Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 31

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

สถิติ (2)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 แผนภาพจุดและแผนภาพต้น-ใบ เป็น
สถิติและความน่าจะเป็น รูปแบบหนึ่งของการนำ�เสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
มาตรฐาน ค 3.1 ฮิสโทแกรมใช้สำ�หรับข้อมูลเชิงปริมาณ และ
เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรูท้ างสถิตใิ นการแก้ปญ
ั หา
ใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากแสดงความถี่หรือความถี่
ตัวชี้วัด
เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำ�เสนอข้อมูลและวิเคราะห์ สัมพัทธ์ของข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง
ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม
ของข้อมูล และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทั้งนำ�สถิติไปใช้ใน
ชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นค่ากลางของข้อมูล
2 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

1. แผนภาพจุด
ตรงกับหัวข้อ 1.1 ของ สสวท. หน้า 13

จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และนำ�เสนอข้อมูลด้วยแผนภาพจุดได้
2. นักเรียนสามารถอ่านและแปลความหมายข้อมูลที่นำ�เสนอด้วยแผนภาพจุดได้
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. การแก้ปัญหา
2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. การเชื่อมโยง
4. การให้เหตุผล
5. การคิดสร้างสรรค์

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เป็นข้อมูลที่กล่าวถึงลักษณะ ประเภท หรือคุณสมบัติ


เชิงคุณภาพ เช่น เพศ ภาษา ศาสนา วุฒิการศึกษา หมายเลขโทรศัพท์
ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitive data) เป็นข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลขแสดงปริมาณ สามารถนำ�ไปคำ�นวณ
หรือเปรียบเทียบได้ เช่น ความสูง นํ้าหนัก อายุ คะแนนสอบ
แผนภาพจุด (dot plot) เป็นการนำ�เสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยจุด จุดแต่ละจุดจะแทนข้อมูล
แต่ละตัวอยูเ่ หนือเส้นในแนวนอนทีร่ ะบุคา่ ของข้อมูล แผนภาพจุดช่วยให้เห็นภาพรวมของข้อมูลได้รวดเร็ว

ตัวอย่างที่ 1 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ของนักเรียน


ห้องหนึ่งจำ�นวน 30 คน ดังตาราง

คะแนน 100 95 90 85 80 75 70

จ�ำนวนนักเรียน 3 4 8 6 5 3 1

นำ�เสนอข้อมูลโดยใช้แผนภาพจุด ดังนี้

70 75 80 85 90 95 100

ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 3

จากแผนภาพจุดข้างต้น จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
(1) นักเรียนส่วนมากสอบได้กี่คะแนน และมีจำ�นวนกี่คน
ตอบ 90 คะแนน จำ�นวน 8 คน
(2) มีนักเรียนที่ได้คะแนน 90 คะแนนขึ้นไปจำ�นวนกี่คน
ตอบ 81413 5 15 คน
(3) มีนักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 80 คะแนนจำ�นวนกี่คน
ตอบ 311 5 4 คน
(4) นักเรียนที่ได้ 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละเท่าไรของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
ตอบ ร้อยละ 303 3100 5 10 หรือ 10% ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด

ตัวอย่างที่ 2   นํ้าหนักของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของนักเรียนห้องหนึ่งจำ�นวน 50 คน (หน่วย


เป็นกิโลกรัม) ดังแผนภาพจุด

30 32 34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 60

จากแผนภาพจุดข้างต้น จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
(1) พิสัยของนํ้าหนักของนักเรียนในห้องนี้เป็นเท่าไร

วิธีทำ� พิสัย 5 นํ้าหนักสูงสุด2นํ้าหนักตํ่าสุด


5 60236 กิโลกรัม
5 24 กิโลกรัม

ตอบ 24 กิโลกรัม
(2) นักเรียนส่วนมากมีนํ้ำ�หนักเท่าไร และมีจำ�นวนกี่คน

ตอบ 50 กิโลกรัม จำ�นวน 6 คน


(3) นักเรียนที่มีนํ้าหนักมากกว่า 50 กิโลกรัมมีจำ�นวนกี่คน และคิดเป็นร้อยละเท่าไรของจำ�นวน

นักเรียนทั้งหมด
วิธีทำ� 31213121211121111 5 17
17
คิดเป็นร้อยละ 3100 5 34 หรือ 34% ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
50
ตอบ ร้อยละ 34 ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
(4) สรุปข้อมูลเกี่ยวกับนํ้าหนักของนักเรียนได้อย่างไร

ตอบ นาํ้ หนักของนักเรียนมีการกระจายมาก นํา้ หนักตํา่ สุด 36 กิโลกรัม และนํา้ หนักสูงสุด


60 กิโลกรัม
4 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

แบบฝึกหัดที่ 1 ตรงกับแบบฝึกหัด 1.1 ของ สสวท. หน้า 17

1. คะแนนสอบปลายภาคเรียนที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 ของนักเรียน 30 คน เป็นดังนี้


12 19 13 18 15 17 20 23 10 8 16 19 24 25 14

21 19 5 18 13 19 23 25 20 19 18 17 15 22 18

(1) จงเขียนแผนภาพจุดแสดงคะแนนสอบของนักเรียน

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30

คะแนนสอบปลายภาคเรียนที่ 2 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

(2) คะแนนสู
งสุดลบด้วยคะแนนตํ่าสุดเป็นเท่าไร
2525 5 20 คะแนน
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) นักเรียนส่วนมากได้คะแนนเท่าไร และมีจำ�นวนกี่คน
19 คะแนน จำ�นวน 5 คน
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) คะแนนที่มีตำ�แหน่งอยู่ตรงกลางของคะแนนทั้งหมดเป็นเท่าไร
18 คะแนน
ตอบ..................................................................................................................................................
2. จำ�นวนนํ้าผลไม้เป็นกล่องที่ขายได้ต่อวันเป็นเวลา 30 วัน ดังนี้

26 21 26 24 27 23 24 22 26 21 23 26 24 26 23

25 22 27 20 26 21 27 21 24 26 22 28 22 25 24

(1) จงเขียนแผนภาพจุดแสดงจำ�นวนนํ้าผลไม้เป็นกล่องที่ขายได้ต่อวันเป็นเวลา 30 วัน

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

จำ�นวนนํ้าผลไม้เป็นกล่องที่ขายได้ต่อวันเป็นเวลา 30 วัน
(2) พิสัยของจำ�นวนนํ้าผลไม้เป็นกล่องที่ขายได้ต่อวันเป็นเท่าไร
28220 5 8 กล่อง
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) จำ�นวนกล่องที่ขายได้ส่วนมากเป็นเท่าไร
26 กล่อง
ตอบ..................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 5

3. แผนภาพจุดแสดงคะแนนสอบโอเน็ตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำ�นวน 32 คน

70 75 80 85 90 95 100

(1) จงกำ�หนดชื่อเพื่อให้ทราบว่าแผนภาพจุดเกี่ยวข้องกับสิ่งใด
คะแนนสอบโอเน็ตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตอบ..................................................................................................................................................
(2) มีนักเรียนสอบได้คะแนนเต็มกี่คน และคิดเป็นร้อยละเท่าไรของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
4
4 คน คิดเป็นร้อยละ 3 100 5 12.5 ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
ตอบ..................................................................................................................................................
32
(3) นักเรียนส่วนมากได้คะแนนเท่าไร
90 คะแนน
ตอบ..................................................................................................................................................

(4) พิสัยของคะแนนสอบโอเน็ตเป็นเท่าไร
100275 5 25 คะแนน
ตอบ..................................................................................................................................................

(5) โรงเรียนให้รางวัลแก่นักเรียนที่สอบได้มากกว่าร้อยละ 90 จะมีนักเรียนได้รับรางวัลกี่คน


414 5 8 คน
ตอบ..................................................................................................................................................
4. แผนภาพจุดแสดงจำ�นวนบุตรต่อครอบครัวในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง

0 1 2 3 4 5

จำ�นวนบุตรต่อครอบครัวในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง
(1) หมู่บ้านแห่งนี้มีทั้งหมดกี่ครอบครัว
25 ครอบครัว
ตอบ..................................................................................................................................................
(2) มีบุตรในครอบครัวต่างๆ ทั้งหมดกี่คน
51141121815 5 44 คน
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) ครอบครัวที่มีบุตร 2 คน คิดเป็นร้อยละเท่าไรของจำ�นวนครอบครัวทั้งหมด
ร้อยละ 257 3100 5 28 หรือ 28% ของจำ�นวนครอบครัวทั้งหมด
ตอบ..................................................................................................................................................
6 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

การวัดความหนาของปกแฟ้มกระดาษที่ใช้เครื่องจักรผลิต แสดงด้วยแผนภาพจุด (หน่วยเป็น


5.
มิลลิเมตร)

5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5

(1) จงกำ�หนดชื่อเพื่อให้ทราบว่าแผนภาพจุดเกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ความหนาของปกแฟ้มกระดาษที่ใช้เครื่องจักรผลิต
ตอบ..................................................................................................................................................
(2) แฟ้มส่วนมากมีความหนาเท่าไร
5.15 มิลลิเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) แฟ้มที่หนาที่สุดมีความหนาเท่าไร
5.5 มิลลิเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) แฟ้มที่บางที่สุดมีความหนาเท่าไร
5.05 มิลลิเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(5) แฟ้มที่หนา 5.25 มิลลิเมตรขึ้นไป คิดเป็นร้อยละเท่าไรของจำ�นวนปกแฟ้มกระดาษทั้งหมด
ร้อยละ ⎜⎝⎛ 11 ⎞
× 100⎟ 5 44 หรือ 44% ของจำ�นวนปกแฟ้มกระดาษทั้งหมด
ตอบ..................................................................................................................................................
25 ⎠
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 7

2. แผนภาพต้น-ใบ
ตรงกับหัวข้อ 1.2 ของ สสวท. หน้า 21

จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และนำ�เสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบได้
2. นักเรียนสามารถอ่านและแปลความหมายข้อมูลที่นำ�เสนอด้วยแผนภาพต้น-ใบได้
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. การแก้ปัญหา
2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. การเชื่อมโยง
4. การให้เหตุผล
5. การคิดสร้างสรรค์

การนำ�เสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบ (stem-and-leaf plot) เป็นการแบ่งตัวเลขทีแ่ สดงข้อมูล


เชิงปริมาณออกเป็นสองส่วนคือส่วนลำ�ต้น และส่วนใบ

ตัวอย่าง คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 20 คน มีดังนี้


24 40 25 26 52 39 37 23 32 21

45 37 22 28 26 31 21 41 32 19

นำ�เสนอข้อมูลในรูปแผนภาพต้น-ใบ ดังนี้

ต้น ใบ
1 9

2 4 5 6 3 1 2 8 6 1

3 9 7 2 7 1 2

4 0 5 1

5 2
8 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

ต้น ใบ
1 9

2 1 1 2 3 4 5 6 6 8

3 1 2 2 7 7 9

4 0 1 5

5 2

จากแผนภาพต้น-ใบข้างต้น จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้
(1) กลุ่มตัวอย่างที่เก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่คน

ตอบ 20 คน
(2) นักเรียนที่สอบได้คะแนนน้อยที่สุดมีกี่คน และได้กี่คะแนน

ตอบ 1 คน ได้ 19 คะแนน


(3) นักเรียนที่สอบได้คะแนนมากกว่า 40 คะแนนขึ้นไปมีกี่คน

ตอบ 3 คน (41, 45 และ 52 คะแนน)


(4) นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนนในช่วงใด (เมือ ่ แบ่งคะแนนเป็นช่วง 0-9, 10-19, 20-29, 30-39,
40-49 และ 50-59)

ตอบ 20-29 คะแนน


(5) พิสัยของคะแนนสอบเป็นเท่าไร

ตอบ 52219 5 33 คะแนน


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 9

แบบฝึกหัดที่ 2 ตรงกับแบบฝึกหัด 1.2 ของ สสวท. หน้า 27

1. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
85 68 60 99 78 85 73 95 83 92

65 82 96 57 82 75 92 70 89 80

(1) จงนำ�เสนอคะแนนสอบด้วยแผนภาพต้น-ใบ
ต้น ใบ
5 7
......................................................................................
6 8 0 5
......................................................................................
7 8 3 5 0
......................................................................................
8 5 5 3 2 2 9 0
......................................................................................
9 9 5 2 6 2
......................................................................................

(2) เรียงคะแนนจากน้อยไปมาก
ต้น ใบ
5 7
......................................................................................
6 0 5 8
......................................................................................
7 0 3 5 8
......................................................................................
8 0 2 2 3 5 5 9
......................................................................................
9 2 2 5 6 9
......................................................................................

(3) กลุ่มตัวอย่างที่เก็บรวบรวมข้อมูลมีทั้งหมดกี่คน
20 คน
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยที่สุดและมากที่สุดเป็นกี่คะแนน
57 คะแนน และ 99 คะแนน ตามลำ�ดับ
ตอบ..................................................................................................................................................
(5) นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนนอยู่ในช่วงใด
80-89 คะแนน
ตอบ..................................................................................................................................................
(6) มีนักเรียนได้ระดับคะแนน 4 คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนกลุ่มที่สำ�รวจ
12
× 100 5 60 หรือ 60% ของนักเรียนกลุ่มที่สำ�รวจ
ตอบ..................................................................................................................................................
20
10 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

2. นํ้าหนักเป็นกิโลกรัมของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องหนึ่งเป็นดังนี้

56 60 71 63 57 63 72 65 73 65
ชาย 74 66 76 67 69

50 60 70 61 50 61 51 64 53 45
หญิง 54 48 57

จงเขียนแผนภาพต้น-ใบ โดยใช้ส่วนลำ�ต้นร่วมกัน เพื่อแสดงนํ้าหนักของนักเรียนชายและ


(1)

นักเรียนหญิง
ใบ (นักเรียนหญิง) ต้น ใบ (นักเรียนชาย)
8 5 4
..................................................................................................................
7 4 3 1 0 0 5 6 7
..................................................................................................................
4 1 1 0 6 0 3 3 5 5 6 7 9
..................................................................................................................
0 7 1 2 3 4 6
..................................................................................................................

(2) พิสัยของนํ้าหนักของนักเรียนชายเป็นเท่าไร
76256 5 20 กิโลกรัม
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) พิสัยของนํ้าหนักของนักเรียนหญิงเป็นเท่าไร
70245 5 25 กิโลกรัม
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) นักเรียนชายส่วนใหญ่มีนํ้าหนักอยู่ในช่วงใด
60-69 กิโลกรัม
ตอบ..................................................................................................................................................
(5) นักเรียนหญิงส่วนใหญ่มีนํ้าหนักอยู่ในช่วงใด
50-59 กิโลกรัม
ตอบ..................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 11

3. ความสูงเป็นเซนติเมตรของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องหนึ่งเป็นดังนี้

151 166 172 170 153 168 178 162 178 170
ชาย 175 177

140 150 151 152 153 154 156 160 161 162
หญิง 145 148 165 155

จงเขียนแผนภาพต้น-ใบ (เรียงลำ�ดับความสูงจากน้อยไปมาก ) โดยใช้ส่วนลำ�ต้นร่วมกัน


(1)

เพื่อแสดงความสูงของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง
ใบ (นักเรียนหญิง) ต้น ใบ (นักเรียนชาย)
8 5 0 14
..................................................................................................................
6 5 4 3 2 1 0 15 1 3
..................................................................................................................
5 2 1 0 16 2 6 8
..................................................................................................................
17 0 0 2 5 7 8 8
..................................................................................................................

(2) พิสัยของส่วนสูงของนักเรียนชายเป็นเท่าไร
1782151 5 27 เซนติเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) พิสัยของส่วนสูงของนักเรียนหญิงเป็นเท่าไร
1652140 5 25 เซนติเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) นักเรียนชายส่วนใหญ่มีความสูงอยู่ในช่วงใด
170-179 เซนติเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
(5) นักเรียนหญิงส่วนใหญ่มีความสูงอยู่ในช่วงใด
150-159 เซนติเมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
12 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

3. ฮิสโทแกรม ตรงกับหัวข้อ 1.3 ของ สสวท. หน้า 31

จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และนำ�เสนอข้อมูลด้วยฮิสโทแกรมได้
2. นักเรียนสามารถอ่านและแปลความหมายข้อมูลที่นำ�เสนอด้วยฮิสโทแกรมได้
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. การแก้ปัญหา
2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. การเชื่อมโยง
4. การให้เหตุผล
5. การคิดสร้างสรรค์

การนำ�เสนอข้อมูลด้วยฮิสโทแกรม (histogram) ช่วยให้เห็นลักษณะการกระจายของข้อมูล


เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้
ฮิสโทแกรมมีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง โดยแท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากที่อยู่ติดกันแสดงความถี่หรือ
ความถี่สัมพัทธ์ของข้อมูลเชิงปริมาณในแต่ละช่วง ในขณะที่แผนภูมิแท่งใช้สำ�หรับข้อมูลเชิงปริมาณ
และใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากที่เว้นระยะห่างระหว่างแท่งเป็นระยะเท่าๆ กัน แสดงปริมาณของข้อมูล
ซึ่งมีเพียงค่าเดียว

ตัวอย่างที่ 1 ตารางแสดงความยาวเป็นเซนติเมตรของแท่งโลหะ

23 21 19 18 24 20 20 21 21 20

25 21 20 22 23 21 20 21 22 23
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 13

(1) จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ของความยาวของแท่งโลหะ

ความยาวของแท่งโลหะ รอยขีด ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์


(เซนติเมตร)
1
18 | 1
20
5 0.05

1
19 | 1
20
5 0.05

5
20 |||| 5
20
5 0.25

6
21 |||| | 6
20
5 0.30

2
22 || 2
20
5 0.10

3
23 ||| 3
20
5 0.15

1
24 | 1
20
5 0.05

1
25 | 1
20
5 0.05

หมายเหตุ
ความถี่สัมพัทธ์อาจอยู่ในรูปเศษส่วน หรือทศนิยม หรือร้อยละก็ได้

(2) เขียนฮิสโทแกรม

ความถี่

0 ความยาว (เซนติเมตร)
17.5
18.5
19.5
20.5
21.5
22.5
23.5
24.5
25.5
14 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

ความยาวของแท่งโลหะส่วนมากยาวเท่าไร
(3)

ตอบ 21 เซนติเมตร
(4) แท่งโลหะที่ยาวกว่า 23 เซนติเมตร มีกี่แท่ง

ตอบ 111 5 2 แท่ง


(5) ลักษณะของข้อมูลโดยรวมมีการกระจายสมํ่าเสมอหรือไม่

ตอบ ไม่

ตัวอย่างที่ 2 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องหนึ่ง

คะแนน ความถี่
ตั้งแต่ 50 แต่น้อยกว่า 60 2
ตั้งแต่ 60 แต่น้อยกว่า 70 5
ตั้งแต่ 70 แต่น้อยกว่า 80 6
ตั้งแต่ 80 แต่น้อยกว่า 90 4
ตั้งแต่ 90 แต่น้อยกว่า 100 3

เขียนฮิสโทแกรมแสดงคะแนนสอบได้ดังนี้

ความถี่
7

0
50 60 70 80 90 100
คะแนน

จากฮิสโทแกรม การกระจายของข้อมูลค่อนข้างสมมาตร ความถี่สูงสุด (6) อยู่ในช่วงตรงกลาง


(70-80) และความถี่ในช่วงทางซ้ายและทางขวาจากตรงกลางใกล้เคียงกัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 15

แบบฝึกหัดที่ 3 ตรงกับแบบฝึกหัด 1.3 ของ สสวท. หน้า 34

1. จากการทดสอบหลอดไฟฟ้า LED ของบริษทั แห่งหนึง่ จำ�นวน 100 หลอด เกีย่ วกับอายุการใช้งานเป็น


ชั่วโมง ดังตาราง

อายุการใช้งาน (ชม.) 990 995 1,000 1,005 1,010

จ�ำนวนหลอด LED 12 40 24 20 4

(1) จงสร้างฮิสโทแกรม

ความถี่

40

30

20
10

0 อายุการใช้งาน (ชั่วโมง)
990 995 1,000 1,005 1,010

(2) หลอดไฟฟ้า LED ส่วนมากมีอายุการใช้งานเท่าไร


995 ชั่วโมง
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) หลอดไฟฟ้า LED ที่มีอายุการใช้งานมากกว่า 1,000 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละเท่าไร
ร้อยละ 24
ตอบ..................................................................................................................................................
(4) สรุปข้อมูลจากฮิสโทแกรมได้ว่าอย่างไร
อายุการใช้งานสูงสุดอยู่ในช่วง 992.5-997.5 ชั่วโมง
ตอบ..................................................................................................................................................
อายุการใช้งานตํ่าอยู่ในช่วง 1,007.5-1,012.5 ชั่วโมง
...........................................................................................................................................................
16 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

2. ตารางแสดงความถี่ของความสูงเป็นเซนติเมตรของเด็ก 30 คน

ความสูง (ซม.) ความถี่


ตั้งแต่ 60 แต่น้อยกว่า 65 3
ตั้งแต่ 65 แต่น้อยกว่า 70 7
ตั้งแต่ 70 แต่น้อยกว่า 75 9
ตั้งแต่ 75 แต่น้อยกว่า 80 6
ตั้งแต่ 80 แต่น้อยกว่า 85 5

(1) จงสร้างฮิสโทแกรม

ความถี่

9
8

6
5

2
1

0 ความสูง (เซนติเมตร)
60 65 70 75 80 85

(2) สรุปข้อมูลจากฮิสโทแกรมได้ว่าอย่างไร
การกระจายของข้อมูลมีลกั ษณะค่อนข้างสมมาตร ความถีส่ งู สุดของข้อมูลอยูใ่ น
ตอบ..................................................................................................................................................
ช่วงตรงกลาง คือตั้งแต่ 70 เซนติเมตร แต่น้อยกว่า 75 เซนติเมตร และความถี่ในช่วง
...........................................................................................................................................................

ถัดมาจากตรงกลางไปทางซ้ายและทางขวาใกล้เคียงกัน
...........................................................................................................................................................



หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 17

3. แผนภาพต้น-ใบ แสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 20 คน

ต้น ใบ
2 3 8 9

3 0 3 3 4 6 7 9

4 1 1 2 5 6 7 7 8

5 5 8

(1) จงสร้างตารางแจกแจงความถี่จากแผนภาพต้น-ใบ

คะแนน ความถี่
ตั้งแต่ 20 แต่น้อยกว่า 30 3

ตั้งแต่  30 แต่น้อยกว่า  40
............................................... 7
.................

ตั้งแต่  40 แต่น้อยกว่า  50
............................................... 8
.................

ตั้งแต่  50 แต่น้อยกว่า  60
............................................... 2
.................

(2) จงสร้างฮิสโทแกรม

ความถี่

10
8

4
2

0 คะแนน
20 30 40 50 60
18 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

4. ค่ากลางของข้อมูล
ตรงกับหัวข้อ 1.4 ของ สสวท. หน้า 38

จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถหาและเปรียบเทียบค่ากลางของข้อมูลได้
2. นักเรียนสามารถแปลความหมายผลลัพธ์และเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลได้
3. นักเรียนสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ คาดคะเนและสรุปผลได้
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. การแก้ปัญหา
2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. การเชื่อมโยง
4. การให้เหตุผล
5. การคิดสร้างสรรค์

การเลือกตัวแทนทีบ่ ง่ บอกลักษณะทีต่ อ้ งการของข้อมูลเชิงปริมาณชุดใดชุดหนึง่ ตามวัตถุประสงค์


ทีจ่ ะนำ�ไปใช้ตามความเหมาะสมของข้อมูล ค่าทีไ่ ด้เรียกว่า ค่ากลางของข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
มัธยฐาน และฐานนิยม

4.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (arithmetic mean) คือ จำ�นวนที่ได้จากการหารผลบวกค่าของข้อมูลทั้งหมด
ด้วยจำ�นวนข้อมูล อาจเรียกสั้นๆ ว่า ค่าเฉลี่ย
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนํ้าหนักนักเรียน 5 คน เป็นดังนี้
45 57 42 68 และ 55 กิโลกรัม
45 + 57 + 42 + 68 + 55
วิธีทำ� ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5
5
267
5
5
5 53.4 กิโลกรัม
ตอบ นํ้าหนักเฉลี่ยของนักเรียน 5 คนนี้เท่ากับ 53.4 กิโลกรัม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 19

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
1 1 1 1 2 2 3 3
3 4 4 4 5 5 6
1+1+1+1+ 2 + 2 + 3+ 3+ 3+ 4 + 4 + 4 + 5 + 5 + 6
วิธีทำ� ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5
15
(4 × 1) + (2 × 2) + (3 × 3) + (3 × 4) + (2 × 5) + (1 × 6)
5
15
4 + 4 + 9 + 12 + 10 + 6
5
15
45
5
15
5 3

ตอบ 3

ตัวอย่างที่ 3 แผนภาพจุดแสดงระยะทางที่มีนักเรียนกลุ่มหนึ่งเดินทางไปโรงเรียน

1 2 3 4 5 6 7

ระยะทางที่นักเรียนเดินทาง (กิโลเมตร)

(1) จงสร้างตารางแจกแจงความถี่

ระยะทาง (กม.) ความถี่


1 3

2 5
3 7

4 4

5 3

6 2

7 1

รวม 25
20 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

(2) จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของระยะทาง
(3 × 1) + (5 × 2) + (7 × 3) + (4 × 4) + (3 × 5) + (2 × 6) + (1 × 7)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5
3+ 5 + 7 + 4 + 3+ 2 +1
3 + 10 + 21 + 16 + 15 + 12 + 7
5 25
84
5 25
5 3.36 กิโลเมตร
ตอบ ระยะทางเฉลี่ยที่นักเรียนกลุ่มนี้เดินทางไปโรงเรียนเท่ากับ 3.36 กิโลเมตร

แบบฝึกหัดที่ 4 ตรงกับแบบฝึกหัด 1.4 ก ของ สสวท. หน้า 42

1. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลต่อไปนี้
(1) 1 2 2 3 3 3 4 4 4 4

(1 × 1) + (2 × 2) + (3 × 3) + (4 × 4)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 ...................................................................................................................
10
1 + 4 + 9 + 16
5 ...................................................................................................................
10
30
5 ...................................................................................................................
10
3
5 ...................................................................................................................

(2) 4 5 5 6 6 6 7 7 7 7

(1 × 4) + (2 × 5) + (3 × 6) + (4 × 7)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 ...................................................................................................................
10
4 + 10 + 18 + 28
5 ...................................................................................................................
10
60
5 ...................................................................................................................
10
6
5 ...................................................................................................................

(3) 3 6 6 9 9 9 12 12 12 12

(1 × 3) + (2 × 6) + (3 × 9) + (4 × 12)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 ...................................................................................................................
10
3 + 12 + 27 + 48
5 ...................................................................................................................
10
90
5 ...................................................................................................................
10
9
5 ...................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 21

2.นักเรียน 7 คน หนัก 45, 66, 67, 40, 55, 64 และ x กิโลกรัม ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนํ้าหนักของ
นักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับ 59 กิโลกรัม จงหาค่าของ x
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 45 + 66 + 67 + 40 + 55 + 64 + x
วิธีทำ� �����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������
7
337 + x
59 5
..................................................................................................................................................................
7
59  7 5 337 1 x
..................................................................................................................................................................
413 5 337 1 x
..................................................................................................................................................................
x 5 76
..................................................................................................................................................................

76
ตอบ ........................................................................................................................................................
3. เด็กชายยุทธหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 2.1, 5.1, 2.5, 3.1 และ 4.3 ได้ 3.24 เด็กชายยุทธ

หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลถูกต้องหรือไม่
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 2.1 + 5.1 + 2.5 + 3.1 + 4.3
วิธีทำ� �����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������
5
17.1

..................................................................................................................................................................
5
5
5 3.42
..................................................................................................................................................................

เด็กชายยุทธหาค่าเฉลี่ยผิด ได้ค่าเฉลี่ยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยที่ถูกต้อง
ตอบ ........................................................................................................................................................
4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 5 จำ�นวน เท่ากับ 55 ถ้าข้อมูล 2 จำ�นวนคือ 95 และ 84 และ 3 จำ�นวน
ที่เหลือแต่ละจำ�นวนมีค่าเท่ากับ x จงหา
(1) ผลบวกของข้อมูล 5 จำ�นวนนี้
วิธีทำ� ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 5 จำ�นวนเท่ากับ 55
95 + 84 + 3x
5 55
...........................................................................................................................................................
5
179  3x 5 275
...........................................................................................................................................................

3x 5 96
...........................................................................................................................................................

x 5 32
...........................................................................................................................................................
ผลบวกของข้อมูล จำ�นวนนี้เท่ากับ 5 95  84  (332) 5 275
...........................................................................................................................................................
ผลบวกของข้อมูล 5 จำ�นวนนี้เท่ากับ 275
ตอบ .................................................................................................................................................
(2) ถ้านำ� 49 รวมเข้าไปกับข้อมูลชุดเดิม ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่เท่ากับเท่าไร
275 + 49
วิธที ำ� ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่ 5 �����������������������������������������������������������������������������
5 +1
324
5 ..............................................................................
6
54
5 ..............................................................................

ค่าเฉลีย่ ของข้อมูลชุดใหม่เท่ากับ 54
ตอบ .................................................................................................................................................
22 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

5. แผนภาพต้น-ใบ แสดงความสูงของต้นไม้ต่างๆ (เป็นเมตร) ในสวนผลไม้แห่งหนึ่ง

ต้น ใบ
1 0 1
2 3 4 4
3 1 2 2 2 5 5 1 0 หมายถึง 1.0 เมตร
4 1 1 1 4 4 4 2 3 หมายถึง 2.3 เมตร
5 0
6 5 8

มีต้นไม้ทั้งหมดกี่ต้น
(1)
20 ต้น
ตอบ..................................................................................................................................................

(2) จงหาผลรวมของความสูงของต้นไม้ทั้งหมด
1.0  1.1  2.3  (2  2.4)  3.1  (3  3.2)   (2  3.5)   (3  4.1)   (3  4.4)  
ตอบ..................................................................................................................................................
 5.0  1  6.5  1  6.8 5 72.7 เมตร
...........................................................................................................................................................

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของความสูงของต้นไม้
(3)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของความสูงเท่ากับ 5 72.7 5 3.635 เมตร
ตอบ..................................................................................................................................................
20
6. ฮิสโทแกรมแสดงจำ�นวนไข่ที่แตกจากการบรรจุลังกระดาษจากฟาร์มก่อนถึงโรงงาน
จำ�นวนลังกระดาษ (ลัง)

70

60
50

40

30

20
10

0 จำ�นวนไข่แตกต่อลัง (ฟอง)
0 1 2 3 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 23

จงหาจำ�นวนไข่แตกทั้งหมด
(1)

จำ�นวนไข่แตก 5 (601) (402)(203)(104) ฟอง


วิธีทำ� �����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������

5 60   80  60   40 ฟอง


...........................................................................................................................................................

5 240 ฟอง
...........................................................................................................................................................

ไข่แตกทั้งหมด   240 ฟอง
ตอบ..................................................................................................................................................

(2) จงหาค่าเฉลี่ยของจำ�นวนไข่แตกต่อลัง

ค่าเฉลี่ยของจำ�นวนไข่แตก 5 70 + 60 +240 ฟองต่อลัง


วิธีทำ� �����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������
40 + 20 + 10
240
5 ฟองต่อลัง
...........................................................................................................................................................
200
5 1.2 ฟองต่อลัง
...........................................................................................................................................................
ค่าเฉลี่ยของจำ�นวนไข่แตกเท่ากับ   1.2 ฟองต่อลัง
ตอบ..................................................................................................................................................

4.2 มัธยฐาน
มัธยฐาน (median) คือ ค่าที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย
จำ�นวนของข้อมูลที่น้อยกว่าหรือเท่ากับค่านั้นจะเท่ากับจำ�นวนของข้อมูลที่มากกว่าหรือเท่ากับค่านั้น
มัธยฐานของข้อมูลชุดหนึ่งจะมีค่าเดียวอาจเป็นข้อมูลที่อยู่ตรงกลางหรือค่าเฉลี่ยของข้อมูลคู่ที่
อยู่ตรงกลางขึ้นอยู่กับจำ�นวนข้อมูลในชุดนั้น
พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
1. ถ้าจำ�นวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจำ�นวนคี่ มัธยฐานคือข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
เช่น ข้อมูล 100 200 200 350 500 1,200 10,000
3 จำ�นวน 3 จำ�นวน

ข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
ดังนั้น มัธยฐาน คือ 350
ถ้าจำ�นวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจำ�นวนคู่ มัธยฐานคือค่าเฉลี่ยของข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง
2.
เช่น ข้อมูล 22 38 65 94 95 96 96 99
3 จำ�นวน 3 จำ�นวน
ข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง

มัธยฐาน 5 94 +2 95 5 94.5

ดังนั้น มัธยฐาน คือ 94.5


24 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

ตัวอย่างที่ 4 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 16 คน เป็นดังตาราง จงหามัธยฐานของคะแนน


สอบในครั้งนี้

คะแนน 5 10 15 20 25

จ�ำนวนนักเรียน (คน) 2 6 5 2 1

วิธีทำ� เรียงคะแนนทั้งหมดจากน้อยไปมาก
5 5 10 10 10 10 10 10 15 15 15 15 15 20 20 25

7 คน 7 คน
10 + 15
มัธยฐานของคะแนนสอบ 5 2
5 12.5 คะแนน
ตอบ มัธยฐานของคะแนนสอบ คือ 12.5 คะแนน

4.3 ฐานนิยม
ฐานนิยม (mode) คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดหนึ่ง
พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
1. ข้อมูล 100 200 200 350 500 1,200 10,000
ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดคือ 200 (มี 2 จำ�นวน)
ดังนั้น ฐานนิยม คือ 200
2. จากตาราง

คะแนน 5 10 15 20 25

จ�ำนวนนักเรียน (คน) 2 6 5 2 1

ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดคือ 10 (ความถี่เท่ากับ 6) กรณีที่ข้อมูลชุดใดมีข้อมูล


ดังนั้น ฐานนิยม คือ 10 คะแนน ทีม่ คี วามถีม่ ากทีส่ ดุ เท่ากัน
3. ข้อมูล 5 5 8 8 9 9 10 10 มากกว่า 2 ค่า จะถือว่า
ข้อมูลชุดนั้นไม่มีฐานนิยม
ข้อมูลแต่ละตัวมีความถี่เท่ากัน ถือว่าข้อมูลชุดนี้ไม่มีฐานนิยม
4. ข้อมูล 100 100 200 300 500 500
มีข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากันมากกว่าหนึ่งข้อมูล คือ 100 และ 500
ดังนั้น ฐานนิยม คือ 100 และ 500
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 25

ตัวอย่างที่ 5 จากการสำ�รวจความนิยมพรรคการเมือง 5 พรรค ของคน 100 คน ปรากฏดังนี้

พรรคการเมือง A B C D E

ความถี่ (คน) 10 15 20 50 5

จงหาว่าคนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่นิยมพรรคการเมืองใด
วิธีทำ� เนื่องจากพรรคการเมือง D มีความถี่สูงสุด
จะได้ฐานนิยม คือ พรรคการเมือง D
ตอบ คนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่นิยมพรรคการเมือง D

แบบฝึกหัดที่ 5 ตรงกับแบบฝึกหัด 1.4 ข ของ สสวท. หน้า 50

1. จงหามัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลแต่ละชุดต่อไปนี้
(1) 1 2 3 4 5 3 2 1 3

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้
1 1 2 2 3 3 3 4 5

4 จำ�นวน
...................... 4 จำ�นวน
......................

3
ดังนั้น มัธยฐาน คือ .......................................................................................................................
3
ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด คือ .................................................................................................
3
ดังนั้น ฐานนิยม คือ .......................................................................................................................
(2) 7 6 4 6 7 4 6 5

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้
4 4 5 6 6 6 7 7
..........................................................................................................................................................
3 จำ�นวน 3 จำ�นวน
6+6 5 6
ดังนั้น มัธยฐาน คือ .......................................................................................................................
2
6
ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด คือ .................................................................................................
6
ดังนั้น ฐานนิยม คือ .......................................................................................................................
26 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

(3) 89 95 76 71 88 78
เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้
..........................................................................................................................................................
71 76 78 88 89 95
..........................................................................................................................................................
78 + 88
มัธยฐาน คือ 5 83
..........................................................................................................................................................
2
ทุกข้อมูลมีความถี่เท่ากัน ข้อมูลชุดนี้จึงไม่มีฐานนิยม
..........................................................................................................................................................

(4) 2.50 3.90 3.20 9.20 3.70

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้
..........................................................................................................................................................
2.50 3.20 3.70 3.90 9.20
..........................................................................................................................................................
มัธยฐาน คือ 3.70
..........................................................................................................................................................
ทุกข้อมูลมีความถี่เท่ากัน ข้อมูลชุดนี้จึงไม่มีฐานนิยม
..........................................................................................................................................................

(5) 6.1 3.77 8.9 2.33 5.5 6.1 3.4 2.1 1.3 2.33
เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้
..........................................................................................................................................................
1.3 2.1 2.33 2.33 3.4 3.77 5.5 6.1 6.1 8.9
..........................................................................................................................................................
3.4 + 3.77
มัธยฐาน คือ 5 3.585
..........................................................................................................................................................
2
ข้อมูลมีความถี่สูงสุดเท่ากันมากกว่าหนึ่งข้อมูล (2.33 และ 6.1)
..........................................................................................................................................................
ฐานนิยม คือ 2.33 และ 6.1
..........................................................................................................................................................

2.มัธยฐานของข้อมูล 6 จำ�นวน เท่ากับ 2.5 กำ�หนดให้ข้อมูล 5 จำ�นวนคือ 9, 1, 2, 4 และ 2 จงหา


ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้
วิธีทำ� ให้ x เป็นข้อมูลในชุดนี้ จะได้
1 2 2 x 4 9
..................................................................................................................................................................
มัธยฐาน 5 2 +2 x 5 2.5
..................................................................................................................................................................

2+x 5 5
..................................................................................................................................................................

x 5 3
..................................................................................................................................................................
1+2+2+3+4+9
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้ 5 .........................................................................................
6
21
5 .........................................................................................
6
3.5
5 .........................................................................................

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้ เท่ากับ 3.5


ตอบ ........................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 27

3. จากการสอบถามนักเรียน 30 คน เกี่ยวกับรายจ่ายค่าอาหารกลางวันในวันหนึ่งดังตาราง

จ�ำนวนเงิน (บาท) 60 70 80 90 100 120

จ�ำนวนนักเรียน (คน) 2 6 8 7 6 1

(1) จงหามัธยฐานของค่าอาหารกลางวัน
เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้

60 60 70 ... 70 80 ... 80 90 ... 90 100 ... 100 120

6 จำ�นวน 8 จำ�นวน 7 จำ�นวน 6 จำ�นวน


จำ�นวนที่ 8 จำ�นวนที่ 16
จำ�นวนตรงกลางเป็นจำ�นวนที่ 15 และ 16 ในที่นี้คือ 80 และ 80 ตามลำ�ดับ
............................................................................................................................................................
ดังนั้น มัธยฐาน คือ 80 +6 80 5 80 บาท
............................................................................................................................................................

(2) จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของรายจ่ายค่าอาหารกลางวัน
(2 × 60) + (6 × 70) + (8 × 80) + (7 × 90) + (6 × 100) + (1 × 120)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 ......................................................................................................................
2 + 6+ 8 + 7 + 6+1
120 + 420 + 640 + 630 + 600 + 120
5 ......................................................................................................................
30
2530
5 ......................................................................................................................
30

84.33 บาท
 ......................................................................................................................

(3) จงหาฐานนิยมของรายจ่ายค่าอาหารกลางวัน
80 เป็นข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด (คือ 8)
............................................................................................................................................................
ดังนั้น ฐานนิยม คือ 80 บาท
............................................................................................................................................................
28 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

4. ฮิสโทแกรมแสดงค่าจ้างต่อวันของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง

จำ�นวนพนักงาน (คน)

200

150

100

50

0 ค่าจ้างต่อวัน (บาท)
300 310 320 330 340

(1) จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของค่าจ้างพนักงานต่อวัน
วิธีทำ� ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของค่าจ้างพนักงานต่อวัน
(200 × 300) + (50 × 310) + (200 × 320) + (50 × 330) + (100 × 340)
5 ..........................................................................................................................................
200 + 50 + 200 + 50 + 100
60000 + 15500 + 64000 + 16500 + 34000
5 ..........................................................................................................................................
600
190000
5 ..........................................................................................................................................
600
 316.67 บาท
..........................................................................................................................................

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของค่าจ้างต่อวันประมาณ 316.670 บาท


ตอบ ..................................................................................................................................................
(2) จงหามัธยฐานของค่าจ้างพนักงานต่อวัน
วิธีทำ� จำ�นวนพนักงานทั้งหมด 5 ..200 1 50 1 200 1 50 1 100 5 600 คน
.............................................................................................

ค่าจ้างของคนที่ 300 1 ค่าจ้างของคนที่ 301


5 ...............................................................................................
2
320 + 320
5 ...............................................................................................
2
320 บาท
5.................................................................................................

มัธยฐานของค่าจ้างพนักงานต่อวัน คือ 320 บาท


ตอบ ..................................................................................................................................................
(3) จงหาฐานนิยมของค่าจ้างพนักงานต่อวัน
เนื่องจากค่าจ้างที่มีความถี่สูงสุดมีสอง 2 จำ�นวน คือ 300 และ 320
ตอบ ..................................................................................................................................................
ดังนั้น ฐานนิยมของค่าจ้างพนักงานต่อวันคือ 300 บาท และ 320 บาท
...........................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 29

5. แผนภาพจุดแสดงจำ�นวนครั้งที่ผู้ขับขี่รถเสียค่าปรับในรอบ 1 ปี

0 1 2 3 4 5 6 7 8

จำ�นวนครั้งที่ผู้ขับขี่รถเสียค่าปรับในรอบ 1 ปี

(1) มีผู้ขับขี่รถเสียค่าปรับกี่คน
4 1 5 1 3 1 3 1 2 1 3 1 1 1 1 5 22 คน
ตอบ ..................................................................................................................................................

(2) จงหามัธยฐานของจำ�นวนครั้งที่ผู้ขับขี่รถเสียค่าปรับ
ตอบ ..มั ธยฐาน คือ 2 (ตำ�แหน่งที่ 11 และ 12)
................................................................................................................................................

(3) จงหาฐานนิยมของจำ�นวนครั้งที่ผู้ขับขี่รถเสียค่าปรับ
ตอบ ..ฐานนิ ยม คือ 1 (ความถี่สูงสุดเท่ากับ 5)
................................................................................................................................................

6. แผนภาพต้น-ใบ แสดงจำ�นวนครั้งที่นักเรียนกลุ่มหนึ่งวิดพื้นในเวลาที่กำ�หนด

ต้น ใบ
0 1 2 2 2 4 4 5 5 7 9
1 1 3 3 5 5
2 1 1 4 7
3 0 0 1 1 2 4

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจำ�นวนครั้งการวิดพื้น
(1)

วิธีทำ� ผลรวมของจำ�นวนครั้งของการวิดพื้น

1 1 2 1 2 1 2 1 4 1 4 1 5 1 5 1 7 1 9 1 11 1 13 1 13 1 15 1 15
5 .........................................................................................................................................

1 21 1 21 1 24 1 27 1 30 1 30 1 31 1 31 1 32 1 34
..........................................................................................................................................

389
5 ..........................................................................................................................................
389
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5 ..........................................................................................................
25
ครั้ง
15.56
5 ..........................................................................................................

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจำ�นวนครั้งการวิดพื้นเท่ากับ 15.56 ครั้ง


ตอบ..................................................................................................................................................
30 แบบฝึกเสริมทักษะ | คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 เล่ม 2

จงหามัธยฐานของจำ�นวนครั้งการวิดพื้น
(2)

วิธีทำ� มีข้อมูลทั้งหมด 25 คน
1 2 2 2 4 4 5 5 7 9 11 13 13
ข้อมูล ....................................................................................................................................
12 จำ�นวน
15 15 21 21 24 27 30 30 31 31 32 34
.............................................................................................................................................
12 จำ�นวน
มัธยฐาน คือ 13 ครั้ง
ตอบ..................................................................................................................................................
(3) จงหาฐานนิยมของจำ�นวนครั้งการวิดพื้น
ฐานนิยม คือ 2 (มีความถี่สูงสุดเท่ากับ 3)
ตอบ ...................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 | สถิติ (2) 31

สรุป

การนำ�เสนอข้อมูล สถิติ (2) ค่ากลางของข้อมูล

แผนภาพจุด
● เป็นการนำ�เสนอข้อมูลเชิงปริมาณ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ จำ�นวนที่ได้จากการหาร
ในรูปแบบกราฟอย่างหนึ่งซึ่งจะใช้ ผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจำ�นวนข้อมูล
จุดแทนข้อมูลแต่ละตัวซึ่งจะอยู่เหนือ
เส้นในแนวนอนที่ระบุค่าของข้อมูล

มัธยฐาน คือ ค่าที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลที่เรียง


แผนภาพต้น-ใบ จากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย
● เป็ น การแบ่ ง ตั ว เลขที่ แ สดงข้ อ มู ล ● ถ้าจำ�นวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจำ�นวนคี่ มัธยฐานคือ

เชิ ง ปริ ม าณออกเป็ น สองส่ ว นคื อ ข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง


ส่วนลำ�ต้นและส่วนใบ ● ถ้าจำ�นวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจำ�นวนคู่ มัธยฐานคือ

ค่าเฉลี่ยของข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง

ฮิสโทแกรม ฐานนิ ย ม คื อ ข้ อ มู ล ที่ มี ค วามถี่ สู ง สุ ด ในข้ อ มู ล


● มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่ง ใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉาก ชุดนั้น
ที่อยู่ติดกันแสดงความถี่หรือความถี่สัมพัทธ์ของข้อมูล
เชิงปริมาณในแต่ละช่วง

You might also like