Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5

หน่วยการเรียนรู้ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่องฟังก์ชัน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


รหัสวิชา ค31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวณัฎฐพัชร พรมราช โรงเรียนวัดห้วยจรเข้วิทยาคม

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
-
2.ผลการเรียนรู้
1. ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณ์ที่กาหนด
2. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน หาฟังก์ชันประกอบและฟังก์ชัน
ผกผัน
3. ใช้สมบัติของฟังก์ชันในการแก้ปัญหา
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ที่ไม่มีสองคู่อันดับใดๆที่มีสมาชิกสองตัวหน้าเหมือนกัน
4. สาระการเรียนรู้/เนื้อหาย่อย
4.1 ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถบอกได้ว่าความสัมพันธ์ใดบ้างเป็นฟังก์ชัน
2. นักเรียนสามารถหาค่าของฟังก์ชันได้
4.2 ด้านทักษะและกระบวนการ
นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เรื่องความสัมพันธ์กับฟังก์ชันได้
4.3 ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. สมรรถนะสาคัญ
5.1 นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
5.2 นักเรียนมีความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 นักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้
7. การประเมินผลรวบยอด
ภาระงาน/ชิ้นงานที่แสดงผลการเรียนรู้
ใบงานที่ 4
8. การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้(Knowledge)
1) นักเรียนสามารถบอกได้ว่า 1) พิจารณาจากการ 1) ใบงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ
ความสัมพันธ์ใดบ้างเป็น ทาใบงาน 2) แบบสังเกต 70 ถือว่าผ่านการประเมิน
ฟังก์ชัน 2) พิจารณาจากการ พฤติกรรม
2)นักเรียนสามารถหาค่าของ ตอบคาถามใน
ฟังก์ชันได้ ห้องเรียน

2. ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (Process)
1) นักเรียนสามารถเชื่อมโยง 1) พิจารณาจาก 1) ใบงาน นักเรียนที่สามารถแสดง
ความรู้เรื่องความสัมพันธ์กับ ร่องรอย ขั้นตอนใน 2) แบบสังเกต ทักษะทางคณิตศาสตร์ที่
ฟังก์ชันได้ การคิดคานวณ และ พฤติกรรม กาหนด ถือว่าผ่านการ
การแก้ปัญหาทาง ประเมิน
คณิตศาสตร์ในใบ
งาน
3. ด้านคุณลักษณะ (Attribute)
1) นั ก เรี ย นมี ค วามสนใจใฝ่ 1) สังเกตพฤติกรรม 1) แบบสังเกต นักเรียนมีพฤติกรรมในการ
เรียนรู้ ในการเรียน พฤติกรรม เรียนตามที่กาหนดถือว่า
ผ่านการประเมิน

9. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่บทเรียน
1. ครูให้นักเรียนพิจารณาความสัมพันธ์
r  {(1, a), (1, b), (2, a), (3, c)} และ s  {(1,1), (3,2), (1,3), (4,1), (0,1)} แล้วหาข้อ
แตกต่าง
2. ครูสุ่มเรียกนักเรียนให้ตอบข้อแตกต่างของความสัมพันธ์ด้านบน
3. ครูอธิยายว่า r ไม่มีโดเมนซ้ากัน แต่ s มีโดเมนซ้ากัน แสดงว่า r เป็นฟังก์ชัน
กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน
1. ครูอธิบายความหมาย และนิยามของฟังก์ชันพร้อมยกตัวอย่าง
ความหมายของฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์ที่มีสมบัติว่า สมาชิกแต่ละตัวในโดเมนมีความสัมพันธ์กับสมาชิกในเรนจ์ได้อย่าง
มากเพียงตัวเดียว เป็นความสัมพันธ์ทีมีความสาคัญ และใช้มากในคณิตศาสตร์ จะเรียกความสัมพันธ์ที่มี
สมบัติดังกล่าวว่า ฟังก์ชัน ซึ่งมีนิยามดังนี้
นิยาม ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ซึ่งสาหรับคู่อันดับสองคู่ใดๆของความสัมพันธ์นั้น ถ้ามีสมาชิก
ตัวหน้าเหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน
จากบทนิยามกล่าวได้ว่า ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งสาหรับ x, y และ z ใดๆ ถ้า
( x, y)  f และ ( x, z )  f แล้ว y  z
ดังนั้น ถ้ามี x, y และ z โดยที่ ( x, y)  f และ ( x, z)  f แต่ y z จะได้ว่า f ไม่เป็น
ฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r  {(1, a), (1, b), (2, a), (3, c)}
2) f  {( x, y) y  x 2  1}
3) g  {( x, y) y 2  x}

จงหาว่า ความสัมพันธ์ใดบ้างเป็นฟังก์ชัน
วิธีทา 1) แผนภาพแสดงการจับคู่กันระหว่างสมาชิกของโดเมนกับสมาชิกของเรนจ์ของ r เป็นดังนี้

1 a

2 b

3 c

พิจารณาจากแผนภาพ r ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะมีคู่อันดับที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน แต่


สมาชิกตัวหลังต่างกันคือ (1, a) และ (1, b)
2) ให้ x, y และ z เป็นจานวนจริงใดๆ ซึ่ง ( x, y)  f และ ( x, z)  f
จะได้ว่า y  x 2  1 และ z  x 2  1
จะสรุปได้ว่า y  z
ดังนั้น f เป็นฟังก์ชัน
3) เนื่องจาก (1,1)  g และ (1,1)  g แต่ 1  1
ดังนั้น g ไม่เป็นฟังก์ชัน
2. ครูอธิบายการพิจารณาการเป็นฟังก์ชันจากกราฟ
การพิจารณาว่าความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริงเป็นฟังก์ชันหรือไม่ อาจพิจารณาได้จาก
กราฟของความสัมพันธ์โดยลากเส้นขนานกับแกน Y ถ้าไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของ
ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้มากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นจะเป็นฟังก์ชัน แต่ถ้ามีเส้นขนานกับแกน Y
แม้เพียงเส้นเดียวตัดกราฟมากกว่าหนึ่งจุดแล้ว ความสัมพันธ์นั้นจะไม่เป็นฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 2 เมื่อ r  {( x, y) y 2  x} จงพิจารณาว่า r เป็นฟังก์ชันหรือไม่
วิธีทา เขียนกราฟของ r ได้ดังนี้

จากกราฟจะเห็นว่า แต่ละค่าของ x ที่ x  0 เส้นที่ลากขนานกับแกน Y ผ่านค่า x เหล่านี้


จะตัดกราฟสองจุด คือ ( x, x ) และ ( x, x ) ดังนั้น r ไม่เป็นฟังก์ชัน
3. ครูอธิบายข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์ต่างๆ โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์
ในกรณีที่ความสัมพันธ์ f เป็นฟังก์ชัน จะเขียน y  f (x) แทน ( x, y)  f และเรียก
f (x) ว่าเป็น ค่าของฟังก์ชัน f ที่ x อ่านว่า เอฟที่เอกซ์ หรือ เอฟเอ็กซ์
ในกรณีที่ความสัมพันธ์เป็นฟังก์ชันเรียกโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์นั้นว่า โดเมนและเรนจ์
ของฟังก์ชันตามลาดับ
โดยทั่วไป เมื่อกล่าวว่า f เป็นฟังก์ชัน จะหมายถึงฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของ
จานวนจริง(R)
พิจารณาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันที่ได้จากการจับคู่ระหว่างสมาชิกของเซต A และเซต B ใน
ตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 3 ให้ A  {1,2,3}


B  {a, b, c, d}
และกาหนดฟังก์ชัน f ดังแผนภาพ
1 a

2 b

3 c

จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f
วิธีทา จะได้ว่า D f  {1,2,3}  A
และ R f  {a, b} ซึง่ R f B
จากตัวอย่างที่ 3 จะเห็นว่า โดเมนของฟังก์ชัน f คือเซต A และเรนจ์ของฟังก์ชัน f เป็นสับเซตของ
เซต B เรียกฟังก์ชันที่มีสมบัติเช่นนี้ว่า ฟังก์ชันจาก A ไป B (function from A into B)
บทนิยาม f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และมีเรนจ์
เป็นสับเซตของ B
f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A  B

ตัวอย่างที่ 4 ให้ A  {1,2,3,4,5}


B  {a, b, c, d}
และกาหนดฟังก์ชัน g ดังแผนภาพ

1
a
2
b
3
c
4
d
5
จงหาโดเมนและเรนจ์ของ g
วิธีทา จะได้ว่า Dg  {1,2,3,4,5}  A
และ Rg  {a, b, c, d}  B
4. ครูมอบหมายใบงานที่ 4 ให้นักเรียน
กิจกรรมรวบยอด
ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน สรุปการพิจารณาการเป็นฟังก์ชันของความสัมพันธ์
รวมถึงเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

10. สื่อการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
สานักพิมพ์ สกสค หน้า 16 ถึงหน้า 20
2. ใบงานที่ 4

11. เอกสารประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ (เขียนแบบบรรณานุกรม)


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หนังสือเรียนรายวิชา
เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ …….. เรื่อง ……………….………………………………………………………………….


ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขครั้งต่อไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รับทราบผลการดาเนินงาน

ลงชื่อ........................................................... ลงชื่อ...........................................................
(นางสาวณัฎฐพัชร พรมราช) (นางสาวชลธิชา วัฒนาการ)
ครูผู้สอน ครูพี่เลี้ยง
…..…../………..………./…………. …..…../………..………./………….
ชื่อ.....................................................ชั้น...........เลขที่......
ใบงานที่ 4

1. จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1) {(1,a),(2,b),(3,b),(5,c)}
2) {(1,a),(2,b),(3,c),(4,d),(4,e)}
3) {(1,a),(2,a),(3,a),(4,a)}
4) {( x, y)  A  A y  x}; A  {1,2,3}
5) {( x, y)  B  B y  x  2}; B  {2,1,0,1,2}
6) {( x, y) x  3}
7) {( x, y) y  2}
8) {( x, y) y  x}
9) {( x, y)  A  B y  x}, A  {0,1}, B  {1,1}
10) {( x, y) y  1 เมื่อ x  0 และ y  1 เมื่อ x  0}

2. จากแผนภาพหรือกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ในข้อใดบ้างที่เป็น


ฟังก์ชันและข้อใดบ้างไม่เป็นฟังก์ชัน
1)

2
1
4
2
6
3
8

2)
3)

4)

5)

3. กาหนดให้ f(x) = x2+5 จงหา f(0), f(-2), f(2), f(10), f(15)


f(0) = =
f(-2) = =
f(2) = =
f(10) = =
f(15) = =
ชื่อ......เฉลย........................................ชั้น...........เลขที่......
ใบงานที่ 4

1. จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1) {(1,a),(2,b),(3,b),(5,c)} เป็นฟังก์ชัน
2) {(1,a),(2,b),(3,c),(4,d),(4,e)} ไม่เป็นฟังก์ชัน
3) {(1,a),(2,a),(3,a),(4,a)} เป็นฟังก์ชัน
4) {( x, y)  A  A y  x}; A  {1,2,3} ไม่เป็นฟังก์ชัน
5) {( x, y)  B  B y  x  2}; B  {2,1,0,1,2} เป็นฟังก์ชัน
6) {( x, y) x  3} ไม่เป็นฟังก์ชัน
7) {( x, y) y  2} เป็นฟังก์ชัน
8) {( x, y) y  x} เป็นฟังก์ชัน
9) {( x, y)  A  B y  x}, A  {0,1}, B  {1,1} เป็นฟังก์ชัน
10) {( x, y) y  1 เมื่อ x  0 และ y  1 เมื่อ x  0} ไม่เป็นฟังก์ชัน

2. จากแผนภาพหรือกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ในข้อใดบ้างที่เป็น


ฟังก์ชันและข้อใดบ้างไม่เป็นฟังก์ชัน
1) เป็นฟังก์ชัน

2
1
4
2
6
3
8

2) ไม่เป็นฟังก์ชัน
3) เป็นฟังก์ชัน

4) เป็นฟังก์ชัน

5) ไม่เป็นฟังก์ชัน

3. กาหนดให้ f(x) = x2+5 จงหา f(0), f(-2), f(2), f(10), f(15)


f(0) = 02+5 = 5
f(-2) = (-2)2+5 = 9
f(2) = 22+5 = 9
2
f(10) = (10) +5 = 105
2
f(15) = (15) +5 = 240

You might also like