Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.

2566-2567
หน่วยงาน กองนวัตกรรมวัตถุดิบและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
งบ โครงการ กิจกรรม ผลการดำเนินงาน
ประมา

ข้อ 8. ข้อมูลนวัตกรรมและเทคโนโลยีและการใช้ประโยชน์แร่ อาทิ การเพิ่มมูลค่าแร่และการใช้ประโยชน์จากแร่การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตแร่ ฯ ลฯ
พ.ศ. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา กิจกรรมหลักที่ 1 โครงการส่งเสริม - พัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพวัตถุดิบแร่ดินขาวชนิด
2566 เทคโนโลยีการผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต หินพอตเทอรี (Pottery stone) และแร่ยิปซัม (Gypsum)
วัตถุดิบเพื่อตอบสนอง วัตถุดิบคุณภาพสูงที่เป็ นแร่ โลหะ จากแหล่งแร่ภายในประเทศ เป็ นวัตถุดิบคุณภาพสูงสำหรับ
ความต้องการของ หรือสารประกอบโลหะ เพื่อรองรับ การผลิตในอุตสาหกรรม จำนวน 2 เทคโนโลยี ได้แก่
อุตสาหกรรมศักยภาพ การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 1.เทคโนโลยีการผลิตซีโอไลต์สังเคราะห์จากแร่ดินขาวชนิด
หินพอตเทอรี่เป็ นวัสดุดูดซับกลิ่น สำหรับใช้ในอุตสาหกรรม
วัสดุสัตว์เลี้ยง เช่น ทรายแมว
2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ยิปซัมคุณภาพสูง (เกรดอาหาร)
สำหรับช่วยตกตะกอนในกระบวนการผลิตเต้าหู้อ่อน
กิจกรรมหลักที่ 2 โครงการการ - พัฒนาต้นแบบเทคโนโลยีสกัดอะลูมินาจากแร่ดินขาว
พัฒนาและต่อยอดเทคโนโลยีการ สำหรับใช้เป็ นวัสดุดูดซับคุณภาพสูงในอุตสาหกรรมบำบัด
ผลิตวัตถุดิบขั้นสูงจากแร่ดินขาว น้ำเสียและแปรรูปอาหาร และใช้เป็ นตัวรองรับคะตะลิสต์
สู่การผลิตในเชิงพาณิชย์ สำหรับอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2566-2567
หน่วยงาน กองนวัตกรรมวัตถุดิบและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
งบ โครงการ กิจกรรม แนวทางดำเนินการ/เป้ าหมาย/ตัวชี้วัด
ประมา

ข้อ 8. ข้อมูลนวัตกรรมและเทคโนโลยีและการใช้ประโยชน์แร่ อาทิ การเพิ่มมูลค่าแร่และการใช้ประโยชน์จากแร่การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตแร่ ฯ ลฯ
พ.ศ. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา กิจกรรมหลักที่ 1 โครงการส่ง แนวทางดำเนินงาน ศึกษาวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการ
2567 เทคโนโลยีการผลิต เสริมและพัฒนาเทคโนโลยีการ ผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงจากแหล่งแร่ภายในประเทศ และ
วัตถุดิบเพื่อตอบสนอง ผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงที่เป็ นแร่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือดีกว่า
ความต้องการของ โลหะ หรือสารประกอบโลหะ ผลิตภัณฑ์เดียวกันที่มีจำหน่ายในท้องตลาด
อุตสาหกรรมศักยภาพ เพื่อรองรับการพัฒนา โดยมีเป้ าหมาย 2 เทคโนโลยี คือ
อุตสาหกรรมศักยภาพ 1. เทคโนโลยีการสกัดซีโอไลต์คุณภาพสูงจากแร่ดินขาวชนิด
หินพอตเทอรี (Pottery stone) สำหรับเป็ นวัสดุดูดซับ
2. เทคโนโลยีการสกัดสารประกอบแมกนีเซียมจากแร่
โดโลไมต์ (Dolomite) สำหรับอุตสาหกรรมยาและอาหาร
เสริม
พ.ศ. โครงการยกระดับผลิต กิจกรรมหลักที่ 1 การส่งเสริม แนวทางดำเนินงาน ศึกษาวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการ
2567 ภาพการผลิตวัตถุดิบ และพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบการ ผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูงจากแร่โพแทช รวมถึงผลพลอยได้
คุณภาพสูง เพื่อสร้างขีด ผลิตวัตถุดิบคุณภาพสูง จากแร่ (By-products) และหางแร่ (Tailings) ที่ได้จากการทำ
ความสามารถในการ โพแทช เหมืองแร่โพแทช ในระดับห้องปฏิบัติการ (Lab scale)
แข่งขันภาคอุตสาหกรรม และระดับโรงงานต้นแบบ (Pilot Scale) รวมถึงการพัฒนา
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากวัตถุดิบคุณภาพสูงที่ได้พัฒนา
ขึ้น โดยให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือดีกว่าผลิตภัณฑ์ชนิด
เดียวกัน เพื่อเป็ นตัวอย่างและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้
ประกอบการนำไปประยุกต์ใช้
โดยมีเป้ าหมาย 2 เทคโนโลยี คือ
1. เทคโนโลยีการผลิตแม่ปุ๋ยโพแทสซียม (K2SO4) จากแร่
โพแทช
2. เทคโนโลยีการผลิตสารประกอบโพแทสเซียมสำหรับเป็ น
วัตถุดิบรองรับการพัมนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2566-2567
หน่วยงาน กองนวัตกรรมวัตถุดิบและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
งบ โครงการ กิจกรรม แนวทางดำเนินการ/เป้ าหมาย/ตัวชี้วัด
ประมา

ข้อ 6. ข้อมูลความต้องการแร่ที่นำกลับมาใช้ใหม่ จำแนกตามกลุ่มแร่
พ.ศ. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา กิจกรรมหลักที่ 2 โครงการส่ง แนวทางดำเนินงาน ศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการ
2567 เทคโนโลยีการผลิต เสริมและพัฒนาเทคโนโลยีการ เพิ่มคุณภาพหางแร่หรือแร่คุณภาพต่ำที่เหลือทิ้งจากระบวน
วัตถุดิบเพื่อตอบสนอง เพิ่มคุณภาพหางแร่หรือแร่ การทำเหมืองหรือการผลิตแร่ภายในประเทศในระดับห้อง
ความต้องการของ คุณภาพต่ำที่เหลือทิ้งจาก ปฏิบัติการ (Lab Scale) และทำการขยายผลการทดลอง
อุตสาหกรรมศักยภาพ กระบวนการทำเหมืองหรือการ และพัฒนาเทคโนโลยี
ผลิตแร่ เพื่อนำกลับมาใช้เป็ น การเพิ่มคุณภาพหางแร่หรือแร่คุณภาพต่ำที่เหลือทิ้งจากระ
วัตถุดิบให้แก่ภาคอุตสาหกรรม บวนการทำเหมืองหรือ
การผลิตแร่ภายในประเทศในระดับโรงงานต้นแบบ (Pilot
scale) พร้อมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาขึ้นทั้งภาค
ทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้แก่ผู้ประกอบการ นักลงทุน
และผู้ที่สนใจ
เป้ าหมายตัวชี้วัด
1) องค์ความรู้และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพหางแร่หรือแร่
คุณภาพต่ำที่เหลือทิ้ง
จากกระบวนการทำเหมืองหรือการผลิต เพื่อนำกลับมาใช้
เป็ นวัตถุดิบให้แก่ภาคอุตสาหกรรม จำนวน 1 ชนิด
2) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบที่ได้พัฒนาขึ้นจากการเพิ่ม
คุณภาพหางแร่หรือแร่คุณภาพต่ำเป็ นวัตถุดิบในการผลิต
จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์

You might also like