Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

ความรู้ เ บื องต้ น

เกี ยวกั บ กฎหมาย

อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ


คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประเภทของกฎหมาย

การแบ่ ง แยกประเภทของกฎหมายนิ ย มทํา กั น


ในประเทศที ใช้ ร ะบบกฎหมายลายลั ก ษณ์ อั กษร

สํา หรั บ ประเทศที ใช้ ร ะบบกฎหมายไม่ เ ปน


ลายลั ก ษณ์ อั กษรนั นจะไม่ นิ ย มแบ่ ง แยก
ประเภทของกฎหมาย

2
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มี วิ ธี ก ารแบ่ ง กฎหมายใน
3 ลั ก ษณะใหญ่ ๆ ด้ วยกั น คื อ

1 แบ่ ง ตามระบบกฎหมาย

2 แบ่ ง ตามลั ก ษณะการใช้ ก ฎหมาย

3 แบ่ ง ตามเนื อหาของกฎหมาย

3
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่ ง ประเภทกฎหมาย
ตามระบบกฎหมาย

1 ระบบกฎหมายลายลั ก ษณ์ อั กษร


(CIVIL LAW)

2 ระบบกฎหมายจารี ต ประเพณี
(COMMON LAW) หรื อ ระบบ
กฎหมายที ไม่ เ ปนลายลั ก ษณ์
อั กษร

4
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่ ง ประเภทกฎหมาย
ตามลั ก ษณะการใช้ ก ฎหมาย
เปนการแบ่ ง โดยคํา นึ ง ถึ งบทบาทของกฎหมายในการนํา ไปใช้
เปนหลั ก มี 2 ประเภท คื อ

1 กฎหมายสารบั ญ ญั ติ (SUBSTANTIVE LAW)

2 กฎหมายวิ ธี ส บั ญ ญั ติ (PROCEDURAL LAW)

5
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กฎหมายสารบั ญ ญั ติ
(SUBSTANTIVE LAW)
คื อ กฎหมายที บั ญ ญั ติ ถึ งสิ ท ธิ แ ละหน้ า ที
ของบุ คคลทั งในทางอาญาและทางแพ่ ง
และกล่ า วถึ งการกระทํา ที กฎหมาย
กํา หนดเปนองค์ ประกอบแห่ งความผิ ด
หรื อ องค์ ประกอบของเรื องนั นๆ

6
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(ตั วอย่ า ง) กฎหมายสารบั ญ ญั ติ

ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
พระราชบั ญ ญั ติ คุ้ มครองแรงงานฯ
พระราชบั ญ ญั ติ ประกั นสั ง คมฯ
ฯลฯ

7
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กฎหมายวิ ธี ส บั ญ ญั ติ
(PROCEDURAL LAW)
คื อ กฎหมายที กํา หนดหลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารในการ
ปฏิ บั ติ ไว้ อ ย่ า งชั ด เจนและเปนขั นเปนตอน ซึ ง
เนื อหาเข้ า ใจง่ ายแทบไม่ ต้ องอาศั ยการตี ความ

8
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(ตั วอย่ า ง) กฎหมายวิ ธี ส บั ญ ญั ติ

ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา

ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง
พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั งศาลแรงงาน
และวิ ธี พิ จ ารณาคดี แรงงาน
ฯลฯ

9
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่ ง ประเภทกฎหมาย
ตามเนื อหาของกฎหมาย
แบ่ ง กฎหมายออกเปน 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ

1 กฎหมายมหาชน (PUBLIC LAW)

2 กฎหมายเอกชน (PRIVATE LAW)

10
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กฎหมายมหาชน (PUBLIC LAW)
คื อ กฎหมายที กล่ า วถึ งสถานะ อํา นาจ รวมถึ งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
รั ฐ หรื อ ผู้ ป กครองกั บพลเมื อ งหรื อ ผู้ อ ยู่ ใ ต้ การปกครอง เช่ น

กฎหมายอาญา
กฎหมายจราจร
กฎหมายระหว่ า งประเทศ
ฯลฯ

11
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างระหว่ า งกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
1. ความแตกต่ างในลั ก ษณะของ “องค์ กรหรื อ บุ คคล” ที มี ค วาม
สั ม พั น ธ์ กั น;

มองถึ งคุ ณ สมบั ติ ของบุ คคลที เกี ยวข้ อ งเปนสํา คั ญ

กฎหมายมหาชนเปนกฎหมายที รั ฐ ในฐานะผู้ ป กครอง


เข้ า มามี ส่ ว นเกี ยวข้ อ งด้ วย

กฎหมายเอกชนเปนกฎหมายที ใช้ สาํ หรั บ ความสั ม พั น ธ์


ระหว่ า งเอกชนด้ วยกั นเอง

12
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างระหว่ า งกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน

2. ความแตกต่ างในลั ก ษณะของ “เนื อหา”;

มองถึ งคุ ณ สมบั ติ ของบุ คคลที เกี ยวข้ อ งเปนสํา คั ญ

กฎหมายมหาชนเปนกฎหมายที รั ฐ ในฐานะผู้ ป กครอง


เข้ า มามี ส่ ว นเกี ยวข้ อ งด้ วย

กฎหมายเอกชนเปนกฎหมายที ใช้ สาํ หรั บ ความสั ม พั น ธ์


ระหว่ า งเอกชนด้ วยกั นเอง

13
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างระหว่ า งกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน

3. ความแตกต่ างในลั ก ษณะของ “รู ปแบบ”;

มองถึ งรู ปแบบของความสั ม พั น ธ์ ข องบุ คคลที


เกี ยวข้ อ งเปนสํา คั ญ

กฎหมายมหาชนจะมี ลั ก ษณะเปนวิ ธี ก ารบั ง คั บฝายเดี ยว

กฎหมายเอกชนจะถื อหลั ก ความตกลงยิ น ยอมของ


คู่ กรณี เ ปนสํา คั ญ

14
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศาลยุ ติ ธรรมของไทย

แบ่ ง ออกเปน 3 ชั น คื อ

1 ศาลชั นต้ น (ศาลแขวง/ ศาลจั ง หวั ด / ศาลอาญา/


ศาลแพ่ ง )

2 ศาลอุ ธรณ์

3 ศาลฎี กา (ศาลสู ง สุ ด )

15
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศาลแขวง

คื อ ศาลยุ ติ ธรรมชั นต้ นที รั บ พิ จ ารณา


คดี แพ่ ง ที มี ทุ น ทรั พ ย์ ไ ม่ เ กิ น
300,000 บาท และคดี อาญาที มี
โทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น 3 ป หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
60,000 บาท หรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ

16
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศาลชั นต้ นของไทยตามกฎหมายอื น
ศาลเยาวชนและครอบครั ว
ศาลแรงงาน
ศาลภาษี อากร
ศาลทรั พ ย์ สิ น ทางปญญาและการค้ า
ระหว่ า งประเทศ
ศาลล้ ม ละลาย

17
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การฟองร้ อ งคดี
คดี อาญา
แจ้ ง ความร้ อ งทุ ก ข์ ต่ อพนั ก งาน
สอบสวน/ อั ยการฟองคดี (ผู้ เ สี ย หาย
ขอเข้ า ร่ ว มเปนโจทก์ กั บอั ยการได้ )
ผู้ เ สี ย หายฟองคดี โดยตรงต่ อศาล

คดี แพ่ ง ; ผู้ เ สี ย หายฟองคดี โดยตรง


ต่ อศาล

18
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อายุ ความ (PRESCRIPTION)
คื อ ระยะเวลาที กฎหมายกํา หนดให้ ใ ช้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ ง สิ ท ธิ ฟ อง หรื อ
สิ ท ธิ ร ้ อ งทุ ก ข์ หากผู้ มี สิ ท ธิ ปล่ อยเวลาไปจนเลยระยะเวลาดั ง กล่ าว
แล้ ว สิ ท ธิ เช่ น ว่ า จะสู ญ เสี ย ไป ซึ งจะเรี ย กว่ า “การขาดอายุ ความ”
เช่ น คดี ข าดอายุ ความ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งขาดอายุ ความ หนี ขาดอายุ
ความ เปนต้ น

19
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ค่ าธรรมเนี ย มศาล (ค่ าขึ นศาล)
คดี อาญาและคดี แรงงาน; ไม่ มี ค่ าขึ นศาล
คดี แพ่ ง
คดี ม โนสาเร่ (ทุ น ทรั พ ย์ ไ ม่ เ กิ น 300,000 บาท); ค่ าธรรมเนี ย ม 2%
แต่ ไม่ เ กิ น 1,000 บาท
ทุ น ทรั พ ย์ 300,001 – 50,000,000 บาท; ค่ าธรรมเนี ย ม 2% แต่
ไม่ เ กิ น 200,000 บาท
ส่ ว นที เกิ น 50,000,000 บาท; คิ ดค่ าธรรมเนี ย ม 0.1%
คดี ภาษี อากร
ทุ น ทรั พ ย์ ไ ม่ เ กิ น 50,000,000 บาท; ค่ าธรรมเนี ย ม 2% แต่ ไม่ เ กิ น
200,000 บาท
ส่ ว นที เกิ น 50,000,000 บาท; คิ ดค่ าธรรมเนี ย ม 0.1%
20
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กฎหมายอาญา (CRIMINAL LAW)

คื อ กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที กํา หนดถึ งการกระทํา


ที เปนความผิ ด และบทลงโทษสํา หรั บ ความผิ ด นั นๆ
เนื องจากรั ฐ มี ห น้ า ที รั ก ษาความสงบของบ้ า นเมื อ ง
กฎหมายอาญาจึ ง กํา หนดความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ฐ กั บ
บุ คคลซึ งกระทํา ความผิ ด ขึ น

21
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กฎหมายอาญามี ลั ก ษณะสํา คั ญ 2 ส่ ว น

1 ส่ ว นที บั ญ ญั ติ ถึ งความผิ ด หมายถึ ง บทบั ญ ญั ติ ที


ว่ า การกระทํา การงดเว้ น การกระทํา และการละเว้ น
กระทํา การอย่ า งใดเปนความผิ ด อาญา

2 ส่ ว นที บั ญ ญั ติ ถึ งโทษ หมายถึ ง บทบั ญ ญั ติ นั นๆ ใน


ส่ ว นที เปนการกํา หนดบทลงโทษสํา หรั บ ความผิ ด
นั นๆ

22
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(ตั วอย่ า ง) กฎหมายอาญา
มาตรา 271 “ผู้ ใ ดขายของโดยหลอกลวงด้ ว ยประการใด ๆ ให้ ผู้ ซื อ
หลงเชื อในแหล่ งกํา เนิ ด สภาพ คุ ณ ภาพหรื อ ปริ ม าณแห่ ง ของนั นอั น
เปนเท็ จ ถ้ าการกระทํา นั นไม่ เ ปนความผิ ด ฐานฉ้ อ โกง ต้ องระวาง
โทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น สามป หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื นบาท หรื อ ทั งจํา ทั ง
ปรั บ ”
มาตรา 277 “ผู้ ใ ดกระทํา ชํา เราเด็ ก อายุ ยั ง ไม่ เ กิ นสิ บ ห้ า ปซึ งมิ ใ ช่ ภ ริ ย า
หรื อ สามี ข องตน โดยเด็ ก นั นจะยิ น ยอมหรื อ ไม่ ก็ ต าม ต้ องระวาง
โทษจํา คุ ก ตั งแต่ ห้ า ปถึ งยี สิ บ ปและปรั บ ตั งแต่ หนึ งแสนบาทถึ งสี แสน
บาท”
23
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประเภทของความผิ ด มี 2 ประเภท คื อ
1. ความผิ ด ในตั วเอง คื อ ความผิ ด ที เปนเรื องพื นฐานที คนทั วไป
ในสั ง คมเห็ น ว่ า เปนการกระทํา ที ฝาฝนความรู ้ สึ ก ทางศี ลธรรม
ของคนในสั ง คม สั ง คมถื อว่ า เรื องนั นเปนความชั วร้ า ย เช่ น
ความผิ ด ฐานฆ่ า คนตาย ข่ ม ขื น กระทํา ชํา เรา ลั กทรั พ ย์ เปนต้ น

2. ความผิ ด เพราะกฎหมายห้ าม คื อ ความผิ ด ที เกิ ด จากการที


กฎหมายบั ญ ญั ติ ให้ เ ปนความผิ ด โดยอาจมิ ไ ด้ เ กี ยวกั บ ศี ลธรรม
เลย เช่ น การหลี กเลี ยงภาษี การเลี ยนแบบเครื องหมายการค้ า
ของผู้ อื น เปนต้ น
24
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
องค์ ประกอบของความผิ ด ทางอาญา

1 ผู้ ก ระทํา

2 การกระทํา
(รวมถึ งการงดเว้ น การกระทํา และการละเว้ น การกระทํา ด้ วย)

3 เจตนา
(รวมถึ งบางกรณี ที กฎหมายกํา หนดให้ การประมาทเปนความผิ ด ด้ วย)

4 ผลของการกระทํา
(การกระทํา ที ไม่ สาํ เร็ จ ส่ ว นใหญ่ ก็ ยั ง เปนความผิ ด ฐาน “พยายาม”)

25
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลั ก ษณะของการเกิ ดความผิ ด ทางอาญา
1. ความผิ ด โดยการกระทํา (ทั งการกระทํา โดยเจตนาและประมาท)
2. ความผิ ด โดยการงดเว้ น การกระทํา
3. ความผิ ด โดยการละเว้ น การกระทํา

มาตรา 383 ผู้ ใ ดเมื อเกิ ด เพลิ งไหม้ ห รื อ สาธารณภั ยอื น และเจ้ า
พนั ก งานเรี ย กให้ ช่ ว ยระงั บ ถ้ าผู้ นั นสามารถช่ ว ยได้ แ ต่ ไม่ ช่ ว ย ต้ อง
ระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น หนึ งเดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หนึ งหมื นบาท หรื อ
ทั งจํา ทั งปรั บ

26
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทษทางอาญาในกฎหมายอื น (นอกจากที บั ญ ญั ติ
ไว้ ใ นประมวลกฎหมายอาญาแล้ ว ) เช่ น

พระราชบั ญ ญั ติ ยาเสพติ ดให้ โ ทษ


พระราชบั ญ ญั ติ อาวุ ธปน เครื องปน และวั ต ถุ ร ะเบิ ด
พระราชบั ญ ญั ติ จราจรทางบก
พระราชบั ญ ญั ติ ศุ ลกากร

27
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลั ก ทั วไปของกฎหมายอาญา
จะไม่ มี ค วามผิ ด โดยไม่ มี ก ฎหมาย กฎหมายอาญาจะไม่ มี ผ ลย้ อ น
หลั ง ยกเว้ น หากกฎหมายใหม่ เ ปนคุ ณ แก่ ผู้ ก ระทํา ความผิ ด มากกว่ า
กฎหมายเก่ า กฎหมายก็ ใ ห้ มี ผ ลย้ อ นหลั งได้

จะไม่ มี โ ทษโดยไม่ มี ก ฎหมาย

จะต้ องตี ความกฎหมายอาญาโดยเคร่ ง ครั ด กรณี ที ถ้ อยคํา ของ


กฎหมายเปนที น่ า สงสั ย จะตี ความโดยขยายความไปลงโทษหรื อ เพิ ม
โทษผู้ ต้ องหาไม่ ไ ด้ แต่ อาจตี ความโดยขยายความให้ เ ปนผลดี แ ก่ ผู้
ต้ องหาได้
28
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างของกฎหมายอาญากั บกฎหมายแพ่ ง
1. กฎหมายอาญาเปนการกระทํา ความผิ ด ที ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย หายหรื อ
เกิ ด ความหวาดหวั นแก่ บุ คคลทั วไปในสั ง คม จึ ง ถื อว่ า เปนความผิ ด
ต่ อแผ่ น ดิ น หรื อ ต่ อสั ง คม ส่ ว นกฎหมายแพ่ ง เปนเรื องระหว่ า งเอกชน
ต่ อเอกชนด้ ว ยกั น เอง ไม่ มี ผ ลเสี ย หายต่ อสั ง คม
2. กฎหมายอาญามี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที จะลงโทษผู้ ก ระทํา ความผิ ด ดั ง นั น
หากผู้ ทํา ผิ ด ตายลง การฟองร้ อ ง หรื อ การลงโทษก็ เ ปนอั นระงั บไป
ส่ ว นกฎหมายแพ่ ง เปนเรื องการชดใช้ ค่ าสิ น ไหมทดแทนความเสี ย หาย
เกิ ด ขึ น เปนเรื องเกี ยวกั บ ทรั พ ย์ สิ น ของบุ คคล ดั ง นั น เมื อผู้ ก ระทํา ผิ ด
หรื อ ผู้ ล ะเมิ ด ตายลง ผู้ เ สี ย หายยั ง ฟองร้ อ งเรี ย กค่ าเสี ย หายจากกอง
มรดกของผู้ ก ระทํา ผิ ด หรื อ ผู้ ล ะเมิ ด ได้ เว้ น แต่ จะเปนหนี เฉพาะตั ว
29
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างของกฎหมายอาญากั บกฎหมายแพ่ ง
3. ความรั บ ผิ ด ทางอาญาถื อเจตนาเปนใหญ่ ใ นการกํา หนดโทษ (เว้ น
แต่ บางกรณี ที กฎหมายบั ญ ญั ติ ว่ า กระทํา โดยประมาทก็ มี ค วามผิ ด )
ส่ ว นความรั บ ผิ ด ทางแพ่ ง นั น ไม่ ว่ า กระทํา โดยเจตนาหรื อ ประมาทผู้
กระทํา ก็ ต้ องรั บ ผิ ด ทั งนั น

4. กฎหมายอาญาต้ องตี ความโดยเคร่ ง ครั ด ถ้ าไม่ มี ก ฎหมายย่ อ มไม่ มี


ความผิ ด และไม่ มี โ ทษ เพราะกฎหมายอาญามี โ ทษรุ น แรง แต่ ใน
กฎหมายแพ่ ง หลั กเรื องการตี ความโดยเคร่ ง ครั ด ไม่ มี กฎหมายแพ่ ง
ต้ องตี ความตามตั วอั กษรหรื อ ตามเจตนารมณ์ ข องบทบั ญ ญั ติ แห่ ง
กฎหมายนั น ดั ง นั น ความผิ ด ทางแพ่ ง ศาลอาจตี ความขยายได้
30
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างของกฎหมายอาญากั บกฎหมายแพ่ ง
5. ความรั บ ผิ ด ทางอาญานั น โทษที จะลงแก่ ผู้ ก ระทํา ผิ ด ได้ แ ก่ โทษ
ประหารชี วิ ต จํา คุ ก กั ก ขั ง ปรั บ ริ บ ทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นกฎหมายแพ่ ง นั น
ไม่ มี โ ทษ เปนเพี ย งถู ก บั ง คั บให้ ชาํ ระหนี หรื อ ชดใช้ ค่ าสิ น ไหมทดแทน
6. ความผิ ด ทางอาญาส่ ว นใหญ่ ไ ม่ อ าจยอมความได้ (เว้ น แต่ ความผิ ด
ต่ อส่ ว นตั ว เช่ น ความผิ ด ฐานหมิ นประมาท ความผิ ด ฐานยั ก ยอก
เปนต้ น) เพราะความผิ ด ทางอาญาถื อว่ า ทํา ความเสี ย หายให้ แ ก่ ม หาชน
ทํา ลายความสงบสุ ข ของบ้ า นเมื อ ง โดยหลั กแล้ วผู้ เ สี ย หายจึ ง ไม่ อ าจ
ยอมความให้ ไ ด้ ส่ ว นความรั บ ผิ ด ในทางแพ่ ง ผู้ เ สี ย หายอาจยกเว้ น
ความรั บ ผิ ด ให้ ไ ด้ โ ดยไม่ นาํ คดี ขึ นฟองร้ อ งต่ อศาล หรื อ ไม่ เ รี ย กร้ อ งหนี
สิ น แต่ อย่ า งใด
31
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความแตกต่ างของกฎหมายอาญากั บกฎหมายแพ่ ง
7. ความผิ ด ทางอาญา บุ คคลที ร่ ว มกระทํา ผิ ด อาจมี ค วามผิ ด มากน้ อ ยต่ าง
กั น ตาม ลั กษณะของการเข้ า ร่ ว ม เช่ น ถ้ าเพี ย งแต่ ยุ ยงหรื อ ช่ ว ยเหลื อก็ อ าจ
ผิ ด เพี ย งฐานะผู้ ส นั บ สนุ น ส่ ว นความผิ ด ในทางแพ่ ง ผู้ ที ร่ ว มกั น ก่ อ หนี ร่ ว ม
กั น ทํา ผิ ด สั ญ ญา หรื อ ร่ ว มกั น ทํา ละเมิ ด จะต้ องร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ต่ อเจ้ า หนี หรื อ ผู้
ได้ ร ั บ ความเสี ย หายเหมื อ นกั น หมด
8. ความผิ ด ทางอาญา การลงโทษมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื อบํา บั ด ความเสี ย หายที
เกิ ด ขึ นแก่ ชุ มชนเปนส่ ว นรวม เพื อให้ ผู้ ก ระทํา ผิ ด เกิ ด ความหลาบจํา และกลั บ
ตั วกลั บใจเปนคนดี และปองกั น ผู้ อื นไม่ ใ ห้ เ อาเยี ยงอย่ า ง ส่ ว นทางแพ่ ง มี
วั ต ถุ ป ระสงค์ ที จะบํา บั ด ความเสี ย หายที เกิ ด ขึ นแก่ เ อกชนคนหนึ งคนใดโดย
เฉพาะ เมื อมี ค วามเสี ย หายเกิ ด ขึ น กฎหมายต้ องการที จะให้ เ ขาได้ ร ั บ การ
ชดใช้ ใ นความเสี ย หายอย่ า งนั น หรื อ พยายามจะให้ ใ กล้ เคี ยงมากที สุ ด
32
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมวลกฎหมายอาญาไทย
มี บ ทบั ญ ญั ติ ทั งหมด 398 มาตราได้ แ บ่ ง ออกเปน 3 ภาค
คื อ ภาคทั วไป ภาคความผิ ด และภาคลหุ โ ทษ
ใช้ บั ง คั บตั งแต่ วั น ที 1 มกราคม พ.ศ. 2500 เปนต้ นมา

ลหุ โ ทษ คื อ ความผิ ด ที มี โ ทษจํา


คุ ก ไม่ เ กิ น 1 เดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่
เกิ น 10,000 บาท หรื อ ทั งจํา ทั ง
ปรั บ
33
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 271 ผู้ ใ ดขายของโดยหลอกลวงด้ ว ยประการใด ๆ
ให้ ผู้ ซื อหลงเชื อในแหล่ งกํา เนิ ด สภาพ คุ ณ ภาพหรื อ
ปริ ม าณแห่ ง ของนั นอั นเปนเท็ จ ถ้ าการกระทํา นั นไม่ เ ปน
ความผิ ด ฐานฉ้ อ โกง ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น สามป
หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื นบาท หรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ

34
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 272 ผู้ ใ ด
(1) เอาชื อ รู ป รอยประดิ ษ ฐ์ ห รื อ ข้ อ ความใด ๆ ในการประกอบการค้ าของผู้ อื นมา
ใช้ หรื อ ทํา ให้ ป รากฏที สิ น ค้ า หี บ ห่ อ วั ต ถุ ที ใช้ หุ้ ม ห่ อ แจ้ ง ความ รายการแสดง
ราคา จดหมายเกี ยวกั บ การค้ าหรื อ สิ งอื นทํา นองเดี ย วกั น เพื อให้ ป ระชาชนหลง
เชื อว่ า เปนสิ น ค้ าหรื อ การค้ าของผู้ อื นนั น
(2) เลี ยนปาย หรื อ สิ งอื นทํา นองเดี ย วกั น จนประชาชนน่ า จะหลงเชื อว่ า สถานที
การค้ าของตนเปนสถานที การค้ าของผู้ อื นที ตั งอยู่ ใ กล้ เคี ยง
(3) ไขข่ า วแพร่ ห ลายซึ งข้ อ ความเท็ จเพื อให้ เ สี ย ความเชื อถื อในสถานที การค้ า
สิ น ค้ าอุ ตสาหกรรมหรื อ พาณิ ช ย์ ก ารของผู้ ห นึ งผู้ ใ ด โดยมุ่ ง ประโยชน์ แ ก่ ก ารค้ า
ของตน
ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น หนึ งป หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น สองหมื นบาทหรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ
ความผิ ด ตามมาตรานี เปนความผิ ด อั นยอมความได้
35
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 273 ผู้ ใ ดปลอมเครื องหมายการค้ าของผู้ อื น ซึ ง
ได้ จ ดทะเบี ย นแล้ ว ไม่ ว่ า จะได้ จ ดทะเบี ย นภายในหรื อ นอก
ราชอาณาจั ก ร ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ นสามป หรื อ
ปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื นบาท หรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ

36
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 274 ผู้ ใ ดเลี ยนเครื องหมายการค้ าของผู้ อื นซึ งได้
จดทะเบี ย นแล้ ว ไม่ ว่ า จะได้ จ ดทะเบี ย นภายในหรื อ นอกราช
อาณาจั ก ร เพื อให้ ป ระชาชนหลงเชื อว่ า เปน
เครื องหมายการค้ าของผู้ อื นนั น ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่
เกิ น หนึ งป หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น สองหมื นบาท หรื อ ทั งจํา ทั ง
ปรั บ

37
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 275 ผู้ ใ ดนํา เข้ า ในราชอาณาจั ก ร จํา หน่ า ยหรื อ
เสนอจํา หน่ า ย ซึ งสิ น ค้ าอั นเปนสิ น ค้ าที มี ชื อ รู ป รอย
ประดิ ษ ฐ์ ห รื อ ข้ อ ความใด ๆ ดั ง บั ญ ญั ติ ไว้ ใ นมาตรา 272
(1) หรื อ สิ น ค้ าอั นเปนสิ น ค้ าที มี เ ครื องหมายการค้ าปลอม
หรื อ เลี ยนเครื องหมายการค้ าของผู้ อื นตามความใน
มาตรา 273 หรื อ มาตรา 274 ต้ องระวางโทษดั ง ที บั ญ ญั ติ
ไว้ ใ นมาตรานั นๆ

38
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 341 ผู้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต หลอกลวงผู้ อื นด้ ว ยการแสดง
ข้ อ ความอั นเปนเท็ จ หรื อ ปกปดข้ อ ความจริ ง ซึ งควรบอก
ให้ แ จ้ ง และโดยการหลอกลวงดั ง ว่ า นั นได้ ไ ปซึ งทรั พ ย์ สิ น
จากผู้ ถู ก หลอกลวงหรื อ บุ คคลที สาม หรื อ ทํา ให้ ผู้ ถู ก หลอก
ลวงหรื อ บุ คคลที สาม ทํา ถอน หรื อ ทํา ลายเอกสารสิ ท ธิ ผู้
นั นกระทํา ความผิ ด ฐานฉ้ อ โกง ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น
สามป หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื นบาท หรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ

39
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้ อ กฎหมายอาญาที ควรรู้ ที เกี ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จ
มาตรา 343 ถ้ าการกระทํา ความผิ ด ตามมาตรา 341 ได้
กระทํา ด้ ว ยการแสดงข้ อ ความอั นเปนเท็ จต่ อประชาชน
หรื อ ด้ ว ยการปกปดความจริ ง ซึ งควรบอกให้ แ จ้ ง แก่
ประชาชน ผู้ ก ระทํา ต้ องระวางโทษจํา คุ ก ไม่ เ กิ น ห้ า ป หรื อ
ปรั บ ไม่ เ กิ น หนึ งแสนบาท หรื อ ทั งจํา ทั งปรั บ

40
อ.รุง่ นิกร สุมงคล – กฎหมายและภาษีสาํ หรับธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

You might also like