Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ

การกำหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ที่มีในสังคมไทย
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาสินค้าในทางปฏิบัติ
“ การกำหนดราคาของธุรกิจอาจขึ้นอยูก่ ับ วัตถุประสงค์
อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง”

กำไร ราคาเป็นเครื่องชี้คุณภาพ

สร้างยอดขาย รักษาสภานภาพสินค้า
การคำนึงถึงปัจจัยภายในและภายนอกธุรกิจ
สภาวะทางเศรษฐกิจ

ผู้ผลิตกำหนดราคาสินค้าให้สูงขึ้น

ช่วงเศรษฐกิจรุ่งเรือง

ราคาสินค้าอาจตกต่ำลงกว่าปกติ

ช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
การคำนึงถึงปัจจัยภายในและภายนอกธุรกิจ
สภาวะการแข่งขันในตลาด

ผู้ผลิตมีความจำเป็นต้องกำหนดราคาเดียวกันหรือใกล้เคียงกันกับธุรกิจอื่น

ต้นทุนการผลิตและการจำหน่าย

การจะบวกเพิ่มจากต้นทุนเท่าไรนั้นก็ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า
สภาวะเศรษฐกิจ และการแข่งขันในตลาด
ราคา
ขาย = ต้นทุน + กำไร
การคำนึงถึงปัจจัยภายในและภายนอกธุรกิจ
กลุ่มเป้าหมายและลักษณะของสินค้า

ผู้ผลิตหรือธุรกิจจะต้องคำนึงถึงว่าจะจำหน่ายให้กับลูกค้ากลุ่มใด
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาสินค้าของธุรกิจ
หลักเกณฑ์ในการ กำหนดวัตถุประสงค์ให้ ประมาณความต้องการ
กำหนดราคาสินค้า ชัดเจน ว่าต้องการอะไร ซื้อสินค้าว่ามีมากน้อยเพียงใด

เลือกใช้หลักเกณฑ์ในการ วิเคราะห์คู่แข่งว่ามีจำนวน
วิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
กำหนดราคาว่าจะใช้ มากน้อยเท่าไร ใช้กลยุทธ์
ต่อหน่วยว่ามีต้นทุนเท่าไร
กลยุทธ์ใด จึงจะเหมาะสม การแข่งขันอย่างไร
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาสินค้าในเชิงกลยุทธ์

1 การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มเข้าไปกับต้นทุน

2 การกำหนดราคาสินค้าที่ขายให้แตกต่างกันตามปริมาณสินค้าที่ซื้อ
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาสินค้าในเชิงกลยุทธ์
3 การกำหนดราคาขายให้แตกต่างกันตามลักษณะของผู้ซื้อ

4 การกำหนดราคาสินค้าตามช่วงเวลาที่ต่างกัน
ข้อดีข้อเสียของการกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย

ถ้าเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันกัน
ธุรกิจที่มีการแข่งขันกันน้อย มาก ๆ การตั้งราคาสูงจะทำได้
และมีอำนาจทางการตลาดสูง ยาก เพราะถ้าธุรกิจอื่นตั้ง
อาจตั้งราคาสินค้า ราคาต่ำ ก็จะขายได้ ไม่เยอะ
สูงกว่าปกติได้
การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา
เพื่อการแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ
บทบาทในการส่งเสริมของรัฐ
“การสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ”
บทบาททางด้านการจัดการและการควบคุม
1 การประกันราคาขั้นต่ำ นิยมใช้กับ ผลผลิตทาง
การเกษตร ซึ่งมีความยืดหยุ่นของ
ราคา
อุปสงค์น้อย แต่อุปทานควบคุมได้
ราคาที่รัฐบาลกำหนด
D S ยาก เพราะขึ้นกับ ดิน ฟ้า อากาศ

ปริมาณการซื้อขายสินค้าและบริการ
บทบาททางด้านการจัดการและการควบคุม
2 การกำหนดราคาขั้นสูง
ราคา
D S

ราคาที่รัฐบาลกำหนด

ปริมาณการซื้อขายสินค้าและบริการ

You might also like