Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

การศึกษาสมุนไพรไทยที่ใชในการกําจัดเห็บ

Study of Thai Herbs for Irradicating Canine Ticks


เศรษฐา จามีกร1 ปทมา ทองศฤงคลี2 อุทัย โสธนะพันธุ3 และสมลักษณ คงเมือง4
Saatar Jamikorn1 Puttama Thongsringklee2 Uthai Sothanaphun3 and Somluck Khongmuang4
บทคัดยอ
การศึกษาสมุนไพรไทยที่ใชในการกําจัดเห็บ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรไทยที่มี
ประสิทธิภาพสูงสุดในการกําจัดเห็บจํานวน 4 ชนิด รวมถึงระดับความเขมขนที่ใชและระยะเวลาการเสื่อมสภาพ
ของสมุนไพรจากสมุนไพรไทย 10 ชนิด พบวา สมุนไพร 4 ชนิด ที่มีประสิทธิภาพสูงในการกําจัดเห็บ ไดแก
ยาสูบ , เสม็ดขาว , กานพลู และกระเทียม เมื่อทําการทดลองซ้ํา 4 ครั้ง ในชวงเดือน (ส.ค. – ต.ค.) (พ.ย. –
ม.ค.) (ก.พ. – เม.ย.) และ(พ.ค. – ก.ค.) ในระยะเวลาการทดลอง 1 ป พบวา สารสกัดทีมีความเขมขนต่ําสุดที่
ไมเปนอันตรายตอสุนัขและมีประสิทธิภาพสูงสุดในการกําจัดเห็บ คือ สารสกัดยาสูบที่ 5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผู
และเพศเมียตาย 100 เปอรเซ็นต รองลงมา คือ สารสกัดกานพลูที่ 2.5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผูและเพศเมียตาย
53.33 เปอรเซ็นต , สารสกัดเสม็ดขาวที่ 2.5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผูและเพศเมียตาย 23.33 เปอรเซ็นต และ
กระเทียมที่ระดับความเขมขน 30 เปอรเซ็นต ไมพบวามีเห็บตาย
ABSTRACT
The study of Thai herbs for ticks killing was aimed to study the most efficient kind of
herbs in killing ticks 4 substance , Including their concentration and quality deterioration . Ten
Thai herbs for this study And then put into the 4 substances with high efficiency were
Tobacco , Cajuput tree , Clove tree and Garlic . The test was administered repeatedly 4 times :
(August – October) (November – January) ต ร ์ (February – April) and (May – July) , the duration was 1
ศาส
year . It was found that theตรsubstance of lowest concentration that was harmless to dogs

ก administered at various levels of concentration . Concentrate of
but can kill ticks , a testลัยเwas

Tobacco at 5 percent ิา ทย male and female ticks dead 100 percent , ranked the second place :

Clove tree atัล 2.5 มห percent male and female ticks dead 53.33 percent , Cajuput tree at 2.5
percent รmaleด
้ ู ิจิท and female ticks dead 23.33 percent and Garlic at 30 percent male and female
าม .
ticksังควsurvived
คล
Key Words: Herbs , Tick , Solution , Extracts , Parasite , Host
S.Jamikorn: jamikorn007@gmail.com

1
โรงเรียนทหารการสัตว กรมการสัตวทหารบก
Veterinary and Remount School
2
กองวิทยาการ กรมการสัตวทหารบก
Research and Development Section , Veterinary and Remount Department
3,4
คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000
Faculty of Phamacology , Silapakorn University Sanamchandra Palace Campus , Nakorn Pathom 73000
คํานํา
กรมการสัตวทหารบก เปนหนวยงานหนึ่งของกองทัพบก มีหนาที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ สนับสนุนการ
ปฏิบัติงานทางทหาร ดวยการใชสัตวและการเกษตรกรรมของกองทัพ จากภารกิจขอนี้ทําใหตองเกี่ยวของกับ
สุนัขทหาร ในดานการผลิตและการเลี้ยงดูสัตวมักจะเกิดปญหาตางๆในดานการเลี้ยง โดยเฉพาะพวกถาเห็บ
รบกวนในพอพันธุแมพันธุสุนัขที่ใชในการผลิตสุนัขทหาร รางกายจะออนแอ การผสมติดจะต่ําหรือไมติดลูก และ
ถ า มี เ ห็ บ ร บ ก ว น ใ น สุ นั ข ใ ช ง า น ท า ง ท ห า ร ซึ่ ง เ ป น ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ ห ลั ก ข อ ง ท ห า ร
การสัตว ก็จะทําใหเกิดโรคไขเห็บและโลหิตจาง ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน เกิดความเสี่ยงของโอกาสที่จะ
พลาดขณะปฏิบัติงานสูงซึ่งก็หมายถึงชีวิตของผูบังคับสุนัข ในประเทศเรามีสมุนไพรหลายชนิดที่มีสรรพคุณ
สามารถใชกําจัดแมลง และพยาธิภายนอกได ดังนั้น แผนกวิจัยและพัฒนา กองวิทยาการตองการศึกษาสมุนไพร
ไทยที่ใชในการกําจัดเห็บ โดยนําเอาสมุนไพรบางชนิดที่มีสรรพคุณสามารถใชกําจัดแมลงหรือพยาธิภายนอก
พวกเห็บมาทําการวิจัย เพื่อใชกับสัตวเลี้ยงทางทหาร คอกสัตวเลี้ยง และทหารที่อยูในพื้นที่ทําการรบซึ่งอาจถูก
รบกวนโดยเห็บปา
โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพสูงในการกําจัดเห็บ
อยางนอย 4 ชนิด เพื่อศึกษาระดับความเขมขนของสมุนไพรที่ใชในการกําจัดเห็บ และเพื่อศึกษาถึงระยะเวลา
การเสื่อมสภาพของสมุนไพรที่ใชในการกําจัดเห็บ
ตรวจเอกสาร
เห็บสุนัข ( Rhipicephalus sanguineus latrcillc ) ชนิดนี้เปนปาราสิตของสุนัขเรียกชื่อทั่วไปวา
Brown Dog tick ( สัมฤทธิ์ , 2537 ) การสืบพันธุและความเปนอยู ตัวเมียวางไขครั้งเดียว ประมาณ 2,000
– 3,900 ฟอง ไขมีลักษณะเชนเดียวกับไขของเห็ ์ บสกุลอื่น ๆ ที่อยูใน Family Ixodidae (สุภรณ , 2526 ) ไข

ฟกเปนตัวออนในเวลา 20 – 30 วัน ตัวาอสอตนขึ้นไปดูดเลือดบนสุนัขนาน 2 – 4 วัน ตัวออนสามารถอดอาหารได

นานถึง 8 เดือนครึ่ง เห็บสุนัขนี้เษปตนรThree host tick ( Richard and David , 1997 ) ดังนั้นเมื่อตัวออนดูด
ัยเก
เลือดจนอิ่มจะหลนลงมาแลาวลลอกคราบบนพื ้นดิน ตัวออนใชเวลาพักตัวกอนการลอกคราบนาน 5 วัน ตัวกลาง

ิ ย
วัยขึ้นไปดูดไดนานถึงาว6 เดือน ตัวกลางวัยใชเวลาพักกอนลอกคราบประมาณ 11 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียขึ้นไป

ดูดเลือดบนตัิทวโฮสตัล ม ใชเวลาในการดูดเลือดนาน 6 – 12 วัน และสามารถอดอาหารไดนานถึง 19 เดือน
ร ู้ดิจ
(สุภรณ, ม2526)
คว า
คลัง เห็บทําอันตรายสุนัขโดยการกัดและดูดเลือด ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิดโรคโลหิตจางได ถามีเปนจํานวน
มาก ๆ จะทําใหสัตวตาย อันตรายที่เกิดจากการดูดเลือดของเห็บนี้จัดวาเปนอันตรายที่คอนขางจะรุนแรงมาก
เห็บตัวเมีย 1 ตัว สามารถดูดเลือดไดถึงประมาณ 0.2 – 0.5 มิลลิลิตรตอวัน และทําใหสัตวเกิดอาการที่เรียกวา
“ Tick wony ” อาการเหลานี้จะมากหรือนอยขึ้นกับตําแหนงหรือบริเวณที่เห็บกัด จํานวนเลือดที่สูญเสียไป และที่
สําคัญคือบาดแผลนั้นอาจถูกแมลงวันตาง ๆ มาไข สัตวที่ถูกเห็บรบกวนจะพบวามีน้ําหนักตัวลดลง ผลผลิตตาง
ๆ จะลดลงไปดวย สัตวบางตัวจะผอมมาก ทําใหหนังสัตวเกิดการเสียหายขายไมไดราคาเทาที่ควร ( สุภรณ,
2526 )
Figure 1 Life cycle of Ticks
Source: Anonymous (n.d.)

วิธีที่กําจัดเห็บก็มีดวยกันหลายวิธี เชน ฉีดพนที่ตัวสัตว หรือจุม (Dipping) สัตวลงไปในบอน้ํายาทั้งตัว


จะใชวิธีไหนขึ้นอยูกับความเหมาะสม ถาเปนลูกสัตวและสัตวที่กําลังทอง ไมควรใชวิธีจุมลงไปในบอน้ํายา
สมุนไพรไลแมลงเปนพืชที่มีสวนตาง ๆ เชน ใบ ราก เปลือก ดอก ผล มีสารออกฤทธิ์ที่มีคุณสมบัติในการ
ปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช การออกฤทธิ์ของสมุนไพรตอแมลงนั้นมีผลทั้งทางตรงและทางออม ผลทางตรงตอ
แมลง เมื่อแมลงโดนสารออกฤทธิ์จากพืชสมุ ต รน์ ไพรจะตายทันทีโดยสารออกฤทธิ์มักจะมีผลตอระบบประสาทและ
ระบบหายใจของแมลง สวนผลทางอรอศมเมื าส ่อแมลงโดนพืชสมุนไพรจะไมตายในทันที แตสารออกฤทธิ์จะมีผลตอ

ระบบอื่ น ๆ ของแมลง เช นัยยัเบกยัษ้ ง การกิ น อาหารของแมลง ยั บ ยั้ ง การลอกคราบของแมลง ทํ า ให แ มลงไม

เจริ ญเติบ โตเป นตั ว แกิทไ มยสา ามารถวางไข ได การเลื อกสมุ นไพรเพื่ อ ใชกํ าจั ดแมลงจึ งควรรูว า สมุ นไพรใดมี

คุณสมบัติอยางไรมมีหผา ลตอการปองกันและกําจัดแมลงอยางไร และควรเลือกใชสวนตาง ๆ ของสมุนไพรที่จะ
ิทัล าแมลงอยางเหมาะสมเพาะสวนตางๆของพืช ไมวาจะเปนใบ ราก เปลือก ดอก ผล อาจจะมี
นํามาทําเปู้ดนิจยาฆ

คุณสมบั า มตริหรือประสิทธิภาพในการไลแมลงไมเทากัน (คมสัน, มปป.) การนําสมุนไพรมาใชเปนยาตองคํานึงถึง

คลัง ของสมุนไพรแตละชนิดพันธุสมุนไพร สภาวะแวดลอมในการปลูก ฤดูกาล และชวงเวลาที่เก็บสมุนไพร
ธรรมชาติ
นับเปนปจจัยสําคัญที่กําหนดคุณภาพของสมุนไพร
อุปกรณและวิธีการ
1. อุปกรณและเครื่องมือ
1. จานแกวเพาะเลี้ยงเชื้อ Petri Dish 2. เครื่องสกัด Extracter
3. Rotary evaporator 4. เครื่องบดสับไฟฟา
5. เครื่องชั่งไฟฟา 6. เครื่องจับเวลา
7. ขวดแกวใสและขวดแกวสีชา 8 . ตูอบฆาเชื้อ
9. กระดาษกรอง 10. หลอดทดลอง (Tube)
11. เขียงและมีด
สารเคมี
1. แอลกอฮอล Ethanol
2. น้ํากลั่น
3. เวชภัณฑยาที่ใชฆา เห็บ
วัตถุดิบ สมุนไพร 10 ชนิด
1. หางไหล ( โลติ๊น ) 6. ขมิ้นชัน
2. หนอนตายอยาก 7. เสม็ดขาว
3. ยาสูบ 8. กานพลู
4. บอระเพ็ด 9. สะเดา
5. กระเทียม 10. มะขาม
2. วิธีการศึกษาวิจัย
2.1 เตรียมสมุนไพรที่ใชในการทดลอง
2.2 ทําการสกัดสมุนไพร โดยใชสวนตางๆ ดังนี้

ชื่อสมุนไพร สวนที่ใช
1. หางไหล ตน / ใบ / ราก
2. หนอนตายอยาก ราก
3. ยาสูบ ต ร ์ ใบ
าส
4. บอระเพ็ด
ษตรศ ตน
5. กระเทียม ัย เก หัว หรือ กลีบกระเทียม
าล
6. ขมิ้นชัน ิาวทย ราก
7. เสม็ดขาวิทัล
มห ใบ
าม รู้ดิจ
8. กานพลู ดอกตูม

ั คว
ค9.ล สะเดา ใบ / เมล็ด
10. มะขาม เนื้อฝกแก

วิธีการสกัดสมุนไพร
2.2.1 หางไหล, หนอนตายอยาก และยาสูบ
นําสมุนไพรแหง 1 กิโลกรัมมาบดหยาบ ชั่งน้ําหนักสวนที่บดแลว 250 กรัม หมักดวยแอลกอฮอล 80 %
เปนเวลา 3 – 5 วัน ทําซ้ํา 3 ครั้ง แตละครั้งกรองเอาแตน้ํา นําน้ําหมักที่ไดระเหยแหงดวยเครื่อง Rotavapor ที่
อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ระเหยน้ําออกจนมีลักษณะขนหนืด ใชเวลา 3 – 4 ชั่วโมง แลวนําสารที่ไดหาคา %
Total Solid หาปริมาตรเพื่อผสมเปนสารละลายสมุนไพร
2.2.2 บอระเพ็ด, กระเทียม, ขมิ้นชัน
นําสมุนไพรแหง 1 กิโลกรัมมาบดหยาบ ชั่งน้ําหนักสวนที่บดแลว 250 กรัม ทําการสกัดสมุนไพรดวย
เครื่องสกัดรอน ( Soxhlet Apparatus ) จนไดสารสกัดเขมขน นํามาระเหยแหงดวยเครื่อง Rotavapor ที่
อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ระเหยน้ําออกจนมีลักษณะขนหนืด ใชเวลา 3 – 4 ชั่วโมง แลวนําสารที่ไดหาคา
% Total Solid หาปริมาตรเพื่อผสมเปนสารละลายสมุนไพร
2.2.3 เสม็ดขาว และกานพลู
นําสมุนไพรแหง 1 กิโลกรัมมาบดหยาบ ชั่งน้ําหนักสวนที่บดแลว 250 กรัม ทําการสกัดสมุนไพรดวย
เครื่องสกัดรอน ( Soxhlet Apparatus ) จนไดสารสกัดเขมขนแยกออกเปน 2 ชั้น คือ ชั้นที่เปนน้ํา และชั้นที่
เปนน้ํามัน นําชั้นที่เปนน้ํามาระเหยแหงดวย Water Bath นําสวนที่เหลือชั่งน้ําหนัก สวนที่เปนชั้นน้ํามันนํามา
ระเหยแหงดวยเครื่อง Rotavapor ที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ระเหยน้ําออกจนมีลักษณะขนหนืด แลวชั่ง
น้ําหนัก นําทั้งสองสวนมารวมกัน
2.2.4 สะเดา
นําเมล็ดสะเดาเขาเครื่องความดัน แลวนําเขาเครื่องหีบเมล็ด จะไดสารสกัด นํามาใชไดเลย
2.2.5 มะขาม
นํามะขามมาแกะเมล็ด และกากออกใหหมด ชั่งน้ําหนัก 250 กรัม นําไปแชน้ํากลั่น (Purified Water)
ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร นาน 1 วัน คนใหทั่ว กรองเอาแตน้ํานําไประเหยแหงดวยเครื่อง Rotavapor ที่
อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ระเหยน้ําออกจนมีลักษณะขนหนืด ใชเวลา 3 – 4 ชั่วโมง แลวนําสารที่ไดหาคา %
Total Solid หาปริมาตรเพื่อผสมเปนสารละลายสมุ ์ นไพร
ต ร
3. ทดสอบฤทธิ์กําจัดเห็บสุนัขของสารสกั
ร ศ าส ดสมุนไพร
3.1 การเตรียมสารสกัดทีษ่ใตชในการทดสอบประสิทธิภาพในการฆาเห็บ
ล ย
ั เก
3.2 วิธีการทดสอบประสิ า ทธิภาพในการฆาเห็บ ของสารสกัดสมุนไพร
ว ท
ิ ย
4. การทดลองและ าการวางแผนการทดลองแบบ RCB (Randomized Complete Block Design)
ม ห
นําสมุิทนัลไพรที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด 4 ชนิด มาเตรียมสารละลายความเขมขน 5 ระดับ ขึ้นอยูกับผล
การทดสอบ ร ิจ - test เปรียบเทียบกับยากําจัดเห็บและน้ําเปลา ทดสอบกับเห็บโตเต็มวัย รวม 22 Treatment ๆ
ู้ดPre

ควคูา  (เพศผู 30 ตัว และเพศเมีย 30 ตัว)
ละลัง30

สูตรการคํานวณหาคา % Total Solid
% Total Solid = ( น้ําหนักสารที่เหลือ X 100 ) / น้ําหนักสารกอนเผา
ผลการทดลองและวิจารณ

ศึกษาระดับความเขมขน

100

90

80

70

60

50

40

30

20

10

0
ยาสูบ 5 % เสม็ดขาว 2.5 % กานพลู 2.5 % กระเทียม 30 % อะซุลโทล 0.001 % น้ําเปลา

Figure 2 Show Concentration percentage of herbal extracts per percent of death at ticks .

ผลจากการทดลองซ้ํา 4 ครั้ง ระยะเวลา 1 ป พบวาสารสกัดยาสูบมีประสิทธิภาพดีที่สุดความเขมขนสาร


สกัดยาสูบที่ 5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผูและเพศเมีย n = 60 ตาย 100 เปอรเซ็นต รองลงมา พบวาสารสกัด
กานพลู ความเขมขนสารสกัดกานพลูที่ 2.5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผูและเพศเมีย n = 60 ตาย 53.33 เปอรเซ็นต
สารสกัดเสม็ดขาวความเขมขนสารสกัดสมุนไพรที ์ ่ 2.5 เปอรเซ็นต เห็บเพศผูและเพศเมีย n = 60 ตาย 23.33
ต ร
เปอรเซ็นต าส
ษตรศ
ัยเก
าล
ิาวทย
ศึกษาระยะการเสื่ อมสภาพ

มห
ิจิทัล 120

ว ามร้ดู 100

ลัง ค
ค 80

60

40

20

ยาสูบ 5 % เสม็ดขาว 2.5 % กานพลู 2.5 % กระเทียม 30 %

ชนิดสมุนไพร
ยาสู บ 5 % เสม็ดขาว 2.5 % กานพลู 2.5 % กระเที ยม 30 %

Figure 3 Show Compare degenerate duration of 1 year for herbal extracts


ระยะเวลาการเสื่อมสภาพ (Expire date) สารสกัดยาสูบพบวา เมื่อครบระยะเวลา 1 ป สารสกัดยาสูบ
ยั ง คงประสิ ท ธิ ภ าพดี สามารถกํ า จั ด เห็ บ ได 100 เปอร เ ซ็ น ต ส ว นสารสกั ด กานพลู พ บว า เมื่ อ ทดลองซ้ํ า ที่ 3
ประสิทธิภาพลดลง สามารถกําจัดเห็บได 60 เปอรเซ็นต และการทดลองซ้ําที่ 4 สามารถกําจัดเห็บได 53.33
เปอรเซ็นต สวนเสม็ดขาวในการทดลองในครั้งที่ 1 สามารถกําจัดเห็บได 100 เปอรเซ็นต แตการทดลองซ้ําที่ 2
สามารถกําจัดเห็บได 36.67 เปอรเซ็นต
สรุป
1. จากการทดลองพบวา สมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในการฆาเห็บที่ดีที่สุดคือ ยาสูบ
2. ระยะเวลาการเสื่อมสภาพใน 1 ป พบวายาสูบยังคงมีประสิทธิภาพดีสามารถกําจัดเห็บได 100
เปอรเซ็นต เมื่อครบป
3. ระยะเวลาการเสื่ อ มสภาพใน 1 ป พบว า กานพลู ก ารทดลองซ้ํ า ที่ 3 สามารถกํ า จั ด เห็ บ ได 60
เปอรเซ็นต
4. ระยะเวลาการเสื่อมสภาพใน 1 ป พบวาเสม็ดขาวการทดลองซ้ําที่ 2 สามารถกําจัดเห็บได
36.67 เปอรเซ็นต
5. ระยะเวลาการเสื่อมสภาพใน 1 ป พบวากระเทียมการทดลองซ้ําที่ 3 สามารถกําจัดเห็บได 51.67
เปอรเซ็นต
6. หลังสิ้นสุดการทดลองไดนําสารสกัดยาสูบความเขมขนที่ 5 เปอรเซ็นต ไปทดสอบบนตัวสุนัข 50 ตัว
ผลการทดสอบสามารถกําจัดเห็บไดและไมกอใหเกิดอาการแพ
ขอเสนอแนะ
ควรมีการทําเปนผลิตภัณฑชนิดตางๆ์ เชน แชมพู, สบู เพื่องายตอการเก็บรักษา
ส ต ร
ศา เอกสารอางอิง
ตราการปองกันกําจัดแมลงและศัตรูพืช. กรมวิชาการเกษตรเอกสาร
กีฏและสัตววิทยา. 2539. คําแนะนํ
เก ษ
วิชาการ. วารสารกีาลฏัยและวิทยา.กรุงเทพฯ.

ิา ทสารฆ

ขวัญ สมบัติศิริ. 2528. ห าแมลง. ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.
คมสัน หุตะแพทย

ัล . มปป. สมุนไพรไลแมลง.กองบรรณาธิการ เกษตรกรรมธรรมชาติ.กรุงเทพฯ.

ิ ท

รู้ด พย. 2537. เคมีของสะเดาและวิธีการกําจัดสารจากสะเดา. เอกสารประกอบการบรรยาย
งามผองามคงคาทิ

ั ค ว การฝกอบรมเชิงวิชาการ การใชสารสกัดสะเดาในการปองกันและกําจัดแมลง ครั้งที่ 3.
คล
ชรินทร สมาธิ. 2528. การวิเคราะหผลผลิตขั้นปฐมภูมสิ ุทธิของไมเสม็ดขาวในปาพรุจังหวัดนราธิวาส.
วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพ ฯ.
เชาว เสาวลักษณ. 2537. ประสบการณการสงเสริมการใชสารสกัดจากพืชในการปองกันและกําจัด
ศัตรูพืช เอกสารประกอบคําบรรยาย การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใชสารสกัดสะเดาในการ ปองกัน
และกําจัดแมลง ครั้งที่ 3.
ณรงค จึงสมานญาติ และวิระพล จันทรสวรรค. 2540. ผลของมะขามเปยกตอเห็บโคการประชุมทาง
วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาศตร. ครั้งที่ 35. ทิพยพรรณ สดากร. 2536. รวบรวมและ
ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรของพืชที่มีสารกําจัดศัตรูพืช. ขาวพฤกษศาสตรและวัชพืช.
นิราม. มปป. แหลงที่มา: http : //www.novatec – id. com / blot / image _ tick_cycle.jpg
ทิวา รัตนธรรม และอรรถพล การิเทพ. 2545. แชมพูสมุนไพรสําหรับสัตวเลี้ยง. ปรัชญาเภสัชศาสตรบัณฑิต
คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
ลาวัลย จีระพงษ. 2542. การเตรียมและการใชพชื สมุนไพร ในการปองกันและกําจัดศัตรูพืช. สถาบัน
สงเสริมการเกษตรชีวภาพและโรงเรียนเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ
วิทย เที่ยงบูรณธรรม. 2530. พจนานุกรมไมดอกไมประดับในเมืองไทย (เลมที่1). กรุงเทพฯ.
วิเชียร จีรวงศ และคณะ. 2537. ยาสมุนไพรสําหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน. สํานักงานคณะกรรมการ
สาธารณสุขมูลฐาน. องคการสงเคราะหทหารผานศึก. กรุงเทพฯ.
ศิริวรรณ บุรีคํา และคณะ. 2547. หนอนตายอยาก พืชสมุนไพรใชกําจัดแมลงศัตรูพืช : การเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อและการวิเคราะหสารออกฤทธิ์. ฝายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัย
และพัฒนาแหง มก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน, นครปฐม.
สุกรณ โพธิ์เงิน. 2526. อารโทรปอดวิทยาสาขาสัตวแพทยศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สุรพล วิเศษสรรค. 2536. ผลการใชสารสกัดจากสะเดาตอการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซมของแมลง.
รายงานการสัมมนาการใชสารสกัดจากพืชเพื่อปองกันกําจัดศัตรูทางการเกษตร คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม.
สัมฤทธิ์ สิงหอาษา. 2537. กีฎวิทยา–อะคาโรวิทยา การแพทยและสัตวแพทย. ภาคชีววิทยา คณะสัตว
แพทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
อนันต สกุลกิม. 2540. การกินอาหารและการใชประโยชนชีววิทยาของแมลง. ภาควิชาชีววิทยา คณะ
วิทยา ศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันราชัฏบานสมเด็จเจาพระยา, กรุงเทพ ฯ.
อนันต แสงวานิช. 2540. การกินอาหารและการใช ์ ประโยชนชีววิทยาของแมลง. ภาคชีววิทยา คณะ
ต ร
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบั
ร ศ าส นราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา, กรุงเทพฯ.
_______. การกินอาหารและการใช
เ ก ษต ประโยชนชีววิทยาของแมลง. 2540. ภาคชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
และ เทคโนโลยี ยสถาบั าลัย นราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา, กรุงเทพฯ. 2540.
อาคม สังขวรานนท.หา2537. วิท ปาราสิตวิทยาคลินิกทางสัตวแพทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
อารมณ แสงวานิ ท
ิ ัลชม. มปป. ใชสะเดาปองกันกําจัดแมลง. กสิกร.
ิจ
รู้ดand
Ernest,าH.
ว ม E.L. Patricia. 1994. Metabolism ; Phase I Reactions. In H. Ernest and E.L. Patricia

คลัง (eds.) Introduction to Biochemical Toxicology. 2d. ed., Appleton & Lange Norwalk,
Connecticut.
Feuergake , K.J. 1983. Effectiveness and selectivity of technical solvents for the extraction of neem
seed components with insecticidal activity prac. 2d ed., Inc.Neem Conf.
Georgi,LR. 1969. parasitology for veterinarians. W.B. Saunders Company Philadelphia.
Leung , A.Y. and S. Foster. 1996. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs
and cosmetic. John Wiley& Sons, New York .
Pimsamarn, S., N. Siri, T. JamJanya and Y. Sutapakdi. 1991. Nemm products for protecing
cruciferous crop from diamondback month ( Lepidoptera : Plutelldae ) damage , pp. 159 –
167. In Proceedings, First Asia – Pacific conference of Entomology , Entomology and
Zoology Association of Thailand Funny Publishing, Bangkok.
Richard W. and S.David. 1997. Vetrerinary Entomology. T.J.International Ltd , Padstore .Cornwall.
Rose. H.A. 1985. The relationship between feeding specialization and host to aldrin
________ and B.E. Wallbank. 1986. Mixed – function oxidase and Glutathione-s-transferase Activity
in a susceptible and fenitrothion – resistant strain of Oryzaphils surinamesis ( Colepotera :
Cucujidae ). J.Econ. Ent.
Schokechy, U. and Otto, D. 1989. Enzymes involved in the metabolism of organophosphorus
carbamate and pyrethroid insecticide. Chemistry of Plant Protection 2 , Sprinder – Verlag
Hcidelberg.
Visetson , S. 1991. Insecticide resistance mechanisms in the rust red flour beelle , Tribolium
Castaneun ( Herbst ). Ph.D. thesis The University of Sydney, Australia.
Yu, S.J. and E.L. Hus. 1983. Induction of detoxifying enzymes by allclochemicals and host plant in
the fall Armyworm. Pestic. Biochem. Physiol. .
______ and _______ 1984. Intcraction of allclochemical with detoxification enzymes of insecticides
susceptblc and resistense fall armyworm. Pestic. Biochem. Physiol.
______ and _______ 1985. Induction of hydrolases by allclochemicals and host plant in fall
Armyworm (Lepidoptera :Noetudiae) larva. Environ. Ent.
______ and N. Nguyen. 1992. Detection์ and Biochemical characterization of insecticide resistance
ส ต ร
า Biochem. Physiol.
in the Diamond back mothศPestic.
ษตร
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

You might also like