2 - 4 TON (เข็มตอก) corp

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

การเตรียมหน้ างานเสาเข็มตอก (ลูกตุ้ม ton,4 ton)

Dynamic Load Test


1. ควรเป็ นหัวเสาเข็มเดิม ไม่ แตกหรื อร้ าว ถ้ าแตกหรื อร้ าวให้ ตดั และ Cap Nonshrink
หนาประมาณ 3 - 5 cm (ไม่ ให้ เหล็กโผล่ ) ผิว Cap เรียบได้ ระนาบ (แห้ งและแข็ง)
- กรณีเสาเข็มโผล่สูงมากกว่า 1.5 m ให้ ตดั และ Cap โผล่ประมาณ 1.5-2.0 เท่ า ของ
ขนาดเข็ม หรื อประมาณ 1.0 m
- กรณีเสาเข็มโผล่น้อยกว่า 50 cm ให้ ขุดเปิ ดดินข้ างเสาเข็ม ด้ านละ 80 cm โผล่ 80 cmให้
คนงานแซะดินข้ างเสาเข็ม
- กรณีเสาเข็มจมดินต้ องขุดเปิ ดรอบเสาเข็มโผล่ประมาณ 80 cmความกว้างมากกว่า 2 m
ให้ คนงานแซะดินรอบเสาเข็ม ถ้ ามีนําในหลุม ต้ องดูดออก (ขณะติดตังและทดสอบ
หลุมทดสอบควรแห้ ง) และทําทางขึน/ลงหลุม (บันได) ถ้ าหลุมลึกมาก ต้ องมีการปัก
Sheet Pile หรื อแผ่นเหล็กทําเป็ นผนัง กันดินพัง

Cap Nonshrink 3 – 5 2-2.5 เท่ า ของขนาด


เข็มเข็ม
2. รถเครนใช้ ได้ ทังสองรอก และปล่อยฟรีได้
- กรณีเครน 25 ton ต้ องยืนติดหลุมทดสอบ หรื อไม่ ควรเกิน เมตร รอกเล็กยกราง
ส่ วนรอกใหญ่ (สลิง 4 เส้ น)ยกลูกตุ้ม (ระยะยกทดสอบสู งกว่าใช้ รอกเล็ก) ไม่ ให้ ใช้
รอกใหญ่ ปล่อยกระแทกโดยไม่ มีไกด์ รางและBackhoe เนืองจากเครนบังคับลูกตุ้ม
หลังกระแทกไม่ ได้
- กรณีเครน 35 ton ขึนไป ยืนห่ างได้ ไกล 12 m ใช้ รอกใหญ่ ยกราง ส่ วนรอกเล็กยก
ลูกตุ้ม (ระยะยกทดสอบตํากว่ารอกใหญ่ ) ไม่ ควรปล่อยกระแทกอิสระโดยไม่ ใช้ ไกด์
รางและBackhoe เนืองจากเสาเข็มมีการคืนตัวสู ง ทําให้ ลูกตุ้มกระดอนหลังกระแทก
ขึนอยู่กบั ความชํานาญของคนขับเครน (เสาเข็มและอุปกรณ์ ทดสอบอาจเสียหาย)
- ให้ คนขับเครนดูทางเข้า/ออก และตําแหน่ งทดสอบ จุดจอดเครน เพือหน้ างาน
จัดเตรียมแผ่นเล็กก่อนกําหนดวัน ทดสอบ

เครน ตัน ระยะห่ างไม่ ควรเกิน เมตร


3. Backhoe Stand By ขณะทดสอบ (กดยึดรางหรื อเฟรม)

4. เสาเข็มทดสอบ ควรให้ ดนิ คืนตัวมากกว่า 7 วันขึนไป หรื อแล้วแต่ ความเหมาะสม


5. หน้ างานเตรียมผังเข็มและข้ อมูลเสาเข็มทดสอบ (ใบ Blow Count) ก่อนทําการทดสอบ
หมายเหตุ : กรณีนีไม่ ควรทดสอบเสาเข็มเอียง

You might also like