Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

PMO17-1

การบําบัดนํา้ เสี ยโรงงานผักกาดดองด้ วยการสร้ างตะกอนร่ วมและการกรองด้ วยชั้นวัสดุปลูกของระบบ


หญ้ ากรองนํา้ เสี ยและพืน้ ทีช่ ่ ุมนํา้ เทียมทีม่ ีตัวดูดซับถ่ านกะลามะพร้ าว
Pickled Mustard Green Factory Wastewater Treatment by Coagulation and Filtration with
Growing Material Layer of Grass Filtration System and Constructed Wetland with
Coconut Shell Charcoal Adsorbent

สุ ภาวดี เจริ ญรู ป (Supawadee Charoenroop)* คณิ ตา ตังคณานุรักษ์ (Kanitta Tungkananuruk)**


ดร.นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์ (Dr.Nipon Tungkananuruk)***

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มี วตั ถุ ป ระสงค์เพื่ อ ศึ กษาประสิ ท ธิ ภาพการบํา บัดสี ความขุ่นและซี โ อดี ข องนํ้า เสี ยจากโรงงาน
ผักกาดดองด้วยกระบวนการสร้างตะกอนร่ วม ร่ วมกับการกรองด้วยชั้นวัสดุปลูกของระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและ พื้นที่
ชุ่ ม นํ้า เที ย ม โดยใช้ถ่ า นกะลามะพร้ า วเป็ นตัว ดู ด ซับ ผลการทดลองแบบจาร์ เ ทสต์ พบว่า สภาวะที่ เ หมาะสมของ
กระบวนการสร้างตะกอนร่ วมในการบําบัดสี และความขุ่นได้ดีที่สุด คือ ที่ pH 8.0 โดยใช้สารละลายสารส้มเข้มข้น 10
มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ปริ มาณ 18 มิลลิลิตร โดยให้ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี และความขุ่นสู งสุ ดที่ร้อยละ 77.06 และ
92.77 ตามลําดับ ผลการทดลองแบบแบตซ์ พบว่า ถ่านกะลามะพร้าว 18 กรัมต่อนํ้าเสี ยที่ผา่ นบําบัดด้วยกระบวนการ
สร้างตะกอนร่ วม 50 มิลลิลิตร และระยะเวลาสัมผัส 5 วัน ให้ประสิ ทธิ ภาพในการบําบัดสี (85.00) ความขุ่น (84.34) และ
ซี โอดี (80.00) ดีที่สุด กลไกการดูดซับสอดคล้องกับทั้งไอโซเทอร์มของแลงเมียร์และฟรุ นดิช นอกจากนั้นอัตราส่ วนโดย
นํ้าหนักของถ่านกะลามะพร้าวต่อดินเท่ากับ 1:40 ให้ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสู งสุ ด ผลการทดลองแบบการไหลต่อเนื่อง
พบว่า ระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยให้ประสิ ทธิ ภาพในการบําบัดสี ความขุ่นและซี โอดีที่ร้อยละ 86.00, 73.37 และ 95.00
ตามลําดับ ซึ่ งสู งกว่าระบบพื้นที่ชุ่มนํ้าเทียม
ABSTRACT
The objective of this research was to investigate the optimum condition of color turbidity and COD
reduction from Pickled Mustard Green factory wastewater by coagulation process and filtration with growing material
layer of grass filtration system and constructed wetland with coconut shell charcoal adsorbent. Jar test experiments
showed that the highest efficiency of coagulant to reduce color and turbidity was at the condition of pH 8.0 and 18 ml
of 10 mg/ml alum solution and the removal percentage of color and turbidity were 77.06 and 92.77 respectively. Batch
experiments showed that the highest adsorption efficiency percentage of color (85.00) turbidity (84.34) and COD
(80.00) were achieved at 18 g. of coconut shell carbon per 50 ml of coagulation treated wastewater
and 5 days of contact time. Also, adsorption model was conformed to Langmuir and Freundich isotherm. Furthermore
,the ratio by weight of coconut shell carbon and soil at 1:40 gave the highest removal efficiency. By the continuous
flow experiments, packing growing materials and wastewater treatment were investigated by simulating the grass
filtration and the constructed wetland system. The results revealed that the removal efficiency percentage of color,
turbidity and COD from the grass filtration system were 86.00 , 73.37 and 95.00 respectively and which higher than
the removal efficiency from constructed wetland.
คําสํ าคัญ: นํ้าเสี ยโรงงานผักกาดดอง กระบวนการสร้างตะกอนร่ วม ระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและพื้นที่ชุ่มนํ้าเทียม
Key Words: Pickled mustard green factory wastewater, Coagulation process, Grass filtration system and constructed wetland
* นิสิต หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม คณะสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
** รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม คณะสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
*** รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม คณะสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

376
PMO17-2
บทนํา เทียมด้วยกัน 2 ชนิ ด คือ กกกลมและธูปฤาษี เนื่องจากพืช
ผักกาดเขียวปลี (Green mustard หรื อ Chinese ทั้ง 2 ชนิด เจริ ญเติบโตง่าย ทนต่อสารพิษ สามารถปรับตัว
mustard หรื อ Leaf mustard) เป็ นผักกาดที่อยูใ่ นตระกูล เข้ากับลักษณะสมบัติของนํ้าเสี ยได้ดี
Cruciferae มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ Brassica juncea L. ไม่ ผูว้ จิ ยั คาดว่าจากผลการศึกษาสามารถนําไป
นิ ย มบริ โภคสดเนื่ อ งจากมี ร สขมและเผ็ ด แต่ จ ะมี ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ หมาะสมต่ อ การบํา บั ด นํ้ าเสี ยของ
คุ ณ ภาพดี ห ลัง จากการนํา มาดอง ผัก กาดดองจะมี ร ส โรงงานผักกาดดองระดับครัวเรื อนและความเป็ นไปได้
เปรี้ ยว ซึ่ งผลิตได้จากการคลุกเคล้าวัตถุดิบกับเกลือ แล้ว ในการดัดแปลงใช้ในโรงงานขนาดใหญ่ต่อไป
นําไปอัดให้แน่นในภาชนะ ปล่อยทิ้งไว้ให้เกิดการหมัก
(วิชยั , 2521) โดยกระบวนการในการผลิตมักจะอาศัยนํ้า วัตถุประสงค์ การวิจัย
เป็ นตัวกลางเกื อบทุกขั้นตอน ทําให้ตอ้ งใช้น้ าํ ปริ มาณ 1. ศึ ก ษ า ส ภ า ว ะ ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ
มากในกระบวนการผลิต โรงงานผักกาดดองนับวันจะมี ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดนํ้าเสี ยของโรงงานผักกาดดอง
การพัฒนาและเติบโตขึ้นเรื่ อยๆ ส่ งผลให้ปริ มาณของนํ้า ด้วยกระบวนการสร้างตะกอนร่ วม (Coagulation) โดย
ทิ้ ง เพิ่ ม ขึ้ นตามการขยายตัว ของโรงงาน นํ้าทิ้ ง จาก วิธีจาร์ เทสต์ (Jar Test) เพื่อปรับสภาพความเป็ นกรด สี
โรงงานผัก กาดดองก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หานํ้ าเน่ า เสี ย ได้ และความขุ่น
เนื่ องจากเป็ นกิ จการในระดับครั วเรื อน ส่ วนใหญ่ไม่มี
2. ศึกษาประสิ ทธิ ภาพของระบบหญ้ากรอง
ระบบบําบัดนํ้าเสี ยก่อนปล่อยออกสู่ แหล่งนํ้าธรรมชาติ
นํ้ าเสี ยและระบบพื้ นที่ ชุ่ ม นํ้ าเที ย ม โดยใช้ ถ่ า น
ซึ่ งลักษณะของนํ้าทิ้งเป็ นนํ้าที่มีค่า COD สู ง เนื่ องจาก
กะลามะพร้าวเป็ นตัวดูดซับ เพื่อช่วยลดสี ความขุ่นและ
ของเสี ยที่ ม าจากกระบวนการผลิ ต มี ส ารอิ น ทรี ย์
ซี โอดี
ปนเปื้ อนอยู่สู ง มี จุ ลิ นทรี ย ใ์ นกระบวนการหมักสร้ าง
สารประกอบจําพวกกรด แอลกอฮอล์และอื่นๆ ขึ้น ซึ่ ง วิธีการวิจัย
สารเหล่านี้ มีฤทธิ์ ในการยับยั้งหรื อชะลอการเจริ ญของ 1. การวิเคราะห์ คุณภาพนํ้าเสี ยจากโรงงาน
จุ ลินทรี ยอ์ ื่ น ที่ เป็ นสาเหตุการเน่ าเสี ยของผักกาดเขียว ผัก กาดดอง พารามิ เ ตอร์ ที่ ท ํา การวิ เ คราะห์ ได้แ ก่
ปลี ส่ ง ผลให้ป ริ ม าณของนํ้า เสี ย มี ค วามเป็ นกรดและ ค่ า ความเป็ นกรด-ด่ า ง (pH) ความขุ่น (turbidity)
COD เพิ่มขึ้น ดังนั้นผูว้ ิจยั มีวตั ถุประสงค์ที่จะนําระบบ ความเค็ม (salinity) สภาพการนําไฟฟ้ า (conductivity,
บําบัดนํ้าเสี ยแบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและระบบพื้นที่ ชุ่ม EC) ของแข็งทั้งหมดที่ละลายในนํ้า (Total Dissolved
นํ้าเทียม มาช่วยบําบัดนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาดดองซึ่ ง Solids, TDS) อุณหภูมิ (temperature) และค่าสี (color)
ทั้ง 2 วิธีน้ ี เป็ นวิธีที่อาศัยกระบวนการทางธรรมชาติช่วย ทําการวิเคราะห์ โดยใช้เครื่ อง pH meter เครื่ อ ง
ธรรมชาติ แต่เนื่ องจากนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาดดองมี Turbidity meter เครื่ อง Salinity meter เครื่ อง EC meter
ความเป็ นกรดและสารอิ นทรี ยส์ ู ง ผูว้ ิจัยจึ งได้ปรั บปรุ ง เครื่ อง Digital TDS meter เครื่ อง Thermometer และ
คุณภาพนํ้าเสี ยก่อนเข้าสู่ ระบบบําบัดที่ 2 โดยวิธีการสร้าง เครื่ อง Spectrophotometer ตามลําดับ ส่ วนค่าบี โอดี
ตะกอนร่ วมด้ ว ยสารส้ ม หรื อปู น ขาว และช่ ว ยเพิ่ ม (Biochemical Oxygen Demand, BOD) และซี โอดี
ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี และ COD ของระบบบําบัดที่ 2 (Chemical Oxygen Demand, COD) ทําการวิเคราะห์
โดยการใช้ตวั ดูดซับกะลามะพร้าวเป็ นวัสดุเพาะปลูกใน โดยวิธี 5 Days Incubation และวิธี Closed reflux and
แปลงพืช นอกจากนี้ ยงั ศึ กษาถึ งชนิ ดของพืชที่ ใช้ในการ titration ตามลําดับ
บําบัดนํ้าเสี ยด้วยระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและพื้นที่ชุ่มนํ้า

377
PMO17-3
2. ศึกษาการปรับสภาพความเป็ นกรด สี และ ผักเบี้ย โดยบรรจุช้ นั กรวด 9.6 เซนติเมตร ทรายหยาบ
ค ว า ม ขุ่ น ด้ ว ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร้ า ง ต ะ ก อ น ร่ ว ม 4.2 เซนติ เ มตร ทรายละเอี ย ด 2.8 เซนติ เ มตร และ
(Coagulation) โดยวิธีจาร์ เทสต์ (Jar Test) ที่ความเร็ ว อัตราส่ วนระหว่างถ่านกะลามะพร้าวต่อดินที่เหมาะสม
รอบในการกวนเร็ ว เท่ ากับ 100 รอบต่อ นาที เ ป็ นเวลา เท่ากับที่ศึกษาได้จากข้อ 4 สู ง 16.5 เซนติเมตรโดยการ
3 นาที กวนช้าเท่ากับ 40 รอบต่อนาทีเป็ นเวลา 30 นาที ทดลองแบ่งเป็ น 2 ขั้นตอน คือ
ปั จจัยที่ศึกษา ได้แก่ ชนิ ดและปริ มาณสารสร้างตะกอน การจําลองการบําบัดนํ้าเสี ยด้วยระบบพื้นที่ชุ่ม
(สารละลายปูนขาว: 5, 10, 15, 20, 25, 30 มิลลิลิตร และ นํ้าเทียม ทําการทดลองโดยเติมนํ้าเสี ยที่ผ่านการบําบัด
สารละลายสารส้ม: 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, ด้วยกระบวนการสร้างตะกอนร่ วม 200 มิลลิลิตร (ข้อ 2)
26, 28 มิลลิลิตร) และ pH (6-10) ลงในคอลัม น์ ที่ บ รรจุ ว ัส ดุ ป ลู ก แช่ ข ัง นานเป็ นเวลา
3. ศึกษาประสิ ทธิ ภาพการบําบัดนํ้าเสี ยโดย (ชัว่ โมง) เท่ากับที่ศึกษาได้จากข้อ 3 เก็บนํ้าที่ไหลผ่าน
การดูดซับด้วยถ่านกะลามะพร้ าว ทําการทดลองแบบ ออกจากคอลัม น์ นํา มาหาประสิ ท ธิ ภ าพการบํา บัด สี
แบตซ์ ปั จ จัย ที่ ศึ ก ษา คื อ ปริ ม าณถ่ า นกะลามะพร้ า ว ความขุ่นและซี โอดี ทําการทดลองซํ้าจนกระทัง่ คุณภาพ
(1-21 กรัม) และระยะเวลาสัมผัส (1-6 ชัว่ โมง และ 1-7 นํ้ามีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานนํ้าทิ้งโรงงานอุตสาหกรรม
วัน) ใช้น้ าํ เสี ยที่ ผ่านการบําบัดด้วยกระบวนการสร้ าง และนิ คมอุตสาหกรรม และการจําลองการบําบัดนํ้าเสี ย
ตะกอนร่ วมจากข้อ 2. ปริ มาตร 50 มิลลิลิตร ในแต่ละ ด้วยระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยทําการทดลองเช่นเดี ยวกับ
ครั้ งการทดลอง และศึกษาความสอดคล้องของสมการ ระบบพื้นที่ ชุ่มนํ้าเที ยม แต่เปลี่ยนระยะเวลาการแช่ขงั
การดูดซับกับไอโซเทอร์ มของการดูดซับแบบแลงเมียร์ นานเป็ นเวลา (วัน) เท่ากับที่ศึกษาได้จากข้อ 3 โดยเก็บ
(Langmuir Isotherm) หรื อไอโซเทอร์ มแบบฟรุ นดิช นํ้า ที่ ไ หลผ่ า นออกจากคอลัม น์ นํา ไปวิ เ คราะห์ แ ละ
(Freundlich Isotherm) โดยนําผลการทดลองที่ศึกษาได้ ปล่อยให้วสั ดุปลูกในคอลัมน์แห้ง 2 วัน
จากการแปรผันกับปริ มาณถ่านกะลามะพร้าว มาเขียน
ไอโซเทอร์ มการดูดซับ ผลการวิจัย
4. ศึ ก ษ า อั ต ร า ส่ ว น ร ะ ห ว่ า ง ถ่ า น การศึกษาประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี ความขุ่น
กะลามะพร้ า วต่ อ ดิ น โดยการทดลองแบบแบตซ์ และซี โ อดี ข องนํ้าเสี ย จากโรงงานผัก กาดดอง โดย
อัตราส่ วนระหว่างถ่านกะลามะพร้าวต่อดินที่ศึกษา คือ กระบวนการสร้างตะกอนร่ วม (Coagulation) ร่ วมกับ
1:10, 1:20, 1:30, 1:40, 1:50, 1:60 และ 1:70 โดย ระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและพื้นที่ชุ่มนํ้าเทียม ได้อธิ บาย
นํ้าหนัก ใช้น้ าํ เสี ยที่ผลการบําบัดด้วยกระบวนการสร้าง ผลการทดลองแบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน ดังนี้ คือ ส่ วนแรก
ตะกอนร่ วมจากข้อ 2. ปริ มาตร 100 มิลลิลิตร ในแต่ละ เป็ นการวิเคราะห์คุณภาพนํ้าเสี ยของโรงงานผักกาดดอง
ครั้งการทดลอง และระยะเวลาการแช่เท่ากับที่ศึกษาได้ ก่ อ นได้รั บ การบํา บัด ส่ ว นที่ ส องเป็ นการปรั บ สภาพ
จากข้อ 3 นํามาหาประสิ ทธิภาพในการบําบัดสี ความขุ่น ความเป็ นกรด สี และความขุ่น ด้วยกระบวนการสร้ าง
และซี โอดี ตะกอนร่ วม (Coagulation) โดยวิธีจาร์ เทสต์ (Jar Test)
5. ก า ร ท ด ล อ ง แ บ บ ก า ร ไ ห ล ต่ อ เ นื่ อ ง ส่ วนที่สามเป็ นการศึกษาประสิ ทธิ ภาพการบําบัดนํ้าเสี ย
(continuous flow) ทําการทดลองโดยใช้คอลัมน์แก้ว โดยการดู ด ซั บ ด้ว ยถ่ า นกะลามะพร้ า ว ส่ ว นที่ สี่ เ ป็ น
ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 6.5 เซนติ เ มตร สู ง 40 การศึ กษาอัตราส่ วนระหว่างถ่านกะลามะพร้ าวต่อดิ น
เซนติเมตร บรรจุช้ นั วัสดุปลูกเลียนแบบพื้นที่เพาะปลูก และส่ วนที่ ห้าเป็ นการทดลองแบบการไหลต่อเนื่ องมี
ของระบบบําบัดหญ้ากรองนํ้าเสี ยและพื้นที่ชุ่มนํ้าเทียม รายละเอียดดังนี้
ของโครงการศึ กษาวิจัยและพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลม

378
PMO17-4
1. การวิเคราะห์ คุณ ภาพนํ้าเสี ยจากโรงงาน 2. การปรับสภาพความเป็ นกรด สี และความ
ผักกาดดอง ขุ่นด้ วยกระบวนการสร้ างตะกอนร่ วม (Coagulation)
เนื่ อ งจากของเสี ย ที่ ม าจากกระบวนการ โดยวิธีจาร์ เทสต์ (Jar test)
ผลิ ต มี ส ารอิ น ทรี ย์ ป นเปื้ อนอยู่ สู ง มี จุ ลิ น ทรี ย์ ใ น 2.1 ชนิดและปริมาณสารสร้ างตะกอน
กระบวนการหมัก สร้ า งสารประกอบจํา พวกกรด ผลการทดลองชนิ ดและปริ มาณสาร
แอลกอฮอล์และอื่นๆขึ้น ส่ งผลให้น้ าํ เสี ยมีค่าซี โอดีและ สร้ า งตะกอนของสารละลายปู น ขาวและสารละลาย
ความเป็ นกรดสู ง ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนํ้าเสี ยของ สารส้ม ที่ เหมาะสมกับ การบําบัด สี แ ละความขุ่น โดย
โรงงานผักกาดดอง พบว่า ค่าพารามิเตอร์ ส่วนใหญ่เกิน ปรับ pH เท่ากับ 7.0 ด้วย 1 N NaOH พบว่า สารละลาย
เกณฑ์ค่ามาตรฐานนํ้าทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมและนิ คม สารส้ ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการสร้ า งตะกอนได้ดี ก ว่า
อุ ต สาหกรรม (ฝ่ ายตรวจและบัง คับ การ กรมควบคุ ม สารละลายปูนขาว อี กทั้งยังส่ งผลในการบําบัดสี และ
มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, ความขุ่ น โดยพบว่ า ปริ มาณสารละลายสารส้ ม
2555) และค่ า สี ที่ ต รวจวัด ได้โ ดยเที ย บกับ กราฟ 18 มิ ล ลิ ลิ ต ร สามารถบํา บัด สี แ ละความขุ่น ได้ดี ที่ สุ ด
มาตรฐานแพลตทิ นัม -โคบอลต์เ ท่ า กับ 258.52 Pt-Co ที่ ร้ อ ยละ 74.31 และ 92.25 ตามลํา ดับ จากรู ป ที่ 1
Unit ซึ่ งถือว่าเกินค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนํ้า สําหรั บสารละลายปูนขาว เมื่ อเพิ่มปริ มาณสารละลาย
บริ โภคที่กาํ หนดให้ไม่เกิน 5-15 Pt-Co Unit (การประปา ปูนขาว ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี และความขุ่นเพิ่มขึ้น
ส่ วนภูมิภาค, 2553) เมื่อพิจารณาด้วยสายตา ยังเป็ นสี ที่น่า ในช่วงของการเติมสารละลายปูนขาวที่ 5-25 มิลลิลิตร
พึงรังเกียจ สําหรับค่าความขุ่นที่ตรวจวัดได้ เท่ากับ 1,148 แ ล ะ เ มื่ อ เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ ส า ร ล ะ ล า ย ปู น ข า ว จ น ถึ ง
NTU ซึ่ งถือว่ามี ค่าความขุ่นสู งมาก เนื่ องจากแหล่งนํ้า 30 มิลลิลิตร ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดเริ่ มลดลง ในส่ วน
โดยทัว่ ไปไม่ควรมีค่าความขุ่นเกิน 100 NTU เพราะจะ ของสารละลายสารส้ ม เมื่ อ เติ ม ปริ มาณสารละลาย
ส่ ง ผลกระทบต่ อ การดํา รงชี วิ ต ของสั ต ว์ แ ละพื ช นํ้ า สารส้มที่ 6-18 มิลลิลิตร ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี และ
เนื่ องจากบดบังแสงสําหรับการสังเคราะห์แสงของพืชนํ้า ความขุ่นเพิ่มขึ้น แต่เมื่อเพิ่มปริ มาณสารละลายสารส้มที่
และการหาอาหารของสัตว์น้ าํ (กรมควบคุมมลพิษ, 2557) 20 มิลลิลิตร ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดเริ่ มลดลงอย่างช้าๆ
ดังตารางที่ 1 จนคงที่ในส่ วนของความขุ่นและลดลงอย่างชัดเจนใน
ตารางที่ 1 คุณภาพนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาดดอง ส่ วนของสี ซ่ ึ งแสดงให้เห็นในรู ป ที่ 2

พารามิเตอร์ คุณภาพนํ้า ค่ามาตรฐานนํ้าทิ้ง


โรงงาน โรงงาน
ผักกาดดอง อุตสาหกรรมและ
นิคมอุตสาหกรรม
pH 4.5 5.5 – 9.0
สี (Pt-Co Unit) 258.52 5 - 15
EC (µS/cm.) 85,500 -
TDS (mg/L) 56,400 ไม่เกิน 3,000
ความเค็ม (mg/L) 22 2,000
ความขุ่น (NTU) 1,148 100 รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณสารละลายปูน
ซีโอดี (mg/L) 5,840 ไม่เกิน 120 ขาว (มิ ล ลิ ลิ ต ร) กับ ร้ อ ยละการบํา บัด สี แ ละ
บีโอดี (mg/L) 2,145 ไม่เกิน 20
ความขุ่น
อุณหภูมิ (C๐) 28.5 ไม่เกิน 40

379
PMO17-5

รูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณสารละลาย รูปที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่าง pH ของสารละลาย


สารส้ม (มิลลิลิตร) กับร้อยละการบําบัดสี และ สารส้มกับร้อยละการบําบัดสี และความขุ่น
ความขุ่น 3. การศึ กษาประสิ ทธิภาพการบําบัดนํ้าเสี ย
2.2 pH โดยการดูดซับด้ วยถ่ านกะลามะพร้ าว
จากผลการทดลองในการหาชนิ ด 3.1 ปริมาณถ่ านกะลามะพร้ าว
และปริ ม าณสารสร้ า งตะกอนที่ เ หมาะสมในข้อ 2.1 จ า ก ก า ร แ ป ร ผั น ป ริ ม า ณ ถ่ า น
พบว่า สารละลายสารส้ม มี ประสิ ท ธิ ภาพในการสร้ าง กะลามะพร้ าวตั้งแต่ 1 กรั มจนถึ ง 21 กรั มต่อปริ มาตร
ตะกอน บํา บั ด สี และความขุ่ น ได้ ดี ก ว่ า สารละลาย นํ้ าเสี ยที่ ผ่ า นการบํา บัด ด้ ว ยสารละลายสารส้ ม 50
ปูนขาว ดังนั้นผูว้ ิจยั จึ งเลือกสารละลายสารส้มเป็ นสาร มิ ลลิลิตร ที่ ระยะเวลาสัมผัส 60 นาที พบว่า ที่ ปริ มาณ
สร้างตะกอนในการบําบัดนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาดดอง ถ่านกะลามะพร้าว 18 กรั ม ให้ประสิ ทธิ ภาพในการ
โดยทําการศึกษาหา pH ที่เหมาะสม ดังนี้ โดยศึกษา pH บําบัดสี ความขุ่นและซี โอดีได้ดีที่สุดร้อยละ 75.00 ,
ตั้งแต่ 6 จนถึง 9 และใช้สารละลายสารส้ม 18 มิลลิลิตร 58.76 และ 60.00 ตามลําดับ ดังรู ปที่ 4 อธิ บายได้วา่ การ
พบว่า สารละลายสารส้มที่ pH เท่ากับ 8.0 สามารถ เพิ่มปริ มาณถ่านกะลามะพร้าว เป็ นการเพิ่มพื้นที่ผิวใน
บําบัดสี และความขุ่นได้ดีที่สุด คือ ร้อยละ 77.06 และ การดู ด ซั บ มลสารต่ า งๆ แต่ ป ริ มาณมลสารที่ ถ่ า น
92.77 ตามลําดับ ส่ วนสารละลายสารส้มที่ pH เท่ากับ กะลามะพร้ าวดูดซับได้ในแต่ละการทดลองมี ปริ มาณ
9.0 มี ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี และความขุ่นได้ดีที่สุด คงที่ ดังนั้นเมื่อเพิ่มปริ มาณตัวดูดซับขึ้นเรื่ อยๆ จึงไม่ทาํ
คือ ร้อยละ 77.58 และ 92.47 ตามลําดับ ซึ่ งไม่มีความ ให้ประสิ ทธิ ภาพการดูดซับเพิ่มขึ้นและอาจเกิดการคาย
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ เมื่อเลือกปรับ pH 8.0 จะ ซับร่ วมด้วย ทําให้ร้อยละการดูดซับมีแนวโน้มลดลง
ประหยัดสารเคมี กว่า ที่ pH 9.0 และเป็ นสภาวะที่
เหมาะสมต่อการดํารงชีวติ ของสิ่ งมีชีวิต เมื่อปล่อยนํ้าทิ้ง
ที่ ผ่านกระบวนการบําบัดลงสู่ แหล่งนํ้าตามธรรมชาติ
ดังนั้น จึงเลือก pH ที่เหมาะสมที่สุดคือ pH 8.0 ดังรู ป
ที่ 3

380
PMO17-6

รู ปที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณถ่านกะลา (ก)


มะพร้าว (กรัม) กับร้อยละการบําบัดสี ความขุ่น
และซี โอดีที่ระยะเวลาสัมผัส 60 นาที

3.2 ระยะเวลาการสั มผัส


ผลการทดลองระยะเวลาการสัมผัส
ทั้ง ที่ เ ป็ นชั่ว โมงและวัน ที่ เ หมาะสมกับ การบํา บัด สี
ความขุ่ น และซี โ อดี จากการทดลองพบว่ า เมื่ อ เพิ่ ม
ระยะเวลา ตั้งแต่ 1 ชม. จนถึง 6 ชม. และ 1 วัน จนถึง
7 วัน พบว่า ที่ระยะเวลาสัมผัส 4 ชม. ให้ร้อยละการ
บํา บัด ดี ที่ สุ ด แต่ ใ ห้ป ระสิ ท ธิ ภ าพการบํา บัด ตํ่า กว่า ที่ (ข)
ระยะเวลาสัมผัส 5 วัน โดยพบว่า ที่ระยะเวลา 5 วัน รูปที่ 5 ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งระยะเวลาการสั ม ผัส
สามารถบําบัดสี ความขุ่น และซี โอดีได้ดีที่สุด ที่ร้อยละ กับ ร้ อ ยละการบํา บัด สี ความขุ่น และซี โ อดี
85.00 , 84.34 และ 80.00 ตามลําดับ ดังรู ปที่ 5 อธิ บาย (ก.ชัว่ โมง , ข.วัน)
ได้ว่า เมื่ อ เพิ่ม ระยะเวลาทําให้ม ลสารมี โ อกาสสัม ผัส
หรื อถูกดูดซับด้วยถ่านกะลามะพร้ าวมากขึ้ น แต่พ้ืนที่ 3.3 ไอโซเทอร์ มการดูดซับ
ของตัว ดู ด ซั บ มี ป ริ ม าณจํา กัด เมื่ อ ถึ ง ระยะเวลาหนึ่ ง จากไอโซเทอร์ มแลงเมี ยร์ และ
บริ เวณพื้นผิวตัวดูดซับถูกครอบครองด้วยตัวถูกดูดซับ ฟรุ นดิชของการดูดซับของถ่านกะลามะพร้าว ซึ่ งได้จาก
หรื อมลสารจนเข้าสู่ ภาวะสมดุล ทําให้อตั ราการดูดซับ ผลการทดลองข้อ 3.1 (กําหนด q หมายถึง ปริ ม าณตัว
คงที่และอาจมีแนวโน้มลดลง เนื่ องจากเกิดการคายซับ ถูก ดู ด ซับ บนพื้ น ผิว ตัว ดู ด ซับ ต่ อ ปริ ม าณของตัว ดู ด
(desorption) (นิพนธ์ และคณิ ตา, 2550) ซับ (โมลต่อกรัม) ส่ วน C หมายถึง ความเข้มข้นของตัว
ถูกดูดซับที่เหลืออยูใ่ นสารละลาย (โมลต่อลิตร)) พบว่า
มี ค่ าสั มประสิ ทธิ์ สหสั มพันธ์ (R2) เท่ ากับ 0.9655 และ
0.9744 ตามลําดับ ดังรู ปที่ 6 (ก) และ (ข) ตามลําดับ ซึ่ งถือ
ได้วา่ ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์มีความแตกต่างกันอย่าง
ไม่มีนยั สําคัญ ดังนั้นกลไกการดูดซับจึงสอดคล้องกับทั้ง
ไอโซเทอร์ มของแลงเมียร์ และฟรุ นดิช นัน่ คือ กลไกการ

381
PMO17-7
ดูดซับของแลงเมียร์ เป็ นการดูดซับของตัวถูกดูดซับบน 4. อัตราส่ วนระหว่ างถ่ านกะลามะพร้ าวต่ อดิน
พื้ น ผิ ว ของตั ว ดู ด ซั บ เป็ นแบบชั้ นเดี ย ว (monolayer จากผลการทดลองแบบแบตซ์ โดยแปรผัน
adsorption) โมเลกุลที่ถูกดูดซับมีจาํ นวนที่แน่นอนและมี อัต ราส่ ว นของถ่ า นกะลามะพร้ า วต่ อ ดิ น ที่ อ ัต ราส่ ว น
ตําแหน่งของการดูดซับที่แน่นอน (Johnson, 1989) ส่ วน 1:10, 1:20, 1:30, 1:40, 1:50, 1:60 และ 1:70 โดย
กลไกการดูดซับของฟรุ นดิช เป็ นการดูดซับแบบหลายชั้น นํ้ าหนั ก ต่ อ ปริ มาตรนํ้ าเสี ยที่ ผ่ า นการบํา บั ด ด้ ว ย
(multilayer adsorption) โดยโมเลกุลของตัวถูกดูดซับจะถูก สารละลายสารส้ม 100 มิลลิลิตร พบว่า ที่อตั ราส่ วน
ดูดซับบนชั้นโมเลกุลที่ถูกดูดซับก่อนหน้านี้ และจํานวน 1:40 โดยนํ้าหนัก มีประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี ความขุ่น
ชั้นของโมเลกุลตัวถูกดูดซับจะเพิ่มขึ้ นเมื่ อความเข้มข้น และซี โอดีได้ดีที่สุด ที่ร้อยละ 75.00 , 72.05 และ 75.00
ของตัวถูกดูดซับเพิ่มขึ้น (Buckley, 1992) ตามลําดับ ดังรู ปที่ 7 อธิ บายได้วา่ การเพิ่มปริ มาณดินทํา
ให้พ้ืนที่ผิวของตัวดูดซับเพิ่มขึ้น ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพ
ในการบํา บัด สี ความขุ่ น และซี โ อดี ดี ข้ ึ น แต่ เ มื่ อ เพิ่ ม
ปริ มาณดินขึ้นเรื่ อยๆ ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดจะลดลง
เนื่ องจากบริ เวณพื้นผิวตัวดูดซับถูกครอบครองด้วยตัว
ถูกดูดซับหรื อมลสารจนเข้าสู่ ภาวะสมดุล ทําให้อตั รา
การดูดซับมีแนวโน้มลดลง

(ก)

รูปที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณถ่านกะลา


มะพร้ าวผสมดิ นในอัตราส่ วนต่างๆ กับร้ อ ย
ละการบําบัด สี ความขุ่นและซี โอดี

5. ก า ร ท ด ล อ ง แ บ บ ก า ร ไ ห ล ต่ อ เ นื่ อ ง
(ข)
(continuous flow)
รูปที่ 6 ไอโซเทอร์ ม การดู ด ซั บ แบบ (ก) แลงเมี ย ร์
การทดลองแบบการไหลต่อเนื่ องเป็ นการ
(Langmuir Isotherm) และ (ข) ฟรุ น ดิ ช
จําลองหรื อเป็ นการเลียนแบบลักษณะพื้นที่เพาะปลูกที่
(Freundich Isotherm) ของถ่านกะลา มะพร้าว
ทําหน้าที่เป็ นชั้นกรองและเป็ นวิธีการบําบัดนํ้าเสี ยของ
ในนํ้าเสี ยโรงงานผักกาดดอง
ระบบหญ้า กรองนํ้ าเสี ยและพื้ น ที่ ชุ่ ม นํ้ าเที ย มของ

382
PMO17-8
โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย บํา บั ด สี ความขุ่ น และซี โอดี ล ดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อง
(มูลนิธิชยั พัฒนา, 2543) จนกระทัง่ ถึงการบําบัดครั้งที่ 5 นํ้าเสี ยเริ่ มมีค่าเกินเกณฑ์
5.1 การจําลองระบบบําบัดแบบพืน้ ที่ชุ่ ม มาตรฐานนํ้ าทิ้ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมและนิ คม
นํา้ เทียม อุ ต สาหกรรม แต่ ย งั มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการบําบัดสู งกว่า
ผลการทดลองการจํา ลองระบบ ระบบพื้นที่ชุ่มนํ้าเทียม เนื่ องจากมีระยะเวลาการสัมผัส
บํา บั ด แบบพื้ น ที่ ชุ่ ม นํ้าเที ย มโดยแช่ ข ัง นํ้ าเสี ยนาน ถึง 5 วัน ในขณะที่ ระบบพื้นที่ ชุ่มนํ้าเที ยมมี ระยะเวลา
4 ชัว่ โมงหรื อการบําบัดครั้งที่ 1 (ตามผลการทดลองข้อ การสัมผัสเพียง 4 ชัว่ โมง ดังนั้นจึ งทําให้สารอินทรี ยท์ ี่
3.2) พบว่า มี ป ระสิ ท ธิ ภาพการบําบัดสี ความขุ่นและ อยู่ในนํ้าเสี ยมี โ อกาสที่ จ ะถูกกรองด้วยตัวดูดซับ ถ่า น
ซี โอดีได้ดีที่สุด คือ ร้อยละ 80.32, 72.89 และ 62.50 กะลามะพร้ า วและดิ น ได้น าน นอกจากนี้ ยัง ทํา ให้
ตามลําดับ และหลังจากนั้นทําการบําบัดนํ้าเสี ยเช่นเดิม จุลินทรี ยส์ ามารถย่อยสารอินทรี ยใ์ ห้เป็ นสารอนิ นทรี ย ์
พบว่า ประสิ ท ธิ ภาพการบําบัดสี ความขุ่นและซี โ อดี ได้ ซึ่ งการบําบัดครั้งแรก มีประสิ ทธิ ภาพในการบําบัดสี
ลดลงอย่างต่อเนื่ อง ดังรู ปที่ 8 อธิ บายได้ว่า ระบบการ ความขุ่นและซี โอดีได้ดีที่สุด คือ ร้อยละ 86.00 , 73.37
บําบัดครั้งที่ 1 พื้นที่ผิวสัมผัสในการดูดซับมลสารต่างๆ และ 95.00 ตามลําดับ ดังรู ปที่ 9
ยังมีมาก เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่ ง (ระบบการบําบัดครั้ งที่
3) นํ้า เสี ย เริ่ ม มี ค่ า เกิ น เกณฑ์ม าตรฐานนํ้า ทิ้ ง โรงงาน
อุ ต สาหกรรมและนิ ค มอุ ต สาหกรรม เนื่ อ งจากถ่ า น
กะลามะพร้ าวและดิ นถูกครอบครองด้วยตัวถูกดูดซับ
หรื อมลสารต่างๆ จนเข้าสู่ ภาวะสมดุล ทําให้อตั ราการ
ดูดซับมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง

รูปที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนครั้งของการบําบัด
นํ้าเสี ยแบบจําลองหญ้ากรองนํ้าเสี ยกับร้ อยละ
การบําบัดสี ความขุ่นและซี โอดี

อภิปรายและสรุ ปผลการวิจัย
รูปที่ 8 ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งจํา นวนครั้ งของการ จากการศึกษาการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบําบัด
บําบัดนํ้าเสี ยแบบจําลองพื้นที่ ชุ่มนํ้าเที ยมกับ สี ความขุ่นและซี โอดีของนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาดดอง
ร้อยละ การบําบัดสี ความขุ่นและซี โอดี ด้ว ยกระบวนการสร้ า งตะกอนร่ ว ม โดยวิธี จ าร์ เ ทสต์
(Jar Test) ร่ วมกับระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยและพื้นที่ชุ่ม
5.2 การจํ า ลองระบบบํ า บั ด แบบหญ้ า นํ้าเทียม โดยใช้ถ่านกะลามะพร้าวเป็ นตัวดูดซับ ผลการ
กรองนํา้ เสี ย ทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการสร้าง
ผลการทดลองการจํา ลองระบบ ตะกอนร่ วม ในการบําบัดสี แ ละความขุ่นจากโรงงาน
บําบัดแบบหญ้ากรองนํ้าเสี ย พบว่า ประสิ ทธิ ภาพการ ผักกาดดองได้ดีที่สุด คือ ที่ pH 8.0 โดยใช้สารละลาย

383
PMO17-9
สารส้ม 18 มิลลิลิตร ที่ความเข้มข้น 10 มิลลิกรัมต่อ เอกสารอ้างอิง
มิลลิลิตร ซึ่ งให้ประสิ ทธิ ภาพในการบําบัดสี และความ กรมควบคุมมลพิษ. 2557. คุณภาพนํ้าและมลพิษทาง
ขุ่นสู งสุ ด คือ ร้อยละ 77.06 และ 92.77 ตามลําดับ ส่ วน นํ้า. ค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2557,
ผลการทดลองแบบแบตซ์ พบว่ า สามารถบํา บั ด จาก http://www.pcd.go.th/ contact/
สี (85.00) ความขุ่น (84.34) และซี โอดี (80.00) โดยใช้ en_FAQs_water.html.
ถ่านกะลามะพร้าว 18 กรัมต่อนํ้าเสี ยจากโรงงานผักกาด การประปาส่ วนภูมิภาค. 2553. มาตรฐานผลิตภัณฑ์
ดองที่ผา่ นการบําบัดด้วยสารละลายสารส้ม 50 มิลลิลิตร อุตสาหกรรมนํ้าบริ โภค. ค้นเมื่อ 22
และระยะเวลาสัมผัส 5 วัน กลไกการดูดซับสอดคล้อง พฤษภาคม 2557, จาก http://www.pwa. co.th/
กับทั้งไอโซเทอร์ มของการดูดซับแบบแลงเมี ยร์ ซึ่ งมี document/spec.html.
ลักษณะการดูดซับแบบชั้นเดี ยว และไอโซเทอร์ มการ นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์ และคณิ ตา ตังคณานุรักษ์. 2550.
ดูดซับแบบฟรุ นดิช ซึ่ งมี ลกั ษณะการดูดซับแบบหลาย หลักการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้าทางเคมี.
ชั้ น นอกจากนั้ นอั ต ราส่ วนโดยนํ้ าหนั ก ของถ่ า น กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์
กะลามะพร้าวต่อดินที่ 1:40 สามารถบําบัดสี ความขุ่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
และซี โอดีได้ดีที่สุด ที่ร้อยละ 75.00 , 72.05 และ 75.00 ฝ่ ายตรวจและบังคับการ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ตามลําดับ และจากผลการทดลองแบบการไหลต่อเนื่ อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม. 2555.
ซึ่ งเป็ นการจําลองการบําบัดนํ้าเสี ยแบบระบบพื้นที่ชุ่ม พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพ
นํ้าเที ยมและระบบหญ้ากรองนํ้าเสี ยของโครงการวิจยั สิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กฎ ประกาศ
และพัฒ นาสิ่ ง แวดล้อ มแหลมผัก เบี้ ย อัน เนื่ อ งมาจาก และระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการควบคุม
พระราชดํ า ริ พบว่ า ระบบหญ้ า กรองนํ้ าเสี ย มี มลพิษ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์
ประสิ ทธิ ภาพการบําบัดสี ความขุ่น และซี โอดีได้ดีที่สุด องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ที่ร้อยละ 86.00 , 73.37 และ 95.00 ตามลําดับ ซึ่ งมี มูลนิธิชยั พัฒนา. 2543. คู่มือเทคโนโลยีการบําบัดนํ้า
ประสิ ท ธิ ภ าพในการบํา บัด สู ง กว่า ระบบพื้ น ที่ ชุ่ ม นํ้า เสี ยตามแนวพระราชดําริ . วิทยาลัย
เที ย มและให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการบํา บัด ตํ่า กว่ า เกณฑ์ สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
มาตรฐานนํ้ าทิ้ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมและนิ คม กรุ งเทพฯ.
อุตสาหกรรม วิชยั หฤทัยชนาสันต์. 2521. หลักการถนอมอาหารและ
แปรรู ปผักและผลไม้เบื้องต้น. ภาควิชา
กิตติกรรมประกาศ วิทยาศาสตร์การอาหาร คณะเกษตรศาสตร์
ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ ค ณ ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่อนุเคราะห์สารเคมี อุปกรณ์ Buckley, CA. 1992. Membrane Technology for the
ตลอดจนสถานที่ในการทําการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้ Treatment of Dyehouse Effuents. Wat
Sci.Tech. 25: 203-209.
Johnson, AT. 1989. The theory of Coloration of
Textiles. Society of Dyes and Colorist. 90:
912-920.

384

You might also like