของคนเดินเท้าและนักปั่ นจักรยาน
หยุด บนแนวทางที่ข้าม สามารถแยกโดย ใช้ขอบถนนที่ยกขึ้น ติดเส้นเทอร์
Hold เส้นสีขาวเดี่ยวจำกัดความ โมพลาสติกสีขาว ใช้เส้นกลางหรือที่กั้น โดยมีการ
line กว้าง 300 มิลลิเมตรโดยอยู่ กำหนดความกว้าง ดังนี้
หลัง ทางม้าลาย 5 เมตร
ตารางที่ 3 ความกว้างของทางเท้าที่ใช้ร่วมกับ
ในกรณีที่มีระยะทางไกลควรใช้ส่วนขยายขอบ จักรยาน มาตรฐานของ NZTA
เพื่อลดระยะเวลาทางเดินด้วยการเคลื่อนที่ทาง พื้นที่ พื้นที่ รวม
เดียว หากไม่สามารถใช้ส่วนขยายสามารถติดตั้ง สำหรับ สำหรับ
เกาะสำหรับคนเดินเท้าได้หรือสามารถใช้ทางเดิน จักรยาน คนเดิน
แนวทแยงมุมเพื่อให้คนเดินถนนหันหน้าเข้าหา เท้า
ยานพาหนะเพื่อคนขับจะได้สังเกตุได้มากขึ้น ความกว้าง 2.5 เมตร 2 เมตร 4.5
8) การใช้ทางเท้าร่วมกับจักรยาน เส้นทางที่พึง เมตร
ในกรณีที่เส้นทางไม่ได้แยกและแยกกันระหว่าง ประสงค์
ผู้ปั่ นจักรยานกับคนเดินเท้า ต้องทำให้มั่นใจว่าผู้ ความกว้าง 2-3 อย่าง อย่าง
ปั่ นจักรยานจะปลอดภัยและไม่ความขัดแย้งกับคน เส้นทาง เมตร น้อย 1.5 น้อย 3.5
เดินเท้า ในกรณีที่เส้นทางที่ใช้ร่วมกันสิ้นสุดลง เฉลี่ย เมตร เมตร
เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ปั่ นจักรยานจะไม่ใช้เส้นทางที่มีไว้
เฉพาะสำหรับคนเดินเท้าต่อ และมีการติดป้ าย 2.2.3 Institute for Transportation and
หรือสัญลักษณ์ โดยมีการกำหนดระยะความกว้าง Development Policy (ITDP) [8]
ดังนี้ 1) ความกว้าง
กำหนดให้ความกว้างขึ้นอยู่กับบริเวณที่ตั้งของ - ปริมาณคนเดินเท้าน้อย ความกว้างโดยทั่วไป
ทางเท้านั้นๆ โดยแบ่งเป็ น 3 บริเวณ ได้แก่ ที่ต่ำที่สุดคือ 1.2 เมตร ซึ่งกว้างพอสำหรับเก้าอี้ผู้
- บริเวณที่พักอาศัย ควรมีความกว้างของ พิการ 1 ตัว
Pedestrian Through Zone ไม่ต่ำกว่า 1.8 เมตร - ปริมาณคนเดินเท้าหนาแน่น อยู่ในพื้นที่
และความกว้างรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 3.3 เมตร เชิงพาณิชย์หรือกลางเมือง ควรมีความกว้างไม่ต่ำ
- บริเวณกลางเมือง ควรมีความกว้างของ กว่า 2.4 เมตร
Pedestrian Through Zone ไม่ต่ำกว่า 2.5 เมตร - สำหรับเก้าอี้ผู้พิการสามารถผ่าน 2 ตัวพร้อม
และความกว้างรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 5 เมตร กัน ควรมีความกว้างไม่ต่ำกว่า 1.5-1.8 เมตร
- บริเวณกลางเมืองที่มคนพลุกพล่าน ควรมี 2) พื้นผิว
ความกว้างของ Pedestrian Through Zone ไม่ พื้นผิวทางเท้าควรมีลักษณะที่มั่นคง เรียบแต่ยัง
ต่ำกว่า 4 เมตรและความกว้างรวมทั้งหมดไม่ต่ำ ทนต่อการลื่น โดยพื้นผิวแต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับ
กว่า 6.5 เมตร สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพอากาศและสิ่ง
2) พื้นผิว ที่วางบนทางเท้า สำหรับฝาท่อระบายน้ำอาจจะยิ่ง
กำหนดให้ทางเท้ามีพื้นผิวเรียบ ระบายน้ำได้ดี ลื่นเมื่อเปี ยก
ไม่ก่อให้เกิดน้ำขัง 3) ทางลาด
3) ความสูงของขอบทางเท้า กำหนดให้ทางลาดที่มีระดับ 1:33 ควรมีความ
กำหนดให้ความสูงของขอบทางเท้าจากถนน ยาวตั้งแต่1.2 เมตร ไม่เกิน 25 เมตร ในกรณีที่ทาง
ควรมีความสูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ลาดมีระดับ 1:20 ควรมีความยาวไม่เกิน 15 เมตร
ทางลาดไม่ควรมีระดับที่ต่ำกว่า 1:33 พื้นดินที่ติด
4) ทางเข้าทางเท้า อยู่กับทางเท้าควรมีระยะอยู่ภายใน 25 มิลลิเมตร
กำหนดให้มีการใช้ทางลาดในการทำทางเข้า– กับระดับทางเท้า หากทางลาดอยู่ติดกันควรมี
ออกทางเท้า ทำให้ทางเท้ามีความต่อเนื่อง ไม่ ระยะห่าง 65-75 มิลลิเมตร
ขาดตอน มีการติดตั้งเสาเพื่อป้ องกันไม่ให้ยาน 4) ทางข้าม
พาหนะเข้าไปในทางเท้าได้ Pedestrian Crossing (Zebra) : พื้นที่ที่ทำ
เครื่องหมายเป็ นแถบสีขาวตามแนวยาวเพื่อระบุ
2.2.4 Pedestrian and Cyclist Paths โดย ตำแหน่งในการข้ามถนนของคนเดินเท้า
Austroads [9] เครื่องหมายทางเท้า พื้นที่ของถนนที่มีสัญญาณ
1) ความกว้าง ของพาหนะและคนเดินเท้า โดยระบุด้วยเส้นประ
กำหนดความกว้างของทางเท้าโดยพิจารณา ทางเดินเท้า 2 เส้น โดยทางม้าลายสำหรับการใช้
จากสถานที่ตั้ง มีความกว้างไม่ต่ำกว่า 1-1.2 เมตร งานที่ทางแยกมีลักษณะดังต่อไปนี้
และแบ่งได้ตามสถานการณ์ดังนี้
ตารางที่ 4 ลักษระของทางม้าลายสำหรับการใช้ กำหนดทางเท้าที่ใช้ร่วมกับจักรยานได้ มี
งานที่ทางแยกตามมาตรฐานของ Austroads คุณสมบัติดังนี้

ชนิด การใช้ ขนาด (เมตร) สี - เป็ นเส้นทางที่มีความต้องการของคนเดินเท้า

เส้น งาน และนักปั่ นจักรยานแต่มีความหนาแน่นของการใช้

PCW Pedestri เส้นประ 2 แนว สี งานแยกกันในเรื่องของสิ่งอำนวยความสะดวกที่

an ขนานกันโดยมีระยะ ขา คาดว่าจะไม่เพียงพอ
Cross ห่าง 3.3 เมตรเส้น ว - เป็ นทางเท้าที่มีการใช้งานน้อย สามารถจัดให้นัก
Walk ประกว้าง 0.15 ปั่ นจักรยานปฏิบัติตามกฎหมายได้โดยมีการแก้ไข
line เมตร ยาว 1.0 เมตร พื้นผิวและทางลาด
PX Pedestri เส้นแถบยาว 3.6 สี - มีถนนในบริเวณใกล้เคียงเพื่อรองรับนักปั่ น
an เมตรกว้าง 0.6 เมตร ขา จักรยาน (จัดให้มีเลนส์สำหรับจักรยาน) เพื่อจำกัด
Crossin โดยมีระยะห่างกันใน ว ขอบเขตความขัดแย้งของผู้ที่ใช้เส้นทางร่วมกัน
g แต่ละแถบ 0.6 เมตร เส้นทางที่ใช้ร่วมกันสามารถใช้เพื่อ
5) เส้นทางเดินเท้าข้ามถนน วัตถุประสงค์ที่หลากหลายรวมการพักผ่อน การ
เส้นทางเดินเท้าข้ามถนน (PCW) ต้องใช้ร่วมกับ เข้าถึงชุมชนและการเชื่อมโยงระหว่างเส้นทาง
สี่แยกสัญญาณไฟจราจร ไม่ควรใช้กับทางแยกที่ไม่ ความเร็วสูงของถนนหรือเส้นทางจักรยาน
ได้ระบุไว้ชัดเจนโดยประกอบด้วยความกว้าง 0.15 ปั ญหาที่สำคัญของเส้นทางที่ใช้ร่วมกัน คือ
เมตรเส้นที่ใกล้กับทางแยกควรมีความกว้างไม่ต่ำ ความหลากหลายของผู้ใช้งานซึ่งนำไปสู่ความขัด
กว่า 0.6 เมตรจากขอบเลนส์ช่องทางจราจร ความ แย้ง ลักษณะเหล่านี้รวมไปถึงความแตกต่างของ
กว้างที่ต่ำสุดระหว่างเส้นประ 2 แนวที่ขนานกันคือ ความเร็ว
3.3 เมตร สำหรับระยะทางข้ามทางเดินเท้าควร
เพิ่มขึ้นถ้าหากความต้องการของผู้เดินเท้ามี 3. วิเคราะห์และเปรียบเทียบมาตรฐานการ
มากกว่าพื้นที่ที่จัดสรรไว้ให้ เมื่อถึงทางแยกทาง ออกแบบทางเท้า
เลี้ยวควรจัดให้ผู้ขับขี่สามารถเลี้ยวได้โดยยังมอง จากการศึกษามาตรฐานการออกแบบทางเท้า
เห็นคนเดินเท้าอยู่ ทางข้ามทางม้าลาย แต่ละมาตรฐาน พบว่ามีความแตกต่างกัน
ทางข้ามทางม้าลาย (PX line) ทำเครื่องหมาย เนื่องจากความแตกต่างกันของบริบทต่างๆ ในประ
โดยเส้นแถบสีขาวขนานกับศูนย์กลางของถนน เทศนั้นๆ เช่น สภาพแวดล้อม จำนวนประชากร
ทางม้าลายต้องมาพร้อมป้ ายสัญลักษณ์ แถบ สภาพภูมิประเทศ เป็ นต้น ทางผู้จัดทำได้นำ
ทางม้าลายกว้าง 0.6 เมตรและระยะห่างระหว่าง มาตรฐานต่างๆ มาเปรียบเทียบโดยเน้นไปที่การ
เส้น 0.6 เมตร ความยาวของแถบเหล่านี้คือ 3.6 เปรียบเทียบกับมาตรฐานมาตรฐานทางเท้า โดย
เมตรสามารถเพิ่มได้ตามปริมาณของคนเดินเท้า กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเป็ นหลัก โดยแบ่ง
6) การใช้ทางเท้าร่วมกับจักรยาน เป็ นหัวข้อได้ ดังนี้
ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบมาตรฐานการออกแบบทางเท้า
มาตรฐาน
มาตรฐาน กรมส่งเสริมการ NZTA ITDP Pedestrian and
การ ปกครองท้องถิ่น Cyclist Paths โดย
ออกแบบ กระทรวงมหาดไทย Austroads
ทางเท้า
ความกว้าง มีความกว้างขั้นต่ำ ขึ้นอยู่กับสภาพ ความกว้างขึ้นอยู่กับ กำหนดความกว้าง
1.50 เมตร ใน แวดล้อมและ บริเวณที่ตั้ง แบ่งเป็ น ของทางเท้าโดย
แต่ละฝั่ งของถนน จำนวนคนที่สัญจร - บริเวณที่พักอาศัย พิจารณาจากสถานที่
ซึ่งความกว้างของ ไปมาในเวลา 1 ควรกว้างไม่ต่ำกว่า ตั้ง
ทางเท้านั้นจะรวม นาที แบ่งเป็ น 3.3 เมตร - ปริมาณคนเดินเท้า
ไปถึงสิ่งของต่างๆ - 80 คน/นาที ควร - บริเวณกลางเมือง น้อย ควรกว้างไม่ต่ำ
บน กว้างมากกว่า 4.5 ควรกว้างรวมไม่ต่ำ กว่า 1.2 เมตร
เมตร กว่า 5 เมตร - ปริมาณคนเดินเท้า
- 60 คน/นาที ควร - บริเวณกลางเมืองที่ หนาแน่นอยู่กลาง
กว้างมากกว่า 3.6 มคนพลุกพล่าน ควร เมือง ควรกว้างไม่ต่ำ
เมตร กว้างไม่ต่ำกว่า 6.5 กว่า 2.4 เมตร
- ต่ำกว่า 50 เมตร
คน/นาที ควรกว้าง
มากกว่า 2.7 เมตร
- บริเวณที่มีผู้สัญจร
น้อยมาก ควรกว้าง
มากกว่า 1.65
เมตร
ความสูง - ควรมีความสูง ควรมีความสูงไม่เกิน -
ของขอบ ประมาณ 150 150 มิลลิเมตร
ทางเท้า มิลลิเมตร
พื้นผิว - มีความแข็งแรง ไม่ ผิวเรียบ ระบายน้ำได้ มีความมั่นคง ไม่ลื่น
ลื่น และความต่าง ดี ไม่ก่อให้เกิดน้ำขัง โดยพื้นผิวที่ใช้แต่ละ
ระดับของพื้นผิว บริเวณจะขึ้นอยู่กับ
แบบฉับพลันไม่ควร สภาพแวดล้อมกับ
เกิน 5 มิลลิเมตร สภาพอากาศ
ทางลาด - มีค่าเฉลี่ยของทาง - ทางลาดที่มีระดับ
ลาด สูงสุด 5% ค่า 1:33 ควรมีความยาว
ความลาดชันไม่เกิน 1.2-25 เมตร ทาง
8% และมีค่าอัตรา ลาดมีระดับ 1:20
การเปลี่ยนแปลง ควรมีความยาวไม่
ของความชัน ไม่ เกิน 15 เมตร
เกิน 13%
อุปกรณ์ มีการกำหนด อุปกรณ์ประกอบ - -
และ อุปกรณ์และ ทางเท้าควรเห็นได้
อุปสรรค อุปสรรคบนทางเท้า ชัด มีความสูงที่ง่าย
อย่างชัดเจน และ ต่อการสังเกต และ
แบ่งเป็ นประเภท จัดวางในบริเวณที่
ต่างๆ ได้แก่ แยกกับเขตทางคน
อุปสรรคทั่วไป เดินแบบชัดเจน
อุปสรรคไม่ปกติ
ถาวร และ
อุปสรรคไม่ปกติที่
เคลื่อนที่ได้
ทางเข้า - - ใช้ทางลาดในการทำ -
ทางเท้า ทางเข้า–ออก และมี
การติดตั้งเสาเพื่อ
ป้ องกันไม่ให้ยาน
พาหนะเข้าไป
ทางข้าม ทางม้าลายแต่ละ แบบทางเดินข้าม
แถบควรยาวอย่าง ถนนเส้นขอบยาว
น้อย 2 เมตร กว้าง 0.15 เมตร กว้าง 3.3
0.3 เมตร ห่างกัน เมตร
0.6 เมตร และมี แบบทางม้าลาย แถบ
การกำหนดบริเวณ กว้าง 0.6 เมตร ยาว
ที่ควรมีทางเท้าว่า 3.6 เมตร ห่างกัน
ควรมีลักษณะไม่ ระหว่างแถบ 0.6
ยาวมากจนเกินไป เมตร
มาตรฐาน
มาตรฐาน กรมส่งเสริมการ NZTA ITDP Pedestrian and
การ ปกครองท้องถิ่น Cyclist Paths โดย
ออกแบบ กระทรวงมหาดไทย Austroads
ทางเท้า
การใช้ - มีการกำหนดระยะ - มีการกำหนดว่าการ
ทางเท้าร่วม ห่างระหว่างทางคน ใช้ทางเท้าร่วมกันนั้น
กับจักรยาน เดินและเส้น จะใช้ในกรณีที่มีเป็ น
ทางการปั่ น เส้นทางที่ต้องการใช้
จักรยานอย่างน้อย ร่วมกัน , มีผู้คนใช้
1 เมตร ความกว้าง งานน้อยและมีถนน
ของเส้นทางเฉี่ย รองรับผู้ที่ปั่ น
ของคนเดินเท้า จักรยาน
อย่างน้อย
1.5 เมตรและของผู้
ใช้จักรยานอย่าง
น้อย 2-3 เมตร

จากตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการออกแบบ เป็ นบริเวณไหนและความหนาแน่นในการสัญจร


ทางเท้าของ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เท่าไหร่และไม่ได้คำนึงถึงการที่บุคคลที่สัญจรไปมา
กระทรวงมหาดไทย , NZ Transport Agency จะพบกับอุปสรรคต่างๆ ทำให้ทางเดินนั้นแคบลง
(NZTA) , มาตรฐานทางเท้าของ Institute for จึงควรเพิ่มสิ่งเหล่านี้เข้ามาเพื่อการกำหนดความ
Transportation and Development Policy กว้างที่เหมาะสมจริงๆกับการใช้งาน ความสูงของ
(ITDP) และมาตรฐานทางเท้าโดย Austroads จะ ขอบทางเท้าประเทศไทยไม่ได้กำหนดไว้ ซึ่งควร
พบว่าแต่ละมาตรฐานมีการออกแบบทางเท้าที่ กำหนดเพื่อลดการบาดเจ็บของผู้คนที่สัญจรไปมา
แตกต่างกันออกไป ในทางต่างระดับทั้งเรื่องการบาดเจ็บหัวเข่า และ
ความกว้างของมาตรฐานประเทศไทยนั้น การไม่ระมัดระวังทางต่างระดับเพราะถ้าขอบของ
กำหนดมาแค่ความกว้างขั้นต่ำโดยไม่ได้กำหนดว่า ทางเท้ายิ่งสูง การบาดเจ็บก็จะมากขึ้นตามมาด้วย
พื้นผิวของมาตรฐานของประเทศไทยควรมีการ ทางเท้านั้นเป็ นสิ่งสำคัญ ยิ่งเป็ นสถานที่ที่มีการ
กำหนดด้วยว่าใช้พื้นผิวแบบไหนเพื่อการป้ องกัน สัญจรมากๆแล้วยิ่งควรมีเพื่อป้ องกันการนำรถ
อุบัติเหตุ ซึ่งพื้นผิวเหมาะสมคือเดินแล้วไม่ลื่นทั้ง จักรยานยนต์ จักรยานมาสัญจรบนทางเท้าซึ่งจะ
เวลาที่พื้นแห้งและเปี ยกเพื่อป้ องกันอุบัติเหตุการ นำมาซึ่งอุบัติเหตุได้ส่วนของมาตรฐานของการ
ลื่นล้มได้ ซึ่งถ้าหากเกิดกับผู้สูงอายุอาจส่งผล ออกแบบทางข้ามนั้น จะเห็นได้ว่าทางข้ามนั้น
อันตรายได้ พื้นผิวควรระบายน้ำได้ดีเพื่อไม่ให้พื้น ทั้ง 2 มาตรฐานนั้นจะมีระยะที่ไม่ยาวมากเกินไป
ผิวทางเท้าลื่นและไม่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุเวลาเดิน เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้ทางข้าม การใช้
แล้วน้ำทะลักกระเด็นออกมาโดนตัวบุคคลอาจ ทางเท้าร่วมกับจักรยานนั้นจะมีมาตรฐานคล้ายๆ
ทำให้เสื้อผ้าเลอะเทอะได้ และพื้นทางเดินไม่ควรมี กันคือมีพื้นที่ที่สามารถรองรับผู้คนที่ปั่ นจักรยาน
ความสูงที่ต่างกันมากในแต่ละแผ่นกระเบื้องหรือ และมีการเว้นระยะห่างให้เหมาะสมเพื่อป้ องกัน
ตัวหนอนเพื่อป้ องกันการเกิดอุบัติเหตุการหกล้ม การเกิดอุบัติเหตุซึ่งการใช้พื้นที่ร่วมกันนั้นก็จะมี
การสะดุดได้ ซึ่งจะทำให้ตัวบุคคลนั้นได้รับบาด ความเหมาะสมแตกต่างกันไปตามแต่ละสถานที่
เจ็บและเสียเวลาได้ โดยการเลือกพื้นผิวแต่ละแบบ
ก็ควรเลือกให้เหมาะสมกับสภาพอากาศหรือ 4. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ภูมิประเทศของสถานที่นั้นๆ การสร้างทางลาด 4.1 สรุปผล
ของประเทศไทยควรมีข้อกำหนดเพิ่มขึ้นมา เพราะ จากการศึกษามาตรฐานการออกแบบทางเท้าที่
ทางลาดนั้นเป็ นที่สัญจรของผู้พิการทางช่วงล่าง ใช้งานในปั จจุบันของแต่ละประเทศทั้ง 4
เป็ นหลักหรือการใช้รถเข็น ซึ่งถ้าความชันมากเกิน มาตรฐาน พบว่าแต่ละมาตรฐานมีความแตกต่าง
ไปจะก่อให้เกิดการลื่นไถลและนำมาซึ่งอุบัติเหตุ กันตามความเหมาะสมในการใช้งานของประเทศ
ต่างๆ ซึ่งความชันของทางลาดนั้นก็จะขึ้นกับ นั้น โดยแต่ละมาตรฐานมีการเน้นประเด็นสำคัญที่
ทางเท้าในบริเวณนั้นๆว่าจะต้องใช้ความชันเท่า แตกต่างกันไป ซึ่งจากการวิเคราะห์และเปรียบ
ไหร่เมื่อความสูงมีค่าๆหนึ่ง ให้คล้ายกับมาตรฐาน เทียบมาตรฐานการออกแบบทางเท้าแล้ว ได้
ของ NZTA หรือ ITDP ในเรื่องการอุปสรรค แนวทางการออกแบบทางเท้าที่ครบถ้วนและ
ประเทศไทยได้แบ่งอุปสรรคออกเป็ นประเภท เหมาะสม ดังนี้
ต่างๆไว้แล้ว ซึ่งควรเพิ่มการวางอุปสรรคต่างชนิด 1) การกำหนดความกว้าง ควรมีการกำหนดให้
กันว่าแต่ละชนิดควรวางตรงไหนเพื่อป้ องกันการ สอดคล้องกับปริมาณผู้ใช้งานในบริเวณนั้นๆ โดย
ขัดขวางการสัญจรไปมาของผู้คน และควรกำหนด อาจจะนำมาตรฐานของ NZTA ที่มีการคำนวณค่า
พื้นที่หรือความกว้างของการวางอุปสรรคแต่ละ Maximum Pedestrian Flow และกำหนดความ
ชนิด เพื่อไม่เป็ นการลดความกว้างของทางเท้า กว้างของทางเท้าตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ทำให้สัญจรไปมาได้ยากลำบากยิ่งขึ้นจึ่งก่อให้เกิด 2) กำหนดความสูงของทางเท้าเพื่อให้สะดวก
อุบัติเหตุได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ทางเข้าทางเท้าอาจจะ ต่อการก้าวขึ้น-ลงทางเท้า จากมาตรฐานของ
ไม่ได้พบในมาตรฐานอื่นๆมากนักแต่การมีทางเข้า NZTA และ ITDP กำหนดมาตรฐานตรงกันว่า
ควรมีความสูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ซึ่งเป็ นความ งานทางเท้า เช่น การตั้งแผงร้านค้า การติดตั้งป้ าย
สูงที่เหมาะสมที่สุด โฆษณา และมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่าง
3) พื้นผิวของทางเท้าที่ดีต้องเรียบ แข็งแรง ไม่ สม่ำเสมอเพื่อรักษามาตรฐานของทางเท้าไว้
ลื่นเมื่อเปี ยก ไม่มีแอ่งที่จะก่อให้เกิดน้ำขัง
4) ทางลาดต้องออกแบบให้มีความชันและ เอกสารอ้างอิง
ความยาวที่ทำให้ผู้ใช้งานสัญจรได้สะดวก โดยนำ [1] “พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535”. สํา
มาตรฐานของ Austroads มาใช้กำหนดความชัน นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, เม.ย. 02,
และความยาวของทางลาด 2535, สืบค้น: ก.พ. 24, 2563. [ออนไลน์].
5) ควรมีการกำหนดอุปกรณ์และอุปสรรคบน Available at:
ทางเท้าให้ชัดเจน ว่ามีอุปกรณ์อะไรที่สามารถจัด http://www.highway.police.go.th/highw
ให้อยู่บนทางเท้าได้ โดยใช้มาตรฐานของกรมการ ay3-20-9999-update.pdf.
ปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เป็ นตัว [2] “ทางเท้า ยั่งยืน คืนชีวิต คนเมือง -
ระบุประเภทของอุปกรณ์และอุปสรรคบนทางเท้า Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุน
โดยต้องมีการระบุว่าของสิ่งนั้นๆ ควรจัดให้อยู่ใน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)”,
เขตด้านหน้าอาคารหรือเขตขอบทางเดิน เพื่อให้ Thaihealth.or.th.
เกิดความเป็ นระเบียบเรียบร้อยและไม่ขวางเขต http://www.thaihealth.or.th/Content/3
ทางคนเดิน 5715-ทางเท้า `ยั่งยืน` `คืนชีวิต` คน
6) ทางเข้าออกทางเท้า ควรมีการติดตั้งเสาเพื่อ เมือง.html (สืบค้น ก.พ. 10, 2563).
ป้ องกันไม่ให้ยานพาหนะขึ้นไปบนทางเท้าได้ และ [3] “คนเดินเท้า ประสบอุบัติเหตุเฉลี่ยปี ละกว่า
มีการใช้ทางลาดที่ทางเข้าออกทางเท้าทุกจุด เพื่อ 2,000 ราย เหตุจากพฤติกรรมผู้ขับขี่และ
อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั่วไปและผู้พิการ สภาพแวดล้อม”, Workpoint News.
7) ควรมีการกำหนดขนาดทางข้ามทั้งความยาว https://workpointnews.com/2019/09/2
และความกว้างเหมาะสมกับการใช้งานตามแต่ละ 5/accident-5/ (สืบค้น เม.ย. 03, 2020).
สถานที่ต่างๆ [4] นางารินรดา ราชคีรี, “แนวทางการบริหาร
8) การใช้ทางเท้าร่วมกับจักรยานต้องมีการ จัดการพื้นที่ว่างกึ่งสาธารณะรอบอาคารเพื่อ
ออกแบบทางเท้าให้มีระยะห่างระหว่างทางที่ผู้คน สนับสนุนการเดินในเขตศูนย์กลางธุรกิจ
ใช้เดินและใช้ปั่ นจักรยาน และมีถนนรองรับผู้ปั่ น กรุงเทพมหานคร”. ส.ค. 10, 2559, สืบค้น:
จักรยาน ก.พ. 24, 2563. [ออนไลน์]. Available at:
นอกเหนือจากการกำหนดมาตรฐานที่เหมาะสม http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/th
ครบถ้วน และชัดเจนแล้ว ควรมีการบังคับใช้ที่เข้ม esis/2015/TU_2015_5716030597_3247
งวดพื่อให้มาตรฐานที่กำหนดขึ้นมามีประสิทธิภาพ _3192.pdf.
สูงสุด โดยเฉพะมีการจัดระเบียบกิจกรรมการใช้
[5] “Sidewalks”, National Association of industry/partners-suppliers/documents
City Transportation Officials, ก.ค. 11, /austroads-supplements/
2556. roaddesign_part6a-agrd-paths-walking-
https://nacto.org/publication/urban- cycling.pdf.
street-design-guide/street-design-
elements/sidewalks/ (สืบค้น ก.พ. 24,
2563).
[6] นายพรชัย โลหะพิริยกุล, “แนวทางการ
ออกแบบทางเท้าสำหรับการพัฒนาที่ดินรอบ
ระบบขนส่งมวลชนในเมืองใหญ่ กรณีศึกษา
พื้นที่รอบสถานีมักกะสัน”. ม.ค. 01, 2557,
สืบค้น: ก.พ. 24, 2563. [ออนไลน์].
Available at: file:///C:/Users/book
%20nanthiwat/Downloads/แนวทางการ
ออกแบบทางเท้า.pdf.
[7] NZ Transport Agency, “THE DESIGN OF
PEDUSTRIAL NETWORK”. ต.ค. 2552,
สืบค้น: ก.พ. 24, 2563. [ออนไลน์].
Available at:
https://www.nzta.govt.nz/assets/resour
ces/pedestrian-planning-guide/docs/
chapter-14.pdf.
[8] “Footpath design”. Institute for
Transportation and Development
Policy, สืบค้น: มี.ค. 30, 2563. [ออนไลน์].
Available at: https://www.itdp.in/wp-
content/uploads/2014/04/05.-
Footpath-Design_Handout.pdf.
[9] Gary Veith, “GUIDE TO ROAD DESIGN”.
Austroads Incorporated, สืบค้น: มี.ค. 30,
2563. [ออนไลน์]. Available at:
https://www.rms.nsw.gov.au/business-

You might also like