บทที่่ 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 52

Statics/ Chapter 2 Force systems 2-1

สถิตยศาสตร (Statics)

บทที่ 2 ระบบของแรง (ตอนที่ 1)

2/1 บทนํา
ในบทนี้จะกลาวถึงระบบของแรงในงานวิศวกรรม เนื้อหาในบทนี้จะเปนพื้นฐานสําคัญใน
การศึกษาวิชากลศาสตรชนั้ สูงตอไป เชน การวิเคราะหความเคน การออกแบบโครงสราง และ
เครื่องจักรกล การไหลของของไหล เปนตน

2/2 แรง
แรงเปนปริมาณเวคเตอร เนื่องจากผลของแรงจะขึ้นอยูกับปจจัยทั้งขนาด ทิศทาง ของ
แรงกระทํา เมื่อพิจารณารูปที่ 1 จะพบวาเมื่อออกแรงกระทํากับวัตถุทเี่ สียรูปได เชน ดินน้ํามัน
ตําแหนงที่แรงกระทํา มีความสําคัญตอการเสียรูปของวัตถุเชนกัน ดังนั้นแรงจึงถูกพิจารณาวา
เปน Fixed vector
แรงภายนอกและแรงภายใน
แรงสามารถแบงออกไดเปนแรงภายนอกและแรงภายใน พิจารณาแรงกระทํากับวัตถุใน
รูปที่ 2 เมื่อพิจารณาที่ตัววัตถุ จะพบวาแรงภายนอกที่กระทํากับมันประกอบดวยแรงดัน P แรง
ที่หมุดยึด O และแรงที่ตวั รองรับ C สวนแรงที่อยูภายในระบบที่เราพิจารณานั้นจะเรียกวาแรง
ภายใน ในที่นี้แรงภายในคือแรงที่อยูในเนื้อวัตถุและสงผลใหวตั ถุมกี ารเสียรูป การเสียรูปของ
วัตถุนั้นขึ้นกับ ขนาด ทิศทาง และตําแหนงของแรง รูปรางวัตถุ รวมถึงวัสดุที่ใชทําวัตถุนั้นดวย
การเสียรูปนี้จะไดเรียนในวิชากลศาสตรวสั ดุตอไป

r
F
r
F

รูปที่ 1 ผลของตําแหนงแรงกระทํา
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-2

External
r
F

r C
F O
C
O Internal
r
F

C
O Fixed

รูปที่ 2 แรงภายนอกและแรงภายใน

หลักการสงผาน
ถึงแมวาตําแหนงของแรงจะมีผลตอการเสียรูปของวัตถุ แตถาวัตถุที่พิจารณามีลักษณะ
ใกลเคียงกับวัตถุแข็งเกร็ง ผลของตําแหนงของแรง (ที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน) ตอการเสียรูป
ของวัตถุสามารถละเลยได ในกรณีนี้ไมวาจะออกแรงที่ตําแหนงใดในแนวเสนตรงเดียวกัน ผล
ของแรงนั้นจะมีคาเหมือนกัน นั่นคือแรงสามารถพิจารณาเปน Sliding vector ได
พิจารณารูปที่ 3 จากรูปพบวา ไมวาแรงจะใหที่ตําแหนง A หรือตําแหนง B ผลของแรง
จะมีคาเหมือนกัน นั่นคือแรงที่เกิดที่หมุดยึด O และแรงที่ตัวรองรับ C ที่เกิดเนื่องจากแรง P จะ
มีคาเทากัน หลักการที่กลาวมานี้เรียกวา “หลักการสงผาน (Principle of Transmissibility)”
ในวิชานี้จะพิจารณาแคแรงที่กระทําตอวัตถุแข็งเกร็ง ดังนั้นหลักการสงผานสามารถ
ใชได และแรงสามารถพิจารณาเปน Sliding vector ได

รูปที่ 3 หลักการสงผาน [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-3

(a) (b) (c)


รูปที่ 4 แรงที่แนวแรงบรรจบกัน และการรวมแรง [1]

แรงทีแ่ นวแรงบรรจบกัน (Concurrent forces)


v
แรงที่แนวแรงบรรจบกัน หมายถึง แรงที่เสนของแนวแรงตัดกันที่จุดใดจุดหนึ่ง แรง F1
v
และ F2 ในรูปที่ 4(a) เปนแรงที่แนวแรงบรรจบกัน เนื่องจากแนวแรงของแรงทั้งสองตัดกันที่จุด
v
A แรงทั้งสองสามารถรวมกันเปนแรงลัพธ R โดยใชกฎการรวมแบบสี่เหลี่ยมดานขนาน และ
v
แรงลัพธ R ที่ไดก็จะผานจุด A ที่แนวแรงบรรจบกันเชนกัน
ขอระวังในการรวมแรงคือ แรงลัพธที่ไดตองผานจุดที่แนวแรงบรรจบกัน ดังนั้นผลการ
รวมแรงในรูปที่ 4(b) จะใหผลที่ถูกตอง อยางไรก็ตามสําหรับการรวมแรงตามรูปที่ 4(c) ถึงแมวา
แรงจะถูกรวมอยางถูกตองตามหลักการบวกเวคเตอร ทําใหไดขนาดและทิศทางของแรงที่
ถูกตอง แตตําแหนงที่แรงลัพธกระทําจะผิดไป
สวนประกอบยอยของแรง
นอกจากการรวมแรงสองแรงเปนแรงลัพธแรงเดียวแลว ในหลายๆครั้งจําเปนที่จะตอง
แตกแรงออกเปนสวนประกอบยอยๆ ตามแนวตางๆ โดยผลรวมของแรงยอยๆ ที่แตกออกมา
ตองมีคาเทากับแรงเดิมเสมอ
v v v
รูปที่ 5(a) แสดงถึงการแยกแรงลัพธ R ออกเปนแรง F1 และ F2 ตามแนวแกน a และ
v v
b วิธีหาแรง F1 และ F2 ทําโดยเขียนรูปการรวมเวคเตอรแบบสี่เหลี่ยมดานขนาน และใชสมการ
ตรีโกณมิติ (กฎของ sine และกฎของ cosine) คํานวณขนาดของสวนประกอบยอยๆ ตามวิธที ี่
แสดงในบทที่ 1
b r b
r Fb r
R R
r
F2
r
F1
a r a
Fa

(a) (b)

รูปที่ 5 การแตกแรงเปนสวนประกอบยอย และโปรเจคชั่นของแรง [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-4

โปรเจคชั่นของแรง
โปรเจคชั่นของเวคเตอรบนแกนใดๆ หมายถึงภาพฉายตั้งฉากบนแกนนั้นๆ รูปที่ 5(b)
v
แสดงถึงภาพฉายของแรงลัพธ R บนแกน a และ b เนื่องจากแกน a และ b ไมตั้งฉากกัน
v v v v
ดังนั้นผลรวมของแรง Fa กับ Fb ซึ่งเปนโปรเจคชั่นของ R จึงไมเทากับแรงลัพธ R
การรวมแรงในกรณีแรงสองแรงขนานกัน
การรวมแรงทีม่ ีแนวแรงบรรจบกัน จะสามารถรูตําแหนงของแรงลัพธวาจะตองผาน
ตําแหนงที่แนวของแรงตัดกัน อยางไรก็ตามถาแรงที่จะรวมเปนแรงสองแรงซึ่งขนานกัน ทําให
ไมมีจุดตัดจะไมสามารถหาตําแหนงของแรงลัพธได วิธีการรวมแรงในกรณีนี้สามารถทําไดตาม
ขั้นตอนดังนี้
v v
1. แรงที่จะรวมคือแรง F1 และ F2 ซึ่งมีทิศทางขนานกัน (รูปที่ 6(a))
v v
2. เพิ่มแรง F และ − F ซึ่งมีขนาดเทากันและอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน แตทิศทาง
v v
ตรงกันขามเขาไปในระบบ โดยแนวแรง F และ − F กระทําผานจุดบนเสนตรงซึ่งลาก
v v v
เชื่อมจุดที่แรง F1 และ F2 กระทํา (รูปที่ 6(b)) เนื่องจากแรงลัพธของแรง F และ
v
− F มีคาเทากับศูนย ดังนั้นการเพิ่มแรงคูนี้เขาไปจึงไมมีผลกระทบกับแรงรวมของทั้ง
ระบบ
v v v v v
3. ทําการรวมแรง F1 กับแรง F และแรง F2 กับแรง − F จะไดแรงรวมเปน R1 และ
v
R2 ตามลําดับ (รูปที่ 6(b))
v v
4. รวมแรง R1 และแรง R2 เขาดวยกัน ตามวิธรี วมแรงที่แนวแรงบรรจบกัน จะไดแรง
v v v
ลัพธ R ซึ่งมีทิศทางขนานกับแรงเริ่มตน F1 และ F2 และกระทําผานจุดตัดของแรง
v v
R1 และ R2 ตามตองการ (รูปที่ 6(c))

r
R
r
R1 r
R2
r r
R2 r R2 r
F2 F2 R1 F2 R1
F1 F1 F1

F F F F

(a) (b) (c)

รูปที่ 6 การรวมแรงสองแรงที่ขนานกัน [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-5

SECTION A. ระบบแรงในสองมิติ
2/3 ระบบพิกัดฉาก
วิธีทวั่ ไปในการหาคําตอบของแรงในปญหาสองมิติ คือ การแยกสวนประกอบของแรง
v v v
ออกเปนสองสวนตามระบบพิกัดฉาก ตามรูปที่ 7 แรง F จะแยกไดเปนแรง Fx และ Fy และ
เขียนสมการไดดังนี้
v v v
F = Fx + Fy (1)
เขียนในรูปผลคูณสเกลารของแตละสวนประกอบกับเวคเตอรหนึ่งหนวยแสดงทิศทางไดดังนี้
v
F = Fx iˆ + Fy ˆj (2)
v
คา Fx และ Fy สามารถเปนบวก หรือลบก็ได ขึ้นกับทิศทางของแรง F และ สามารถหาได
ตามสมการตอไปนี้
Fx = F cos θ Fy = F sin θ
Fy
F = Fx2 + Fy2 θ = arctan( ) (3)
Fx

รูปที่ 7 การแตกแรงในระบบพิกัดฉาก [1]

การคิดเครื่องหมายบวกลบของ F
การคิดเครื่องหมายบวกลบ สามารถทําไดตามขั้นตอนตอไปนี้
1. เขียนเวคเตอรของแรง
2. ตั้งแกนพิกัดฉาก
3. ทําการแตกแรงเปนสวนประกอบยอยตามแนวแกนพิกัด
4. ถาทิศของแรงที่แตกได มีทศิ เดียวกับทิศบวกของแกนพิกัด เครื่องหมายเปนบวก
5. ถาทิศของแรงที่แตกได มีทศิ ตรงขามกับทิศบวกของแกนพิกัด เครื่องหมายเปนลบ
พิจารณาตัวอยางการคิดเครื่องหมายบวกลบจากตัวอยางดังแสดงในรูปที่ 8
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-6

r r
F F
x
θ y β
θ
Fx= −Fcosθ
y
Fy= −Fsinθ

x x
r
F
θ Fx= Fcosθ Fx= Fsin(β−θ)
y
Fy= −Fsinθ Fy= −Fcos(β−θ)

รูปที่ 8 ตัวอยางการแตกแรงในระบบพิกดั ฉาก

การบวกลบเวคเตอรในระบบพิกัดฉาก
การบวกลบเวคเตอรในระบบพิกัดฉากทําไดโดย แตกเวคเตอรแตละตัวใหมีทิศทางตาม
แกนพิกัดฉากเสียกอน แลวจึงบวกลบเวคเตอรยอยที่มที ิศทางเดียวกันเขาดวยกัน การบวกลบ
เวคเตอรในระบบพิกัดฉากแสดงในรูปที่ 9 และสมการที่ (4)
v v v
R = F1 + F2 = ( F1x iˆ + F1 y ˆj ) + ( F2 x iˆ + F2 y ˆj )
v
จัดรูปไดดังนี้ R = R x iˆ + R y ˆj = ( F1x + F2 x )iˆ + ( F1 y + F2 y ) ˆj
เพราะฉะนั้นจะได R x = F1x + F2 x = ∑ Fx
R y = F1 y + F2 y = ∑ Fy (4)

รูปที่ 9 การบวกลบเวคเตอรในระบบพิกดั ฉาก [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-7

2/1 Determine the components of the


800-N force F along the oblique axes a
and b. Also, determine the projections
of F onto the a- and b-axes. [Engineering
Mechanics Statics 5th edition, Meriam & Kraige,
prob.2/19]

วิธีทํา 1 หาสวนประกอบของเวคเตอรแรงตามแนวแกน a และ b


Fb
b
75° F = 800 N

Fb
a 45°
75°
Fa 60°
45°

จากรูป พิจารณาการตอเวคเตอรแบบหัวตอหาง ซึ่งจะตอเวคเตอรเปนรูปสามเหลี่ยม


จากรูปสามเหลี่ยมนี้จะสามารถหาขนาดของ Fa และ Fb ไดจากกฎของ sine ดังนี้

กฎของ sine 800


=
Fa
=
Fb
sin 45° sin 75° sin 60°

∴จะได Fa = 1092.82 N Ans


Fb = 979.80 N

2 หาโปรเจคชั่นตามแนวแกน a และ b

F = 800 N โปรเจคชั่นบนแกน a
Fa = 800 cos 60° = 400 N Ans
Fb
b
a 60° 75°
โปรเจคชั่นบนแกน b
45°
Fa
Fb = 800 cos 75° = 207.06 N Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-8

2/2 The cable AB prevents bar OA


from rotating clockwise about the
pivot O. If the cable tension is 750 N,
determine the n- and t- components of
this force acting on point A of the bar.
[Engineering Mechanics Statics 5th edition, Meriam
& Kraige, prob.2/23]

วิธีทํา
เนื่องจากตองการหาสวนประกอบของแรงตึง
TAB ในแนวแกน n-t จึงตองแตกแรง TAB เขา
แกน n-t
TAB
θ การจะแตกแรงไดจําเปนตองรูมุม θ เสียกอน

หาขนาดของมุม α ไดดังนี้
α
1.5 sin 60°
tan α = = 0.6662
1.2 + 1.5 cos 60°

α = 33.6705°

จากมุม α สามารถหามุม θ ไดดังนี้


θ = 180° − 120° − 33.6705° = 26.3295°

แรง Tt ตามแนวแกน t = TAB cos θ = 750 cos 26.3295°

= 672 N
เนื่องจากทิศทางของแรง Tt ตรงขามกับแกนบวกของแกน t
ดังนั้น แรง Tt = -672 N Ans

แรง Tn ตามแนวแกน n = TAB sin θ = 750 sin 26.3295°

= 332.65 N
เนื่องจากทิศทางของแรง Tn ตรงกับแกนบวกของแกน n
ดังนั้น แรง Tn = 332.65 N Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-9

2/3 The guy cables AB and AC are


attached to the top of the transmission
tower. The tension in cable AC is 8
kN. Determine the required tension T
in cable AB such that the net effect of
the two cable tension is a downward
force at point A. Determine the
magnitude R of this downward force.
[Engineering Mechanics Statics 5th edition,
Meriam & Kraige, prob.2/25]

วิธีทํา
TAB α TAC จากรูป พิจารณาแรงกระทําที่จุด A จะพบวามี
θ
แรงเนื่องจากแรงตึงของเคเบิล 2 แรง ไดแก
R แรง TAC และ TAB ทั้งสองแรงนี้จะรวมกันได
เปนแรงกด R ซึ่งมีทิศทางพุงลงตามแนวดิ่ง

หาขนาดของมุม θ, α และ β ไดดังนี้


40
θ = arctan( ) = 33.69°
60
θ TAC = 8kN
50
α = arctan( ) = 51.34°
40

β = 180° − 33.69° − 51.34° = 94.97°


R β

α นําแรงทั้ง 3 แรงมาเขียนเวคเตอรผลบวกของแรง
TAB แบบหัวตอหางไดดังรูป

TAC T R
จากกฎของ sine = AB =
sin α sin θ sin β
8 TAB R
= =
sin 51.34° sin 33.69° sin 94.97°

TAB = 5.68 kN
Ans
R = 10.21 kN
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-10

แบบฝกหัด หัวขอ 2/2-2/3


1. Combine the two forces P and T, which act on the fixed structure at B, into a single
equivalent force R. [Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans R = 524 N, θ = 48.6°)
2. If the equal tensions T in the pulley cable are 400 N, express in vector notation the
force R exerted on the pulley by the two tensions. Determine the magnitude of R.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans R = 600i + 346j N, R = 693 N)
3. The 500-N force F is applied to the vertical pole as shown.
1. Write F in terms of the unit vector i and j and identify both its vector and scalar
components.
2. Determine the scalar components of the force vector F along the x'- and y'- axes.
3. Determine the scalar components of F along the x- and y'- axes.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans (1) F = 250i - 433j
(2) Fx’ = 500 N, Fy’ = 0 N
(3) Fx = 1000N, Fy’ = -866 N)

รูปสําหรับแบบฝกหัดขอ 1 รูปสําหรับแบบฝกหัดขอ 2

รูปสําหรับแบบฝกหัดขอ 3
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-11

เอกสารอางอิง
[1] J.L.Meriam and L.G.Kraige, Engineering mechanics STATICS fifth edition SI
Version, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-12

สถิตยศาสตร (Statics)

บทที่ 2 ระบบของแรง (ตอนที่ 2)

2/4 โมเมนต
การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ และการเคลื่อนที่แบบหมุน พิจารณา
รูปที่ 1(a) แรงกระทําวัตถุผานจุดศูนยกลางมวลทําใหวัตถุเลื่อนทีเ่ พียงอยางเดียว สวนในรูปที่
1(b) แรงกระทําไมผานจุดศูนยกลางมวล วัตถุจึงเลื่อนที่ไปพรอมๆ กับเกิดการหมุน แนวโนมที่
จะเกิดการหมุนนี้ เรียกวา “โมเมนต (Moment)” ในหลายๆ ครั้งโมเมนตอาจถูกเรียกวาทอรก
(Torque)

r
F C.G. C.G.
r d
F

Translation Translation + Rotation


รูปที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่แบบเลื่อนทีแ่ ละแบบหมุน

รูปที่ 2 แสดงการใชประแจขันทอ (Pipe wrench) หมุนทอ พบวาหากเปรียบเทียบการ


ใชประแจหมุนทอ กับการใชมือหมุนโดยตรงแลว การใชประแจหมุนจะทําใหเกิดการหมุนได
มากกวาใชมือหมุนโดยตรง หากใชแรงในการหมุนใกลเคียงกัน ทัง้ นี้เนื่องจากวาการใชประแจ
หมุนจะเกิดโมเมนต หรือเกิดแนวโนมที่จะหมุนมากกวาการใชมือหมุน นอกจากนี้จะพบวาเมือ่
แขนของประแจยาวขึ้น จะชวยผอนแรงที่หมุนได (ใชแรงหมุนนอยลง) ดังนั้นอาจสรุปไดวา
โมเมนตจะขึ้นอยูกับขนาดของแรง และระยะหางของแรงกระทําจากแกนการหมุน

รูปที่ 2 รูปตัวอยางแสดงโมเมนต [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-13

รูปที่ 3 แสดงทิศทางแรงตางๆ ตอการหมุน โดยทอจะหมุนไดรอบแกน A-A จากรูปจะ


พบวา แรง F1 และ F4 จะทําใหทอหมุนทวนเข็มนาฬิกา และ ตามเข็มนาฬิกาตามลําดับ สวน
แรง F2 และ F3 ซึ่งแนวแรงขนานกับทอ และผานแกนทอจะไมทําใหทอหมุน แตจะทําใหทอเกิด
การดัดแทน ดังนั้นอาจจะสรุปไดวา แรงที่จะทําใหเกิดโมเมนตนั้น ตองกระทําทีท่ ิศทางใดๆ ซึ่ง
ไมขนานกับแกนการหมุน และแนวของแรงไมผานแกนหมุน

รูปที่ 3 ทิศทางของแรงตอการหมุน

โมเมนตรอบจุด
v
รูปที่ 4 แสดงถึงแรง F ที่กระทําตอวัตถุสองมิติ ทําใหเกิดการหมุนรอบแกน O-O ซึ่ง
ตั้งฉากกับระนาบของวัตถุ ขนาดของโมเมนตสามารถนิยามไดวาเปนผลคูณของขนาดแรง (F)
กับระยะทางตัง้ ฉากจากแกนหมุนถึงแนวแรง (d) ดังแสดงในสมการ (1) จากสมการนี้จะพบวา
โมเมนตจะมีหนวยเปน N.m ในหนวย SI
M = Fd (1)
เนื่องจากการหมุนตองมีการบอกทิศทางวาหมุนไปทิศทางใด เชน ตองบอกวาหมุน
ทิศทางตามเข็มนาฬิกา หรือทวนเข็มนาฬิกา จึงจะเปนการบอกลักษณะการหมุนไดสมบูรณ
ดังนั้น โมเมนตจึงเปนปริมาณเวคเตอร โดยทิศทางของโมเมนตหาไดจากกฎมือขวา ดังแสดงใน
รูปที่ 4 ตําแหนงของเวคเตอรโมเมนตสามารถเลื่อนขึน้ ลงไดอิสระบนแกนหมุน แตไมสามารถ
เลื่อนไปทีต่ ําแหนงอื่นๆ ได เนื่องจากจะทําใหการหมุนเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นโมเมนตจึงถือเปน
Sliding vector

รูปที่ 4 รูปแสดงนิยามของโมเมนต และทิศทางของโมเมนต [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-14

รูปที่ 5 แรงและโมเมนตในสองมิติ [1]

สําหรับกรณีสองมิตินั้น แกนของการหมุนจะกลายเปนจุด ดังแสดงในรูปที่ 5 การ


กําหนดทิศทางการหมุนสามารถกําหนดใหทิศทวนเข็มนาฬิกา หรือ ตามเข็มนาฬิกา ทิศใดทิศ
หนึ่งเปนทิศทางบวกก็ได
การครอสเวคเตอร (The Cross Product)
ในปญหาหลายๆ ปญหา โดยเฉพาะปญหาสามมิติ การคํานวณโมเมนตอาจทําไดงาย
v
กวาโดยใชวิธกี ารเวคเตอร โมเมนตของแรง F รอบจุด A ดังแสดงในรูปที่ 4 สามารถหาไดจาก
การครอสเวคเตอร ดังนี้
v v v
M = r×F (2)
v v
โดย r คือเวคเตอรที่ชี้จากจุด A ไปยังจุดใดๆ บนแนวแรง F
เมื่อคิดขนาดของโมเมนตอยางเดียว จะสามารถหาโมเมนตไดจากสมการ (3) ดังนี้
M = Fr sin α = Fd (3)
v v
โดย α เปนมุมระหวางเวคเตอร r และแรง F
ทิศทางของโมเมนตสามารถหาไดจากกฎมือขวา โดยวางมือตามแนวเวคเตอร rv และ
v v
กวาดนิ้วไปตามทิศทางแรง F ทิศทางของนิ้วโปงจะเปนทิศทางของโมเมนต M เนื่องจาก
v
โมเมนตเปนผลจากการครอสเวคเตอร ดังนั้นจึงไมสามารถสลับเวคเตอร rv และ F จากสมการ
v v
(2) เปน M = F × rv ได เนื่องจากจะไดทิศทางผิดเปนตรงกันขาม
Varignon’s Theorem
Varignon’s Theorem กลาวไววา “โมเมนตของแรงรอบจุดใดๆ มีคาเทากับผลรวมของ
โมเมนตของสวนประกอบยอยๆ ของแรงนั้นรอบจุดเดียวกัน” Varignon’s Theorem สามารถ
แสดงไดโดยรูปที่ 6 และสมการตอไปนี้
v v v
R = P+Q
v v v v v v
M O = r × R = r × ( P + Q)
v v v v v v v
MO = r × R = r × P + r ×Q (4)
กรณีคิดเปนสเกลารจะได
M O = Rd = − pP + qQ (5)
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-15

รูปที่ 6 Varignon’ theorem [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-16

2/4 The force exerted by the plunger of cylinder AB on the door is 40 N


directed along the line AB, and this force tends to keep the door closed.
Compute the moment of this force about hinge O. What force FC normal to
the plane of the door must the door stop at C exert on the door so that the
combined moment about O of the two forces is zero? [Engineering Mechanics Statics
5th edition, Meriam & Kraige, prob.2/42]

วิธีทํา
θ หาโมเมนต MO เนื่องจากแรงใน
แนว FAB
FAB=40 N
FC 100
tan θ = arctan( ) = 14.0362°
400

แตกแรง FAB เปนแรงยอยในแนวดิ่งและแนวระดับ ตามเสนสีน้ําเงิน และหาโมเมนต


ของแรง FAB จากผลรวมของโมเมนตของแรงยอยไดดังนี้

M O = (40 cos θ )(75 ×10 −3 ) + (40 sin θ )(400 + 25) ×10 −3

แทนคามุม θ จะได MO = 7.03 Nm CW Ans

หาแรง FC ซึ่งทําใหโมเมนตรวมที่ O = 0 (โมเมนตเกิดจากแรง FAB และ FC เทานั้น


สวนแรงที่หมุดยึดประตูนั้น เนื่องจากแรงกระทําที่จุด O จึงไมทําใหเกิดโมเมนตที่จุด O)

M O = FC (0.825)
7.03 = FC (0.825)
FC = 8.53N Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-17

2/5 The spring-loaded follower A


bears against the circular portion of
the cam until the lobe of the cam
lifts the plunger. The force required
to lift the plunger is proportional to
its vertical movement h from its
lowest position. For design
purposes determine the angle θ for
which the moment of the contact
force on the cam about the bearing
O is a maximum. In the enlarged
view of the contact, neglect the
small distance between the actual
contact point B and the end C of the
lobe. [Engineering Mechanics Statics 5th
edition, Meriam & Kraige, prob.2/45]
วิธีทํา F
จากรูปจะพบวา
III ชวง I และ II ยังไมเกิดแรง เนื่องจาก
m

สปริงยังไมเกิดการหดตัว
m

x
80

x0 II ดังนั้น ชวงที่เกิดแรงและโมเมนตมาก
l=

θ
ที่สุดจะเกิดในชวงที่ III เมื่อสวน
I แหลมของลูกเบี้ยวสัมผัสกับตัวตาม
แรงจากสปริงจะแปรผันตรงกับระยะหดนั่นคือ
F = k ( x − x0 )
โดย x = l sin θ
x0 = 40mm l = 80mm

หาโมเมนตจาก M = Fl cos θ = k (l sin θ − x0 )(l cos θ )

M = kl (l sin θ cos θ − x0 cos θ )


l
M = kl ( sin 2θ − x0 cos θ )
2
หาคาสูงสุดของโมเมนตโดยหาตําแหนงที่อนุพันธเทียบกับมุม θ มีคาเทากับศูนย
dM l
= kl ( cos 2θ (2) − x0 (− sin θ )) = 0
dθ 2
l cos 2θ + x0 sin θ = 0

l (1 − 2 sin 2 θ ) + x0 sin θ = 0
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-18

แทนคา x0 = 40mm, l = 80 mm จะได


80(1 − 2 sin 2 θ ) + 40 sin θ = 0

4 sin 2 θ − sin θ − 2 = 0

sinθ = 0.8431, -0.5931

คา -0.5931 อยูในตําแหนงที่แรงสปริงเปนศูนย ดังนั้นจึงพิจารณาแตคา 0.8431


sinθ = 0.8431, θ = 57.47º Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-19

2/5 คับเปล (Couple)


คับเปลเปนโมเมนตซึ่งเกิดขึน้ จากแรงคูควบ (แรงสองแรงซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศทาง
ตรงกันขาม และเปนแรงทีไ่ มอยูในแนวแรงเดียวกัน) พิจารณารูปที่ 7 ซึ่งแสดงคับเปลจากแรง
v v
F และ − F การหาโมเมนตเนื่องจากคับเปลทําไดโดยสมมุติจุดหมุนที่ตําแหนงใดๆ O โมเมนต
หาไดดังนี้
M = F (a + d ) − Fa = Fd (6)
จากสมการ (6) จะพบวาโมเมนตที่เกิดไมขึ้นกับตําแหนงจุดหมุน O เลย เนื่องจากไมมี
พจน a ซึ่งแสดงระยะหางของแรงกับจุดหมุน ขนาดของคับเปลจะขึ้นกับขนาดของแรงกระทํา
และระยะหางในแนวตั้งฉากของแนวแรงทั้งสองเทานั้น

รูปที่ 7 คับเปล [1]

เมื่อพิจารณาแบบเวคเตอร คับเปลสามารถหาไดดังแสดงในรูปที่ 8 และสมการที่ (7)


r r r r r r r r
M = rA × F + rB × ( − F ) = ( rA − rB ) × F
r v r
M =r×F (7)
v v
โดย คือเวคเตอรซึ่งชี้จากจุดใดๆ บนแนวแรง − F ไปยังจุดใดๆ บนแนวแรง F
v v
ทิศทางของคับเปลจะตั้งฉากกับระนาบทีแ่ รง F และ − F อยู และสามารถพิจารณาได
ตามกฎมือขวาทํานองเดียวกับทิศทางของโมเมนต อยางไรก็ตามเนื่องจากขนาดของคับเปลมีคา
เทากัน ไมวาจะเลือกจุดหมุนที่จุดไหน ดังนั้นคับเปลจึงถูกพิจารณาเปน Free vector สําหรับใน
สองมิติ คับเปลสามารถเขียนแสดงไดตามรูปที่ 9
r
M

r A r
rA r
r B r
O rB −F
r
F

รูปที่ 8 คับเปลในสามมิติ
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-20

รูปที่ 9 สัญลักษณแสดงคับเปล [1]

คับเปลที่เทากัน
คับเปลที่เทากัน หมายถึงคับเปลที่มีขนาดเทากัน และมีทิศทางเดียวกัน คัปเปลที่
เทากันอาจจะเกิดจากแรงคูที่ไมเทากัน หรือทําที่ตําแหนงตางกันก็ได (เนื่องจากคับเปดเปน
Free vector) รูปที่ 10 แสดงถึงแรงคูควบตางๆ กระทําทีต่ ําแหนงตางๆ กัน แตใหผลลัพธ
คับเปลที่เทากัน นั่นคือคับเปลขนาด M และมีทิศทางชี้ขึ้นดานบน

รูปที่ 10 คับเปลที่มีขนาดเทากัน [1]

ระบบของแรงและคับเปล
เมื่อแรงหนึ่งแรงกระทํากับวัตถุ แรงนั้นจะสงผลใหวตั ถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงกระทํา และ
อาจสงผลใหวตั ถุหมุนรอบแกนใดๆ นั่นแสดงใหเห็นวาผลของแรง อาจแยกออกเปนผลของแรง
ที่ดึงหรือดันวัตถุใหเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง และผลของคับเปลทีท่ าํ ใหวัตถุหมุนรอบแกนใดๆ ได
นั่นคือ เราอาจเขียนแทนแรงหนึ่งแรงไดดวยแรงและคับเปลได พิจารณาขั้นตอนการเขียนดัง
แสดงในรูปที่ 11
v
1. ในรูปที่ 11(a) แรง F กระทําที่จุด A
v v
2. เพิ่มแรง F และ − F ที่จุด B ดังแสดงในรูปที่ 11(b) เนื่องจากแรงลัพธที่เพิ่มเขา
ไปในระบบเปนศูนย ดังนั้นแรงที่เพิ่มจึงไมสงผลใดๆ ตอระบบ
v v
3. จากรูปที่ 11(c) จับคูแรง F กระทําที่จุด A และแรง − F กระทําที่จุด B จะไดแรง
คูควบ 1 คู
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-21

v v
4. แรง F ที่กระทําที่จุด A ในรูปที่ 11(a) สามารถเขียนแทนไดเปนแรง F กระทําที่
จุด B และแรงคูควบขนาด Fd โดย d เปนระยะหางระหวางแรงคูควบ ดังแสดงใน
รูปที่ 11(d)
การเขียนแทนแรงๆ หนึ่งดวยแรงและคับเปล อาจกลาวอีกอยางไดวา ถึงแมวาแรงจะเปน
Sliding vector (กรณีกระทํากับวัตถุแข็งเกร็ง) แตแรงก็สามารถยายตําแหนงได โดยเมื่อยาย
ตําแหนงแลวจะตองเกิดคับเปลเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยผลของโมเมนตที่จะเปลี่ยนไป

Add vto the system


∑F =0 Couple

(a) (b) (c) (d)


รูปที่ 11 ระบบของแรงและคับเปล [1]
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-22

2/6 Calculate the moment of the 1200-N


force about pin A of the bracket. Begin
by replacing the 1200-N force by a force-
couple system at point C. [Engineering
Mechanics Statics 5th edition, Meriam & Kraige,
prob.2/68]

วิธีทํา เมื่อยายแรง 1200N มาที่จุด C จะไดแรง


M 1200N ที่จุด C บวกกับโมเมนต ดังแสดง
โดยเสนสีน้ําเงินในรูป
โมเมนต M จากการยายแรงสามารถหา
ไดดังนี้
1200N
M = 1200 × 0.2 = 240 Nm

หาโมเมนตรอบจุด A M A = 1200 sin θ (0.6) + M


1
M A = 1200 × × 0.6 + 240
5
= 562 Nm CCW Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-23

2/6 Resultants
แรงและคับเปลที่กระทํากับระบบสามารถรวมใหเปนรูปแบบอยางงายได โดยไมทํา
ใหผลกระทบของแรงและคับเปลเปลี่ยนแปลงไป รูปแบบอยางงายนี้เรียกวา Resultants
Resultants นี้จะเปนแรงเพียงแรงเดียว หรือเปนคับเปลเพียงอยางเดียวในปญหา 2 มิติ และเปน
ผลรวมของแรงและโมเมนตในปญหา 3 มิติ
v v v
รูปที่ 12(a) แสดงถึงการรวมแรงเพื่อหา Resultant แรง F1 , F2 และ F3 สามารถรวม
v v v
ไดโดยใชการรวมแรงตามวิธีที่ไดกลาวมาแลว โดยทําการรวมแรง F2 และ F3 เปนแรงลัพธ R1
v v v
กอน แลวจึงรวมแรง R1 กับแรง F1 เพื่อหา Resultant R ของระบบ วิธนี ี้จะรูไดวาแนวแรง
ลัพธผานทีต่ ําแหนงใด
สําหรับขนาดของแรงลัพธ อาจหาไดโดยตอเวคเตอรของแรงเขาดวยกันแบบหัวตอหาง
หรือแยกแรงแตละแรงเปนสวนประกอบยอยๆ ตามแนวแกน x-y และรวมแรงยอยๆ เขาดวยกัน
ตามที่แสดงในรูปที่ 12(b) หรือแสดงในสมการ (8)
v v v v v
R = F1 + F2 + F3 + K = ∑ F
R x = ∑ Fx R y = ∑ Fy R = ( ∑ Fx ) 2 + ( ∑ F y ) 2

θ = arctan(
Ry
) = arctan(
∑F y
) (8)
Rx ∑F x

(a) (b)
รูปที่ 12 การหา Resultants [1]

Algebraic Method
การหา Resultants สามารถหาไดโดยวิธีทางพีชคณิตดังแสดงในรูปที่ 13 วิธีการนี้ใช
หลักการที่วา แรงแรงหนึ่งสามารถเขียนแทนไดดวยแรงขนาดเดียวกันกระทําทีต่ ําแหนงอื่นและ
คับเปล (หัวขอ 2/5) โดยวิธีการนี้จะทําการยายแรงทุกแรงไปที่จุดเดียวกันที่หาโมเมนตสะดวก
เพื่อหาแรงรวมและโมเมนตรวม จากนั้นจึงทําการยายตําแหนงของแรงรวมอีกครั้งหนึ่งเพื่อ
ชดเชยใหผลของคับเปลหายไป
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-24

วิธีการพีชคณิตมีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. เลือกจุดที่หาโมเมนตสะดวกจุดใดก็ไดเพื่อทําการยายแรง (รูปที่ 13(a))
2. ทําการยายแรงไปที่จุดนั้น (ในรูปคือจุด O) ดังแสดงในรูปที่ 13(b) เมื่อยายแรงไป
v
จะตองเกิดคับเปลขึ้นตามหลักการที่แสดงในหัวขอ 2/5 โดย เมื่อยายแรง F1 จะเกิด
คับเปล M 1 ขนาด F1d1 ทิศทางตามเข็มนาฬิกา ในทํานองเดียวกัน เมื่อยายแรง
v v
F2 และ F3 แลวก็จะเกิดคับเปล M 2 และ M 3 ขึ้นเชนกัน
v v
3. รวมแรงและคับเปลทั้งหมดของระบบ ไดเปนแรง R = ∑ F และคับเปล
M O = ∑ (Fd ) ดังแสดงในรูปที่ 13(c)
4. เนื่องจากแรงๆ หนึ่งสามารถเขียนแทนไดดวย แรงขนาดเทากันที่ตําแหนงอื่นและ
คับเปล ในทางกลับกันแรงและคับเปล ก็สามารถเขียนแทนไดดวยแรงเพียงแรง
เดียวเชนกัน ในกรณีตามรูป 13(c) ถาแรงกระทําทีจ่ ุด O จะเกิดคับเปลหมุนใน
ทิศทางตามเข็มนาฬิกา เมื่อตองการเขียนแทนดวยแรงเพียงแรงเดียว จําเปนตอง
v
เลื่อนแรง R ขึ้นเปนระยะ d ดังแสดงในรูปที่ 13(d) เพื่อใหเกิดโมเมนตรอบจุด O
ชดเชยคับเปล โดยระยะ d สามารถหาไดจากความสัมพันธ Rd = M O

รูปที่ 13 การหา Resultants ดวยวิธีพชี คณิต [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-25

ตัวอยาง Resultants กรณีอื่นๆ


พิจารณาตัวอยางการหา Resultants กรณีอื่นๆ แสดงในรูปที่ 14(a) และ 14(b)
v v v
รูปที่ 14(a) แรงรวมระหวางแรง F1 และ F2 มีคาเทากับ − F3 แตไมไดอยูในแนว
v
เสนตรงเดียวกันกับ F3 ดังนั้นเมื่อรวมกับแรง จึงมีแรงรวมเปนศูนย ในกรณีนี้ Resultant จึง
เปนคับเปลโดยมีขนาดเทากับ F3 d
รูปที่ 14(b) แนวแรงทั้งสามแรงผานจุด O ดังนั้นเมื่อหาโมเมนตรวมที่จุด O จึงได
v v
โมเมนตรวมเปนศูนย ในกรณีนี้ Resultant จึงเปนแรงลัพธ และมีคาเทากับ R = ∑ F
r r
F1 F1

r r r
F1 + F2 = − F3 r
F2 r
F2
O

r
d r F3
F3

(a) (b)
รูปที่ 14 Resultants กรณีอื่นๆ

เอกสารอางอิง
[1] J.L.Meriam and L.G.Kraige, Engineering mechanics STATICS fifth edition SI
Version, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-26

2/7 The asymmetric roof truss is of the type used when a near normal angle of
incidence of sunlight onto the south-facing surface ABC is desirable for solar
energy purpose. The five vertical loads represent the effect of the weight of the
truss and supported roofing materials. The 400-N load represents the effect of
wind pressure. Determine the equivalent force-couple system at A. Also,
compute the x-intercept of the line of action of the system resultant treated as a
single force R. [Engineering Mechanics Statics 5th edition, Meriam & Kraige, prob.2/86]

2.5

2.5 2.5

วิธีทํา ยายแรงทั้งหมดมาที่จุด A จะหาแรงลัพธไดดังนี้


Ax = 400 cos 30° = 346.4101N
400 N A
Ay = 2000 + 400 sin 30° = 2200 N

M
แรงลัพธ A = 346.41iˆ − 2200 ˆj N
250+500+500+500+250
Ans
= 2000 N

เมื่อยายแรงทั้งหมดมาที่จุด A จะเกิดโมเมนต M รอบจุด A ซึ่งหาไดดังนี้


M = 400(2.5) + 500(2.5) + 500(5) + 500(7.5) + 250(10)

M = 11000 Nm Ans

ให Resultant ตัดแกน x ที่ตําแหนงหางจากจุด


M
A = x จะพบวาแรงที่ทําใหเกิดโมเมนต M เปน
A
Ax แรง Ay เทานั้น ระยะ x หาไดดังนี้
A Ay ( x) = M
x
Ay
M 11000
x= = = 5m Ans
Ay 2200
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-27

แบบฝกหัด หัวขอ 2/4 - 2/6


1. Calculate the magnitude of the moment about the base point O of the 600-N force.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans MO = 2610 Nm)
2. The rigid structural member is subjected to a couple consisting of the two 100-N
forces. Replace this couple by an equivalent couple consisting of the two forces P
and –P, each of which has a magnitude of 400 N. Determine the proper angle θ.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans θ = 51.3°)

รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 1 รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 2

3. Determine and locate the resultant R of the two forces and one couple acting on the
I-beam. [Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans R = -3j kN
x = 4.33 m)

รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 3 รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 4


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-28

4. Replace the three forces acting on the bent pipe by a single equivalent force R.
Specify the distance x from point O to the point on the x-axis through which the line
of action of R passes. [Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans R = -200i + 80j N
x = 1.625 m (off pipe))
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-29

สถิตยศาสตร (Statics)

บทที่ 2 ระบบของแรง (ตอนที่ 3)

ระบบของแรงในสามมิติ
2/7 ระบบพิกัดฉาก
ปญหาในทางกลศาสตรหลายๆ ปญหา ตองพิจารณาในสามมิติ ระบบพิกัดพื้นฐานที่ใช
v
ในการพิจารณาคือระบบพิกัดฉาก (x-y-z) ดังนั้นแรง F ในสามมิติจะสามารถแตกออกไดเปน
แรง Fx, Fy และ Fz ตามแนวแกน x, y และ z ตามลําดับ ดังแสดงในรูปที่ 1

รูปที่ 1 การแตกแรงในระบบพิกัดฉาก [1]

ขนาดของแรง แรง Fx, Fy และ Fz สามารถคํานวณไดตามสมการตอไปนี้


Fx = F cos(θ x ) Fy = F cos(θ y ) Fz = F cos(θ z ) (1)
v
โดย θ x , θ y และ θ z คือมุมที่แรง F กระทํากับแกน x, y และ z ดังแสดงในรูปที่ 1
ขนาดของแรงรวม จะหาไดจากสมการที่ (2)
F = Fx2 + Fy2 + Fz2 (2)
v
นอกจากนี้แรง F ยังสามารถเขียนไดในรูปของผลบวกเวคเตอรของแรงยอยในแนวแกน x, y
และ z ไดดังนี้
r
F = Fx iˆ + Fy ˆj + Fz kˆ (3)
r
F = F (cos θ x iˆ + cos θ y ˆj + cos θ z kˆ) (4)
โดย iˆ , ĵ และ k̂ เปนเวคเตอรหนึ่งหนวยในแนวแกน x, y และ z
กําหนดให l = cos θ x , m = cos θ y และ n = cos θ z และเรียก l, m, n วา ไดเรกชั่นโคไซน
(Direction Cosine) โดยไดเรกชั่นโคไซนจะมีคุณสมบัติดังแสดงในสมการ (5)
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-30

l 2 + m2 + n2 = 1 (5)
แทนคา l, m, n ลงในสมการ (4) จะได
r
F = F (liˆ + mˆj + nkˆ ) (6)
จากคุณสมบัติแสดงในสมการ (5) จะไดวาเวคเตอร (liˆ + mˆj + nkˆ) มีขนาด 1 หนวย ดังนั้น
สมการ (6) จะสามารถเขียนไดในรูปของขนาดของแรง F คูณดวยเวคเตอร 1 หนวยในทิศทาง
v
เดียวกับแรง F , n̂ F ดังนี้
r
F = Fnˆ F (7)
สมการ (7) แสดงใหเห็นวาเวคเตอรใดๆ สามารถเขียนใหอยูในรูปของ ขนาดของแรง คูณกับ
ทิศทางของแรงซึ่งแสดงใหเห็นโดยเวคเตอรหนึ่งหนวย n̂ F ได
v
โดยทั่วไปการเขียนเวคเตอร F ใหอยูในระบบแกนพิกัดฉาก จะสามารถแบงวิธีเขียน
v
ตามเงื่อนไขทีก่ ําหนดมาใหได 2 กรณี คือ 1) การเขียนเวคเตอร F ในกรณีที่กําหนดจุด 2 จุดที่
v
เวคเตอรผาน และ 2) การเขียนเวคเตอร F เมื่อกําหนดมุม 2 มุม

1. กรณีกําหนดจุด 2 จุดที่เวคเตอรผาน

รูปที่ 2 การหาเวคเตอรหนึ่งหนวยซึ่งผานจุด 2 จุดที่กําหนด [1]


v
จากรูปเวคเตอร F มีขนาด F และมีทิศทางที่ผานจุด A และจุด B
v
จะสามารถเขียนเวคเตอร F ในรูปของขนาดแรงคูณกับเวคเตอรหนึ่งหนวยบอกทิศทาง ดัง
แสดงในสมการ (8) ไดดังนี้
r v
rAB
F = Fn F = F v
ˆ (8)
| rAB |
v
โดย rAB คือเวคเตอรที่ชี้จากจุด A ไปยังจุด B และ
r
rAB = ( x2 − x1 )iˆ + ( y 2 − y1 ) ˆj + ( z 2 − z1 ) kˆ (9)

r ( x − x )iˆ + ( y2 − y1 ) ˆj + ( z 2 − z1 )kˆ
ดังนั้น F=F 2 1 (10)
( x2 − x1 ) 2 + ( y2 − y1 ) 2 + ( z 2 − z1 ) 2
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-31

จากสมการ (10) ถาทราบพิกัดจุด A และจุด B จะสามารถเขียนเวคเตอรที่ผานจุดทั้งสองได

2. กรณีกําหนดมุมให 2 มุม

รูปที่ 3 การหาเวคเตอรหนึ่งหนวยเมื่อกําหนดมุมที่แรงกระทํากับแกนมาให [1]


v v
จากรูปที่ 3 การเขียนเวคเตอร F ใหอยูในระบบแกนพิกัดฉาก ทําไดโดยแตกเวคเตอร F
ออกเปนสวนประกอบยอยๆ ดังนี้
1. แตกเวคเตอร เปนสวนประกอบในแนวดิง่ และแนวระดับบนระนาบ xy
สวนประกอบในแนวดิ่ง Fz = F sin φ (11)
สวนประกอบในแนวระดับ Fxy = F cos φ
2. แตกสวนประกอบในแนวระดับ เปนสวนประกอบในแนวแกน x, y
สวนประกอบตามแกน x Fx = Fxy cos θ = F cos φ cos θ (12)
สวนประกอบตามแกน y Fy = Fxy sin θ = F cos φ sin θ (13)
3. แทนสวนประกอบของเวคเตอรตามแกน x, y และ z ในสมการ (11) – (13) ลงในสมการ
(3) จะสามารถเขียนเวคเตอร ใหอยูในระบบแกนพิกัดฉากตามตองการ
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-32

Dot Product
r r
P F

r r
Fn = ( F ⋅ nˆ )nˆ
α P cos(α ) r
Fn = F ⋅ nˆ r
r n
Q
(ก) (ข)
รูปที่ 4 การดอทเวคเตอร (Dot product)
v v
นิยามของการดอทเวคเตอร P และ Q ดังแสดงในรูปที่ 4(ก) แสดงดังสมการ (14)
v v
โดย α คือมุมระหวางเวคเตอร P และ Q และคาที่ไดจากการดอทจะเปน สเกลาร
r r
P ⋅ Q = PQ cos(α ) (14)
เมื่อทําการจัดรูปสมการ (14) เสียใหม จะไดผลการดอทเวคเตอรดังนี้
r r
P ⋅ Q = (P cos(α ) )Q
r r v v
หรือ P ⋅ Q = [ภาพฉายของ P บน Q ](Q) (15)
v v
จากสมการ (15) สามารถกลาวไดวา ผลการดอทเวคเตอร P และ Q คือการนําเอา
v v v
ภาพฉายของ P บน Q มาคูณดวยขนาดของเวคเตอร Q ในทางกลับกัน ก็สามารถ
v v v v
กลาวไดวาผลการดอทเวคเตอร P และ Q คือการนําเอาภาพฉายของ Q บน P มาคูณดวย
v
ขนาดของเวคเตอร P ก็ได
r
ในกรณีที่เปนการดอทกันของเวคเตอร F และ เวคเตอรหนึ่งหนวย n̂ ดังแสดงในรูปที่
4(ข) ผลการดอทจะไดดังนี้
v
F ⋅ nˆ = F (1) cos(α ) = F cos(α ) (16)
จากสมการ (16) จะพบวาการดอทกันของเวคเตอรใดๆ กับเวคเตอรหนึ่งหนวยนั้น จะ
ไดขนาดของภาพฉายของเวคเตอรนั้นๆ บนเวคเตอรหนึ่งหนวย (เนื่องจากคาที่ไดจากการดอท
จะเปน สเกลาร) สําหรับเวคเตอรภาพฉายของเวคเตอรใดๆ บนเวคเตอรหนึ่งหนวยนั้น
สามารถหาไดจากสมการ (17)
v v
Fn = ( F ⋅ nˆ ) nˆ (17)
คุณสมบัติอื่นๆ ของการดอทเวคเตอรมีดงั นี้
1. เวคเตอรหนึ่งหนวยซึ่งมีทิศทางเดียวกันดอทกันมีคาเทากับ 1
iˆ ⋅ iˆ = ˆj ⋅ ˆj = kˆ ⋅ kˆ = 1 (18)
2. เวคเตอรหนึ่งหนวยทิศทางตั้งฉากกันดอทกันมีคาเทากับ 0
iˆ ⋅ ˆj = ˆj ⋅ iˆ = iˆ ⋅ kˆ = kˆ ⋅ iˆ = ˆj ⋅ kˆ = kˆ ⋅ ˆj = 0 (19)
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-33

มุมระหวางเวคเตอร
v
P

v
P′
α
v
Q

รูปที่ 5 มุมระหวางเวคเตอร
v v
เมื่อเวคเตอร 2 เวคเตอร อยูในระนาบเดียวกัน เชนเวคเตอร P ′ และ Q ดังแสดงในรูป
ที่ 5 แลว การหามุมระหวางเวคเตอรสามารถทําไดงายโดยเลื่อนใหหางของเวคเตอรทั้ง 2 มาชน
v v
กัน แลววัดมุม อยางไรก็ตามหากเวคเตอรทั้งสองอยูคนละระนาบดังเชนเวคเตอร P และ Q
แลว การหามุมโดยตรงจะทําไดยาก ในกรณีนี้การหามุมจะทําไดงายขึ้นโดยใชผลของการดอท
เวคเตอร
r r
จากนิยามการดอทเวคเตอร P ⋅ Q = PQ cos(α ) (14)
จะสามารถหามุมระหวางเวคเตอรไดดังนี้
r r
P ⋅Q
θ = cos −1
(15)
PQ
ในกรณีที่มีเวคเตอรหนึ่งเปนเวคเตอรหนึง่ หนวยจะได
r
P ⋅ nˆ
θ = cos −1
(16)
P
ถาผลของการดอทเวคเตอรมีคาเปน 0 โดยเวคเตอรตงั้ ตนไมเทากับศูนย จากสมการ (14) จะได
วามุมของเวคเตอรทั้งสองตองทํามุมกันเทากับ 90º

เอกสารอางอิง
[1] J.L.Meriam and L.G.Kraige, Engineering mechanics STATICS fifth edition SI
Version, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-34

2/8 The tension in the supporting cable BC is 3200 N. Write the force which this
cable exerts on the boom OAB as a vector T. Determine the angle θx, θy, and θz
which the line of action of T forms with the positive x-, y-, and z-axes.
[Engineering Mechanics Statics 5th edition, Meriam & Kraige, prob.2/103]

วิธีทํา เนื่องจากแนวแรง T ผานจุด B และจุด C จึงตองหาพิกัดจุด B


กับจุด C กอน
พิกัดจุด B : (1.5, 2.1, 0.45)
พิกัดจุด C : (1.8, 0, 0.9)
เวคเตอร BC : BC = 0.3iˆ − 2.1 ˆj + 0.45kˆ

เวคเตอรหนึ่งหนวยในทิศทาง BC :
0.3iˆ − 2.1 ˆj + 0.45kˆ
nˆ BC = = 0.1383iˆ − 0.9684 ˆj + 0.2075kˆ
0.3 + 2.1 + 0.45
2 2 2

v
เวคเตอรของแรง T
v
TBC = TBC nˆ BC = 3200(0.1383iˆ − 0.9684 ˆj + 0.2075kˆ)
v
TBC = 442.56iˆ − 3098.88 ˆj + 664.05kˆ Ans
หามุมที่ทํากับแกน x
v v
จาก [ P ⋅ Q = PQ cos θ ] nˆ BC ⋅ iˆ = (1)(1) cos θ x

cos θ x = (0.1383iˆ − 0.9684 ˆj + 0.2075kˆ) ⋅ (iˆ)

cos θ x = 0.1383
θ x = 82.05o Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-35

ทํานองเดียวกัน
หามุมที่ทํากับแกน y
v v
จาก [ P ⋅ Q = PQ cos θ ] nˆ BC ⋅ ˆj = (1)(1) cos θ y

cos θ y = (0.1383iˆ − 0.9684 ˆj + 0.2075kˆ) ⋅ ( ˆj )

cos θ y = −0.9684
θ y = 165.56o Ans

หามุมที่ทํากับแกน z
v v
จาก [ P ⋅ Q = PQ cos θ ] nˆ BC ⋅ kˆ = (1)(1) cos θ z

cos θ z = (0.1383iˆ − 0.9684 ˆj + 0.2075kˆ) ⋅ (kˆ)

cos θ z = 0.2075
θ z = 78.02o Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-36

แบบฝกหัด หัวขอ 2/7


1. A force F with a magnitude of 100 N is applied at the origin O of the axes x-y-z as
shown. The line of action of F passes through a point A whose coordinates are 3m,
4m and 5m. Determine (a) the x, y and z scalar components of F, (b) the projection
Fxy of F on the x-y plane, and (c) the projection FOB of F along the line OB.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans (a) Fx = 42.4 N, Fy = 56.6 N, Fz = 70.7 N
(b) Fxy = 70.7 N
(c) FOB = 84.4 N)
2. The cable BC carries a tension of 750 N. Write this tension as a force T acting on
point B in terms of the unit vector i, j and k. The elbow at A forms a right angle.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans T = -598i + 411j +189.5k N)

รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 1

รูปสําหรับแบบฝกหัด ขอ 2
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-37

สถิตยศาสตร (Statics)

บทที่ 2 ระบบของแรง (ตอนที่ 4)

2/8 โมเมนตและคับเปล
ในปญหาสองมิติ การหาโมเมนตมักจะทําโดยวิธีสเกลารโดยการหาผลคูณระหวางแรง
และระยะตั้งฉากระหวางแรงกับจุดหมุน อยางไรก็ตามในกรณีของปญหาสามมิติ การหาระยะตัง้
ฉากทําไดยุงยากกวาในสองมิติมาก วิธีเวคเตอรจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งมักถูกใชในการ
คํานวณหาโมเมนต
โมเมนตในสามมิติ

รูปที่ 1 โมเมนตในสามมิติ [1]


v v
รูปที่ 1 แสดงถึงแรง F กระทําตอวัตถุ ทําใหเกิดโมเมนต MO รอบจุด O โมเมนตหา
ไดโดยวิธีการเวคเตอรดังแสดงในสมการ (1)
v v v
MO = r × F (1)
v v
โดย r คือเวคเตอรชจี้ ากจุดหมุน O ไปยังจุดใดๆ บนแนวแรง F
v
MO คือโมเมนตรอบจุด O
v
ทิศทางของโมเมนต M O มีทิศทางตามกฎมือขวา (นิ้วมือทั้ง 4 ชี้ตามทิศเวคเตอร rv
v
แลวกวาดมือตามทิศทางของแรง F ทิศการชี้ของนิ้วหัวแมมือคือทิศทางของโมเมนต)
ในปญหาสองมิติ นิสิตอาจจะคุนเคยกับการหาโมเมนตรอบแกนใดๆ ซึ่งแกนการหมุนจะ
มีทิศทางขนานกับแกน z สวนในสามมิติจะมีคําวาโมเมนตรอบจุดเพิ่มเขามา คําวาโมเมนตรอบ
จุดนี้จริงๆ แลวก็คือโมเมนตรอบแกนใดแกนหนึ่ง โดยที่แกนนั้นผานจุดนั่นเอง
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-38

ตัวอยางโมเมนตในสามมิติ
ตัวอยางที่ 1

รูปที่ 2 ตัวอยางโมเมนตในสามมิติ [2]


v
ตัวอยางนี้แสดงใหเห็นโมเมนตซึ่งเกิดจากการออกแรง F หมุนทอ ในรูปที่ 2(a) แรง
กระทําในทิศทาง –x ทําใหเกิดโมเมนตทิศทางชีข้ ึ้นตามแกน z ในกรณีนี้โมเมนตรอบจุด O คือ
โมเมนตรอบแกน z นั่นเอง สวนในรูปที่ 2(b) เมื่อออกแรงกระทําในทิศทาง +z จะทําใหเกิด
โมเมนตในทิศทางหมุนรอบแกน x ในกรณีนี้โมเมนตรอบจุด O คือโมเมนตรอบแกน x นั่นเอง
อยางไรก็ตามถาออกแรงในทิศทางซึ่งไมขนานกับแกนพิกัด x-y-z จะทําใหเกิดโมเมนต
รอบแกนใดๆ ซึ่งไมใชแกน x-y-z เชนกัน ในกรณีนี้โมเมนตรอบจุด O จะไมเทากับโมเมนตรอบ
แกน x, y หรือ z แตจะเทากับผลรวมของโมเมนตรอบแกน x, y และ z

ตัวอยางที่ 2

(a) (b)

รูปที่ 3 ตัวอยางโมเมนตในสามมิติ [2]

ตัวอยางนี้แสดงถึงการใชประแจขันสลักเกลียว รูปที่ 3(a) แสดงการขันที่ออกแรงในแนว


ระดับ ที่ระดับเดียวกับจุดหมุน A ทําใหเกิดโมเมนตทิศทางตามแกน z ในกรณีนี้โมเมนตรอบจุด
A จะมีคาเทากับโมเมนตรอบแกน z สําหรับรูปที่ 3(b) แรงที่ออกจะอยูที่ระดับสูงกวาจุด A ทําให
เกิดโมเมนต MA ซึ่งก็คือโมเมนตรอบจุด A นั่นเอง จะเห็นวากรณีนี้โมเมนตรอบจุด A มีคาไม
เทากับโมเมนตรอบแกน z โมเมนตรอบแกน z เปนเพียงแคสวนประกอบหนึ่งของโมเมนตรอบ
จุด A เทานั้น
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-39

การหาโมเมนตโดยการครอสเวคเตอร
จากสมการ (1) จะสามารถหาโมเมนตไดดังนี้
iˆ ˆj kˆ
r r r
M o = r × F = rx ry rz (2)
Fx Fy Fz
r
M o = (ry Fz − rz Fy )iˆ + (rz Fx − rx Fz ) ˆj + (rx Fy − ry Fx )kˆ (3)
r
M o = M x iˆ + M y ˆj + M z kˆ
โดย M x = ry Fz − rz Fy
M y = rz Fx − rx Fz
M z = rx Fy − ry Fx (4)

รูปที่ 4 การหาโมเมนตในสามมิติ [1]

การหาโมเมนตรอบแกนตางๆ ตามสมการ (4) สามารถหาไดจากวิธีการสเกลารเชนกัน


โดยคูณสวนประกอบของแรงในแตละแกน เขากับระยะตั้งฉากระหวางแนวแรงกับแกนหมุน (ดู
รูปที่ 4) โดยตองระวังวาแรงในแนวเดียวกับแกน จะไมทําใหเกิดโมเมนตรอบแกนนั้น นั่นคือ
แรงในแนว x จะไมทําใหเกิดโมเมนตรอบแกน x และแรงที่ผานแนวแกน จะไมทําใหเกิดโมเมนต
รอบแกนนั้น เชน โมเมนตรอบแกน x, Mx เกิดจากแรงซึ่งชี้ไปทิศทาง y และทิศทาง z โมเมนต
รอบแกน x ซึ่งเกิดจากแรง Fy คือ –rzFy เนื่องจากโมเมนตของแรงนี้มีทิศชี้ไปทางลบจึงมีคาติด
ลบ สวนโมเมนตรอบแกน x ซึ่งเกิดจากแรง Fz คือ ryFz เนื่องจากทิศของโมเมนตชี้ไปทางบวก
จึงมีคาบวก และจะไดโมเมนตรอบแกน x ทั้งหมดคือ M x = ry Fz − rz Fy เชนกัน สําหรับ
โมเมนตรอบแกนอื่นๆ ก็พิจารณาไดเชนเดียวกัน
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-40

โมเมนตรอบแกนใดๆ
จากรูปที่ 3(b) จะพบวาโมเมนตรอบแกน z เปนสวนประกอบหนึ่งของโมเมนตรอบจุด A
การหาโมเมนตรอบแกน z จึงทําไดโดยหาโมเมนตรอบจุดกอน แลวจึงแตกใหโมเมนตเขาไปอยู
ตามแกน z การหาโมเมนตรอบแกนใดๆ ก็สามารถทําไดโดยใชหลักการเดียวกัน ดังตัวอยาง
ตอไปนี้

รูปที่ 5 การหาโมเมนตรอบแกนใดๆ [1]

พิจารณารูปที่ 5 ตองการหาโมเมนตรอบแกน λ, Mλ
ขั้นตอนที่ 1 หาโมเมนตรอบจุดใดๆ บนแกน λ ในที่นี้จะทํารอบจุด O
v v v
MO = r × F
v
ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดสวนประกอบของโมเมนต MO บนแกน λ โดยการดอทเวคเตอรของ
โมเมนต เขากับเวคเตอรหนึ่งหนวยในทิศทาง λ, n̂ โดยผลลัพธจากการดอทจะเปนปริมาณ
สเกลาร
v v v
M λ = (r × F ) ⋅ nˆ (5)
ขั้นตอนที่ 3 โมเมนตรอบแกน λ คือผลคูณของขนาดของโมเมนตที่หาไดจากสมการ (5) กับ
เวคเตอรแสดงทิศทางของโมเมนต ซึ่งก็คือเวคเตอรหนึ่งหนวยในทิศทาง λ นั่นเอง
v v v
M λ = [(r × F ) ⋅ nˆ ]nˆ (6)

ทฤษฎีบทของ Varignon สําหรับสามมิติ (Varignon’s Theorem in Three Dimensions)


ทฤษฎีบทของ Varignon กลาวไววา “ผลรวมของโมเมนตยอยๆ ซึ่งเกิดจากแรงหลายๆ
แรงรอบจุดหมุนที่กําหนด มีคาเทากับโมเมนตซึ่งเกิดจากผลรวมของแรงยอยๆ รอบจุดหมุนนั้น”
(ดูรูปที่ 6 ประกอบ) ทฤษฎีบทของ Varignon สามารถนํามาเขียนเปนสมการคณิตศาสตรไดดัง
แสดงในสมการ (7)
v v v v v v v v v v v
M O = r × F1 + r × F2 + r × F3 + K = r × ( F1 + F2 + F3 + K)
v v v v v v v
M O = ∑ (r × F ) = r × ∑ F = r × R (7)
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-41

รูปที่ 6 การหาโมเมนตของแรงยอยๆ รูปที่ 7 คับเปลในสามมิติ [1]


ดวยทฤษฎีบทของ Varignon [1]

คับเปลในสามมิติ
คับเปลหมายถึง โมเมนตซึ่งเกิดจากแรงสองแรงที่มีขนาดเทากัน แตมีทิศทางตรงกัน
ขามกัน
รูปที่ 7 แสดงการหาคับเปลในสามมิติ สมมุติใหจุด O เปนจุดหมุน
r r r r r r r r
M = rA × F + rB × ( − F ) = ( rA − rB ) × F (8)
r v r
M =r×F (9)
v
จากสมการ (9) จะพบวาคับเปลไมขึ้นกับจุดหมุน O เลย ขึ้นอยูเพียงแรง F และ
v
เวคเตอรที่ชี้ระหวางแนวแรงทั้งคู rv โดยเวคเตอร rv จะชี้จากจุดไหนบนแนวแรง − F ไปยังจุด
v
ไหนบนแนวแรง F ก็ได และเนื่องจากคับเปลมีคาเทากันไมวาจุดหมุนจะอยูที่ใด คับเปลจึงถือ
วาเปน Free Vector ซึ่งจะตางกับโมเมนต ซึ่งขนาดจะขึ้นอยูกับตําแหนงจุดหมุน โมเมนตจึงถือ
วาเปน Sliding Vector สําหรับทิศทางของคับเปลก็สามารถหาไดโดยกฎของมือขวาเชนเดียวกัน

รูปที่ 8 การรวมคับเปล [1]


v v
รูปที่ 8 แสดงถึงการรวมคับเปลยอยจากแรง F1 และ F2 เขาดวยกัน เนื่องจากคับเปล
เปน Free vector การรวมจึงสามารถรวมคับเปลยอยๆ เขาโดยตรงแบบเวคเตอร หรืออาจจะ
v v v v
รวมแรง F1 และ F2 เขาเปนแรง F กอน จึงหาคับเปลจากแรง F ก็ได
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-42

ระบบของแรงและคับเปลในสามมิติ
ในหัวขอ 2/5 ไดกลาวถึงการยายแรงไปทีต่ ําแหนงอื่น และเขียนแทนแรงเดิมดวยแรง
และคับเปล ในกรณี 2 มิติ มาแลว ในหัวขอนี้ก็เชนเดียวกัน เพียงแตแรงและคับเปลจะอยูใน 3
มิติเทานั้น ขั้นตอนการยายแรงแสดงดังรูปที่ 9
v
1. แรง F กระทําที่จุด A
v v
2. เพิ่มแรง F และ − F ที่จุด B เนื่องจากแรงลัพธที่เพิ่มเขาไปในระบบมีคาเปนศูนย
การเพิ่มแรงเขาไปจึงไมสงผลกระทบใดๆ ตอระบบ
v v
3. จากรูปกลาง จะพบวาแรง F เดิม และแรง − F ที่เพิ่มเขาไปสามารถจับคูก ันเปน
คับเปลได
v v r r
4. เขียนแทนแรง F และ − F ดวยคับเปล M = rv × F โดยทิศทางของคับเปลจะ
v
ตั้งฉากกับแรง F ดังแสดงในรูปขวามือ

รูปที่ 9 ระบบของแรงและคับเปลในสามมิติ [1]

เอกสารอางอิง
[1] J.L.Meriam and L.G.Kraige, Engineering mechanics STATICS fifth edition SI
Version, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
[2] R.C.Hibbeler, Engineering mechanics STATICS 11th Edition in SI units, Pearson
Prentice Hall, 2007.
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-43

2/9 Tension in cable AB is 143.4 N. Determine the moment about the x-axis of
this tension force acting on point A . Compare your result to the moment of the
weight W of the 15-kg uniform plate about the x-axis. What is the moment of
the tension force acting at A about line OB. [Engineering Mechanics Statics 5th edition,
Meriam & Kraige, prob.2/129]

วิธีทํา เนื่องจากตองการหาโมเมนตเนื่องจากแรงตึงในเคเบิล AB ดังนั้น


จึงตองเขียนแรงตึง TAB ใหอยูในรูปเวคเตอรเสียกอน

พิกัดจุด A : (0.7, 0.45cos20º, -0.45sin20º) หรือคือ (0.7, 0.4229, -0.1539)


พิกัดจุด B : (0.35, 0, 0.4)
เวคเตอร AB : AB = −0.35iˆ − 0.4229 ˆj + 0.5539kˆ

เวคเตอรหนึ่งหนวยในทิศทาง AB :
− 0.35iˆ − 0.4229 ˆj + 0.5539kˆ
nˆ AB = = −0.4488iˆ − 0.5423 ˆj + 0.7103kˆ
0.352 + 0.4429 2 + 0.5539 2
v
เวคเตอรของแรง TAB
v
TAB = TAB nˆ AB = 143.4(−0.4488iˆ − 0.5423 ˆj + 0.7103kˆ)
v
TAB = −64.3579iˆ − 77.7658 ˆj + 101.857kˆ

ตองการหาโมเมนตรอบแกน x ขั้นแรกตองหาโมเมนตที่จุดใดๆ บนแกน x กอน


ในที่นี้จะเลือกจุดหาโมเมนตรอบจุด O
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-44

v v v
จาก M O = r × TAB

ตองหาเวคเตอร r ซึ่งเปนเวคเตอรชี้จากจุดหมุน O ไปยังจุดใดๆ บนแนวแรง TAB


กอน ในที่นี้จะเลือกให r ชี้ไปที่จุด B (นิสิตสามารถเลือกให r เปนเวคเตอรที่ชี้จาก O
ไปยังจุด A ก็ได)
v v
r = rOB = 0.35iˆ + 0.4kˆ

iˆ ˆj kˆ
v v v
M O = rOB × TAB = 0.35 0 0 .4
− 64.3579 − 77.7658 101.857

v
M O = 31.1063iˆ − 61.3931 ˆj − 27.2180kˆ

ตองการหาโมเมนตรอบแกน x ทําไดโดยนําโมเมนตรอบจุดที่ได ดอทกับเวคเตอรหนึ่ง


หนวยตามแนวแกน x หรือ เวคเตอร i
v v
M x = M O ⋅ iˆ = (31.1063iˆ − 61.3931 ˆj − 27.2180kˆ) ⋅ iˆ
v
M x = 31.1 Nm Ans

หาโมเมนตจากน้ําหนักประตูรอบแกน x

v 0.45
z M x = (15)(9.81)( cos 20o )
2
0.45 m y v
M x = 31.1 Nm Ans
20º

W = 15(9.81) N

หาโมเมนตของแรงตึง TAB รอบแกน OB

เนื่องจากแรงตึง TAB ผานแกน OB


ดังนั้นจึงไมเกิดโมเมนตขึ้น นั่นคือ MOB = 0 Nm Ans

v v
ลองทําดู คํานวณ MOB จาก M OB = M O ⋅ nˆOB
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-45

แบบฝกหัด หัวขอ 2/8


1. A Tension T of magnitude 10 kN is applied to the cable attached to the top A of
the rigid mast and secured to the ground at B. Determine the moment Mz of T
about the z-axis passing through the base O. [Engineering Mechanics STATICS 5th edition,
Meriam & Kraige]
(Ans Mz = -84.9k kNm)
2. A force of 400 N is applied at A to the handle of the control lever which is
attached to the fixed shaft OB. In determining the effect of the force on the shaft
at a cross section such as that at O, we may replace the force by an equivalent
force at O and a couple. Describe this couple as a vector M. [Engineering Mechanics
STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans M = 94.3 Nm
θ = 32.0° on y-z plane)
3. If the magnitude of the moment of F about line CD is 50 Nm, determine the
magnitude of F. [Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans F = 228 N)

รูปประกอบแบบฝกหัดขอ 1 รูปประกอบแบบฝกหัดขอ 2

รูปประกอบแบบฝกหัดขอ 3
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-46

สถิตยศาสตร (Statics)

บทที่ 2 ระบบของแรง (ตอนที่ 5)

2/9 Resultants
ในหัวขอ 2/6 ไดกลาวถึง Resultants ในสองมิติมาแลวครั้งหนึ่ง ในหัวขอนี้จะไดขยาย
ความเรื่อง Resultants หรือการรวมแรงและคับเปลใหเปนรูปอยางงาย ในปญหาสามมิติ

รูปที่ 1 การหา Resultants ในสามมิติ [1]


v v v
รูปที่ 1 แสดงถึงการหา Resultants ในสามมิติ แรง F1 , F2 และ F3 กระทํากับวัตถุตาม
แสดงในรูปที่ 1(a) ขั้นตอนในการแทนแรงทั้งสามนี้ ดวยแรงและคับเปล ซึ่งกระทําที่จุด O มีดังนี้
v v
1. ทําการยายแรง F1 มาที่จุด O จะเกิดคับเปล M 1 ขึ้น โดยคับเปลนี้มีขนาดเทากับ
v v v
M 1 = r1 × F1
v v
2. ทําเชนเดียวกัน กับแรง F2 และ F3 จะไดวาแรงทุกแรง กระทําผานที่จุด O ทั้งหมด
ดังแสดงดังรูปที่ 1(b)
v
3. รวมแรงทั้งสามแรง เปนแรง R เพียงแรงเดียว และรวมคับเปลทั้งสามคับเปล เปน
v
คับเปล M เพียงคับเปลเดียว ดังแสดงในรูปที่ 1(c) โดย
v v v v v
R = F1 + F2 + F3 + K = ∑ F
v v v v v v
M = M 1 + M 2 + M 3 + K = ∑ (r × F ) (1)

การรวมแรงและโมเมนต ในระบบพิกัดฉากสามารถรวมไดดังนี้
R x = ∑ Fx , R y = ∑ Fy , R z = ∑ Fz ,
R = (∑ Fx ) 2 + (∑ Fy ) 2 + (∑ Fz ) 2 ,
v v v v v v v v v
M x = ∑ (r × F ) x , M y = ∑ (r × F ) y , M z = ∑ (r × F ) z ,
M = M x2 + M y2 + M z2
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-47

เนื่องจากการยายแรงมาที่จุด O ทําใหเกิดคับเปล ซึ่งมีคาเสมือนโมเมนตโดยที่ใชจุด O


เปนจุดหมุน ดังนั้นการเลือกจุด O ที่แตกตางกันก็จะทําใหคํานวณคาคับเปลรวมไดตางกันดวย
อยางไรก็ตาม ไมวาจะเลือกจุดใด ก็จะไดคาแรงรวมที่เหมือนเดิม

ความแตกตางระหวาง Resultants ในสองมิติกับสามมิติ


r
r M
r M2
F r
B B R
r
M=Fd r O M1
F
A
A

2D 3D
รูปที่ 2 Resultants ในสองมิติและสามมิติ

เมื่อเปรียบเทียบการหา Resultants ในกรณี 2 มิติ กับ 3 มิติแลว ถึงแมวาทั้งสองกรณี


จะมีวิธีการทีเ่ หมือนกัน แตดวยลักษณะของทิศทางแรงกระทํา จะทําใหการลดรูปแรงตางๆ เปน
รูปอยางงายไดแตกตางกัน
สําหรับกรณี 2 มิติ เมื่อลดรูปแรงตางๆ ใหเปนแรงแรงเดียวและคับเปลไดแลว เนื่องจาก
ทิศทางของคับเปลกับแรงตั้งฉากกัน ดังนั้นจะสามารถลดรูปอยางงายใหเหลือเพียงแรงแรงเดียว
v v
ได ดังแสดงในรูปที่ 2 กรณี 2 มิติ (เนื่องจาก M = rv × F ดังนั้นทิศทางของโมเมนต หรือ
คับเปล กับทิศทางของแรงจะตั้งฉากกันเสมอ)
อยางไรก็ตามในกรณี 3 มิติ เนื่องจากทิศทางของคับเปลลัพธ ไมไดตั้งฉากกับทิศทาง
ของแรงลัพธ (ดูรูปที่ 2 กรณี 3 มิติ) ดังนั้นจึงไมสามารถจึงยุบแรงและคับเปลใหเปนแรงลัพธ
เพียงแรงเดียวได

กรณีตางๆ ของแรงใน 3 มิติ


1. แรงที่แนวแรงตัดกันที่จุดจุดเดียว (Concurrent forces)
ในกรณีนี้ Resultant จะเปนแรงลัพธเพียงอยางเดียว โดยแรงลัพท จะตองผานจุดที่แนว
แรงยอยๆ ตัดกันดวย
2. แรงขนานกัน แตอยูคนละระนาบกัน (Parallel forces)
ในกรณีนี้ Resultant จะเปนแรงลัพธเพียงอยางเดียวเชนกัน แตถาแรงลัพธรวมมีคาเปน
ศูนย Resultant จะเปนคับเปล ในทิศทางตั้งฉากกับแนวแรงนั้น
3. กรณีแรงอยูในระนาบเดียวกัน (Coplanar forces)
กรณีนี้คือปญหา 2 มิติ ตามที่ไดกลาวมาแลว
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-48

Wrench resultant
ในกรณีของปญหา 2 มิติ ระบบของแรงสามารถลดรูปไดเหลือเพียงแรงแรงเดียว หรือ
คับเปลเดียว อยางไรก็ตามในปญหา 3 มิติ ไมสามารถลดรูปใหเหลือแรงแรงเดียว หรือคับเปล
เดียวในทุกๆ กรณีได อยางไรก็ตามระบบแรงใน 3 มิติ จะสามารถลดรูปใหอยูในรูปของ
Wrench resultant ดังแสดงในรูปที่ 3 ได

รูปที่ 3 Wrench resultant [1]

Wrench resultant คือระบบที่ประกอบดวยแรง 1 แรง และคับเปลทีม่ ีทิศทางเดียวกัน


หรือทิศตรงกันขามกับแรงนั้น โดยถาแรงและคับเปลมีทิศเดียวกัน จะเรียกวา Positive wrench
แตถามีทิศทางตรงกันขามจะเรียกวา Negative wrench
วิธีการเปลี่ยนรูปแรงและคับเปลที่ไดในรูปที่ 1(c) ใหเปน Wrench resultants ทําไดตาม
ขั้นตอนแสดงในรูปที่ 4 ดังนี้

รูปที่ 4 การเปลี่ยนระบบแรงและคับเปล เปน Wrench resultant [1]


Statics/ Chapter 2 Force systems 2-49

1. แตกคับเปลใหอยูในทิศทางเดียวกับแรง และทิศตั้งฉากกับแรง ดังแสดงในรูปที่ 4(b)


v
2. สําหรับโมเมนต M 2 ที่มีทิศทางตั้งฉากกับแรง จะสามารถเขียนแทนไดดวย แรงคูควบ
v v
R และ − R ซึ่งหางกันเปนระยะ d โดย M 2 = Rd ดังแสดงในรูปที่ 4(c)
v v
3. แรง R และ − R ซึ่งอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน ในรูปที่ 4(c) จะหักลางกันหมดไป
v v
เหลือเพียงแรง R และคับเปล M 1 ซึ่งมีทิศทางเดียวกับทิศของแรง เนื่องจากคับเปล
เปน Free vector ดังนั้นจึงสามารถยายคับเปลมาตอกับแรงได ดังแสดงในรูปที่ 4(d)

เอกสารอางอิง
[1] J.L.Meriam and L.G.Kraige, Engineering mechanics STATICS fifth edition SI
Version, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-50

2/10 The resultant of the two forces and couple may be represented by a wrench.
Determine the vector expression for the moment M of the wrench and find the
coordinates of the point P in the x-z plane through which the resultant force of
the wrench passes. [Engineering Mechanics Statics 5th edition, Meriam & Kraige, prob.2/149]

v
วิธีทํา จากรูปโจทย แรงลัพธ R = 100iˆ + 100 ˆj
v
R = 100 2 + 100 2 = 100 2

หาทิศทางที่แรงลัพธกระทํากับแกน x-y-z
v
v R ⋅ iˆ Rx
จาก R ⋅ iˆ = R(1) cos θ x ดังนั้น cos θ x = =
R R
Rx 100 1
cos θ x = = =
R 100 2 2

ทํานองเดียวกัน
Ry 100 1
cos θ y = = =
R 100 2 2

Rz 0
cos θ z = = =0
R 100 2

สมมุติให Wrench resultant ผานจุด P บนระนาบ x-z ดังนั้น เมื่อยายแรง


ทั้งหมดไปที่จุด P แลว จะเกิดคับเปลขึ้น ซึ่งมีขนาดเทากับผลรวมของโมเมนต
ของแรงยอยๆ รอบจุด P และคับเปลที่เกิดขึ้นนี้จะมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ R
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-51

P
z
x

v
M P = 100( z )iˆ + 100(0.4 − x)kˆ − 100(0.3)kˆ + 100(0.4 − z ) ˆj − 20 ˆj
v
M P = 100 ziˆ + (20 − 100 z ) ˆj + (10 − 100 x)kˆ (1)

เนื่องจาก สมมุติให Wrench resultant ผานจุด P ดังนั้นคับเปลที่เกิดขึ้นนี้จะมี


ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ R
v
v M ⋅ iˆ M x
ทํานองเดียวกับแรง M ⋅ iˆ = M (1) cos θ x ดังนั้น cos θ x = =
M M

cos θ x =
M x 100 z
= =
1 (2)
M M 2

My 20 − 100 z 1 (3)
ทํานองเดียวกัน cos θ y = = =
M M 2

My 10 − 100 x (4)
cos θ z = = =0
M M

แกระบบสมการ (2), (3) และ (4) จะได x = 0.1 z = 0 .1 M = 10 2

พิกัดจุด P : x = z = 0.1 m Ans


แทนคา x และ z ลงในสมการ (1) จะได
v
M P = 10iˆ + 10 ˆj Nm Ans
Statics/ Chapter 2 Force systems 2-52

แบบฝกหัด หัวขอ 2/9


1. Determine the wrench resultant of the three forces acting on the bracket. Calculate
the coordinates of the point P in the x-y plane through which the resultant force of
the wrench acts. Also find the magnitude of the couple M of the wrench. [Engineering
Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans M = -2400 Nmm, x = 60 mm, y = 40 mm)
2. Replace the system of two forces and couple by a wrench. Determine the
magnitude of the moment M of the wrench, the magnitude of the force R of the
wrench, and the coordinate of the point P in the x-y plane through which R passes.
[Engineering Mechanics STATICS 5th edition, Meriam & Kraige]
(Ans R = -20i – 37.9j + 12.65k kN
M = 45.3j + 40.9k kNm)

รูปประกอบแบบฝกหัดขอ 1

รูปประกอบแบบฝกหัดขอ 2

You might also like