Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 96

วิจัยในชั้นเรียน

การแกปญหาการเขียนคําภาษาไทยไมถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนบานหนองไผ
โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด

ผูวิจัย
นางสาวปรียพัศ มุงการนา

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

โรงเรียนบานหนองไผ
อําเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต ๑
กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศคุณูปการ

การศึ กษาวิ จัย ในครั้ ง นี้ สํา เร็ จได ดว ยความอนุเ คราะหจ ากทา น ผอ.คมศัก ดิ์ ชื่น ชม ผู อํา นวยการ
โรงเรียนบานหนองไผ ที่ไดใหความชวยเหลือ ใหความรู ความคิด ใหคําแนะนํา คําปรึกษา ตลอดจนการตรวจ
แกไขขอบกพรองตางๆเปนอยางดี จนการศึกษาวิจัยครั้งนี้เสร็จสมบูรณ ผูวิจัยขอขอบคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้

ปรียพัศ มุงการนา
ชื่องานวิจัย การแกปญหาการเขียนคําภาษาไทยไมถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
โรงเรียนบานหนองไผ โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด
ชื่อผูวิจัย นางสาวปรียพัศ มุงการนา
กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย
ชื่อที่ปรึกษา ผอ.คมศักดิ์ ชื่นชม

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหานักเรียนเขียนคําผิดในวิชาภาษาไทย และเพื่อ


เปนการพัฒนาความสามารถในการเรียนวิชาภาษาไทย โดยไดใชแบบฝกทักษะการเขียนคําในมาตราตัวสะกด
จากการเขียนคําในมาตราแมสะกดตางๆ โดยทําการวิจัยในนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๔ จํานวน ๒ คน
จากผลการศึกษาพบวา การใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด นักเรียนมีการพัฒนา
ของทักษะทางดานการเขียนมากขึ้น ซึ่งผลสัมฤทธิ์จากการวิจัยนี้มีสวนชวยในการพัฒนาใหนักเรียนมีความรู
ความเขาใจ ในดานการเขียนคําในภาษาไทยไดอยางถูกตองยิ่งขึ้น

ปรียพัศ มุงการนา
คํานํา

ในปจจุบัน นี้การศึกษาของไทยไดมีความกาวหนาอยางมากมายซึ่ง ครูควรจะมีการพัฒ นางานของ


ตนเอง เพื่อพัฒนาดานการเรียนการสอนใหมีคุณภาพดียิ่งขึ้น
จากหนาที่จัดการเรียนการสอนที่ครูมีการเรียนการสอนในกลุมวิชาภาษาไทยนับวาเปนสิ่งที่ดีที่เด็ก
นักเรียนควรมีความรูความเขาใจในการเรียนการสอนและเมื่อครูไดพบปญหาตางๆครูก็ควรจะมีการแกไขใน
ปญหานั้นๆดวยเหตุนี้ครูจึงตองมีการวิจัยในชั้นเรียนซึ่งเปนงานที่เกิดจากความตองการที่ครูตองการจะพัฒนา
งานสอนใหดีขึ้น เพื่อสนองความตองการของนักเรียนใหมากที่สุดและผูที่ไดรับประโยชนสูงสุดจากงานวิจัยคือ
นักเรียน นักเรียนจะมีความสุขในการเรียน ตลอดจนครูก็จะมีกิจกรรมมากมาย ที่มีการพัฒนาในงานของตนเอง
โรงเรียนก็จะไดชื่อวาผลิตนักเรียนมีคุณภาพออกสูสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ

ปรียพัศ มุงการนา
สารบัญ

หนา

คํานํา
สารบัญ
๑. บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑
วัตถุประสงคของการวิจัย ๓
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๓
ขอบเขตของการวิจัย ๓
๒. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๔
๓. วิธีดําเนินการวิจัย
ประชากรกลุมตัวอยาง ๒๓
ตัวแปรที่ศึกษาและเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๒๓
การเก็บรวบรวมขอมูล ๒๓
การวิเคราะหขอมูล ๒๔
๔. ผลการวิจัย ๒๕
๕. สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย ๒๖
อภิปรายผล ๒๖
ขอเสนอแนะ ๒๖
บรรณานุกรม ๒๗
ภาคผนวก
บทที่ ๑
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
วิชาภาษาไทยเปนวิชาที่สําคัญและเปนพื้นฐานของการเรียนในทุกวิชาเด็กนักเรียนควรจะมีทักษะในการ
อานและการเขียนไดถูกตอง ทักษะการอาน และการเขียนเปนทักษะทางภาษาที่สําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการ
ดํารงชีวิตของคน เพราะในการดํารงชีวิตประจําวันของคนเรา การอาน และการเขียนเปนการสื่อความหมายถึงกัน
ไดอยางถูกตอง จึงจําเปนตองพัฒนาทักษะการอาน และการเขียนสะกดคํา กลาวคือ ตองอาน เขียนไดถูกตอง
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดวยความสําคัญดังกลาว หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ซึ่งเปน หลักสูตรแกนกลางของประเทศ มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาคนไทย ใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา
และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ การจัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการ
เรียนรู ภาษาไทย เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายดังกลาวจะตองใหนักเรียนไดฝกทักษะตาง ๆ อยางสมดุลกันเปนไปตาม
ธรรมชาติ และความสามารถของนั กเรีย น ทั้ ง การดู ฟ ง การพูด การอ าน และการเขีย น สัมพั นธ กัน โดยใช
กระบวนการคิดเปนตัวเชื่อมโยง ไมเนนการอานออก เขียนไดเพียงอยางเดียว แตจะเนนการสอนภาษาเพื่อการ
สื่อสารกับผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพ ใชภาษาในการแกปญหาในการดํารงชีวิต และการแกปญหาสังคมเนนการสอน
ภาษาในฐานะของเครื่องมือการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนไดแสวงหาความรูดวยตนเอง สามารถนําความรูไปใชในการ
พัฒนาตนเอง ดังนั้น เด็กไทยทุกคนควรเรียนรูและใชภาษาไทยไดอยางถูกตองทุกโอกาส ซึ่งการเรียนการสอน
ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การอาน และการฟง เปน
ทักษะของการรับรูเรื่องราว ความรูประสบการณ สวนการพูด และการเขียนเปนทักษะของการแสดงออกดวย การ
แสดงความคิดเห็น ความรูและประสบการณ การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนเพื่อการสื่อสาร ใหสามารถ รับรู
ขอมูลขาวสารไดอยางพินิจ พิเคราะห สามารถนําความรู ความคิดมาเลือกใชเรียบเรียงคํามาใชตามหลักภาษาได
ถูกตองตรงตามความหมาย กาลเทศะ และใชภาษาไดอยางมีประสิทธิภาพ วิมลรัตน สุนทรโรจน (2549 : 80)
โดยเฉพาะอยางยิ่งการอาน เขียนสะกดคําในมาตราตัวสะกดตาง ๆ นับวาเปนปญหาอีกอยาง หากนักเรียนอาน
เขียนตัวสะกดไมถูกตอง จะทําใหสื่อความหมายผิดพลาดไมตรงตามความตองการ การสอนทักษะการอาน เขียน
จะตองเนนทักษะการเขียนสะกดคําใหถูกตอง เพราะการสะกดคําใหถูกตอง จะทําใหอานหนังสือออก และเขียน
หนังสือได ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญ ในการเรียนวิชาตาง ๆ การเขียนสะกดคํา จึง มีความจําเปน และเปนพื้นฐานที่
สําคัญในทักษะการเขียน ดังที่ วรรณา แซตั้ง (2541: 2-3) กลาววา สําหรับนักเรียนในระดับ ประถมศึกษา การ
เขีย นคํา ที่มีตั วสะกดเปน ปจจั ยพื้น ฐานสําคั ญ ในการเรี ยนรู เพราะการเรีย นวิช าตา ง ๆ ทุ กระดับ ต องอาศั ย
ความสามารถทางการอาน และการเขียนคําที่มีตัวสะกดแทบทั้งสิ้น มีทักษะทางการอาน และการเขียน สะกดคําที่
ดี แลวจะมีผลทําใหทักษะทางดานการฟง การดู และการพูดดีขึ้น ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาอื่น ๆ ดีตามไป
ดวย การอาน เขียนคําที่มีตัวสะกด เปนเสมือนกุญแจดอกสําคัญที่ไขไปสูความฉลาดรอบคอบและความเจริญงอก
งามทางสติปญญาการเรียนรู และใชวิธีเขียนคําที่มีตัวสะกดที่ถูกตองจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับทุกคน การรูจักฝกฝน
อยางสม่ําเสมอจะชวยใหผูเรียนมีพื้นฐานในการอาน เขียนที่ดี ทั้งจะชวยใหเกิดความชํานาญและความรูกวางขวาง
ดวย การอาน เขียนคําที่มีตัวสะกดไดถูกตอง จะชวยใหการสื่อความหมายมีประสิทธิภาพ ถานักเรียนอาน เขียนคํา
ที่มีตัวสะกดผิดจะทําใหการสื่อความหมายผิดไปดวย และทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไมเปน ไป
ตามที่พึงประสงค การฝกอานเขียนสะกดคําอยางถูกวิธี ตองอาศัยองคประกอบหลายๆ อยาง เชน การฝกทําซ้ําๆ
ทวนบอย ๆ จึงจะทําใหผูเรียนจําได ฟงเขาใจ พูดอานและเขียนไดถูกตองคลองแคลว Thorndike ไดใหความเห็น
วา การทําซ้ําๆ ทําใหเกิดการเรียนรูไดดีขึ้น ภาษาไทยเปนวิชาทักษะการฝกฝนบอย ๆ จะทําใหเกิด ความแมนยํา
ในเนื้อหาดีขึ้น โดยเฉพาะเรื่องการใชภาษา การเขียน การอาน การฟงตาง ๆ ถาทําบอย ๆ ความชํานาญจะเกิดขึ้น

เขียนสะกดคําผิดนอยลง (กรรณิการ พวงเกษม 2535 : 7) ดังนั้น เพื่อแกปญหาการจัดการเรียนรูและพัฒนาการ
จัดการเรียนรูใหไดผล และเกิดประโยชนแกผูเรียนมากขึ้น ผูวิจัยจึง ไดศึกษาหาทางปรับปรุง แกไ ขการจัดการ
เรียนรู และสนใจการพัฒนาแบบฝกทักษะการเขียนคําที่มีตัวสะกดตางๆ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
เพื่อชวยใหนักเรียนสามารถเรียนรูไดตรงตามมาตรฐานการเรียนรู และมนทิรา ภักดีณรงค (2540 : 99-100)
กลาววา นักเรียนที่เรียนดวยแบบฝกทักษะชนิดตาง ๆ มีความคงทน ในการเรียนรูไดดี เพราะนักเรียนไดฝกกระทํา
บอย ๆ นักเรียนไดลงมือกระทําเอง นักเรียนจึงเกิดความสนุกสนานในการทําแบบฝกทักษะ จากปญหาและเหตุผล
ความสําคัญ ดัง กลาว ผูวิจัยจึงไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนวัตกรรม ที่สามารถนํามาใชในการ
แกปญหาการอาน เขียนสะกดคําผิดพลาดของนักเรียน และพบวา นวัตกรรมที่สามารถ ชวยใหนักเรียนเขียนคําที่มี
ตัวสะกดไดถูกตองขึ้น คือ แบบฝกทักษะการอาน เขียน ซึ่ง นิลาภรณ ธรรมวิเศษ (2546: 10) ไดกลาววา ชุดฝก
เปนสิ่งที่ชวยเสริมทักษะเกี่ยวกับการเขียนทุกรูปแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเขียน สะกดคําและจากการศึกษา
ประโยชนของชุดฝก พบวา ชุดฝกเปนสวนชวยเพิ่มเติม หรือเสริมหนังสือชวยเสริม ทักษะการใชภาษาใหดีขึ้น แต
ทั้งนี้จะตองอาศัยการสงเสริมและความเอาใจใสจากครูผูสอนดวย และแบบฝกทักษะ ชวยในเรื่องความแตกตาง
ระหวางบุคคล เพราะการที่ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของเขาจะชวยใหนักเรียน
ประสบความสําเร็จ ชวยเสริมใหมีทักษะทางภาษาคงทน ชวยใหครูมองเห็นจุดเดนหรือจุดบกพรองของนักเรียนได
ชัดเจน ซึ่งจะชวยใหครูดําเนินการปรับปรุงแกไขปญหานั้น ๆ ไดทันที นอกจากนี้ จิตรา สมพล (2547: 12) ยังได
กลาวถึง ประโยชนของชุดฝ กวา ชุดฝก เปน เครื่อ งมือที่ จําเป นตอ การฝ กทักษะทางภาษาของนักเรี ยน ช วยให
นั ก เรี ย นสามารถพั ฒ นาตนเองได อ ย า งเต็ ม ที่ ไม เ บื่ อ และยั ง ช ว ยให ค รู นั ก เรี ย น ทราบความก า วหน า หรื อ
ขอบกพรองที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ชวยพัฒนาความสามารถในการเขียนสะกดคํา ดังนั้น ชุดฝก จึงเปนเครื่องมือที่
ชวยใหนักเรียนประสบความสําเร็จในการเรียน เพราะฉะนั้น การนําแบบฝกทักษะและสื่อตาง ๆ มาชวยในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดเร็ว และมีประสบการณ
ดวยตนเองเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนของครูไดเปนอยางดีดังที่ (วิมลรัตน สุนทรโรจน. 2549 : 131)
กลาวถึง ความสําคัญของแบบฝกทักษะวา แบบฝกทักษะเปนเทคนิคการสอนที่สนุกอีกวิธีหนึ่ง คือ การใหนักเรียน
ทําแบบฝกทักษะมาก ๆ สิ่ง ที่จะชวยใหนักเรียนมีพัฒนาการทางการเรียนเรียนรูในเนื้อหาวิชาได ดีขึ้น เพราะ
นักเรียนไดมีโอกาสนําความรูที่ไ ดเรีย นมาแลว มาฝกให เกิดความเขาใจกวางขวางยิ่ง ขึ้นและสอดคลอ ง กั บ
ผลการวิจัยของ (ธิดารัตน จูมพลา. 2546 : 21) ที่กลาววา แบบฝกมีความสําคัญและจําเปนตอการเรียนอยาง
มาก เพราะชวยใหผูเรียนเขาใจบทเรียนดีขึ้น สามารถจําเนื้อหาในบทเรียน ทําใหเกิดความสนุกสนานขณะที่เรียน
ทราบความกาวหนาของตนเอง สามารถนําแบบฝกหัดมาทบทวนเนื้อหาเดิมดวยตนเอง นํามาวัดผลการเรียน
หลังจากที่เรียนแลว ตลอดจนทราบขอบกพรองของนักเรียนและนําไปปรับปรุงการเรียนการสอนได โรงเรียนบาน
หนองไผ เปนโรงเรียนที่จัดการสอนตั้งแตระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - 6 ผูศึกษา ในฐานะเปนครูผูสอนกลุมสาระ
การเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ จากประสบการณในการสอนวิชา ภาษาไทย ไดพบปญหาในเรื่อง
เกี่ยวกับการอานและการเขียนคํา คือ นักเรียนมักเขียนคําไมถูกตอง มีความสับสน ในการสะกดคํา สงผลตอการ
เรียนในเนื้อหาเรื่องอื่น ๆ และสงผลตอการเรียนในระดับที่สูงขึ้น จากเหตุผลดังกลาว ขางตน ผูวิจัยตระหนักถึง
ความสําคัญของการฝกทักษะการอาน และการเขียนใหแกนักเรียนเปนอยางยิ่ง จึงตองการพัฒนาการอานและการ
เขียนใหกับนักเรียน ซึ่ง เปน วัยเริ่มเรียน ดวยการสรางสื่อ นวัตกรรม และเห็นวา แบบฝกเสริมทักษะถือเปน
เครื่องมือในการสอนการอานและการเขียนที่มีความเหมาะสมกับนักเรียนในระดับชั้นนี้ และสอดคลองกับหลักสูตร
สถานศึกษา เพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกทักษะการอานและการเขียน จนเกิดความ ชํานาญสามารถอานและ
เขียนไดอยางถูกตองและคลองแคลว เปนวิธีที่ชวยแกปญหาและพัฒนาประสิทธิภาพ การเรียนใหนักเรียนวิธีหนึ่ง
จึง ได สร างแบบฝ ก ทัก ษะการอ าน เขี ยนคํา ที่มี ตัว สะกดไมต รงมาตรา กลุม สาระ การเรี ย นรู ภาษาไทย ชั้ น
ประถมศึกษาปที่ ๔ เพื่อพัฒนาการเรียนรู ในเรื่องการอานและการเขียนคําของนักเรียน ใหมีความรูความเขาใจ

เกิดทักษะกระบวนการทางการอานและการเขียน จึงจะเปนการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ของโรงเรียนบานหนองไผใหสูงขึ้นตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย
เพื่อแกปญหาการเขียนภาษาไทยไมถูกตอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนบานหนองไผ
โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนบานหนองไผ จํานวน ๒ คน เขียนคําภาษาไทยไดดีขึ้น

ขอบเขตของการวิจัย
๑. กลุมเปาหมาย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ จํานวน ๒ คน
๒. ตัวแปรตน
แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด
๓. ตัวแปรตาม
ความสามารถในการเขียนคําภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนบานหนองไผ

นิยามศัพทเฉพาะ
การวิจัยในครั้งนี้ไดนิยามคําศัพทเฉพาะดังนี้
๑. ชุดแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด หมายถึง แบบฝกทักษะเขียนคําที่มีตัวสะกดไมตรง
ตามมาตรา ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเพื่อใชประกอบการสอนสําหรับครูกับผูเรียนเพื่อพัฒนาการเขียนคําที่มี
ตัวสะกดไมตรงตามมาตรา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ไดจากการตอบคําถาม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน


บทที่ ๒
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยเรื่องการแกปญหาการเขียนคําภาษาไทยไมถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
โรงเรียนบานหนองไผ โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด ในครั้งนี้ ไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ
กับทฤษฎี หลักการ แนวคิดและการวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ในระดับประถม
ศึกษา เพื่อเปนพื้นฐานทางดานความรูและเปนแนวคิดในการพัฒนางาน ดังนี้
๑. ทักษะการอาน เขียน
๒. ความสําคัญของแบบฝก
๓. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

๑. ทักษะการอาน เขียนสะกดคํา
๑.1 ทักษะการอาน
การอานเปน ทักษะทางภาษาที่สําคัญ และจําเปนมากในการดํารงชีวิตของมนุษย ในชีวิตประจําวัน ตอง
อาศัยการอานจึงจะสามารถเขาใจและสื่อความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ
๑.1.1 ความหมายของการอาน
นักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของการอานไวแตกตางกัน ดังนี้
สตอฟเฟอร Stauffer. 1969 : 5) ใหความหมายของการอานไววา การอาน คือ ขบวนการอันซับซอนที่
ถายทอดความคิดและความรูสึกจากผูเขียนไปสูผูอาน โดยผานสิ่งพิมพและความสามารถในการออกเสียงและทํา
ความเขาใจเรื่องราวแปลความหมายของตัวอักษร เครื่องหมายและสัญลักษณตางๆ ได
คูเปอร Cooper. 1979 : 3) กลาววา การอาน หมายถึง กระบวนการสรางหรือการพัฒนาความหมาย
ของเนื้อหาทีเ่ ปนตัวอักษร ซึ่งผูอานตองนําความรูและประสบการณเดิมมาเชื่อมโยงในการอาน โดยกระบวนการ
ปฏิสัมพันธระหวางผูอานและเนื้อความ
คาร(Car. 1983 : 27) ใหความหมายของการอานวา เปนการตีความเรื่องที่อานจากประสบการณของ
ผูอาน โดยใชความรูเดิมการตีความและตัดสินความอยางมีเหตุผล
มานิต บุญประเสริฐ (2526 : 1 - 3) กลาววา การอาน หมายถึง การสื่อความหมายระหวางผูเขียนกับ
ผูอาน โดยมีขอเขียนเปนสื่อกลางหนาที่ของผูอานคือคนหาความหมายจากงานเขียน สวนผูอานจะเขาใจขอความ
มากหรือนอยแคไหนขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการ เชน ลักษณะเนื้อเรื่อง ประสบการณรวม ระหวางผูอาน
และผูเขียน ความสามารถทางภาษา เปนตน
ศรีรัตน เจิงกลิ่นจันทร 2536 : 4) ใหความหมายของการอานวา การอาน เปนกระบวนการถาย - ทอด
ความหมายจากตัวอักษรออกมาเปนความคิดและจากความคิดที่ไดจากการอานผสมผสานกับประสบการณเดิมที่มี
อยูเปนเครื่องชวยพิจารณาตัดสินใจนําความคิดที่ไดจากการอานไปใชประโยชนตอไป
เปลื้อง ณ นคร (2538 : 14 – 15) ใหความหมายของการอานไววา การอาน คือ กระบวนการที่จะ
เข า ใจความหมายที่ติ ด อยู กั บตั ว อั ก ษร หรื อ ตั ว หนัง สื อ ผู อา นที่ มี ป ระสบการณ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ อ า นจะเข า ใจ
ความหมายของเรื่องไดชัดเจน
วัฒนะ บุญจับ (2541 : 100) กลาววา การอาน คือ การรับรูความหมายจาก ขอความหรือถอยคําที่
ตีพิมพหรือจารึกไวเปนลายลักษณอักษรใหปรากฏ หรือปรากฏในรูปสัญลักษณตาง ๆ ที่สามารถแปลความหมาย
หรือตีความหมายได


นิรันดร สุขปรีดี (2540 : 1) ใหความหมายของการอานวา การอาน คือ การเขาใจความหมายของตัว
ละคร หรือสัญลักษณ ซึ่งจะตองอาศัยความสามารถในการแปลความ การตีความ การขยายความ การจับ ใจความ
สําคัญและการสรุปความ
เรวดี อาษานาม (2537 : 77-78) ไดใหความหมายของการอาน ดังนี้การอาน หมายถึง กระบวนการ
ในการแบงความหมายของตัวอักษร หรือสัญลักษณที่มีการจดบันทึกอยางมีเหตุผลและเขาใจความหมายของสิ่งที่
อาน ตลอดจนการพิจารณาเลือกความหมายที่ดีที่สุดขึ้นไปใชเปนประโยชนดวย จะเห็นไดวา การอานไมใชการรับ
เอาความคิดจากหนังสือที่อานเฉยๆ ผูอานไมใชผูรับแตเปนผูกระทํา สรุปไดวา เปนผูใชความคิดไตรตรอง เรื่องราว
ที่ตนเองอานเสียกอนแลว จึงรับเอาใจความของเรื่องที่ตนอานไปเก็บไวหรือนําไปใชใหเปนประโยชนตอไป ดังนั้น
หัวใจของการอานจึงอยูที่การเขาใจความหมายของคํา
สมควร นอยเสนา (2549 : 21 - 22) ไดสรุปความสําคัญของการอาน ดังนี้ ความสําคัญของการอาน
จะเปนสิ่งที่ชวยมนุษยดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขนั้น มี 4 ประการ คือ
1. ชวยในการเรียนรู
2. เสริมสรางประสบการณใหมๆ
3. ชวยใหเกิดความเพลิดเพลิน
4.องคประกอบพื้นฐาน
จากความหมายของการอานขางตน สรุปไดวา การอานเปนกระบวนการทางความคิดในการตีความหมาย
ของสิ่งที่อานโดยใชประสบการณเดิมและความสามารถทางภาษาของผูอาน ผูอานจะประสบความสําเร็จทางการ
อานมากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งตอไปนี้ วุฒิภาวะ อายุ เพศ ประสบการณ สมรรถวิสัย ความบกพรองทางรางกาย
และการจูงใจ
๑.1.2 ความสําคัญของการอาน
การอาน เปนพื้นฐานสําคัญ ที่ชวยใหเกิดการเรียนรูในสาขาวิชาตาง ๆ ไดตลอดชีวิต ความรูที่ไดรับจาก
การอาน สามารถนํามาใชประโยชนในการดําเนินชีวิตไดหลายประการ ดังที่
ณรงค ทองปาน (2526 : 5) กลาววา การอานกอใหเกิดประโยชนตอผูอานในดานการนําความรูมา
ปรับปรุงงาน ปรับตัวเองใหเขากับสังคมและยังไดรับความบันเทิงจากการอานดวย
ชุติม า สั จจานัน ท 2529 : 10) อธิบายวา การอา นทํา ใหเ กิดพั ฒ นาการทางสติป ญ ญา ความรู
ความสามารถ ประสบการณพฤติกรรม และการดําเนินชีวิต ศีลธรรมจรรยา และคานิยม การอานชวยปรับปรุง
ชีวิตใหสมบูรณ จุดหมายปลายทางของการอาน คือ การพัฒนาไปสูสิ่งที่ดีที่สุด และสมบูรณที่สุด ซึ่งสอดคลองกับ
แนวความคิดของ
สุขุม เฉลยทรัพย (2531 : 13) ที่วา การอานชวยใหเกิดปญญา มีความรูกวางขวาง เขาใจตนเอง มี
ทัศนคติอันถูกตอง สามารถวินิจฉัยความถูกผิดของเรื่องตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
๑.1.3 จุดมุงหมายของการอาน
การอานหนังสือของแตละคน มีจุดมุงหมายในการอานแตกตางกัน ดังนี้
เลวี่ (สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย. 2537: 3 ; อางอิงจาก Levi. 1990. Language Arts) ใหจุดมุงหมายของ
การอานไว ดังนี้
1. อานเพื่อตีความสัญลักษณใหเปนความหมายที่ถูกตอง
2. อานเพื่อเรียงลําดับเหตุการณและสรุปแนวคิดของเรื่อง
3. อานเพื่อตอบคําถามไดถูกตอง
สุขุม เฉลยทรัพย (2531 : 19 – 20) แบงจุดมุงหมายในการอานไว 5 ประการ คือ
1. อานเพื่อศึกษาหาความรู

2. อานเพื่อสนองความอยากรูอยากเห็น
3. อานเพื่อตองการทราบขอมูลขาวสารที่แทจริง
4. อานเพื่อศึกษาคนควา
5. อานเพื่อกาวหนาในอาชีพ
สมพร มันตะสูตร แพงพิพัฒน 2534 : 9) แบงจุดมุงหมายที่สําคัญของการอานไว 4 ประการ คือ
1. การอานเพื่อความรู แบงวัตถุประสงคยอยออกเปน 5 ประเด็น คือ
1.1 เพื่อหาคําตอบในสิ่งที่ตองการ
1.2 เพื่อศึกษาหาความรูโดยละเอียดและโดยยอ
1.3 เพื่อการรับรูขาวสาร ขอเท็จจริง
1.4 เพื่อศึกษาคน ควาเปนพิเศษ เพื่อนําไปใชประโยชนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อเขียนตํารา
วิชาการ
1.5 เพื่อรวบรวมขอมูลมาทํารายงาน ทําวิจัย
2. การอานเพื่อความบันเทิง เชน อานหนังสือประเภทเรื่องสั้น นิทาน นวนิยาย
3. การอานเพื่อความคิดแปลกใหม เชน การอานผลการทดลอง การคนควาวิจัย
4. การอานเพื่อปรับปรุงบุคลิกภาพ
สรุปไดวา จุดมุงหมายที่สําคัญของการอาน คือ อานเพื่อศึกษาคนควา อานเพื่อเพิ่มพูนความรูความคิด
และอานเพื่อความเพลิดเพลิน ซึ่งขึ้นอยูกับความสนใจของผูอานที่จะนําไปใชประโยชนตามที่ตองการ
๑.1.4 องคประกอบของการอาน
การอาน มีองคประกอบ 3 ประการ คือ (Rattanavich. 1987: 15 – 16; citing Chapman. 1987:
Reading Development : A Cohesion)
1. ประสบการณเดิม หรือความรูเดิมของผูอาน ทํ าใหผูอานมีความสามารถในการอานแตกตางกั น
เนื่องจากความคิดรวบยอดของผูที่มีประสบการณเดิมเกี่ยวกับเรื่องที่อาน จะชวยใหเขาใจเรื่องที่อานไดงายและ
รวดเร็วขึน้
2. อภิปรัชญา ความสามารถของผูอานในการเขาใจกระบวนการคิดของตน ในการตีความและแกปญหา
ตาง ๆ จะชวยใหความเขาใจในการอานดีขึ้น เนื่องจากสามารถใชความคิดและขยายความไดกลวิธีของการใช
ปญญามีหลายอยาง เชน การเดา
3. โครงสรางของเนื้อความ ผูเขียนทุกคนยอมมีแนวทางในการสื่อความของตน โดยเฉพาะการราง
โครงการเขียนของเขา ซึ่งยอมมีจุดประสงคในการสื่อความตางกัน โครงสรางของเนื้อความ เปนสิ่งที่สําคัญที่จะ
ชวยใหเราเขาใจเนื้อความในการอานไดดี หากเราเขาใจการวิเคราะหโครงสรางและทราบจุดมุงหมายของการเขียน
สมบัติ จําปาเงิน และสําเนียง มณีกาญจน 2531 : 12) กลาววา การอาน เปนกระบวนการตอเนื่องดุจ
ลูกโซ เพื่อนําไปสูการเรียนรู มีองคประกอบ 5 สวน คือ
1. ผูอาน ถาไมมีผูอาน การอานจะเกิดขึ้นไมได
2. หนังสือ หรือตัวอักษร ผูอานตองสามารถอานหนังสือและเขาใจความคิดของหนังสือนั้น
3. ความหมาย ผูอานตองเขาใจความหมายของสิ่งที่อาน
4. การเลือกความหมาย ความหมายที่ปรากฏในหนังสืออาจมีหลายนัย ผูอานตองพิจารณาความหมายให
ตรงตามจุดประสงคของผูแตง
5. การนําไปใชเปนกระบวนการขั้นสุดทายที่จะทําใหการอานไดผลสมบูรณกลาวคือ เมื่อมีโอกาสก็นําออก
ใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนสามารถนําไปใชในการแตงหนังสือใหเกิดประโยชนแกตนเองและสังคม


จากองคประกอบขางตน สามารถสรุปไดวา การอานจะตองประกอบดวย ผูอาน เนื้อความ ซึ่ง อาจมี
หลายนัย และมีโครงสรางที่แตกตางกัน ผูอานจะตองใชความสามารถในการคิด และประสบการณเดิมของตนใน
การตีความ จึงจะเขาใจเนื้อความที่อานได
๑.1.5 ความเขาใจในการอาน
ความเขาใจในการอาน เปนหัวใจสําคัญของการอาน เพราะจุดประสงคเบื้องตนของการอานโดยทั่วไปก็
เพื่อความเขาใจในเนื้อเรื่องที่อาน จึงจะสามารถถายทอดความรูความคิดจากเรื่องที่อานได นักการศึกษาทั้งในและ
ตางประเทศ กลาวถึงความเขาใจในการอานไว ดังนี้
ทิงเกอร (Tinker. 1963 : 15) กลาววา ความเขาใจเปนจุดหมายปลายทางของการอานทุกชนิด ผูอานมี
ความเขาใจแจมแจงเพียงพอที่จะรวบรวมความคิดในสิ่งที่อาน
สแตรง (Strang. 1969 : 4) กลาววา ความเขาใจในการอาน เปนความสามารถในการจับใจความสําคัญ
และรายละเอียดปลีกยอยได ผูที่มีความเขาใจในการอานจะสามารถ ยอใจความสําคัญ หรือสรุปโครงเรื่องของสิ่งที่
อาน หรือสามารถเขาใจความสัมพันธตาง ๆ ของสิ่งที่อาน
เดอชองต De Chant. 1982 : 18) กลาวถึงความหมายของความเขาใจในการอานวา หมายถึง การที่
ผูอานสามารถสัมพัน ธความหมายใหเขากับคําอานไดถูกตอง สามารถเลือกความหมายที่ถูกตองจากบริบทได
ผูอานเขาใจเรื่องที่อานไดดี หรือไมขึ้นอยูกับทักษะพื้นฐานทางความรูความเขาใจ ความคิด ทักษะทางสมองที่มีตอ
ประสบการณเดิม และทักษะทางภาษาของผูเขียน
คาร Car. 1983 : 27) กลาวถึงความเขาใจในการอานวา เปนการตีความเรื่อง ที่อานจากประสบการณ
ของผูอาน โดยใชความรูเดิมในการตีความ และตัดสินความอยางมีเหตุผล
คารเรลล Carrell. 1986 : 251) กลาวถึง ความเขาใจในการอานวา คือ ความเขาใจในประโยค หรือ
อนุเฉท โดยเฉพาะความเขาใจรูปแบบการเรียบเรียงเรื่อง หรือโครงสรางของขอเขียน หรือสรุปในความหมายอยาง
กวางไดวา ความเขาใจในการอาน คือ การรับรูขอมูลขาวสารจากงานเขียน
กูดแมน (Goodman. 1988 : 209) กลาวถึง ความเขาใจในการอานวา คือ การสื่อสารระหวางผูอาน
กับผูเขียน โดยอาศัยมโนภาพ และประสบการณเดิมของผูอานในการเรียนรูความหมายโดยรวมของภาษา ซึ่ง
ผูเขียน พยายามสื่อสารใหผูอาน สามารถคาดเดาเหตุการณไดเพื่อประมวลความคิดกับความหมายของภาษาจน
สามารถสื่อสารเปนภาษาพูดและภาษาเขียนได
ชวาล แพรัตกุล (2520 : 134) กลาวถึง ความหมายของความเขาใจในการอานวา คือ ความสามารถใน
การผสมแลวขยายความรูความจําใหไกลออกไปจากเดิมอยางสมเหตุสมผล สามารถดัดแปลง หรือเสริมแตงความรู
เดิมใหมีรูปลักษณะใหม เพื่อนําไปใชกับสภาพการณใหมที่แปลกออกไป แตก็ยังมีบางอยางที่คลายกับของเดิมอยู
บาง
สมุทร เซ็นเชาวนิช และอํานาจ บุญศิริวิบูลย 2539 : 16) กลาวถึง ความหมายของความเขาใจในการ
อานไวดังนี้
1. จับใจความสําคัญ ๆ ไดระบุ หรือแยกแยะประเด็นหลักออกจากประเด็นยอยที่ไมจําเปน หรือไมสําคัญ
มากนักได
2. ตีความเกี่ยวกับเรื่องราว หรือขอคิดเห็นที่อานมาแลวไดวา มีนัยสําคัญหรือลึกซึ้งมากนอยขนาดไหน
เพียงใด
3. ลงสรุปความคิดเห็นจากสิ่งที่อานมาแลวไดอยางถูกตอง มีเหตุผล และนาเชื่อถือ
4. ใชวิจารณญาณของตนพิจารณาไตรตรองขอสรุป หรือการอางอิงตาง ๆ ของผูเขียนไดอยางถูกตองและ
เปนระบบไมสับสน


5. ถายโอนประสมประสานความรูที่ ไ ดจ ากการอานกับประสบการณอื่ น ๆ ไดอย างเหมาะสมตาม
กาลเทศะ
จากความหมายของความเขาใจในการอานขางตน สรุปไดวา คือ ความสามารถในการรับรูและสรุปขอมูล
จากงานเขียน โดยอาศัยประสบการณเดิ ม และทักษะพื้นฐานดานความรูความเข าใจ ความคิด และสามารถ
ถายทอดออกมาไดตรงตามเจตนาของผูเขียน
๑.1.6 องคประกอบของความเขาใจในการอาน
แฮรีส และ สมิธ (เสาวลักษณ รัตนวิชช. 2531: 84 ; อางอิงจาก Harris; & Smith. 1976: 235)
กลาวถึง องคประกอบที่มีผลตอความเขาใจในการอานไว ดังนี้
1. ประสบการณเดิมของผูอาน
2. ความสามารถดานภาษา
3. ความสามารถในการคิด
4. เจตคติที่มีตอสิ่งที่อาน
5. จุดประสงคในการอาน
เอ็ดดี (พรเพ็ญ พุมสะอาด. 2543 : 9 ; อางอิงจาก Eddie. 1986: 3 – 7) กลาวถึงองคประกอบที่มีผล
ตอความเขาใจในการอานไว ดังนี้
1. ความรูในระบบการเขียน ผูอานที่มีความสามารถจะตองมีความรูในเรื่องการผสมคําและการสะกดคํา
เพราะจะชวยใหเขาใจ และจดจําคําในภาษาได
2. ความรูในเรื่องภาษา ไดแก โครงสรางของคํา ลักษณะของคํา และการเรียบเรียงคํา สิ่งเหลานี้จะชวยให
การอานเปนไปไดอยางราบรื่นและเกิดความเขาใจเร็วขึ้น
3. ความสามารถในการตีความหมาย ผูอานจะตองเห็นความสัมพันธ และการเชื่อมโยงกันของแตละ
ประโยค แลวตีความหมายที่ผูเขียนตองการออกมาได
4. ความรูรอบตัวทั่วไป ผูอานจะสามารถเขาใจสิ่งที่อานไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับลักษณะของบทอาน
และโครงสรางความรูเดิมของผูอาน ซึ่งนอกจากความรูในหัวเรื่องที่จะอานแลว ผูอานจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับ
ประเภทของบทอานตลอดจนความรูในเรื่องของวัฒนธรรมอีกดวยเพราะในขณะที่อานผูอานตองดึงความรูเหลานั้น
ไปใชประกอบดวย
5. เหตุ ผลและรู ปแบบในการอา น ผูอ านที่มี ความสามารถต องรูจั กเปลี่ ยนรู ปแบบการอ านไปตาม
จุดมุง หมายหรือเหตุผลในการอาน เชน การอานแบบผาน ๆ เพื่อกวาดสายตาดูหัวขอขาวที่สําคัญหรือการอาน
แบบเอารายละเอียดเมื่ออานตําราเรียน
ชุลี อินมั่น (2533 : 16) กลาววา ผูอานจะเขาใจเรื่องที่อานไดดีเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับองคประกอบ
พื้นฐานที่สําคัญของการอาน คือ
1. ภูมิหลัง ผูที่มีความรูรอบตัวกวางขวางจะชวยใหผูอานมีความเขาใจเรื่องที่อานไดดี
2. ประสบการณคือการไดพบไดคุนเคยกับเหตุการณที่เกี่ยวของกับเรื่องที่อาน จะชวยใหผูอานเขาใจเรื่อง
ไดดีขึ้น
3. การรูเชิงภาษา ผูอานอาจมีอุปสรรคในการอานหนังสือ เนื่องจากมีความรูทางภาษาไมเพียงพอ เมื่อ
อานหนังสือที่มีถอยคําสํานวน คําพังเพย โวหาร และคําเปรียบเทียบที่คมคายก็อาจตีความไมไดทําใหการอานหมด
รสชาติไป ดัง นั้น จึงสรุปไดวา การอานเพื่อใหเกิดความเขาใจในสิ่งที่อานนั้น ผูอานตองมีความรูทางดานภาษา
และความรูรอบตัว โดยใชประสบการณเดิมมาชวยในการตีความหมายของเรื่องที่อาน
๑.1.7 ระดับความเขาใจในการอาน
เบอรมิเตอร Burmester. 1974 : 210) ไดแบงความเขาใจในการอานเปน 7 ระดับ ดังนี้

1. ระดับความจํา คือ การที่ผูอานสามารถจําในสิ่ง ที่ผูเขียนเขียนไวซึ่ง จะเปน การจําในเรื่องเกี่ยวกับ
ขอเท็จจริง วันที่คําจํากัดความ ใจความสําคัญของเรื่อง และลําดับเหตุการณในเรื่องที่อาน
2. ระดับแปลความหมาย คือ การนําเอาขอความหรือเรื่องราวที่อานไปแปลรูปอื่น เชน การ แปลภาษา
หนึ่งเปนอีกภาษาหนึ่ง การถอดความจากคําจํากัดความ การแปลขอความที่เปนแผนภูมิเปนตน
3. ระดับการตีความ คือ การที่ผูอานสามารถเขาใจสิ่ง ที่ผูเขียนไมไ ดเขียนไว เชน เมื่อไดเหตุมาแลว
สามารถหาผลไดสามารถทํานายเหตุการณตอไปได จับใจความสําคัญของเรื่องได หรือสรุปความจากสิ่งที่กลาว
โดยทั่วไป เปนตน
4. ระดับประยุกตคือ การที่ผูอานสามารถเขาใจหลักการและประสบความสําเร็จในการนําประโยชนจาก
สิ่งที่อานไปประยุกตใช
5. ระดับวิเคราะหคือ การที่ผูอานสามารถแยกแยะสวนประกอบยอย ๆ ที่มาประกอบกันเขาเปนสวน
ใหญ เชน การวิเคราะหบทประพันธการตรวจสอบ การใหเหตุผลผิดๆ และการลงความเห็นในสิ่งที่อาน เปนตน
6. ระดับสังเคราะหคือ การที่ผูอานสามารถนําความคิดจากที่ตาง ๆ มาเรียบเรียงใหมได
7. ระดับประเมินผล คือ การที่ผูอานสามารถวางเกณฑและตัดสินเรื่องที่อานตามมาตรฐานที่ตั้งไวได
ดัลแมน และคณะ (Dallman and others. 1978 : 166) แบงระดับความเขาใจในการอาน เปน 3
ระดับ คือ
1. ระดับความเขาใจในขอเท็จจริง หมายถึง ความเขาใจในเนื้อเรื่องที่อานตามตัวหนังสือที่เขียนไว
2. ระดับความเขาใจขั้นตีความ คือ ความเขาใจโดยอาศัยขั้นตีความ แปลความ และสรุปความจากเรื่องที่
อานได
3. ระดับความเขาใจในขั้นประเมินคา คือ ความสามารถในขั้นประเมินคาสิ่งที่ผานมาโดยอาศัยความรู
และประสบการณของผูอ านพิจารณาตัดสิน
บุญเสริม ฤทธาภิรมย 2518 : 32 – 34) แบงระดับความเขาใจในการอานเปน 3 ระดับ คือ
1. การอานเอาเรื่อง การอานในระดับนี้เปนการอานออก อานได อานแลวรูเรื่องวาเรื่องอะไร เปนอยางไร
เกี่ยวของกับใคร ในการอานแบบนี้ผูอานใชความสามารถดานความจําเปนใหญ
2. การอ า นตี ค วาม คื อ อ า นแล ว แปลความ ตี ค วาม ขยายความ ผู อ า นต อ งใช ค วามสามารถ
นอกเหนือไปจากการอานเอาเรื่อง คือ จําเรื่อง แปลความ ตีความ และขยายความได เปนการอานที่มีระดับสูงกวา
การอานเอาเรื่อง
3. การอานขั้นวิจารณการอานระดับนี้ตองใชความสามารถของสติปญญาขั้นสูงสุด โดยอาศัยการอาน
ระดับการอานเอาเรื่องใชการแปลความเปนพื้นฐาน อาศัยประสบการณของผูอาน นําเอาความสามารถในการ
วิเคราะห สังเคราะหและการประเมินคา มาชวยในการตัดสินใจ และวินิจฉัยเรื่อง หรือขอความที่อาน
๑.2 ทักษะการเขียนสะกดคํา
๑.2.1 ความหมายของการเขียนสะกดคํา
การเขียนสะกดคํา เปนการเขียนโดยนําพยัญชนะตน สระ วรรณยุกต และตัวสะกดมาประสมเปนคํา การ
เขียนคําจะตองใหผูเรียนอานสะกดคํา และเขียนคําพรอมๆ กัน เพื่อการเขียนคําไดถูกตอง การเขียนสะกดคําจะนํา
คําที่มีความหมายมาหัดสะกดคํา จนกระทั่งผูเรียนสามารถจดจําคํานั้น ๆ ได (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,
2546: 133)
นอกจากนี้ นักวิชาการหลายทานไดกลาวถึง ความหมายของการเขียนสะกดคํา ไวดังนี้
อดุลย ภูปลื้ม (2539: 10) กลาววา การเขียนสะกดคํา คือการเขียนเรียงลําดับพยัญชนะ สระ และ
วรรณยุกตภายในคํานั้นๆ ไดถูกตองตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เพื่อจะชวยใหผูเรียนสามารถออก


เสียง ไดถูกตองชัดเจน และเขียนคํานั้นๆ ไดถูกตอง รูหลักเกณฑในการเขียนและสามารถนําสิ่งที่เขียนไปใชสื่อสาร
ในชีวิตประจําวันได
มะลิอาจวิชัย (2540: 12) ไดใหความหมายของการเขียนสะกดคําในทํานองเดียวกันวา การเขียนโดย
เรียงลําดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวอักษรตัวสะกดเปนคําไดอยางถูกหลักเกณฑทางภาษา และถูกตอง
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานเพื่อชวยผูเรียนเขียนไดถูกตอง ตลอดจนสามารถนําสิ่งที่เขียนไปใชสื่อสาร
ในชีวิตประจําวันได
ปยนาถ นวมทอง (2543: 16) กลาววา การเขียนสะกดคํา หมายถึง การจัดเรียงพยัญ ชนะ สระ
วรรณยุกต ใหเปนคําที่มีความหมาย และถูกตองตามหลักเกณฑการเขียน อานออกเสียงคํานั้นไดอยางถูกตอง
ชัดเจน สามารถสื่อความหมายไดถูกตองตามที่ผูเขียนตองการ ซึ่ง ทําใหผูอานสามารถเขาใจขอความที่อานได
รวดเร็วถูกตองตามที่ผูเขียนตองการ
อรอุมา ตั้งพัฒนาสมบูรณ (2546: 31) กลาววา การเขียนสะกดคํา หมายถึง การเขียนคํา โดยเรียง
พยัญ ชนะ สระ วรรณยุกต ตัวสะกด และตัวการันตไ ดถูกตองตามกฎเกณฑของหลักภาษา และถูกตองตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 เปนคําที่มีความหมาย ใชในการติดตอสื่อสารระหวางกัน
ได
กรมวิชาการ (2546: 13) กลาววา การเขียนสะกดคํา วาเปนการเขียนโดยนําพยัญ ชนะตน สระ
วรรณยุกต และตัวสะกดมาประสมเปนคํา การเขียนคําจะตองใหผูเรียนอานสะกดคําและเขียนคําพรอมกัน เพื่อ
การเขียนคําที่ถูกตอง
จากความหมายขางตน สรุปไดวา การเขียนสะกดคํา คือ การเขียนคําโดยเรียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต
และตัวสะกดไดถูกตองตามอักขรวิธี ถูกตองตรงตามหลักเกณฑของหลักภาษา และถูกตองตาม พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน รวมทัง้ สามารถเขียนสื่อสารในชีวิตประจําวันได
๑.2.2 ความสําคัญของการเขียนสะกดคํา
การเขียนสะกดคํา เปนพื้นฐานที่สําคัญ ที่สุดในการใชภาษาเขียน การจัดประสบการณ ทางภาษาให
นักเรียนไดรับการฝกฝนอยางเพียงพอและสม่ําเสมอ จะชวยใหสามารถเขียนสะกดคําไดอยางถูกตอง และนําไปใช
ไดอยางกวางขวางเพื่อพัฒนาไปสูการเขียนเปนประโยคและเรื่องราวตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
มะลิ อาจวิชัย (2540: 11) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการเขียนสะกดไววา การเขียนสะกดคํา ให
ถูก ต อ งเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการเขี ย นสะกดคํ า ผิ ด จะทํ า ใหค วามหมายของคํ าเปลี่ ย นไปทํ า ให ก ารสื่ อ สารไม ต รง
ความหมาย ดัง นั้น ครูจําเปนตองรูหลักการเขียนสะกดคํา เพื่อเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนเขียน
สะกดคําใหถูกตอง
อรทัย นุตรดิษฐ (2540: 11) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการเขียนสะกดคําวา การเขียนสะกดคําให
ถูกตอง นอกจากจะมีผลดีตอการสื่อความหมายระหวางผูเขียนกับผูอานแลว ยังมีผลตอการประเมินคุณคาของ
ผูอานที่มีตอผูเขียนดวย เนื่องจากการเขียนสะกดคํานั้นเปนสวนหนึ่งของการเขียน ผูเขียนตองมีความประณีต และ
รับ ผิด ชอบในงานเขี ยนของตนเอง ขจัด งานเขีย นลงใหเ หลื อน อยที่สุ ด โดยการเขี ยนสะกดคํา ให ถูก ตอ งตาม
อักขรวิธี
กําชัย ทองหลอ (2543 : 160) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการเขียนสะกดคําวา ภาษาพูดจะเขาใจ
เรื่องกันได การกําหนดสําเนียงที่เปลงออกมาจึงตองชัดเจน มีจังหวะความหนักเบา ความแข็งกลา ความออนโยน
และบางทีตองใชกิริยาอาการประกอบดวย ทําเพื่อใหเรื่องนั้นแสดงอาการภายในของผูพูดไดถูกตอง หรือใกลเคียง
กับความรู สึก แตภ าษาเขีย นจะใหเ ขาใจความหมายกั นไดตองกําหนดตั วอักษรเป นหลัก เพราะตัว อักษรเป น
เครื่องหมาย ใชแทนคําพูด เพราะฉะนั้น การเขียนคํา นับวาเปนความสําคัญ สวนหนึ่งในการใชภาษา ถาเขียนผิด
ความหมายก็จะแปรไป หรืออาจจะไมมีความหมายเลยก็ได
๑๐
ปยวรรณ สังขจันทรเพชร (2548 : 18) ไดกลาวถึง การเขียนสะกดคํานั้นวา เปนทักษะการเขียนที่
สําคัญ ยิ่ง ที่ครูผูสอนภาษาไทยทุกคนควรใหนักเรียนมีการฝกฝนตั้งแตเริ่มเรียนและปลูกฝง การเขียนสะกดคําที่
ถูกตองใหกับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนมีความมั่นใจในการเขียนสะกดคําใหถูกตอง และสามารถนําไปใชประโยชน
จากการเขียนไปใชในวิชาอื่น ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
ลูนเบอรก (Luneburg,1950 : 179) ไดกลาวถึง การเขียนสะกดคําไววา การสะกดคํา จํากัดวาเปน
สวนหนึ่งในรายละเอียดที่มีบทบาทในชีวิตประจําวัน การสะกดคําผิดจะลดประสิทธิภาพของการเขียนลง
จากความเห็นขางตน สรุปไดวา การเขียนสะกดคําเปนเรื่องที่มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะการเขียน
สะกดคําผิดจะทําใหความหมายของคํานั้นเปลี่ยนไป ทําใหผูเขียนและผูอานสามารถสื่อสารกันไดอยางถูกตอง และ
ตรงตามความตองการ และหากเขียนสะกดคําไดถูกตองจะเปนผลใหผูเขียนเกิดความมั่นใจ ในงานเขียนของตน
มากขึ้น และสามารถสื่อความคิดความเขาใจที่ตนมีไปสูผูอานไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด
๑.2.3 สาเหตุของการเขียนสะกดคําผิด
เนื่องจากสภาพการเรียนการสอนโดยทั่วไป ไมวาจะศึกษาอยูในระดับชั้นใดก็ตาม การเขียนสะกดคําผิดยัง
เปนปญหาที่พบมาก ซึ่งมีผูกลาวถึงสาเหตุตาง ๆ ของการเขียนสะกดคําผิด ไวดังตอไปนี้
สุทธิวงศ พงศไพบูลย (2545 : 290-331) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของการเขียนสะกดคําผิดไว
ดังนี้
1. เขียนผิดเพราะไมทราบความหมายของคํา คําในภาษาไทยเรามีเสียงที่ตรงกันมาก แตสะกดการันต
ตางกัน และมีความหมายตางกัน เมื่อเปนเชนนี้ อาจจะทําใหผิดในเรื่องสะกดการันตไดงาย ถาหากจําเสียงโดยไม
พิจารณาความหมายเฉพาะของคํานั้น เชน มีเสียง (พัน ) เสียงเดียวอาจจะเขียนเปน พัน พรรณ พันธ พันธุ ภัณฑ
พรรค เหลา นี้เปน ตน ซึ่ง แตละคํามีความหมายตางกัน หากใครไมเคยไดยิน คําวา “ครุภัณ ฑ” และไมทราบ
ความหมายของคํานี้มากอน อาจจะเขียนผิดเปนครุพันหรือครุพันธก็ได
2. เขียนหนังสือผิดเพราะใชแนวเทียบผิด คําบางคําเมื่อจะเขียนผูเขียนไมมั่นใจ มักจะนึกเทียบเคียงกับคํา
อื่น ๆ ซึ่งเคยรูมาแลวเปนอยางดี วิธีการเชนนี้เปนเหตุหนึ่งที่ทําใหเขียนหนังสือผิด เพราะคําบางคํามีความหมาย
หรือรูปศัพทตลอดจนหลักภาษาตางกัน เราใชกฎอันเดียวกันไมได คําพวกนี้จึงควรพิจารณาจดจําเปนคําไป เชน
แกงบวด มักเขียนเปน แกงบวช เพราะใชเทียบกับ คําวา บวช เปนตน
3. เขียนผิดเพราะออกเสียงผิด คําบางคําบางคนออกเสียงไมตรงหรือออกเสียงไมชัดเลยติดนิสัย เมื่อเขียน
เลยผิดดวย แตคําบางคํา คนสวนมากออกเสียงอยางหนึ่ง ซึ่ง ไมตรงกับรูปที่เขียนตามพจนานุกรม พวกหลัง นี้
นับเปน สิ่งแกยาก อาจจะถือวาเปนเพราะพจนานุกรมรักษาการจนไมเอื้อเฟอตอผูใชภาษาก็ไดเชน ขะมักเขมน
เขียนผิดเปน ขะมักเขมน เปนตน
4. เขียนผิดเพราะมีประสบการณผิด การเขียนผิด เพราะมีประสบการณผิด กลาวคือ เคยเห็นคํานั้น ๆ
มาจนเคยชิน และเปนคําที่ใชกันผิดเสมอจนจําไดติดตา อาจจะเห็นหนังสือพิมพหรือสิ่งพิมพอื่น ๆ เชน ในบัตรเชิญ
ประกาศโฆษณา แจงความ ฯลฯ ควรจะพิจารณาอยาใชตามโดยไมไดศึกษาความจริง เชน อนุญาต เขียนผิดเปน
อนุญาติ เปนตน
5. เขียนหนังสือผิดเพราะไมรูหลักภาษา หลักภาษานับเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งในการเรียนภาษา การที่จะ
เรียนโดยไมรูหลักนั้นยอมเปน ไปไมไ ด เนื่องจากหลักภาษาไทยมีขอยกเวนมากมาย จึง ควรไดตระหนักในขอนี้
โดยเฉพาะการเขียน เชน หลักการประวิสรรชนีย คําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาเขมร หลักการใช ศ, ษ, ส
หลักการใช รร หลักการใช บรร, บัน เปนตน
นอกนี้ยังมีนักวิจัย และนักวิชาการอีกหลายทานที่ไดกลาวถึงสาเหตุของการเขียนสะกดคําผิด ดังนี้
พัชรีวรจรัสรัง สี (2542 : 52) กลาววา สาเหตุที่ทําใหนักเรียนสะกดคําผิดนั้น มีหลายประการ บาง
สาเหตุมาจากตัวของนักเรียน บางสาเหตุมากจากตัวผูสอน ครูผูสอนอาจจะละเลยทักษะการเขียน เพราะเห็นวาใช
๑๑
เวลามาก ตรวจลําบากตองใชเวลานานในการตรวจ ทําใหตัดทักษะทางการเขียนออกไปใหนอยลง นักเรียนจึงขาด
ประสบการณและขาดความเชี่ยวชาญในการเขียน ในบางโรงเรียนไมไดกําหนดการฝกการเขียนการสะกดคําไวใน
ตารางอยางชัดเจน ทําใหครูผูสอนไมไดฝกทักษะการเขียนสะกดคําใหกับนักเรียน ทําใหนักเรียนเขียนสะกดคําผิด
จํานวนมาก
วรรณี โสมประยูร (2544 : 157-159) กลาววา สาเหตุของการเขียนสะกดคําผิดวา นักเรียนเห็น
แบบอย า งการสะกดคํ า ผิ ด เสมออี ก ทั้ ง ไม รู ค วามหมายของคํ า ๆนั้ น โดยเฉพาะคํ า ไทยมี คํ า พ อ งเสี ย ง ทํ า ให
ความหมายสับสน ไมเขาใจหลักภาษาที่ถูกตอง การฟง และการออกเสียงคําควบกล้ํา ร ล ไมถูกตอง ไมสามารถ
ถายทอดคําตามเสียงที่มาจากภาษาอังกฤษ ออกเปนภาษาเขียนของคําภาษาไทยไดถูกตอง
วิลาวัณย สุภิรักษ (2550 : 20 -21) กลาววา การเขียนสะกดคํา เกิดจากผูเขียนเปนสําคัญ ซึ่งสวนใหญ
เกิดจากการขาดการสังเกต ขาดการฝกฝน มีความรูความเขาใจในหลักการทางภาษาที่ไมดีพอ ตลอดจนมีความไม
ระมัดระวัง ในเรื่องของการเขียนสะกดคําใหถูกตองตามความหมายของคํานั้น ๆ จนเกิดความเคยชินในการเขียน
สะกดคํา
ประญัติ บุญมาลา (2548 : 21) ไดกลาวถึงสาเหตุของการสะกดคําผิดไวดังนี้
1. นักเรียนไมมีประสบการณเกี่ยวกับคํานั้น เชน ไมเคยพูด ไมเคยเห็น ไมเคยเขียน
2. นักเรียนไมรูหลักการใชภาษา เชน หลักการเขียนคําที่ประและไมประวิสรรชนียหลักการใช ศ ษ ส
หลักการใชตัวการันต หลักการผันวรรณยุกต หลักการใช ไ- ใ- อัย ไ-ย หลักการใชมาตราตัวสะกด
3. นักเรียนไมทราบความหมายของคํานั้น ๆ เชน คําพองเสียง
4. นักเรียนฟงไมชัด เชน คําควบกลา คําที่มีอักษรนํา คําที่มี ร ล
5. นักเรียนใชหลักการเทียบผิด เชน สาเหตุ กับ สังเกต ญาติ กับ อนุญาต
6. นักเรียนไมคุนเคยกับคําที่มาจากภาษาอื่นๆ เชน ปรารถนา ทักษิณ นิวเคลียร
วูเบิรน (Wooburn,1980 : 22) ใหเหตุผลวา สาเหตุเกิดจากการออกเสียงบกพรอง ทําใหเขียนผิดไป
ดวย รวมทั้งขาดความเอาใจใสในการเรียน
จากการศึกษาขางตน เห็นไดวา สาเหตุของการเขียนสะกดคําผิดนั้น มีสาเหตุมาจากนักเรียนเขียน สะกด
คําผิด เนื่องจากความไมแมน ยําในหลักเกณฑทางภาษา รวมถึง นักเรียนไมทราบความหมายของคําที่ใชอยาง
แทจริง หรือคําบางคําที่นักเรียนไมมั่นใจวาเขียนอยางไร ก็มักจะใชวิธีการนึกเทียบเคียงกับคําอื่นๆ ซึ่งเคยรูมาแลว
และอาศัยการใชแนวเทียบจากคําใกลเคียงจึงทําใหเขียนสะกดคําผิด อีกทั้ง คําบางคําคนสวนมากออกเสียงอยาง
หนึ่ ง ซึ่ ง ไม ต รงกั บ รู ป ที่ เ ขี ย นตามพจนานุ ก รม ซึ่ ง เป น สาเหตุ ข องการเขี ย นผิ ด เพราะออกเสี ย งผิ ด ตลอดจน
สภาพแวดลอมอื่น ๆ เชน การใชภาษาตางประเทศในภาษาไทยที่นักเรียนไดรับรูมาอยางไมถูกตอง จนเกิดการ
จดจําแบบผิดๆ และไมไดรับการแกไขจากครูผูสอนอยางจริงจัง
๑.2.4 การสอนเขียนสะกดคํา
จากการศึกษาสาเหตุของการสอนเขียนสะกดคําผิด พบวาเกิดจากสาเหตุหลายประการ ดังนั้นจึงควรจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อฝกฝนนักเรียนใหเขียนสะกดคําไดอยางถูกตองตามหลักเกณฑของภาษา ซึ่ง มี
นักวิชาการและนักวิจัยหลายทานไดใหขอเสนอแนะไวดังนี้
อรทัย นุตรดิษฐ (2540 : 22) ไดสรุปใหเห็นถึงวิธีการเขียนสะกดคําวา มีวิธีการที่ครูสามารถเลือกใชให
เหมาะสมกับนักเรียนหลายวิธีดวยกัน ครูอาจจะเลือกใชการเขียนวิธีใดวิธีหนึ่งหรือใชวิธีสอนและกิจกรรมหลาย ๆ
รูปแบบประกอบกันก็ยอมทําได ทั้งนี้ขึ้นกับความเหมาะสม ซึ่งครูจะเปนผูพิจารณาจุดประสงค เพื่อใหนักเรียน
สนใจและสนุกสนานไมเบื่อหนายในการเรียน มีความสามารถในการเขียนสะกดคําสูงขึ้น
พนมวัน วรดลย (2542 : 36) ไดเสนอแนะกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่องการสะกดคํา ไวดังนี้
1. เลือกคําจากประมวลคําในหนังสือประกอบการเรียนมาเปนหลักในการฝก
๑๒
2. เลือกคําที่นักเรียนพบและใชในชีวิตประจําวัน ฝกฟง พูด อาน เขียนไปพรอม ๆ กัน
3. เลือกฝกคําที่มีในประมวลคําอานในหนังสือประกอบการเขียนคํางายๆ ที่สะกดในมาตรา แม ก กา มา
ฝกกอน
4. ใชของจริง กิริยาทาทาง ภาพ และคําอธิบาย เพื่อใหความรูความหมาย
5. เลนปริศนาคําทาย โดยใชคําเกาเปนพื้นฐาน
6. เรียนรูคําใหม ๆ โดยใชคําเกาเปนพื้นฐาน
7. ฝกตอคํา เติมคํา เพื่อใหไดคําใหม
8. ใหฟง พูด อาน เขียนดวยการฝกดวยตนเอง
9. ใหคิดหาคําเพิ่มจากคําที่กําหนดใหดวยตนเอง
10. หาคําตอบไวดวยตนเอง เมื่อปฏิบัติครบขั้นตอน โดยอาจใชการบอก การแสดงกิริยาทาทาง การ
เขียน และการตั้งคําถาม
11. กิจกรรมเนนจากรูปแบบงาย ๆ ไปหายาก โดยเราความสนใจปฏิบัติดวยตนเองดวยความ สนุกสนาน
และใชวิธีการหลากหลายไมซ้ําวิธีการเดิม
ทัศนีย ศุภเมธี (2542 : 39) ไดเสนอแนะกิจกรรมการสอนเขียนสะกดคําที่ครูสามารถจัดทําได ดังนี้
1. ครูนําบทความ หรือหนังสือมาใหนักเรียนอานกอนในเวลาที่กําหนดแลว ครูเลือกคําในนั้นมา บอกให
เขียนอีกทีหนึ่ง
2. ครูและนักเรียนรวมกันทําบัญชีคํายากในบทเรียน ติดไวที่แผนภูมิแลวหลังจากนั้นคอยใหนักเรียนเขียน
3. ครูแตงประโยคที่มักประกอบไปดวยคําทีม่ ักสะกดผิดแลว เขียนเสนใตคํานั้นใหนักเรียนแก
4. แบงนักเรียนออกเปนกลุม และใหหาคําพองเสียงจากพจนานุกรม
วิภา รอดสุด (2542 : 13) ไดกลาวถึงวิธีการสอนเขียนสะกดคําไววา การสอนเขียนสะกดคํา มีวิธีที่
หลากหลาย ครูสามารถเลือกใชใหเหมาะสมกับนักเรียนหลายวิธีดวยกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเหมาะสมซึ่งครูจะเปน
ผูพิจารณาจุดประสงคเพื่อใหนักเรียนสนใจ และสนุกสนานไมเบื่อหนายในการเรียน มีความสามารถในการเขียน
สะกดคําสูงขึ้น
สุจิตตรา แกวโต (2545 : 20) กลาววาหลักการและเทคโนโลยีการสอนเขียนสะกดคํานั้น เปนสิ่งสําคัญ
ที่ครูผูสอนภาษาไทยควรจะไดนํามาใชเพื่อฝกฝนใหนักเรียนเขียนสะกดคําไดถูกตอง ซึ่งอยูในดุลยพินิจและศิลปะ
ของผูส อนที่จะใชเทคนิควิธีการสอนหลายๆ รูปแบบ เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจไมเบื่อหนายตอการเขียน
สะกดคํา โดยสอนไปเปนตามลําดับขั้นตอน เริ่มจากการเห็นลักษณะภาพรวมของคํานั้นกอนแลว จึงคอยๆ ตอให
ยากขึ้น ขั้นการอานสะกดคํา จดจําคํานั้นใหไดวามีลักษณะการเรียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต อยางไรบาง จึง
เขียนคําทบทวน และตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งหนึ่ง โดยใชพจนานุกรมหรือบัตรคําที่ครูเตรียมใหนอกจากนั้น
วิธีการสอนโดยกิจกรรมใหผูเรียนมีสวนรวมในการแสดงออกมากๆ เชน แบงกลุมแขงขันสะกดคํา เลนเกมตาง ๆ
คนหาคํามาแลกเปลี่ยนกัน นําคําที่มักเขียนผิดมาเขียนเปนประโยคเรียบเรียงเปนเรื่องราวมาเขียน ตามคําบอก
กิจกรรมตาง ๆ เหลานี้จะชวยใหการเขียนสะกดคํามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
บุญเพ็ญ สุวรรณศร (2548: 29) ไดกลาวถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเขียนสะกดคําวา ครู
จะตองมีความรูความสามารถในหลาย ๆ ดานประกอบกัน เชน สอนตามลําดับขั้นตอนที่ถูกตอง การจัดกิจกรรม
การสอนแตละครั้งตองสอดคลองกับสภาพความเปนจริง ของผูเรียน เชน สุขภาพ อารมณ ความสามารถในดาน
การอาน การเขียน ในดานกิจกรรมการสอน ตองมีบรรยากาศที่สนุกสนานไมเบื่อหนาย สรางเจตคติที่ดีใหกับ
ผูเรียนใหเห็นถึงความสําคัญของการเขียนสะกดคําที่ถูกตอง รูจักการใชกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การใหทําแบบ
ฝก การแขงขันเขียนคํา การจัดทําบัญชีรวบรวมคํายากมาแตงประโยค ฯลฯ นอกจากนั้น ควรสอนใหสัมพันธกันทั้ง

๑๓
4 ทักษะ คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อใหนักเรียนนําการเขียนไปใชในชีวิตประจําวันได อยางมี
ประสิทธิภาพ
จากการศึกษาวิจัยขางตนสรุปไดวา ครูควรจะมีวิธีสอนเขียนสะกดคําที่เปนลําดับขั้นตอน โดยเริ่มจากการ
เห็นลักษณะภาพรวมของคํานั้นกอนแลวจึงคอยๆ ตอใหยากขึ้นดวยการจดจําคํานั้นใหได วามีลักษณะการเรียง
พยัญชนะ สระ วรรณยุกตอยางไรบางจึงเขียนคํา และทบทวนความถูกตองอีกครั้ง ซึ่งกิจกรรมการสอนที่ใชนั้น
ควรมีความหลากหลาย และมีความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน ตรงตามจุดประสงค เชน การใชเกม การทําบัญชี
คํายาก ปริศนาคําทาย เปนตน และเนนการจัดการเรียนการสอนที่ใหนักเรียนไดมีสวนรวมมากๆ ตลอดจนการจัด
บรรยากาศในชั้นเรียนที่สนุกสนาน สรางเจตคติที่ดีตอผูเรียน แสดงใหเห็นถึงความสําคัญ ของการเขียนสะกดที่
ถูกตอง และควรเนนการสอนใหเกิดความสัมพันธกันทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน
๑.2.5 การพัฒนาทักษะการเขียนในระดับประถมศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐานพุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหผูเรียนตองฝกฝนทักษะการ
เขียน คือ การเขียนสะกดคําตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําและรูปแบบตางๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึง
การเขียนเรียงความ ยอความ เขียนรายงานชนิดตาง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณและ เขียนเชิง
สรางสรรค ซึ่งสอดคลองกับคุณภาพของผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 52)
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตองชัดเจน และเหมาะสม
เขียนแผนภาพโครงเรื่อ งและแผนภาพความคิดเพื่อใช พัฒ นางานเขียนเขียนยอ ความจากเรื่องสั้ นๆ เขียนจด
หมายถึงเพื่อนและบิดามารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา เขียนเรื่องตามจินตนาการ มี
มารยาทในการเขียน
ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ นั้น สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียน
สื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลขาวสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ไดกําหนดตัวชี้วัด ไวดังนี้
1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
2. เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน
3. เขียนบันทึกประจําวัน
4. เขียนจดหมายลาครู
5. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
6. มีมารยาทในการเขียน
ดังนั้น การเขียนจึงเปนทักษะหนึ่งที่จําเปนมาก โดยเฉพาะนักเรียนระดับประถมศึกษา เนื่องจากเปน
ทักษะที่นักเรียนฝกไดชากวาทักษะอื่น ๆ และเปนทักษะที่ซับซอน เด็กจะตองมีความพรอมในการฝกทักษะ การ
ฟง การพูด การอาน กอนการฝกทักษะการเขียน ครูตองเนนทักษะ พื้นฐานในการเขียนเสียกอน โดยใหนักเรียนได
ฝกดวยความสนุกสนาน ฝกจากงายไปหายาก
ทัศนีย ศุภเมธี (2542 : 33) ไดเสนอแนะลําดับในการสอนเขียนไว ดังนี้
1. กอนการสอนครูควรจูงใจใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการเขียนหนังสือใหถูกตองชัดเจน สวยงาม
เปนการแสดงวาผูเขียนเปนผูที่มีการศึกษาดี
2. พยายามสอนใหการเขียนสัมพันธกับการฟง การพูด และการอาน
3. นักเรียนที่เขียนสะกดผิดพลาด ครูควรใชวิธีพูด ใหนักเรียนรูสึกเต็มใจที่จะแกไขขอบกพรองของตนเอง
4. จัดกิจกรรมตางๆ เชน ประกวดเขียนนิทาน ประกวดคัดลายมือ ประกวดเขียนเรียงความ ก็เปนการ
สงเสริมใหนักเรียนเขียนไดอยางหนึ่ง
5. ในการจัดการสอนวิชาตางๆ จัดใหมีทักษะการเขียนไดเสมอ
๑๔
นอกจากนี้ อัจฉรา ชีวะพันธ(2546 : 66) ไดเสนอแนวทางในการจัดการเรียนรู การเขียนระดับ
ประถมศึกษา ดังนี้
1. ฝกใหนักเรียนสนใจศึกษาหาขอมูลมาไวใชเขียน
2. ฝกใหนักเรียนใชภาษาเขียนไดถูกตอง
3. ฝกฝนใหนักเรียนไดมีวัฒนธรรมในงานเขียน
4. จัดบรรยากาศที่สงเสริม และเอื้อตอการเขียน
5. เอาใจใสในการตรวจแกไขการเขียนของนักเรียนอยางสม่ําเสมอ
6. สนใจหาเทคนิคใหมๆ มาใชในการจัดการเรียนรูการเขียน
7. จัดกิจกรรมการเขียนในรูปแบบที่หลากหลาย
8. ใหนักเรียนไดฝกทักษะการเขียนอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ
9. สรางความภาคภูมิใจในงานเขียนใหแกนักเรียน
สรุปไดวา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหผูเรียนตองฝกฝน
ทักษะการเขียน ไดแก การเขียนสะกดคําตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสารโดยใชถอยคํา และรูปแบบตาง ๆ ตลอดจน
การเขี ยนเรี ยงความ ยอ ความ การเขียนเชิง สร างสรรค ดั ง นั้น การพัฒ นาทัก ษะการเขียนนั้น มี ความจําเป น
โดยเฉพาะในระดับชั้นประถมศึกษา เพราะจะเปนพื้นฐานใหนักเรียนมีทักษะการเขียนที่ดี และสามารถนําไปใช
ตอไปในระดับที่สูงขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ และการพัฒนาทักษะการเขียนก็เปนเรื่องที่ครูตองใหความเอาใจใส
อยางสม่ําเสมอ ทั้งการตรวจแกไข การหาเทคนิคใหมมาจัดการเรียนรูใหนาสนใจ เหมาะสมกับผูเรียน เพื่อให
ผูเรียนเกิดความสนุกสนานและตองมีการพัฒนาทักษะการเขียนอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ

๒. ความสําคัญของแบบฝก
๒.1 ความหมายของแบบฝก คําวา “แบบฝก” หรือ “แบบฝกเสริมทักษะ” มีความหมายเดียวกัน ซึ่ง
บางครั้งจะเรียกวา แบบฝก บางครั้งเรียกวาแบบฝกเสริมทักษะ เพราะเปนนวัตกรรมที่ครูนํามาใชในการฝก หรือ
เสริมทักษะของผูเรียน เพื่อใหเกิดรูปแบบในการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนใหสูงยิ่งขึ้น ดังมี
นักการศึกษาหลายทานไดให ความหมายของแบบฝกไว ดังนี้
อัจฉรา ชีวพันธ (2546: 48) กลาววา แบบฝก หมายถึง สิ่งที่สรางขึ้นเพื่อเสริมสรางความเขาใจตามแนว
ของหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางสวนชวยใหนักเรียนนําความรูความเขาใจไปใชได
อยางแมนยําถูกตองและคลองแคลว
ชาญชัย อาจนสมาจาร (2540: 98) ไดใหความหมายของแบบฝกเสริมทักษะวา คือ สวนหนึ่งของ
บทเรียน เปนบทเรียนหรือหัวขอที่นักเรียนตองเรียนและเปนโครงการที่ตองทําใหเสร็จ โดยมีคําถามใหนักเรียนได
ทบทวน ความรูจากบทเรียนที่ผานมา ทําใหทราบวา นักเรียนทําอะไรและทําใหสําเร็จผลอะไรในบทเรียน ซึ่งการ
ใชความสามารถไดทั้งในชั้นเรียนและที่บาน
กันตดนัย วรจิตติพล (2542: 34) กลาววา แบบฝกเสริมทักษะ คือ เครื่องมือทางการเรียนอยางหนึ่งที่
มุงใหนักเรียนไดฝกกระทําดวยตนเอง เพื่อจะไดมีทักษะหรือความชํานาญเพิ่มขึ้น หลังจากที่ไดเรียนรูในภาคทฤษฎี
หรือดานเนื้อหา ซึ่ ง ในแบบฝกควรประกอบดว ย คําแนะนําในการทําขอ คําถาม หรือกิจกรรมและช องวางให
นักเรียนตอบคําถาม
อารีย วาศนอํานวย (2545: 48) ไดใหความคิดวาแบบฝกคือ อุปกรณการเรียนการสอนอันประกอบดวย
กิจกรรมที่หลากหลาย นาสนใจที่จะนําไปใชเพื่อใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติเพิ่มขึ้น เพื่อจะไดเปลี่ยนพฤติกรรม การ
เรียนรูใหคลองแคลวเกิดความชํานาญ และความแมนยํา ซึ่งเปนไปโดยอัตโนมัติ

๑๕
จากที่กลาวมาขางตนนั้น สรุปไดวา แบบฝก หมายถึง งานกิจกรรม เครื่องมือ หรือสื่อการเรียนการสอน
อยางหนึ่งที่สรางขึ้น ประกอบดวยกิจกรรมที่หลากหลายนาสนใจที่มุงใหนักเรียน ไดนํามาใชฝกฝน ปฏิบัติ เพื่อ
ทบทวนเนื้อหาความรูตางๆ ที่เรียนมาแลว ทําใหเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู เกิดความชํานาญและความ
แมนยํา ซึ่งจะเปนไปโดยอัตโนมัติ
๒.2 หลักในการสรางแบบฝก
การสรางแบบฝกใหมีประสิทธิภาพ จําเปนตองมีขั้นตอน หรือแนวดําเนินการ ซึ่งมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับ
หลักการสรางแบบฝกไวตางๆ กัน ดังนี้
ละออ การุณยวนิช (2557: 67, อางถึงใน อารีย บัวคุมภัย, 2540: 20) ไดเสนอหลักใน การสรางแบบ
ฝกไวดังนี้
1. ใชหลักการเรียนรู เชน นักเรียนตองเขาใจเปาหมายที่ฝก
2. การฝกหัดตองทําโดยจําเพาะเจาะจงเฉพาะอยางยิ่ง ถามีแบบจะทําใหไดงาย
3. ไมควรใชเวลานานเกินไปจนนักเรียนเบื่อ ควรใชเกมหรืออุปกรณชวย
4. วิธีฝกนักเรียนควรใชวิธีที่เปนระเบียบ รวดเร็ว ยนยอ ครูควรตื่นตัว ฉับไว กระตุน ใหนักเรียนพรอมที่
จะทํา ขจัดสิ่งที่ลาชาตาง ๆ
5. ระดับความยากงายตองเหมาะสมกับนักเรียน
6. เวลาที่ใชในการฝกหัดในระยะแรก ๆ ควรสั้น ๆ แลวคอยขยายเวลาใหมากขึ้น
7. ตองมีการฝกหัดเปนรายบุคคล หรือเฉพาะกลุม เพราะแตละคนมีจุดออนตางกัน
8. ครูควรใหนักเรียนทราบผลความกาวหนาในการทําแบบฝกหัด ซึ่งจะเปนการจูงใจที่ดี
นงเยาว บวงสรวง (2545: 31) กลาวถึง หลักการสรางแบบฝกไววา จะตองคํานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู
มีวิธีการฝกทักษะที่เหมาะสม มีจุดมุงหมายในการฝกที่ชัดเจน และสรางแบบฝกใหมีรูปแบบนาสนใจ โดยคํานึงถึง
ความพรอมและความสามารถของนักเรียน แบบฝกที่สรางขึ้น ควรมีการหาประสิทธิภาพใหไดมาตรฐาน
มนทิรา ภักดีณรงค (2540: 99-100) ไดใหขอเสนอแนะในการสรางแบบฝกไววา การสรางแบบฝกที่จะ
ทําใหนักเรียนมีความคงทนในการเรียนรูไดดีตองมีองคประกอบหลัก คือ ตองใหนักเรียนไดฝกกระทําดวยตนเอง
บอย ๆ และสิ่งที่ควรคํานึงถึง คือ ตองใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานในขณะทําแบบฝก
บัตต (Butts, 1974: 85) กลาววา หลักการสรางแบบฝกตองเปนดังตอไปนี้
1. กอนที่จะสรางแบบฝกจะตองกําหนดโครงสรางคราว ๆ กอนวาจะเรียนแบบฝกเกี่ยวกับเรื่องอะไร มี
วัตถุประสงคอยางไร
2. ศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับเรื่องที่จะทํา
3. เขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมและเนื้อหาใหสอดคลองกัน
4. แจงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมออกเปนกิจกรรมยอย โดยคํานึงถึงความเหมาะสมของผูเรียน
5. กําหนดอุปกรณที่จะใชในกิจกรรมแตละตอนใหเหมาะสมกับแบบฝก
6. กําหนดเวลาที่ใชในแบบฝกแตละตอนใหเหมาะสม
7. มีการประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียน
บ็อค (Bock, 1993: 3) ไดกลาวถึงหลักการสรางแบบฝกดังนี้
1. กําหนดจุดประสงคใหชัดเจน เพื่อใหผูเรียนทราบจุดมุงหมายของแบบฝก
2. ใหรายละเอียดตาง ๆ เปนตนวาคําแนะนํา ขั้นตอนการทํา
3. สรางรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสรางความเขาใจใหนักเรียนมากที่สุด
4. แบบฝก ควรสรางความเขาใจใหนักเรียน เชน การเรียงลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้น ลงในตาราง แผนภูมิ

๑๖
จากหลักการสรางแบบฝก ดัง กลาวพอสรุปไดวา การสรางแบบฝกใหมีประสิทธิภาพนั้น ผูสรางจะตอง
คํานึงถึงปจจัยที่เกี่ยวของหลายประการ คือ ตองมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาจะสรางแบบฝกเกี่ยวกับอะไร เนื้อหา
ตองไมยาวเกินไป มีความเหมาะสมกับวัย ความพรอม ความสามารถ และความสนใจของผูเรียน แบบฝกควรมี
หลายรูปแบบที่นาสนใจ ไมควรใชเวลานานเกินไป ใหนักเรียนไดมีการฝกบอย ๆ เพื่อใหเกิดความคงทนในการ
เรียนรูและความสนุกสนานในขณะทําแบบฝก
๒.3 หลักจิตวิทยาในการสรางแบบฝก
การสรางแบบฝก ใหมีประสิทธิภาพสําหรับนําไปใช ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ควรคํานึง ถึง หลั ก
จิตวิทยามาเปนองคประกอบ และใชเพื่อเปนแนวทางในการสรางแบบฝกใหมีความเหมาะสมกับความสนใจ วัย
และความสามารถของผูเรียน ซึ่งมีผูกลาวถึงหลักจิตวิทยา ที่นํามาใชในการสรางแบบฝก ดังนี้
อารี บัวคุมภัย (2540: 22-23) กลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูของ
ธอรนไดค และสกินเนอร (Thorndike and Skinner) มีดังนี้ ธอรนไดค (Thorndike) ไดตั้งกฎการเรียนรู
ขึ้น 3 ขอ สามารถนําไปใชในการสรางแบบ ฝกทักษะ ดังนี้
1. กฎแหงผล (Law of Effect) มีใจความวา การเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองจะดียิ่งขึ้น เมื่อ
ผูเรียนแนใจวา พฤติกรรมตอบสนองของตนถูกตอง การใหรางวัลจะชวยสงเสริมการแสดงพฤติกรรมนั้นอีก
2. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) มีใจความวา การมีโอกาสไดกระทําซ้ําๆ พฤติกรรมหนึ่งจะทํา
ให พฤติกรรมนั้นสมบูรณยิ่งขึ้น การฝกหัดที่มีการควบคุมที่ดีจะสงเสริมผลตอการเรียนรู
3. กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) มีใจความวา เมื่อมีความพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดง
พฤติกรรมใด ๆ ถามีโอกาสไดกระทํายอมเปนที่พอใจ แตถาไมพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมการบังคับ
ใหกระทํา ยอมทําใหเกิดความไมพอใจ
นอกจากทฤษฎีก ารเรี ยนรูของธอร นไดค แล ว ยัง มีแนวคิ ดของนัก จิต วิท ยาอีกท าน ไดแ ก สกิ น เนอร
(Skinner) ที่มีแนวคิดเกี่ยวของกับการสรางแบบฝก มีรายละเอียดดังนี้
1. การเรียนรูจากการวางเงื่อนไขใหปฏิบัติ (Operamt Conditioning) หมายถึง แนวทฤษฎีการเรียนรูที่
อธิบายวา พฤติกรรมจะมีอัตราความเขมของการตอบสนองสูงขึ้น เมื่อไดรับการเสริมแรง
2. กระบวนการเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง กระบวนการที่นํามาใชเพื่อเพิ่ม หรือลดการ
ตอบสนอง ในกระบวนการเสริมแรงนั้น จะมีการใชตัวเสริมแรง (Reinforce) เชน คําชมเชย รางวัลที่เปนวัตถุ
สัญลักษณ หรือ สิทธิพิเศษตาง ๆ ตลอดจนการใหรูผลการกระทําของตนเอง
3. การใหเสริมแรงทันทีทันใด (Immediate Reinforcement) หมายถึง การกําหนดใหมีการเสริมแรง
อยางทันทีทันใดที่การตอบสนอง เชน เมื่อนักเรียนตอบ ครูใหการเสริมแรงทันทีวา คําตอบของนักเรียนถูกหรือผิด
การรีรอการเสริมแรงจะทําใหเกิดการเรียนรูลาชาไป
สุจริต เพียรชอบ (2537: 137-138) ไดเสนอหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับการเรียนการสอน ซึ่ง สามารถ
นํามาใช เปนแนวทางในการสรางแบบฝกดังนี้
1. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Differences) ครูควรคํานึงอยูเสมอวา นักเรียนแตละคน มี
ความรู ความถนัด ความสามารถและความสนใจทางภาษาตางกัน ดังนั้น จึงไมควรหวังที่จะใหนักเรียนทุกคนทํา
เหมือนกันหมด แตก็ควรพยายามจัดระบบการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูใหเกิดความ
เจริญงอกงามใหมากที่สุด
2. การเรียนรูโดยการฝกฝนตามกฎการเรียนรู (Law of Exercise) ของธอรนไดค เกี่ยวกับกฎแหงการ
ฝกหัด การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดีตอเมื่อใหมีการฝกหัด หรือการกระทาซ้ํา ถาผูเรียนไดฝกฝนทําแบบฝกหัดไดใช
ทักษะทางภาษามากเทาใดก็จะชวยใหมีทักษะดีมากขึ้นเทานั้น

๑๗
3. การเสริมกําลังใจ (Reinforcement) การเสริมกําลังใจทางบวกจะเปนสื่อที่ชวยใหนักเรียนทราบวาสิ่ง
ที่ตนแสดงออกไปนั้นถูกตอง เมื่อนักเรียนทราบวาตนทําไดถูกตองก็จะเกิดความภาคภูมิใจและพยายามทํากิจกรรม
ตางๆ ใหดีขึ้น
สรุปไดวา การเขาใจหลักจิตวิทยาในเรื่องตางๆ เชน กระบวนการเสริมแรง การใหแรงเสริมทันที การให
ความสําคัญของความแตกตางระหวางบุคคล หรือการที่ใหผูเรียนไดฝกฝน และทําซ้ําๆ นั้น หากนําทฤษฎีเหลานี้
มา ใชรวมกับแบบฝกจะสงผลใหผูเรียนมีความมั่นใจวา สิ่งที่ตนทําไปนั้นถูกตอง และเมื่อผูเรียนทราบวา ตนทํา
ถูกตอง ก็เกิดแรงจูงใจที่จะทํากิจกรรมตางๆ ใหดยี ิ่งขึ้น สงผลใหผูเรียนมีประสิทธิภาพในการเรียนรูโดยใชแบบฝก
เพื่อพัฒนาทักษะตางๆ ไดอยางสูงสุด

๒.4 ขั้นตอนการสรางแบบฝก
การสรางและพัฒนาแบบฝกนั้น หากผูสรางมีความรูและความเขาใจในหลักการที่ถูกตองแลวจะชวยให
ผูใชแบบฝกไดรับประโยชนจากแบบฝกนั้นไดอยางดี ขั้นตอนในการสรางแบบฝกนั้นไดมีนักวิชาการหลายทานได
กลาวเอาไวดังนี้
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2544: 145-146) กลาวถึงขั้นตอนในการสราง
แบบฝกไวดังนี้
1. ศึกษาปญหาและความตองการโดยศึกษาจากการผานจุดประสงคการเรียนรูและผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนหากเปนไปไดควรศึกษาความตอเนื่องของปญหาในทุกๆ ระดับชั้น
2. วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะที่เปนปญหาออกเปนเนื้อหาหรือทักษะยอยๆ เพื่อใชในการสรางแบบฝก
และแบบทดสอบ
3. พิจารณาวัตถุประสงค รูปแบบและขั้นตอนการใชแบบฝก เชน จะนําแบบฝกไปใชอยางไรในแตละชุด
จะประกอบไปดวยอะไรบาง
4. สรางแบบทดสอบซึ่งอาจมีแบบทดสอบเชิงสํารวจ แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัยขอบกพรอง แบบทดสอบ
ความกาวหนาเฉพาะเรื่องเฉพาะตอน แบบทดสอบที่สรางจะตองสอดคลองกับเนื้อหาหรือทักษะที่วิเคราะหไวใน
ตอนที่ 2
5. สรางบัตรฝกหัดเพื่อใชในการพัฒนาทักษะยอยแตละทักษะในแตละบัตรจะมีคําถามใหนักเรียนตอบ
การกําหนดรูปแบบขนาดของบัตร พิจารณาตามความเหมาะสม
6. สรางบัตรอางอิง เพื่อใชอธิบายคําตอบ หรือแนวทางในการตอบแตละเรื่องการสรางบัตรอางอิงนี้ อาจ
ทําเพิ่มเติม เมื่อไดนําบัตรฝกหัดไปทดลองใชแลว
7. สรางแบบบันทึกความกาวหนา เพื่อใชบันทึกผลการทดสอบหรือผลการเรียน โดยจัดทําเปนตอน เปน
เรื่องเพื่อใหเห็นความกาวหนาเปนระยะๆ สอดคลองกับแบบทดสอบความกาวหนา
8. นําแบบฝกไปทดลองใช เพื่อหาขอบกพรอง คุณภาพของแบบฝกและคุณภาพของแบบทดสอบ
9. ปรับปรุงแกไข
10. รวบรวมเปนชุดจัดทํา คําชี้แจง คูมือการใชสารบัญเพื่อใชประโยชนตอไป
สรุปไดวา การสรางและพัฒนาแบบฝกนั้น ผูสรางแบบฝก ควรศึกษาปญหาที่ตองการแกไขอยางตอเนื่อง
มีการวิเคราะหเนื้อหา วัตถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชแบบฝก ตลอดจนมีการสรางแบบทดสอบเพื่อ
สํารวจความกาวหนา มีการใชบัตรฝกหัดในการพัฒนาทักษะยอย หรือสรางบัตรอางอิงขึ้นเพื่อใชอธิบายคําตอบ มี
การบันทึกผลการเรียนหรือผลทดสอบ และแบบฝกที่สรางขึ้น ควรมีการนําไปทดลองใชกอนเพื่อหาขอบกพรอง
คุณภาพของแบบฝกและแบบทดสอบ จากนั้นจึงทําการแกไขปรับปรุงแลวรวบรวมเปนชุด ซึ่งควรมีคําชี้แจงและ
คูมือการใชแบบฝกอยางชัดเจน
๑๘
๒.5 ลักษณะที่ดีของแบบฝก
การสรางแบบฝกใหมีคุณภาพเหมาะสมกับการนําไปใชกับนักเรียนแตละระดับชั้นตองศึกษาองคประกอบ
หลายๆ ประการ มีนักการศึกษาหลายทานไดเสนอแนะเกี่ยวกับลักษณะของแบบฝกที่ดีไวดังนี้
มนทิรา ภักดีณรงค (2540 : 99 -100) กลาววา ลักษณะของแบบฝกที่ดีควรมีลักษณะดังตอไปนี้
1. นักเรียนตองสามารถฝกทําไดบอยๆ
2. นักเรียนไดลงมือกระทําเอง
3. นักเรียนมีความสนุกสนานในการทําแบบฝก
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2544 : 145) ไดกลาวถึงลักษณะของแบบฝกที่ดี
ไวดังนี้
1. เกี่ยวของกับเรื่องที่เรียนมาแลว
2. เหมาะสมกับระดับวัยหรือความสนใจของนักเรียน
3. มีคําชี้แจงสั้นๆ ที่ชวยใหนักเรียนเขาใจวิธีทําโดยงาย
4. ใชเวลาเหมาะสม
5. มีสิ่งนาสนใจและทาทายใหแสดงความสามารถ
6. ควรมีขอเสนอแนะในการใช
7. มีใหเลือกทั้งตอบแบบอยางจํากัดและตอบอยางเสรี
8. ถาเปนแบบฝกที่ตอ งการใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองแบบฝกนั้นควรมีความหลากหลายรูปแบบและให
ความหมายแกผูฝกทําดวย
9. ควรใชสํานวนภาษางายๆ ฝกคิดไดเร็วและสนุก
10. ปลุกความสนใจและใชหลักจิตวิทยา
กุสยา แสงเดช (2545, หนา 6-7) ไดกลาวถึงลักษณะของแบบฝกที่ดีไวดังนี้
1. แบบฝกที่ดีควรมีความชัดเจน ทั้งคําสั่งและวิธีทําคําสั่งหรือตัวอยางแสดงวิธีทําที่ใชไมควรยากเกินไป
เพราะจะเขาใจยาก ควรปรับใหงายและเหมาะสมกับผูใชเพื่อนักเรียนสามารถเรียนดวยตนเองได
2. แบบฝกที่ดีควรมีความหมายตอผูเรียนและตรงตามจุดหมายของการฝกลงทุนนอย ใชไดนาน ทันสมัย
3. ภาษาและภาพที่ใชในแบบฝกเหมาะกับวัยและพื้นฐานความรูของผูเรียน
4. แบบฝกที่ดีควรแยกฝกเปนเรื่องๆ แตละเรื่องไมควรยาวเกินไป แตควรมีกิจกรรมหลายแบบเพื่อ เรา
ความสนใจ และไมเบื่อในการทําและฝกทักษะใดทักษะหนึ่งจนชํานาญ
5. แบบฝกที่ดีควรมีทั้งแบบกําหนดคําตอบและใหตอบโดยเสรี การเลือกใชคํา ขอความ รูปภาพในแบบ
ฝกควรเปนสิ่งที่นักเรียนคุนเคยและตรงกับความสนใจของนักเรียน กอใหเกิดความเพลิดเพลินและพอใจแกผูใช ซึ่ง
ตรงกับหลักการเรียนรูวานักเรียนจะเรียนไดเร็วในการกระทําที่ทําใหเกิดความพึงพอใจ
6. แบบฝกที่ดีควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ใหรูจักคนควารวบรวมสิ่งที่พบเห็นบอย ๆ หรือ
ที่ตัวเองเคยใชจะทําใหผูเรียนเขาใจเรื่องนั้นๆ มากยิ่งขึ้นและรูจักนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง
มีหลักเกณฑและมองเห็นวาสิ่งที่ไดฝกนั้นมีความหมายตอเขาตลอดไป
7. แบบฝกที่ดีควรตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ผูเรียนแตละคนมีความแตกตางกันในหลายๆ
ดาน เชน ความตองการ ความสนใจ ความพรอม ระดับสติปญญาและประสบการณ เปนตน ฉะนั้น การทําแบบฝก
แตละเรื่องควรจัดทําใหมากพอ และมีทุกระดับตั้งแตงาย ปานกลาง จนถึงระดับคอนขางยาก เพื่อวาทั้งนักเรียน
เกง ปานกลาง และออน จะไดเลือกทําไดตามความสามารถ ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนทุกคนไดประสบความสําเร็จใน
การทําแบบฝก
8. แบบฝกที่จัดทําเปนรูปเลม นักเรียนสามารถเก็บรักษาไวเปนแนวทางเพื่อทบทวนดวยตนเองตอไป
๑๙
9. การที่นักเรียนไดทําแบบฝกชวยใหครูมองเห็นจุดเดน หรือปญหาตาง ๆ ของนักเรียนไดชัดเจน ซึ่งจะ
ชวยใหครูดําเนินการปรับปรุงแกไขปญหานั้นๆ ไดทันทวงที
10. แบบฝกที่จัดขึ้น นอกจากที่มีในหนังสือเรียนแลวจะชวยใหนักเรียนไดฝกฝนอยางเต็มที่
11. แบบฝกที่จัดพิมพไวเรียบรอยแลว จะชวยใหครูประหยัดแรงงานและเวลาในการที่จะตองเตรียมแบบ
ฝกอยูเสมอในดานผูเรียนไมตองเสียเวลาในการลอกแบบฝกจากตําราเรียน หรือกระดานดํา ทําใหมีเวลาและ
โอกาส ไดฝกฝนทักษะตาง ๆ ไดมากขึ้น
12. แบบฝกชวยประหยัดคาใชจาย เพราะการพิมพเปนรูปเลมที่แนนอน ลงทุนต่ําแทนที่จะใชพิมพลง
กระดาษไขทุกครั้งไป นอกจากนี้ยังมีประโยชนในการที่ผูเรียนสามารถบันทึกและมองเห็นความกาวหนาของตนได
อยางมีระบบและมีระเบียบ
สรุปไดวา แบบฝกทีด่ ีควรมีจุดหมายและตรงตามจุดประสงค ภาษาที่ใชและรูปภาพควรมีความเหมาะสม
กับวัยและพื้น ฐานความรูของผูเรียน อีกทั้ง ยัง ตอบสนองตอความแตกตา งระหวางบุคคล แบบฝกควรมีความ
สนุกสนานและกิจกรรมก็ควรมีความหลากหลาย นักเรียนสามารถนําไปฝกดวยตนเอง นอกจากนี้ควรมีแบบฝก
ครบทุกระดับตั้งแตงาย ปานกลาง และยาก เพื่อนักเรียนจะไดเลือกทําไดตามความสามารถของตนเอง นอกจากนี้
ครูก็จะมองเห็นจุดเดนหรือปญ หาตาง ๆ ของนักเรียนไดชัดเจนซึ่ง จะชวยใหครูดําเนินการปรับปรุงแกไขปญหา
นั้นๆ ไดทันที
๒.6 ประโยชนของแบบฝก
ภาษาไทย เปน วิ ชาทัก ษะที่ตอ งอาศั ยการฝกฝนอยา งสม่ําเสมอ เพราะการฝ กฝนจะทํา ให เกิ ดความ
ชํานาญ ความแมนยํา มีพัฒนาทางภาษา แบบฝกจึงเปนสื่อการเรียนที่อํานวยประโยชนตอการเรียนภาษาไทย ซึ่งมี
ผูที่เสนอประโยชนของแบบฝก ไวดังนี้
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2544: 146) กลาวถึงประโยชนของแบบฝกเสริม
ทักษะ ดังนี้
1. เปนสวนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียน
2. ชว ยสง เสริมทัก ษะการใชภาษาใหดี ขึ้น แต ทั้ง นี้จะตองอาศัยการสง เสริมและความเอาใจใสจาก
ครูผูสอนดวย
3. ชวยในเรื่องของความแตกตางระหวางบุคคล เพราะการที่ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดที่เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนจะชวยใหนักเรียนประสบความสําเร็จ
4. แบบฝกชวยเสริมใหทักษะทางภาษาคงทน
5. การใหนักเรียนทําแบบฝก ชวยใหครูมองเห็นจุดเดนหรือจุดบกพรองของนักเรียนไดชัดเจน ซึ่งจะชวย
ใหครูดําเนินการปรับปรุงแกไขปญหานั้นไดทันทวงที
6. แบบฝกที่จัดพิมพไวเรียบรอยแลว จะชวยใหครูประหยัดแรงงานและเวลาในการที่จะเตรียมการ สราง
แบบฝก นักเรียนไมตองเสียเวลาในการคัดลอกแบบฝก ทําใหมีเวลาและโอกาสฝกฝนไดมากขึ้น
เนาวรัตน ชื่อมณี (2540: 3) กลาวสรุปวา แบบฝกมีความสําคัญและจําเปนตอการเรียนทักษะทาง
ภาษามาก เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจบทเรียนไดดีขึ้น สามารถจดจําเนื้อหาในบทเรียน และคําศัพทตาง ๆ ได
คงทน ทําใหเกิดความสนุกสนานในขณะเรียน ทราบความกาวหนาของตนเอง สามารถนําแบบฝกมาทบทวน
เนื้อหาเดิมดวยตนเองได นํามาวัดผลการเรียนหลังจากที่เรียนแลว ตลอดจนสามารถทราบขอบกพรองของนักเรียน
และนําไปปรับปรุงแกไขไดทันทวงที ซึ่งจะทําใหครูประหยัดเวลา คาใชจาย และลดภาระไดมาก
ณัฐพงศ สาวงศตุย (2542: 35) ไดกลาวถึง ประโยชนของแบบฝกวา แบบฝกนั้น มีความสําคัญทั้งตอตัว
นักเรียนและครูผูสอนในดานตัวนักเรียนนั้น ทําใหนักเรียนไดเกิดทักษะ เกิดความรู ความชํานาญในการไดฝกฝน
และยัง สามารถมองเห็นความกาวหนาของตนเองได และสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดเหมาะสม ในดาน
๒๐
ครูผูสอนนั้น แบบฝกที่ดีถือวาเปนอุปกรณชวยลดภาระของครูผูสอน ชวยใหครูผูสอนมองเห็นปญหาตางๆ ในการ
เรียนโดยอาศัยแบบฝกไดชัดเจนยิ่งขึ้น
สรุปไดวา แบบฝกมีความสําคัญและเปนสื่อการเรียนที่อํานวยประโยชนตอการเรียนภาษาไทย เนื่องจาก
แบบฝกชวยเสริมทักษะทางภาษาใหดีขึ้นชวยเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล ดังนั้นนักเรียนจะไดทําแบบฝกที่
ชวยแกไ ขและพัฒ นาความสามารถของนักเรียนไดตรงตามจุดประสงค นักเรียนจะมีทักษะทางภาษาที่คงทน
ประหยั ดเวลาและแรงงานนั กเรี ยนไม ตอ งเสียเวลาในการคัดลอกแบบฝ กและครูยั ง สามารถเห็ นจุ ดเดน หรื อ
จุดบกพรองของนักเรียน ซึ่งจะเปนการชวยใหครูสามารถแกไขปญหาไดทันที เนื่องจากแบบฝกชวยลดภาระการ
เตรียมการสอนของครูลงและครูจะไดมีเวลาแกไขปญหาหรือสงเสริมความสามารถของนักเรียนใหดีขึ้น

๓. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๓.1 ความหมายของผลสัมฤทธิก์ ารเรียน
จากความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีนักการศึกษาไดใหความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปได ดังนี้
ณภัทร พุทธสรณ (2551 : 36) กลาววาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร หมายถึง ความรู
ความสามารถในการเรียนรูดานวิทยาศาสตรที่ไดเรียนมาแลว และวัดไดจากแบบทดสอบ
๓.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สุดารัตน นนทคลัง (2549 : 9) ไดสรุปไววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เปนแบบทดสอบที่ใชวัดความรู
ความสามารถทางสมองหรือสติปญญาของผูเรียนซึ่งผูเรียนไดเรียนไปแลวและเปนผลเนื่องมาจากหลักสูตร วิธีการ
จัด การเรีย นการสอนของผู สอน ตลอดจนการใชสื่ อการเรีย นการสอน รวมถึ ง ประสบการณข องผูเ รีย นนอก
หองเรียนที่ผูเรียนไดรับ
พัฒนพงษ สีกา (2548 : 22) ไดใหความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหมายถึง ผลที่เกิดจากการ
กระทําของบุคคล ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเนื่องจากการไดรับประสบการณโดยการเรียนรูดวยตนเอง
หรือจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนและสามารถประเมินหรือวัดไดจากการทดสอบ
จากที่กลาวมาแลวสรุปไดวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรู ทักษะที่
เกิดจากการเรียนรูหรือฝกฝนทักษะที่ไดเรียนมาแลว ซึ่งสามารถวัดหรือประเมินไดโดยใชเครื่องมือวัด
๓.3 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบงไดเปน 2 ประเภทสรุปไดดังนี้
(ทิวัตถ มณีโชติ 2549 : 68 – 73 ; อนุวัติ คูณแกว 2550 : 170)
1. แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) แบบทดสอบปรนัย (Objective Tests) แบงไดเปน 4 ชนิด
ไดแก
1.1 แบบถูก - ผิด (True - False Items) เปนแบบทดสอบที่ใหผูตอบตัดสินใจเลือกวาแตละขอ
นั้นถูกหรือผิด แบงเปน 2 ประเภทคือ ขอคําถามเดี่ยวและขอคําถามชุดจากสาระที่กําหนด
1.2 แบบจับคู (Matching Items) แบบทดสอบประเภทนี้ เปนการหาความสัมพันธระหวาง 2
ขอความ คือขอความที่เปนคําถาม (Premises หรือ Descriptions) กับขอความที่เปนคําตอบ
1.3 แบบเติมคํา (Completion Items) เปนขอสอบที่ตองการใหผูสอบเติมคํา หรือขอความ
สั้นๆ ในสวนที่เวนวางไว ใหเปนประโยคที่ถูกตองสมบูรณ
1.4 แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) เปนแบบทดสอบที่นิยมใชกันมากสําหรับ
แบบทดสอบแบบปรนัย เพราะสามารถวัดไดทุกระดับ พฤติก รรมของการวัด ศักยภาพทางสมอง ขอสอบแบบ
เลือกตอบเปนขอสอบที่นิยมใชมากในปจจุบันทั่วโลก
๒๑
2. แบบอัตนัย แบบทดสอบอัตนัย เปนแบบทดสอบที่ใหผูตอบไดแสดงความคิดเห็น จึงเหมาะสําหรับวัด
ความรูขั้นสูงกวาความจําและความเขาใจ ขอสอบอัตนัยแบงได 2 ลักษณะ คือ
2.1 แบบจํากัดคําตอบ คือใหนักเรียนตอบตามประเด็นที่ระบุไว
2.2 แบบไมจํากัดคําตอบ คือใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางเสรี จากประเภทของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่กลาวมาแลว สรุปไดวาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบงได
เปน 2 ประเภท คือ แบบปรนัย และแบบอัตนัย
3. การวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
บลูม (Bloom. 1976: 201 อางถึงใน ศรีชาติ เพ็งอินทร 2552 : 39 ) ไดกลาวถึงลําดับขั้นของความรู
ใชในการเขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ดานความรูความคิดไว 6 ขั้น ดังนี้คือ
1. ความรูความจํา หมายถึง การระลึกหรือทองจําความรูตางๆ ที่เรียนมาแลวโดยตรง ในขั้นนี้
รวมถึงการระลึกถึงขอมูล ขอเท็จจริงตางๆ ไปจนถึงกฎเกณฑ ทฤษฎีจากตํารา ดังนั้นขั้นความรูความจําจึงจัดไดวา
เปนขั้นต่ําสุด
2. ความเขาใจ หมายถึง ความสามารถที่จะจับใจความสําคัญของเนื้อหาที่ไดเรียนหรืออาจ
แปล ความหมายจากตัวเลข การสรุป การยอความตางๆ การเรียนรูขั้นนี้ ถือวา เปนขั้นสูงกวาการทองจําตามปกติ
อีกขั้นหนึ่ง
3. การนําไปใช หมายถึง ความสามารถที่จะนําความรูที่นักเรียนไดเรียนมาแลวไปใชใน
สถานการณใหม ดัง นั้น ในขั้น นี้จึง รวมถึง ความสามารถในการเอากฎมโนทัศน หลักสําคัญ วิธีการนําไปใช การ
เรียนรูขั้นนี้ถือวานักเรียนจะตองมีความเขาใจเนื้อหาเปนอยางดีเสียกอน จึงจะนําความรูไปใชได ดังนั้นจึงจัดอันดับ
ใหสูงกวาความเขาใจ
4. การวิเคราะห หมายถึง ความสามารถที่จะแยกแยะเนื้อหาวิชาลงไปเปนองคประกอบยอย ๆ
เหลานั้นเพื่อที่จะมองเห็นหรือเขาใจความเกี่ยวโยงตาง ๆ ในขั้นนี้จึงรวมถึงการแยกแยะหาสวนประกอบยอย ๆ หา
ความสัมพันธระหวางสวนยอยๆ เหลานั้น ตลอดจนหลักสําคัญตาง ๆ เขามาเกี่ยวของ การเรียนรูในขั้นนี้ถือวาสูง
กวาการนําเอาไปใชและตองเขาใจเนื้อหาและโครงสรางของบทเรียน
5. การสังเคราะห หมายถึง ความสามารถที่จะนําเอาสวนยอยๆ มาประกอบกันเปนสิ่งใหม
การสัง เคราะหจึงเกี่ยวกับการวางแผน การออกแบบการทดลอง การตั้ง สมมติฐาน การแกปญ หาที่ยากๆ การ
เรียนรูในระดับนีเ้ ปนการเนนพฤติกรรมที่สรางสรรคในอันที่จะสรางแนวคิดหรือแบบแผนใหมๆ ขึ้นมา ดังนั้นการ
สังเคราะหเปนสิ่งที่สูงกวาการวิเคราะหอีกขั้นหนึ่ง
6. การประเมินคา หมายถึง ความสามารถที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับคุณคาตางๆ ไมวาจะเปนคําพูด
นวนิยาย บทกวี หรือการรายงานวิจัย การตัดสินใจดังกลาว จะตองวางแผนอยูบนเกณฑที่แนนอน เกณฑดังกลาว
อาจจะเปน สิ่ง ที่นักเรียนคิดขึ้น เอง หรือนํามาจากสิ่ง อื่นก็ไ ด การเรียนรูขั้นนี้ถือวาเปนการเรียนรูขั้นสูงสุดของ
ความรูความจํา

๒๒
บทที่ ๓
วิธีดําเนินการวิจัย

วิธีดําเนินการวิจัย
ประชากรและกลุมตัวอยาง
กลุมเปาหมาย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ จํานวน ๒ คน
ตัวแปรที่ศึกษาและเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
๑. ตัวแปรตน
แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด
๒. ตัวแปรตาม
ความสามารถในการเขียนคําตามมาตราตัวสะกดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
โรงเรียนบานหนองไผ
๓. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ผูวิจัยไดใชเครื่องมือตามลําดับดังนี้
๑. แบบทดสอบกอน-หลังเรียน เรื่องการสะกดคํา
๒. แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด แม ก กา
๓. แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด แม กก
๔. แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด แม กด
๕. แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด แม กบ
๖. แบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด แม กน
การเก็บรวบรวมขอมูล
ที่ กิจกรรม ชวงเวลา
๑. ทดสอบความสามารถในการเขียนภาษาไทยประมาณ ๒๐ นาที กอนการฝกและสรุปผล สัปดาหที่ ๑
๒. ฝกเขียนคําประกอบภาพและเขียนคําในมาตราแม ก.กา ประมาณ ๑๐ นาที หลังเรียน สัปดาหที่ ๒
๓. ทดสอบความสามารถในการเขียนคําประกอบภาพและเขียนคําที่สะกดในมาตราแม ก.กา สัปดาหที่ ๓
หลังฝกและสรุปผล
๔. ฝกเขียนคําที่สะกดในมาตราแม กก ประมาณ ๑๐ นาที หลังเรียน สัปดาหที่ ๔ – ๕
๕. ฝกเขียนคําที่มีตัวสะกดในมาตราแม กด ประมาณ ๑๐ นาที หลังเรียน สัปดาหที่ ๖ – ๗
๖. ทดสอบความสามารถในการเขียนคําที่มีตัวสะกดในมาตราแม กก , แม กด หลังฝกและ สัปดาหที่ ๘
สรุปผล
๗. ฝกเขียนคําที่มีตัวสะกดในมาตราแม กบ ประมาณ ๑๐ นาที หลังเรียน สัปดาหที่ ๙ – ๑๐
๘. ฝกเขียนคําที่มีตัวสะกดในมาตราแม กน ประมาณ ๑๐ นาที หลังเรียน สัปดาหที่ ๑๑
๙. ทดสอบความสามารถในการเขียนคําที่สะกดในมาตราแม กบ และแม กน หลังฝก และ สัปดาหที่ ๑๒
สรุปผล
๑๐. ทดสอบความสามารถในการเขียนภาษาไทยประมาณ ๒๐ นาที หลังการฝกและสรุปผล สัปดาหที่ ๑๓
๑๑. สรุปรายงานวิจัย สัปดาหที่ ๑๔

๒๓
การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังนี้
วิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนโดยการใชแบบทดสอบเรื่องการสะกดคํา โดยหา
คาเฉลี่ยและคารอยละ

สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้
รอยละ

๒๔
บทที่ ๔
ผลการวิจัย

การวิจัยเรื่องการแกปญหาการเขียนคําภาษาไทยไมถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียน
บานหนองไผ โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อแกปญหาการ
เขียนภาษาไทยไมถูกตอง ผูวิจัยขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยแบบทดสอบการสะกดคําของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔

ตารางผลคะแนนของนักเรียน กอนเรียนและหลังเรียน

คนที่ ทดสอบกอนเรียน ทดสอบหลังเรียน


(Pre-test) (Post-test)
คะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน
1 17 23
2 19 25
คะแนนเฉลี่ย 18 24
รอยละ 60 80

สรุปไดวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยแบบทดสอบการสะกดคําของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ ๔ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย
เพิ่มขึ้นรอยละ ๒๐

๒๕
บทที่ ๕
สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย
จากที่ผูวิจัยไดพบปญหาของนักเรียนคือดานการเขียน ผูวิจัยไดพบนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
โรงเรียนบานหนองไผ มีปญหาดานการเขียนไมถูกตอง เนื่องมาจาก
๑. นักเรียนยังไมเขาใจมาตราแมสะกด
๒. นักเรียนขาดความสนใจ
การสรุปการวิจัยในครั้งนี้เปนการสรุปการวิจัยซึ่งยังมีเนื้อหาที่ผูวิจัยตองฝกเด็กนักเรียนอีก แตชวงเวลาที่
ทําไมเพียงพอ ผูวิจัยจึงไดสรุปการวิจัยเทาที่ไดทําการวิจัยกับนักเรียน
ผูวิจัยไดทําชุดฝกใหแกนักเรียนซึ่งกอนที่นักเรียนจะทําชุดฝก ผูวิจัยจะอธิบายเนื้อหาใหนักเรียนไดเขาใจ
กอนทุ กครั้ ง ชุ ดฝก ที่ผูวิ จัยไดจัด ทําขึ้ นจะเริ่มจากคํ าที่เ ขียนงายๆ โดยเริ่มจากมาตราตัวสะกดแม ก.กา กอ น
ในชุดฝกมีการทบทวนทําหลายๆ ครั้งอยางนอย ๙ ครั้งในแตละมาตรา ทําใหนักเรียนมีการทบทวนและฝกความจํา
ในเด็กนักเรียนบางคนก็ยังไมคอยมีสมาธิยังจําไมคอยได แตผูวิจัยก็พยายามคิดแบบฝกสอดแทรกในแตละมาตรา
ตัวสะกดมากกวา ๙ ชุด เพื่อนักเรียนจะไดมีความเขาใจมากขึ้น ผูวิจัยจะหาคํางายและเริ่มหาคําที่ยากขึ้น และจะ
ฝกจนนักเรียนสามารถเขียนคําไดและนําคํามาแตงประโยคได
จากการวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยทําใหนักเรียนมีความมั่นใจมากขึ้น เด็กนักเรียนสามารถที่จะโตตอบกับผูวิจัยได
อยางมั่นใจ ผูวิจัยจะสัง เกตไดจากที่นักเรียนไดโตตอบ นักเรียนมีความสุขและดีใจที่เขาสามารถตอบไดถูกและ
เขียนไดถูกตอง การทําชุดฝกทุกครั้งจะมีคะแนนใหทุกครั้ง ทําใหนักเรียนไดรูวาตนเองมีการพัฒนามากขึ้นเพียงใด
และผูวิจัยก็ตองเก็บมาทําการวิจัยตอไป โดยจะตองมีการทําชุดฝกแบบใหมที่จะทําใหเด็กนักเรียนไดเขาใจไดงาย
สามารถทําไดและเขียนไดถูกตอง

อภิปรายผลการวิจัย
การทํา วิจัยในครั้ง นี้มีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้ นรอยละ ๒๐ นักเรียนสามารถเขีย นได มีความเขา ใจในมาตรา
ตัวสะกดและสามารถเขียนไดถูกตอง

ขอเสนอแนะ
การวิจัยเรื่องการแกปญหาการเขียนคําภาษาไทยไมถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียน
บานหนองไผ โดยใชแบบฝกทักษะการเขียนคําตามมาตราตัวสะกด เปนการเรียนรูที่นําแบบฝกทักษะมาชวยใน
การจําตัวสะกดของนักเรียน ทั้งนี้ยังทําใหนักเรียนสามารถเขียนคําที่มีตัวสะกดไมตรงตามมาตราไดอยางถูกตอง
นับวาเปนสิ่งที่ดีสําหรับครูท่จี ะพัฒนาการสอนของตนเองและเมื่อมีปญหาครูก็ควรจะแกปญหานั้นไดดีขึ้น นักเรียน
เปนบุคคลสําคัญที่ครูทุกทานควรสนใจเปนอยางมาก ผูวิจัยคิดวาจะนําการวิจัยในครั้งนี้ไปปฏิบัติและพัฒนาตอไป
ใหดียิ่งขึ้น

๒๖
บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:


คุรุสภาลาดพราว.
กําชัย ทองหลอ. (2543). หลักภาษาไทย. (พิมพครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: รวมสาสน.
กมล ชูกลิ่น. การพัฒนาแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธ
ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2550.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสง
สินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.)
กรรณิการพวงเกษม. ปญหาและกลวิธีการสอนภาษาไทยในโรงเรียนประถมศึกษา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพวฒ ั นาพานิชน, 2535.
กรวิการ รืน่ รมย. (2543). รายงานการวิจัยเรื่องการสรางแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําใน วิชาภาษาไทย
สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด ระยอง. ระยอง:
สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดระยอง.
กุศยา แสงเดช. (2545). หนังสือสงเสริมการอาน. กรุงเทพฯ: แม็ค
ชวาล แพรัตกุล . (2549). เทคนิคการเขียนขอสอบ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา.
ชาญชัย อาจนสมาจาร. (2540). หลักการสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
กลิ่นพยอม สุระคาย. (2544). “การพัฒนาแบบฝกการอานภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจที่มีภาพการตูน
ประกอบสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
การสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐพงศ สาวงศตุย. (2542). “การพัฒนาแบบฝกที่มีประสิทธิภาพเรื่องการสะกดคํายากวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษา ป ที่ 3.” วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาการประถมศึกษา
บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ทัศนีย ศุภเมธี. (2542). วิธีสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: ธนะการพิมพ.
นงเยาว บวงสรวง. (2545). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคําของนักเรียนโดยใชแบบฝก
เสริมทักษะกับวิธีการเขียนตามคําบอก ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 โรงเรียนทายางวิทยา จังหวัดเพชรบุรี.”
วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เนาวรัตน ชื่นมณี. (2540). “การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษไทยการสะกดคํายาก เรื่องเปดหาย สําหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 2.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบันฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิภา แกวประทีป. การสรางแบบฝกการเขียนคําที่มีตัวสะกดไมตรงตามมาตรา สําหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม,
2547.
บุญเพ็ญ สุวรรณศร. (2548). “การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเขียนสะกดคําของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 ระหวางการสอนโดยใชแบบฝกการเขียนสะกดคํากับการสอนตามคูมือครูของ
กรมวิชาการ. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบันฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย
ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.
๒๗
ภาคผนวก

๒๘
ชื่อ สกุล
ชั้น เลขที่ ชื่อเล่น

แบบฝกทดสอบกอน-หลัง การฝก การเขียนสะกดคํา

ตอนที่ ๑ คําชี้แจง จงเลือกขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว


๓๐ คะแนน
๑. มาตราตัวสะกดใด ที่ มี ตัวสะกดคําที่ ไมตรงมาตรา มากที่สุด
ก. แมกน ข.แมกม ค. แมกด ง. แมกก

๒. มาตราตัวสะกดใด ที่ มี ตัวสะกด ตรงมาตรา


ก. แมกน ข.แมกม ค. แมกด ง. แมกก

๓. ขอใดมีคําที่อยูในมาตราตัวสะกดแม ก.กา
ก. เลย , หิว ข.กลัว , วัว ค. สาย , ขวิด ง. เขา , กลาว

๔. ขอใดมีคําที่อยูในมาตราตัวสะกดแม กก ทั้งหมด
ก. พรรคพวก , หมากรุก ข. พยัคฆ , การงาน
ค. คนพาล , บุคลิก ง. วิญญาณ , สงสาร

๕. ขอใดมีคําที่อยูในมาตราตัวสะกดแม กด ทั้งหมด
ก. ประโยชน , กระโดด ข. อนุบาล , อากาศ
ค. รถยนต , ริมคลอง ง. สงกรานต , กราบพระ

๖. ขอใดมีคําที่อยูในมาตราตัวสะกดแม กบ ทั้งหมด
ก. รสฝาด , กระทง ข. สาปแชง , อธิบาย
ค. เคารพ , ลาภ ง. โลภ , พรรษา

๗. ขอใดมีคําที่อยูในมาตราตัวสะกดแม กน ทั้งหมด
ก. กันดาร , ของขวัญ ข. กุญแจ , มหาชาติ
ค. ชาติไทย , เกสร ง. ขาวสาร , ประดิษฐ

๘. ขอใดมีคําที่มีมาตราตัวสะกด เหมือนกับคําวา “เพชร” ทุกคํา


ก. พลอย เมฆ ข. ชาติ เลข ค. พุทธ ทราย ง.การ พาล

๒๙
๙. ขอใดมีคําที่สะกด ในมาตราเดียวกันทั้งหมด
ก. กันดาร , คนพาล , มาร ข. , มหาชาติ, เพชร , เลข
ค. ชาติไทย , กุญแจ ,เกสร ง. ขาวสาร , ประดิษฐ , วิญญาณ

๑๐. ขอใดมีคําที่มีตัวสะกดตรงกับคําวา “กาญจน” ทั้ง ๒ คํา


ก. วานร , สอนใจ ข. สุวรรณ , วันวาน ค. จลาจล , สังเกต ง.จราจร , สัญญา

๑๑. ขอใดมีคําที่มีมาตราตัวสะกด ที่ ไม ตรงกับคําวา “เมฆ”


ก. เลข ข. กาช ค. พร ง. มุข
๑๒. “ฉันไปเที่ยวตลาดนัดกับคุณแม แลวรีบกลับมาทําการบาน” มีคําที่สะกดดวยมาตรา แม ก.กา กี่พยางค
ก. ๒ พยางค ข. ๓ พยางค ค. ๔ พยางค ง. ๕ พยางค

๑๓. “ฉันไปเที่ยวตลาดนัดกับคุณแม แลวรีบกลับมาทําการบาน” มีมาตราตัวสะกดใดมากที่สุด


ก. แมกน ข. แมเกอว ค. แมกด ง. แมกบ

๑๔. “พี่ชอบกินขนมสายบัว” จากประโยคไมมีมาตราตัวสะกดใด


ก. แมกน ข. แมเกอว ค. แมเกย ง. แมกบ

๑๕. “วานรไดแกวยอมไมเห็นคา” จากประโยคไมมีมาตราตัวสะกดใด


ก. แมก.กา ข. แมเกอว ค. แมเกย ง. แมกน

๓๐
ตอนที่ ๒ คําชี้แจง .ใหเขียน คํา จากคําอานใหถูกตอง

๑๖. อัด – ชา – ไส = ___________________________


๑๗. พิ – รุด = ___________________________
๑๘. อา – คาด = ___________________________
๑๙. ปราด – ถะ – หนา = ___________________________
๒๐. อัด – ทะ – จัน = ___________________________
๒๑. อาด-ชะ-ยา-กํา = ___________________________
๒๒. สา-มัก-คี = ___________________________
๒๓. วัด-ทะ-นะ-ทํา = ___________________________
๒๔. มะ-หัด-สะ-จัน = ___________________________
๒๕. ปศา…………
๒๖. เศร.........ฐี
๒๗. กิ………จานุเบกษา
๒๘. อั....…ฌาสัย
๒๙. อา…….….ญากรรม
๓๐. ปาฏิหา...........ย

๓๑
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ค้นหาคา มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาในมาตราแม่ ก กา

บทกลอนแม่ ก กา
แม่ไก่อยู่ในตะกร้า ไข่ๆมาสี่ห้าใบ
อีแม่กาก็มาไล่ อีแม่ไก่ไล่ตีกา
หมาใหญ่ก็ไล่เห่า หมูในเล้าแลดู
ปูแสมแลปูนา กะปูม้าปูทะเล
เต่านาแลเต่าดา อยู่ในน้ากะ
ปลาทูอยู่ทะเล ปลาขี้เหร่ไม่สู้ดี

บทเพลงมาตราแม่ ก กา
เด็กทั้งหลายยังจาได้ไหม แม่ ก กาในมาตราไทย
เป็นไทยไม่มีตัวสะกด เราต้องจดจา
เต่า ไก่ เสือ หมี วัว ถั่ว งา ปลาโลมา ม้า ลา จระเข้
คาเหล่านี้ ไม่มีตัวสะกด นั้นคือ แม่ ก กา
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 โยงภาพจับคู่คา มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงคาให้ตรงกับภาพให้ถูกต้อง
1 เต่า

2 ประตู

3 ปลา

4 ไดโนเสาร์

5 นาฬิกา

6 เรือใบ

7 นารี

8 ฟ้าผ่า

9 เสื้อผ้า

10 กาแฟ
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาให้ถูกต้อง

1 นาฬิกา อ่านว่า ...............................................................

2 โอภาปราศรัย อ่านว่า ...............................................................

3 สุรุ่ยสุร่าย อ่านว่า ...............................................................

4 ประชาธิปไตย อ่านว่า ...............................................................

5 กตัญญู อ่านว่า ...............................................................

6 กตเวที อ่านว่า ...............................................................

7 ชวาลา อ่านว่า ...............................................................

8 สรรพสินค้า อ่านว่า ...............................................................

9 สัมมนา อ่านว่า ...............................................................

10 พรรณนา อ่านว่า ...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 4 เติมคาสมบูรณ์ มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาในมาตราตัวสะกดแม่ ก กา ให้ได้คาที่สมบูรณ์

พรร.......... พิจ..........

กรร.......... โภช..........

..........การะ สวัส..........

โมท.......... ปลาโล..........

เสน่.......... ดอกหน้า..........
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตามคาอ่านและขีดส้นใต้ตัวสะกดมาตรา แม่ ก กา ให้ถูกต้อง

1 พิด – จา – ระ - นา เขียนว่า...............................................................

2 บุด – สะ - บา เขียนว่า...............................................................

3 วิ - ปัด - สะ - นา เขียนว่า...............................................................

4 พา – สา - ไท เขียนว่า...............................................................

5 พุด – ทะ – รัก - สา เขียนว่า...............................................................

6 อุบ – ปะ – กา - ระ เขียนว่า...............................................................

7 โห – ระ - พา เขียนว่า...............................................................

8 เทบ - ทิ - ดา เขียนว่า...............................................................

9 นา – ริ - กา เขียนว่า...............................................................

10 ได – โน - เสา เขียนว่า...............................................................
แบบฝึกหัดชุดที่ 6 ตอบให้ได้ ทายให้ถูก มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง


ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาผิดและเขียนคาที่ถูกต้องลงในช่องว่างด้านล่าง

..........1 ศรีษะ ..........11 ผัดไท


..........2 หลงไหล ..........12 มะละกอ
..........3 ลาไย ..........13 พิจารณา
..........4 สัมนา ..........14 อสังหา
..........5 กระเพรา ..........15 ทะเลาะ
..........6 เสน่ห์ ..........16 สัปดาห์
..........7 ย่อมเยาว์ ..........17 กระเพราะ
..........8 สวัสดีคะ ..........18 คะน้า
..........9 อีเมล์ ..........19 ข้าพเจ้า
..........10 กาละเทศะ ..........20 กลไกร
แบบฝึกหัดชุดที่ 7 เติมคาให้ตรงความหมาย มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับความหมาย

1 .....................หมายถึง แอบเข้าไปขโมยสิ่งของโดยไม่ให้เจ้าของรู้ตัว
2 .....................หมายถึง ลมที่มีกาลังแรง
3 .....................หมายถึง มุ่งหมาย ประสงค์ อยากได้ ต้องการ
4 .....................หมายถึง การบวช
5 .....................หมายถึง คาประพันธ์ประเภทร้อยกรองในภาษาบาลี
6 .....................หมายถึง เมล็ดแก่คั่วแล้วบดชงเป็นเครื่องดื่ม
7 .....................หมายถึง น้า
8 .....................หมายถึง ไปกันเป็นจานวนมาก
9 .....................หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือข้อกาหนด
10 ..................หมายถึง นักแสดงหรือบุคคลที่มีชื่อเสียงในศิลปะการแสดง
11 ..................หมายถึง ภูเขา

ดารา วารี ย่องเบา พายุ ปรารถนา บรรพชา คาถา


กาแฟ คลาคล่า กติกา คีรี
แบบฝึกหัดชุดที่ 8 วงล้อมรอบคาที่มีความหมายตาม มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนวงล้อมรอบคา มาตราตัวสะกด แม่ ก กา

ก ผ อ พ อ พิ จ า ร ณ า ผ พ
า ป ร า ช อ า ณ า ส ท อ ส
แ ท ำ ยุ พ ผ ท น ข ผ ร ผ ป
ฟ ผ ม อ ส ภู เ ข า ม อ น ร
พ ม ะ ล ะ ก อ ท ร ป ร ร อ
ผ ส น ก ผ เ ม ผ ก ม ม ผ ร
ก พ า ท ห ว ด ท เ ป ยุ ห พ
ป ผ ล น ด ที ค ด ข ผ ร ล ห
ท ด ว า รี ส ง อ ล ห า ผ ล
ท อ ล ฬิ ผ พ ค ท า ป ก ห ำ
ผ ป พ ก ท ป า ผ ด ส อ ด ไ
ศ า ล า อ พ ห น ำ ใ จ ก ย
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตรา แม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

1. ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ ก กา ทั้งหมด


ก. ดาบ ประสพ กระจาบ ข. ทหาร ตัวเลข วิเศษ
ค. รัฐบาล ศาล บริจาค ง. มายา ดารา ธิดา

2. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ ก กา ทุกคา


ก. พ่ออ่านหนังสือ
ข. ลุงอาบน้าที่สระ
ค. น้าเอาปลาทูให้น้า
ง. แม่ใส่เสื้อสีแดง

3. คาว่า เหม่อ มีเสียงสระตามข้อใด


ก. เออ ข. เอ
ค. อะ ง. เออะ

4. คาใดเขียนถูกต้อง
ก. ศร๊ษะ ข. กระเพรา
ค. ลาไย ง. ผัดไท

5. ปารีณา เป็นคาที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับข้อใด
ก. เขต ข. เนย
ค. รา ง. นกเงือก
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่ ก กา
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ ก กา ทั้งหมด


ก. กาไร ข. หัวใจ
ค. ลบหลู่ ง. อาญา

7. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ ก กา มากที่สุด


ก. ชิดชัยมีเงินสิบบาท
ข. สดใสไปหานายแพทย์
ค. ชดช้อยไปซื้อปลาสลิดที่ตลาด
ง. น้าเอาปลาทูให้น้า

8. ชื้อดอกไม้ในข้อใดไม่เป็นคาสะกดในมาตรา แม่ ก กา
ก. มะลิ ข. กุหลาบ
ค. จาปี ง. จาปา

9. ฉันชอบกิน............. (มาตรา แม่ ก กา)


ก. องุ่น ข. ขนม
ค. ข้าวผัด ง. เกาเหลา

10.ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ ก กา ทั้งหมด


ก. เนิ่นนาน ข. เก้าอี้
ค. ชุมชน ง. หงุดหงิด
แบบทดสอบ มาตรา แม่ ก กา ตอนที่ 1 แต่งประโยค
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาในมาตราตัวสะกดแม่ ก กา แต่งประโยค 10 ประโยค

10
แบบทดสอบ มาตรา แม่ ก กา ตอนที่ 2 เขียนตามคาบอก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคา มาตรา แม่ ก กา จานวน 20 คา ตามที่ครูบอกให้ถูกต้อง

1 11

2 12

3 13

4 14

5 15

6 16

7 17

8 18

9 19

10 20
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ค้นหาคา มาตรา แม่ กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาในมาตราแม่กก

บทกลอนแม่กก
นกแสกนกกระสา แกรก ๆ มาเวลา
น้ามากแลน้าลึก แลน้าหมึกแลน้าหมาก
ปลาอุกปลาดุกดัก แลปักหลักแลครก
ชักเสาเอาเชือกลาก จะผูกจากให้จักตอก
ปลูกกี่ไว้ทอหูก ลูกมะดูกลูกมะกอก
ไม้แตกให้ใส่ปลอก ไม้กระบอกแลดอกบุก
นกมีปากแลมีปีก ผ่าไม้ซึกให้แตกหัก
ไปปะพวกที่รกั ได้รู้จักทักเรียกแขก
เด็ก ๆ ดูกระจก อย่าให้ตกมักจักแตก
ปลูกเผือกผักถากหญ้าแพรก หญ้าคาแฝกอย่าให้รก
เข้าเปลือกแลเข้าสุก เลือกปลาดุกทาห่อหมก
ด่าทอต่อตีชก ถูกศอกอกหกถลา
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 โยงภาพจับคู่คา มาตรา แม่ กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงคาให้ตรงกับภาพให้ถูกต้อง

1 สุนัข

2 วิหค

3 ตัวเลข

4 พญานาค

5 ดอกไม้

6 กระจก

7 เมฆ

8 ปากกา

9 ลูกโลก

10 พริกหยวก
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่ กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาให้ถูกต้อง

1 สุนัข อ่านว่า ...............................................................

2 วิหค อ่านว่า ...............................................................

3 ตัวเลข อ่านว่า ...............................................................

4 พญานาค อ่านว่า ...............................................................

5 เทคนิค อ่านว่า ...............................................................

6 ประมุข อ่านว่า ...............................................................

7 บริจาค อ่านว่า ...............................................................

8 โชคดี อ่านว่า ...............................................................

9 สามัคคี อ่านว่า ...............................................................

10 บริโภค อ่านว่า ...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 4 เติมคาสมบูรณ์ มาตรา แม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาในมาตราตัวสะกดแม่กก ให้ได้คาที่สมบูรณ์

เทค.......... ห่อ..........

บริ.......... หอย..........

ขนม.......... ..........แก

พริก.......... ..........คี

ผูก.......... ..........ผัก
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตามคาอ่านและขีดส้นใต้ตัวสะกดมาตรา แม่ กก ให้ถูกต้อง

1 ลาย - ลัก เขียนว่า...............................................................

2 จัก - กระ - วาน เขียนว่า...............................................................

3 สก - กะ - ปก เขียนว่า...............................................................

4 พะ - ยา - นาก เขียนว่า...............................................................

5 อา – สา – สะ - หมัก เขียนว่า...............................................................

6 พะ – ยัก เขียนว่า...............................................................

7 อุบ – ปะ - สัก เขียนว่า...............................................................

8 มัก – คุ – เทด เขียนว่า...............................................................

9 ลัก – สะ – หนะ เขียนว่า...............................................................

10 อุบ – ปะ – สัก เขียนว่า...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 6 ตอบให้ได้ ทายให้ถูกมาตรา แม่ กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง


ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาผิดและเขียนคาที่ถูกต้องลงในช่องว่างด้านล่าง

..........1 มรดก ..........11 บริโภค


..........2 อนุรัคษ์ ..........12 สามักคี
..........3 สุนัข ..........13 อักคีภัย
..........4 ตัวเลข ..........14 วักซีน
..........5 ประมุข ..........15 วิหค
..........6 อบายมุข ..........16 เชื้อโรก
..........7 ความสุข ..........17 ประโยค
..........8 โทรเลข ..........18 เทคโนโลยี
..........9 บริจาก ..........19 พยัคฆ์
..........10 พรรกพวก ..........20 บุกคล
แบบฝึกหัดชุดที่ 7 เติมคาให้ตรงความหมาย มาตรา แม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับความหมาย
1 .....................หมายถึง มรดกทรัพย์สินของผู้ตายที่ตกทอดแก่ทายาท
2 .....................หมายถึง รักษาให้คงเดิม
3 .....................หมายถึง สัญลักษณ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้เขียนแทนจานวน
4 .....................หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ หรือเป็นหัวหน้าของประเทศ หรือศาสนา
5 .....................หมายถึง ทางแห่งความพินาศ
6 .....................หมายถึง การให้ การแจก
7 .....................หมายถึง เสือ
8 .....................หมายถึง ภัยที่เกิดจากไฟไหม้
9 .....................หมายถึง วิทยาการที่นาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้
10 ..................หมายถึง แพทย์ใช้ฉีดเข้าไปในร่างกายให้ต้านทานต่อสู้โรคได้
11 ..................หมายถึง กลอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ใน
การผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

พยัคฆ์ เครื่องจักร เทคโนโลยี มรดก อนุรักษ์ อัคคีภยั

ประมุข วัคซีน อบายมุข บริจาค ตัวเลข


แบบฝึกหัดชุดที่ 8 วงล้อมรอบคาที่มีความหมายตาม มาตรา แม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนวงล้อมรอบคา มาตราตัวสะกด แม่กก

อ ผ เ น ส บ ห สุ ข ภ า พ ส
บ ป ทื ห ม น ด ส ห ก ม ฟ บ
า ด อ ก ไ ม้ ม ก ร ะ ดู ก เ
ย ช ก ม ว ย ห ป ร ะ โ ย ค
มุ แ เ ด น ม อ ร ก บ ว ไ รื่
ข อ ข อ ง ฝ า ก ไ ม ด ใ อ
ท บ า ก บ ห ส โ พ ร ร ค ง
า ริ น อ า ณ า จั ก ร ว ล จั
ก โ น ร ม ส ส มั ค ร น ส ก
พ ภ ย ช บ ด มั ก ม า ก พ ร
ร ค ย ร พ ยั ค ฆ์ ย ด ห ย ใ
น แ ม่ ก ก ย ร ส ตั ว เ ล ข
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

1. ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กก ทั้งหมด


ก. ก้อนเมฆ วิหค สามัคคี ข. สังคม บริโภค ตัวเลข
ค. นักชก นิยม สุนัข ง. บริจาค ขนมครก ชิงช้า

2. ข้อใดมีตัวสะกดใน แม่กก มากที่สุด


ก. นกบินชมดอกไม้ในสวนข. เด็กน้อยทานมหกบนพื้น
ค. นักชกขึ้นชกมวยสามยก ง. สุนัขแทะกระดูก

3. สมชายมองเห็น.........................ในแม่น้าโขง
ก. พยานาก ข. พยานาค
ค. พญานาค ง. พญานาก

4. อา – สา – สะ – หมัก เขียนว่า
ก. อาสาสะหมัก ข. อาษาสมัคร
ค. อาสาสมัคร ง. อาสาสมัค

5. เมฆ เป็นคาที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับข้อใด
ก.เขต ข. เนย
ค.แง่งขิง ง. นกเงือก
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตรา แม่กก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ กก ทั้งหมด


ก. อัคคีภัย นาค โชคดี ข.วัคซีน วิหค เชื้อโรค
ค. เทคโนโลยี พยัคฆ์ ง. สามัคคี เทคนิค อารมณ์

7. ไม่กระดิกหู หมายถึง
ก. ไม่รู้หนังสืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ข. ใช้จ่ายไม่ยั้งมือ ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ
ค. ทากับเขาอย่างไร เขาก็ทาแก่ตนอย่างนั้น
ง. ชายที่หมายปองหญิงที่มีฐานะสูงกว่า

8. “ฉันเห็นก้อนเมฆลอยอยู่บนท้องฟ้า” คาใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กก


ก. ลอย ข. เมฆ
ค. ท้องฟ้า ง. เห็น

9. คาใดไม่เข้าพวก
ก. ประมุข ข. สุนัข
ค. ความสุข ง. วิหค

10.ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ กก ทั้งหมด


ก. จ้อกแจ้ก จักตอก ข. จ้อกแจ้ก จักตอก
ค. พักตร์ มรดก น้าอัดลม ง.สมาชิก เอกลักษณ์
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กก ตอนที่ 1 แต่งประโยค
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาในมาตราตัวสะกดแม่กก แต่งประโยค 10 ประโยค

10
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กก ตอนที่ 2 เขียนตามคาบอก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคา มาตรา แม่ กก จานวน 20 คา ตามที่ครูบอกให้ถูกต้อง

1 11

2 12

3 13

4 14

5 15

6 16

7 17

8 18

9 19

10 20
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ค้นหาคา มาตรา แม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาในมาตราแม่กด

บทกลอนแม่กด

เรียนลัดให้คัดคิด บ้านเขาปิดแต่งกลอนแปด
สาวโสดโปรดสีแสด คนอาบแดดอยู่ชายหาด
มีดกรีดผลมะกรูด เห็นแกงบูดในกระจาด
ข้าวผัดจัดสะอาด หนังสือขาดเพราะเขียนหวัด
อึดอัดยังอิดออด เอาแขนสอดเห็นส่วนสัด
พูดดีมีงานวัด เขาถนัดด้านจัดสวน
มองไปดูมืดมิด อย่าไปคิดผิดกระบวน
ขาดเงินก็เกิดรวน พูดชักชวนคิดด่วนจริง
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 โยงภาพจับคู่คา มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงคาให้ตรงกับภาพให้ถูกต้อง

1 มัจฉา

2 เพชร

3 ทองหยอด

4 บาตร

5 ธรรมขาติ

6 อูฐ

7 วิทยาศาสตร์

8 ปราสาท

9 อยุธยา

10 ตรุษจีน
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 เขียนอ่านถูกต้อง มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาให้ถูกต้อง

1 มัจฉา อ่านว่า ...............................................................

2 ธรรมขาติ อ่านว่า ...............................................................

3 วิทยาศาสตร์ อ่านว่า ...............................................................

4 อยุธยา อ่านว่า ...............................................................

5 ประดิษฐาน อ่านว่า ...............................................................

6 อุตสาหกรรม อ่านว่า ...............................................................

7 เกียรติยศ อ่านว่า ...............................................................

8 มหัศจรรย์ อ่านว่า ...............................................................

9 เศรษฐกิจ อ่านว่า ...............................................................

10 โอรส อ่านว่า ...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 4 เติมคาสมบูรณ์ มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาในมาตราตัวสะกดแม่กด ให้ได้คาที่สมบูรณ์

มหัศ.......... อุตสา..........

รส.......... อธิษ..........

..........หมาย ..........ศาสตร์

วัฒน.......... ..........จรรย์

อัง.......... ..........ฉาด
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 เขียนอ่านถูกต้อง มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตามคาอ่านและขีดส้นใต้ตัวสะกดมาตรา แม่ กด ให้ถูกต้อง

1 เกียด - ติ - ยด เขียนว่า...............................................................

2 ทา - มะ - ชาด เขียนว่า...............................................................

3 วาด – สะ - หนา เขียนว่า...............................................................

4 บัน - ยา - กาด เขียนว่า...............................................................

5 ปะ – ดิด – สะ - ถาน เขียนว่า...............................................................

6 อัง – กิด เขียนว่า...............................................................

7 สัง – เกด เขียนว่า...............................................................

8 บัน – ดิด เขียนว่า...............................................................

9 อัด – ตะ – โน - มัด เขียนว่า...............................................................

10 คุน – นะ – ทา เขียนว่า...............................................................
แบบฝึกหัดชุดที่ 6 ตอบให้ได้ ทายให้ถูกมาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง


ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาผิดและเขียนคาที่ถูกต้องลงในช่องว่างด้านล่าง

..........1 ประณีต ..........11 เศรษฐกิต


..........2 ประวัติ ..........12 ปราศจาค
..........3 พิโรท ..........13 ปฏิบัติ
..........4 กฎเกณฑ์ ..........14 นักโทษ
..........5 ประเสริธ ..........15 สมบัติ
..........6 อัธยาศัย ..........16 วิทยาศาสตร์
..........7 อากาส ..........17 มหัศจรรภ์
..........8 เศรษฐกิจ ..........18 แหวนเพ็ชร
..........9 ปรารถนา ..........19 ราชธานี
..........10 สามารท ..........20ประสิทธิภาพ
แบบฝึกหัดชุดที่ 7 เติมคาให้ตรงความหมาย มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับความหมาย
1 .....................หมายถึง การค้าขาย
2 .....................หมายถึง กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงาน เพื่อที่จะผลิตสิ่งของ
3 .....................หมายถึง ความบากบั่น ความขยัน ความพยายาม
4 .....................หมายถึง มุ่งหมาย ประสงค์ อยากได้
5 .....................หมายถึง ได้ผลสมประสงค์
6 .....................หมายถึง เพื่อกาหนดระเบียบ ในการบริหารประเทศ
7 .....................หมายถึง ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม
8 .....................หมายถึง สัญลักษณ์ที่กาหนดขึ้นมาเป็นชุดเพื่อใช้แทนอักษร
9 .....................หมายถึง ไม่สนใจขวนขวายทาการงาน
10 ..................หมายถึง ทาให้เจริญ ทาให้ก้าวหน้า
11 ..................หมายถึง หน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมหลาย ๆ อาเภอ
เข้าด้วยกัน
เกียจคร้าน สาเร็จ พาณิชย์ จังหวัด อุตสาหกรรม
อุตสาหะ ปรารถนา กฎหมาย
ทัศนศิลป์ รหัส พัฒนา
แบบฝึกหัดชุดที่ 8 วงล้อมรอบคาที่มคี วามหมายตาม มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนวงล้อมรอบคา มาตราตัวสะกด แม่กด

ส จั พ ร ส อุ ท ย า น ฟ พ ห
ำ ง ส ฟ พ ต ร ด พ ส ร ด ว
เ ห ม ธุ ร ส เ กี ย ร ติ ย ศ
ร็ วั บั ส ะ า ฟ ส ก ร ฟ ส ห
จ ด ติ ห เ ห ห ร ลิ ด ส ร ด
พ ห ด ม น ก พ ว ต ห า ส เ
วิ ร บ า ต ร ห ป ร ะ เ ท ศ
เ ก ษ ต ร ร พ ร ห ส ห ส ร
ศ พ ฟ ร ฟ ม ส า ส ก ตุ ก ษ
ษ ฟ ร ฐ ส ว ว ก ว พ ห ส ฐ
ฟ ร ส า ห ร ก ฎ ม า ย ว กิ
ร ฟ ห น ฟ ส ก พ ฟ ห พ ก จ
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

1. ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กด ทั้งหมด


ก. สวาท มธุรส วาสนา ข. ทหาร ตัวเลข วิเศษ
ค. รัฐบาล ศาล บริจาค ง. เชี่ยวชาญ ทาบุญ โอรส

2. ข้อใดไม่มตี ัวสะกดในมาตรา แม่ กด


ก. พระปรารภพิศวงงงงวย
ข. วิปริตผิดเพศไม่เคยพบ
ค. สังหาร ให้วายปราณ
ง. คิดพลางทางเสี่ยงศรศิลป์ชัย
3. จิมมี่มองเห็น.........................ในทะเลทราย
ก. อูฐ ข. อูต
ค. อูตร ง. อูด

4. มะ – หัด – สะ – จัน เขียนว่า


ก. มหัสจรรย์ ข. มหัตศจรรย์
ค. มหัศจรรย์ ง. มหัศจรรภ์

5. ประณีต เป็นคาที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับข้อใด
ก. เขต ข. เนย
ค. เดิน ง. นกเงือก
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่กด
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ กด ทั้งหมด


ก. ธงชาติ ประวัติ ข. บรรยากาศ เพศ
ค. สมบัติ เกียรติยศ ง. ธัญญาหาร อัญชลี

7. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ กด มากที่สุด


ก. ชิดชัยมีเงินสิบบาท
ข. สดใสไปหานายแพทย์
ค. ชดช้อยไปซื้อปลาสลิดที่ตลาด
ง. อวยพรให้รางวัลแก่ไพศาลที่จับปลาวาฬได้

8. นางสาวไทยสวม................เพชรอย่างสวยงาม
ก. แหวน ข. สร้อย
ค. กาไร ง. มงกุฎ

9. ......................เป็นจังหวัดในภาคกลาง
ก. อยุธยา ข. ชุมพร
ค. เลย ง. ขอนแก่น

10.ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กด ทั้งหมด


ก. เนิ่นนาน ข. กังวล
ค. ชุมชน ง. หงุดหงิด
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กด ตอนที่ 1 แต่งประโยค
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาในมาตราตัวสะกด แม่กด แต่งประโยค 10 ประโยค

10
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กด ตอนที่ 2 เขียนตามคาบอก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคา มาตรา แม่ กด จานวน 20 คา ตามที่ครูบอกให้ถูกต้อง

1 11

2 12

3 13

4 14

5 15

6 16

7 17

8 18

9 19

10 20
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ค้นหาคา มาตรา แม่ กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาในมาตราแม่กน

บทกลอนแม่กน

เร่รอนในดอนดง พฤกษ์พงสวยห้วยละหาน
ดุ่มเดินจนเนิ่นนาน บัวเบ่งบานบังใบบอน
วิหคโผผกผิน ภุมรินบินข้ามขอน
ยามเย็นเห็นพังพอน คราหลับนอนก็ค่อนคืน
เรไรนั้นมากมี ยามราตรีนี้เย็นชื่น
สุขใจไร้ขมขื่น ยามนั่งยืนระรื่นมา
คุณค่าป่าอนันต์ มาช่วยกันหมั่นรักษา
ให้เพลิดเพลินเจริญตา เห็นป่าอยู่คู่เมืองไทย
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 โยงภาพจับคู่คา มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงคาให้ตรงกับภาพให้ถูกต้อง

1 ของขวัญ

2 คุณครู

3 อาหาร

4 เถาวัลย์

5 พยาบาล

6 ปลาวาฬ

7 ถนน

8 เณร

9 ฟุตบอล

10 อัญชัน
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 เขียนอ่านถูกต้อง มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาให้ถูกต้อง

1 อนุสรณ์ อ่านว่า ...............................................................

2 สัญญาณ อ่านว่า ...............................................................

3 รัฐบาล อ่านว่า ...............................................................

4 จราจร อ่านว่า ...............................................................

5 จักรยาน อ่านว่า ...............................................................

6 เครื่องบิน อ่านว่า ...............................................................

7 ปฏิทิน อ่านว่า ...............................................................

8 เชี่ยวชาญ อ่านว่า ...............................................................

9 บริวาร อ่านว่า ...............................................................

10 อาจารย์ อ่านว่า ...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 4 เติมคาสมบูรณ์ มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาในมาตราตัวสะกดแม่กน ให้ได้คาที่สมบูรณ์

เถา.......... วิญ..........

บริ.......... พยา..........

พระ.......... ..........ภาพ

คา.......... ..........เสริญ

เชี่ยว.......... ..........หาร
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 เขียนอ่านถูกต้อง มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตามคาอ่านและขีดส้นใต้ตัวสะกดมาตรา แม่ กน ให้ถูกต้อง

1 วิน - ยาน เขียนว่า...............................................................

2 กะ - ตัน - ยู เขียนว่า...............................................................

3 คูน – หาน เขียนว่า...............................................................

4 ทะ - นา - คาน เขียนว่า...............................................................

5 ปะ – ติ – ทิน เขียนว่า...............................................................

6 ทะ – มิน เขียนว่า...............................................................

7 สัน – จอน เขียนว่า...............................................................

8 บัน – ดิต เขียนว่า...............................................................

9 ชีบ – พะ – จอน เขียนว่า...............................................................

10 คุน – นะ – ทา เขียนว่า...............................................................
แบบฝึกหัดชุดที่ 6 ตอบให้ได้ ทายให้ถูกมาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง


ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาผิดและเขียนคาที่ถูกต้องลงในช่องว่างด้านล่าง

..........1 เหรียน ..........11 จักยาน


..........2 ปฏิทิน ..........12 เถาวัลย์
..........3 ยาสีฟัน ..........13 ฉันเพณ
..........4 ทาเวณ ..........14 กาลเวลา
..........5 โวหาน ..........15 กันดาร
..........6 บริเวร ..........16 ของขวัญ
..........7 กล้าหาร ..........17 พระการ
..........8 รถโดยสาร ..........18 ขนมตาร
..........9 จราจร ..........19 ข้าวสาล
..........10 เครื่องบิน ..........20 ปฏิญาณ
แบบฝึกหัดชุดที่ 7 เติมคาให้ตรงความหมาย มาตรา แม่ กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับความหมาย
1 .....................หมายถึง ประกอบกรรมดี มีการเลี้ยงพระ ตักบาตร
2 .....................หมายถึง วันที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวง
3 .....................หมายถึง เติบโต งอกงาม
4 .....................หมายถึง ตามเลี้ยงดู ตามระวังรักษา
5 .....................หมายถึง มีมาแล้วช้านาน แต่เก่าก่อน
6 .....................หมายถึง สันทัด จัดเจน คล่องแคล่ว
7 .....................หมายถึง สิ่งของ หรือเงินทองที่ได้มาเพราะทางานสาเร็จ
8 .....................หมายถึง การเล่นกล การแสดงกล
9 .....................หมายถึง การผ่านไปมา
10 ..................หมายถึง ตัวละครลิงซึ่งเป็นทหารเอกของพระราม
11 ..................หมายถึง กิจการที่รับฝากเงินเป็นการทั่วไปและประกอบธุรกิจ
เกี่ยวกับการเงินอื่น ๆ

ทาบุญ เชี่ยวชาญ โบราณ สัญจร รางวัล อนุบาล

มายากล หนุมาน ธนาคาร เจริญ วันเพ็ญ


แบบฝึกหัดชุดที่ 8 วงล้อมรอบคาที่มีความหมายตาม มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนวงล้อมรอบคา มาตราตัวสะกด แม่กน

เ จ ริ ญ ฟ ผ ล ไ ม้ ห โ ก สั
ชิ น บั ญ ช ร ฟ ข้ ก ด บ ห ญ
ญ ด ก ฟ ด ห ว า ส ก ร ส จ
พ ย า บ า ล ด ว จ ร า จ ร
โ ว ร ถ โ ด ย ส า ร ณ ว ส
ล ฟ คู ห ว เ ย า น ไ ย ห ย
ชั่ อ ณ ย ก ถ ด ร บิ ก ส ก ถ
น ห ปั ญ ญ า เ ย็ น ร ภ ตื่ ห
ก ฟ ย ส ร วั รี ถ ฟ ร ส น ถ
เ ท ศ บ า ล ย า ว น า น ก
ส ศ ก ฟ ย ย์ น ภ น น ร อ ส
ภ กุ ญ แ จ ส ดี น ฟ ส ก น ย
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

1. ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กน ทั้งหมด


ก. ราคาญ สราญ สัญจร ข. ทหาร ทาเวร ตัวเลข
ค. รัฐบาล ศาล สุนัข ง. บริจาค เชี่ยวชาญ ทาบุญ

2. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ กน
ก.วิตกอกแทบแตกแยกจากจิต
ข. เด็กน้อยทานมหกบนพื้น
ค. นักชกขึ้นชกมวยสามยก
ง. สุนัขแทะกระดูก

3. สมชายมองเห็น.........................ในทะเล
ก. ปลาวาน ข. ปลาวาร
ค. ปลาวาฬ ง. ปลาวาณ

4. โบ – ราน – สะ – ถาน เขียนว่า


ก. โบราณสถาน ข. โบรานสถาน
ค. โบรานสฐาน ง. โบราณศถาน

5. สรรเสริญ เป็นคาที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับข้อใด
ก. เขต ข. เนย
ค. เดิน ง. นกเงือก
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตราแม่กน
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ กน ทั้งหมด


ก. โบราณ การคูณ ข.วัคซีน ของขวัญ ปัญญา
ค. ประมาณ คานวน ง. ธัญญาหาร อัญชลี

7. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ กน มากที่สุด


ก. ฉันชอบรับประทานอาหารและผลไม้ที่ริมลาธาร
ข. ทิวาเป็นพยาบาลเกิดปีขาล
ค. เณรน้อยชอบกินขนมตาลที่ชลบุรี
ง. อวยพรให้รางวัลแก่ไพศาลที่จับปลาวาฬได้

8. พระนเรศวรเป็นบุคคล................ (สะกดด้วยมาตรา แม่ กน)


ก. สาคัญ ข. วินัย
ค. เก่ง ง. แข็งแรง

9. ......................นามาปลูกริมรั้ว ออกดอกสีม่วง
ก. อัญชัน ข. ทานตะวัน
ค. มะลิ ง. ดาวเรือง

10.ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กน ทั้งหมด


ก. เนิ่นนาน ข. กังวล
ค. ชุมชน ง. ฟุตบอล
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กน ตอนที่ 1 แต่งประโยค
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาในมาตราตัวสะกดแม่กน แต่งประโยค 10 ประโยค

10
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กน ตอนที่ 2 เขียนตามคาบอก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคา มาตรา แม่ กน จานวน 20 คา ตามที่ครูบอกให้ถูกต้อง

1 11

2 12

3 13

4 14

5 15

6 16

7 17

8 18

9 19

10 20
แบบฝึกหัดชุดที่ 1 ค้นหาคา มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาในมาตราแม่กบ

บทกลอนแม่กบ
ม้าวิ่งดังกรุบกรับ เด็กนั่งหลับหลังนับสิบ
พายดาบหิ้วปลาดิบ เห็นเขาหยิบเอาทรายหยาบ
ไม้ทับให้จับออก จากบางกอกไปหามหาบ
เดือนหกนกกระจาบ จิกตะขาบและตะขบ

เพลงมาตราแม่กบ
จับกบ ตะปบ ประจบ เสียงดังอบ อบ อบ อบ
เห็น บ สะกดที่ใด ไม่ต้องสงสัย นั่นคือแม่กบ
ประสพ ถูกสาป ก่อบาป มีลาภ แม่กบ อบ
ดูซิ ยีราฟ นั่นไง คาเหล่านี้ไซร้ เหมือน บ สะกด
แบบฝึกหัดชุดที่ 2 โยงภาพจับคู่คา มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนโยงคาให้ตรงกับภาพให้ถูกต้อง
1 โทรศัพท์

2 ไมโครเวฟ

3 ลิปสติก

4 ตะเกียบ

5 กรอบรูป

6 ยีราฟ

7 ชูชีพ

8 ทะเลสาบ

9 ธูป

10 ทัพพี
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของคาให้ถูกต้อง

1 เคารพ อ่านว่า ...............................................................

2 สุขภาพ อ่านว่า ...............................................................

3 ภาพยนตร์ อ่านว่า ...............................................................

4 ทรัพย์สิน อ่านว่า ...............................................................

5 รับทราบ อ่านว่า ...............................................................

6 มหรสพ อ่านว่า ...............................................................

7 มิตรภาพ อ่านว่า ...............................................................

8 สรรพสินค้า อ่านว่า ...............................................................

9 เสิร์ฟอาหาร อ่านว่า ...............................................................

10 สลับ อ่านว่า ...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 4 เติมคาสมบูรณ์ มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาในมาตราตัวสะกดแม่กบ ให้ได้คาที่สมบูรณ์

มิตร.......... รูป..........

กำ.......... คำ..........

..........กำระ ..........ใหล

สัง.......... เส้น..........

โทร.......... กระ..........
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 เขียนอ่านถูกต้อง มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตามคาอ่านและขีดส้นใต้ตัวสะกดมาตรา แม่ กบ ให้ถูกต้อง

1 ซับ – สม - บัด เขียนว่า...............................................................

2 บุน – บาบ เขียนว่า...............................................................

3 พาบ – พะ - ยน เขียนว่า...............................................................

4 สะ – หนาม - รบ เขียนว่า...............................................................

5 ประ – สบ – กาน เขียนว่า...............................................................

6 อุบ – ปะ – กา - ระ เขียนว่า...............................................................

7 โท – ระ - สับ เขียนว่า...............................................................

8 เทบ - ทิ - ดา เขียนว่า...............................................................

9 ตะ – หลับ เขียนว่า...............................................................

10 สับ – ปะ - ยุด เขียนว่า...............................................................


แบบฝึกหัดชุดที่ 6 ตอบให้ได้ ทายให้ถูก มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง


ทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เขียนสะกดคาผิดและเขียนคาที่ถูกต้องลงในช่องว่างด้านล่าง

..........1 ซับสมบัติ ..........11 ปรบมือ


..........2 ภาพยน ..........12 คาสาบ
..........3 หลับไหล ..........13 ทรัพยากร
..........4 ยีราฟ ..........14 ผักบวบ
..........5 ละโมบ ..........15 ลับแล
..........6 โลบมาก ..........16 สัปดาห์
..........7 ตะขาบ ..........17 แม่ทับ
..........8 เคารพ ..........18 อบกรอบ
..........9 เตาอบ ..........19 สาปแช่ง
..........10 เทพทิดา ..........20 อุบปะการะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 7 เติมคาให้ตรงความหมาย มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับความหมาย
1 .....................หมายถึง ผู้เข้าไปสืบความลับ
2 .....................หมายถึง สู้ไม่ถอย สู้ไม่ยอมแพ้ สู้จนถึงที่สุด
3 .....................หมายถึง ที่อยู่ในระบบอินเทอร์เน็ตของบริษัท องค์กร บุคคล
4 .....................หมายถึง แสดงอาการดูหมิ่นเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
5 .....................หมายถึง เกือบดับ สว่างน้อย ๆ
6 .....................หมายถึง แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติ
7 .....................หมายถึง อร่อย
8 .....................หมายถึง ผลที่เนื่องมาจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
9 .....................หมายถึง ห้วงน้าใหญ่ที่มีแผ่นดินล้อมรอบ
10 ..................หมายถึง ที่ประทับชั่วคราวสาหรับพระมหากษัตริย์
11 ..................หมายถึง น้ามันที่สูบขึ้นมาจากแหล่งกาเนิดใต้ดิน โดยได้ผ่าน
เครื่องแยกแก๊สออกไปแล้วแต่ยังไม่ได้ทาให้บริสุทธิ์

ทะเลสำบ พลับพลำ นำ้ มันดิบ ผลกระทบ รสแซบ


ระเบียบ ริบหรี่ ลบหลู่ เว็บไซต์ สำยลับ สู้ยบิ ตำ
แบบฝึกหัดชุดที่ 8 วงล้อมรอบคาที่มีความหมายตาม มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจงคาชี้แจง ให้นักเรียนวงล้อมรอบคา มาตราตัวสะกด แม่กบ

น อ น ห ลั บ ฟ ห ก ฟ ห ป ด
ฟ ห ก ด ฟ า ฟ ห ด ผ ป ร ผ
ส ค ำ ส า ป ร า บ ส ย ะ ว
อิ บ ค า ส บ ว พ ย บ ท ส ย
ส ส ย ร ว ค ส ค ส ค ำ พ ส
ร บ ค ภ ค เ ต า อ บ เ บ ก
ภ ส ย า ย ค ป ต ส ค นี ส ร
า ต ส พ ต า ร พ ต ต ย บ ะ
พ บ ย ต ส ร ะ เ บี ย บ ต ส
ว ส พ ว พ พ ก อ ล์ ฟ ย ส อ
ว ย บ ส พ ว อ ย พ ว ต บ บ
ท ะ เ ล ส า บ พ ว พ ย บ ว
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

1. ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กบ ทั้งหมด


ก. สวาท มธุรส วาสนา ข. ทหาร ตัวเลข วิเศษ
ค. ดาบ ประสพ กระจาบ ง. เชี่ยวชาญ ทาบุญ โอรส

2. ข้อใดไม่มตี ัวสะกดในมาตรา แม่ กบ


ก. พระปรารภพิศวงงงงวย
ข. วิปริตผิดเพศไม่เคยพบ
ค. สังหารชีพ ให้วายปราณ
ง. คิดพลางทางเสี่ยงศรศิลป์ชัย

3. “โลภมากลาบหาย” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ตบหัวลูบหลัง ข. จับปลาสองมือ
ค. ตามใจปากลาบากท้อง ง. ทาคุณได้โทษ

4. อุปการะ อ่านว่าอย่างไร
ก. อุบ-ปะ-กา-ระ ข. อุบ-กา-ระ
ค. อุ-กา-ระ ง. อุ-ปะ-กา-ระ

5. ทรัพย์ เป็นคาที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับข้อใด
ก. เขต ข. เนย
ค. เดิน ง. เสิร์ฟ
แบบฝึกหัดชุดที่ 9 เลือกคาตอบถูกต้อง มาตรา แม่กบ
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาทข้อที่เป็นคาตอบที่ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยมาตรา แม่ กบ ทั้งหมด


ก. กระซิบ กากับ ข. ระบบ คาสาป
ค. สมบัติ เกียรติยศ ง. ประจบ มีลาภ

7. ข้อใดมีตัวสะกดในมาตรา แม่ กบ มากที่สุด


ก. เหมือนกับหลับสนิทนอน
ข. ระงับหลับเนตรนิ่ง
ค.โลภลาภบาปไม่คิด
ง. กลับจริตผิดโบราณ

8. ข้อใดเขียนคาอ่านได้ถูกต้อง
ก. กราบ อ่านว่า กาบ ข. ทรัพย์ อ่านว่า ทรับ
ค. เสิร์ฟ อ่านว่า เสิบ ง. สลับ อ่านว่า สะ - ลับ

9. สะ หรุบ คือคาในข้อใด
ก. สะรุบ ข. สะรุป
ค. สรุบ ง. สรุป

10.ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่ กบ
ก. เนิ่นนาน ข. กังวล
ค. หนีบ ง. หงุดหงิด
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กบ ตอนที่ 1 แต่งประโยค
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนนาคาในมาตราตัวสะกดแม่ กบ แต่งประโยค 10 ประโยค

10
แบบทดสอบ มาตรา แม่ กบ ตอนที่ 2 เขียนตามคาบอก
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชื่อ นามสกุล........................................................เลขที่.....................


คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคา มาตรา แม่ กบ จานวน 20 คา ตามที่ครูบอกให้ถูกต้อง

1 11

2 12

3 13

4 14

5 15

6 16

7 17

8 18

9 19

10 20

You might also like