Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 182

ภูมิศาสตร์ทวีปแอฟริกา

Eruope
North Asia
America

Africa

South
America
Australia

Antarctica
ทวีปแอฟริกา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทวีปมืดหรือกาฬทวีป (Dark Continent) เพราะสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่เป็นอุปสรรคต่อการสารวจดินแดนภายในทวีป
อย่างไรก็ตาม ทวีปแอฟริกาถือเป็นแหล่งอารยธรรมแรกของโลก บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ คือ อียปิ ต์โบราณ
เมื่อประมาณ 5,000 ปีเศษมาแล้ว ซึ่งมนุษย์ในภูมิภาคอื่นของโลก ยังมีความเป็นอยู่ที่ล้าหลัง แต่ทวีปแอฟริกามีเมืองที่
เจริญรุ่งเรืองและเป็นศูนย์กลางทางด้านการค้าและวิทยาการต่าง ๆ
ทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศและ
ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ
พืชพรรณธรรมชาติ

ลักษณะประชากร ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม ลักษณะเศรษฐกิจ


ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขต

ทวีปแอฟริกาตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรป
ระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติก
และมหาสมุทรอินเดีย
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป
คือ บริเวณคาบสมุทรไซนาย
ประเทศอียิปต์ เป็นดินแดนที่ติดกับ
ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มีเส้นศูนย์
สูตรผ่านเกือบครึ่งกลางทวีปจึงทาให้
พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อน
และมีพื้นที่อยู่ทั้งใน
ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
1.1 ตาแหน่งที่ตงั้
ทวีปแอฟริกาตั้งอยู่ระหว่าง
ละติจูด 37° N ถึง ละติจูด 34° S และ
ระหว่าง ลองจิจูด 17 ° W ถึงลองจิจูด
51°E จึงทาให้ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ทั้งส่วนที่
เป็นซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
เกือบจะเท่า ๆ กัน
1.2 ขนาด
ทวี ป แอฟริ ก ามี ข นาดพื ้ น ที ่ ป ระมาณ
30,244,050 ตร.กม. (อันดับที่ 2 รองจาก
ทวีปเอเชีย และใหญ่กว่ายุโรปถึง 3 เท่า)มี
ระยะทางวัดจากเหนือถึงใต้ประมาณ 8,000
กิโลเมตร และมีระยะทางวัดจากตะวันออก
ถึงตะวันตกประมาณ 7,500 กิโลเมตร
1.3 อาณาเขต

ทวีปแอฟริกามีอาณาเขต ดังนี้
ทิ ศ เหนื อ จดทะเลเมดิ เ ตอร์ เ รเนี ย น
ช่องแคบยิ บรอลตาร์ และติ ด ต่ อ กั บทวี ป
เอเชียบริเวณคาบสมุทรไซนาย โดยมีคลอง
สุเอซกั้นอยู่
ทิ ศ ตะวั น ออก จดมหาสมุ ท รอิ น เดี ย
ทะเลแดง และอ่าวเอเดน
ทิ ศ ตะวั น ตก จดมหาสมุ ท รแอตแลนติ ก
และอ่าวกินี
ทิศใต้
จดมหาสมุทรแอตแลนติก และมหาสมุทร
อินเดีย
ข้อสอบ เน้นการคิด

ข้อใดกล่าวถึงที่ตั้งของทวีปแอฟริกาได้ถูกต้อง
1. มีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านกลางทวีป
2. มีคลองสุเอซใช้เป็นเป็นเส้นทางออกสู่มหาสมุทรแอตแลนติก
3. ทะเลแดงกั้นพรมแดนระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปยุโรป
4. ช่องแคบยิบรอลตาร์กั้นพรมแดนระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปเอเชีย

วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 1. เนื่องจากทวีปแอฟริกามีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านกลางทวีป


มีคลองสุเอซเป็นเส้นทางออกสู่มหาสมุทรอินเดีย มีทะเลแดงกั้นระหว่างทวีปแอฟริกากั บทวีป
เอเชีย และช่องแคบยิบรอลตาร์กั้นระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปยุโรป
ข้อสอบ เน้นการคิด

เพราะเหตุใดทวีปแอฟริกาจึงได้รับสมญานามว่า
“กาฬทวีป หรือ ทวีปมืด”

วิเคราะห์ค าตอบ เนื่องจากทวีปแอฟริกาเป็นทวีปขนาดใหญ่ มีความแตกต่างกัน


ทางด้านกายภาพ และวัฒนธรรมแบบชนเผ่าต่างๆ ที่ดารงชีวิตแบบดั้งเดิม ทาให้ทวีปนี้ ไม่ม่ค่อย
มีคนรู้จัก และเข้าไม่ปสารวจทวีปนี้น้อยมาก
เนื้อที่ 30,244,050 ตร.กม.
ประชากร 1,225 ล้านคน (ปี 2560)
ภูมิภาค 5 ภูมิภาค ( 54 ประเทศ )
แอฟริกาเหนือ
แอฟริกาตะวันตก
แอฟริกากลาง
แอฟริกาตะวันออก
แอฟริกาใต้
แอฟริกาเหนือ

จานวนประชากร 229 ล้านคน


7,614,375 ตร.กม.

ทะเลทรายสะฮารา
เป็นทะเลทรายที่มีความแห้งแล้ง
และมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
แอฟริกาตะวันตก

จานวนประชากร 371 ล้านคน


6,143,409 ตร.กม.

อ่าวกินี เป็นอ่าวที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดใน
ทวีปแอฟริกา
แอฟริกากลาง

จานวนประชากร 163 ล้านคน


6,612,664 ตร.กม.

ป่าดิบชื้นลุ่มน้าคองโกเป็นป่าที่มี
ขนาดใหญ่และมีความสมบูรณ์ของ
ระบบนิเวศมากที่สุดในทวีปแอฟริกา
แอฟริกาตะวันออก

จานวนประชากร 421 ล้านคน


7,002,969 ตร.กม.

เกาะมาดากัสการ์
เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ในทวีปแอฟริกา
แอฟริกาใต้

จานวนประชากร 65 ล้านคน
2,672,831 ตร.กม.

ประเทศแอฟริกาใต้
เป็นประเทศที่มีความเจริญ
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
มากที่สุดในทวีปแอฟริกา
La 37° 20´เหนือ - 34° 52´ ใต้ มีเส้นศูนย์สูตรผ่านเกือบครึ่ง เหนือสุด แหลมซัลตา ประเทศตูนิเซีย
กลางทวีปจึงทาให้พื้นที่ส่วน ตะวันออกสุด แหลมฮาฟุน ประเทศโซมาเลีย
Long 17°32´ ตต - 51° 26´ ตอ ใหญ่อยู่ในเขตร้อน
ตะวันตกสุด แหลมอัลมาดีเอส ประเทศเซเนกัส
KruMai เขตร้อน ที่ตั้ง
MindMap ใต้สุด แหลมอะกะลัส ประเทศแอฟริกาใต้
เขตอบอุ่น

ทิศเหนือจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทีต
่ ัง
้ ขนาด และอาณาเขต
เป็นทวีปขนาดใหญ่
ช่องแคบยิบรอลตาร์ ของทวีปแอฟริกา เป็นอันดับ 2 รองจากทวีปเอเชีย
อาณาเขต ขนาด
ทิศตะวันออก จดมหาสมุทรอินเดีย อยู่ระหว่างม.สมุทรแอตแลนติก และ
ทะเลแดง และอ่าวเอเดน 5 ภูมิภาค ( 54 ประเทศ )
ม.สมุทรอินเดีย มีทะเลล้อมรอบทุกด้าน
ทิศใต้ จดมหาสมุทรแอตแลนติก แอฟริกาเหนือ
แอฟริกาตะวันตก เนื้อที่
มหาสมุทรอินเดีย 30.24 ล้าน ตร.กม.
แอฟริกากลาง ประชากร
ทิศตะวันตก จดมหาสมุทรแอตแลนติก แอฟริกาตะวันออก 1,225 ล้านคน (ปี 2560)
และอ่าวกินี
แอฟริกาใต้
ทิศตะวันตก
แอตแลนติก
จดมหาสมุทร…………………………….
กินี
และอ่าว……………………………………
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริกา
แบ่งออกได้เป็น 7 เขต คือ
• ที่ราบ • ทะเลทรายและซาเฮล
• แอ่งแผ่นดิน • ที่สูงและที่ราบสูง
• หุบเขาทรุด • ภูเขาและเทือกเขา
• เกาะและหมู่เกาะ

? หากนักเรียนต้องการเลือกทาที่ตั้ง
เพื่อการประกอบอาชีพในทวีปแอฟริกา
นักเรียนจะเลือกบริเวณใด
และเลือกประกอบอาชีพอะไร
ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมและที่ราบตะกอนนา้ พา

• ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนล์และที่ราบ
ตะกอนน้าพา เป็นที่ราบที่เกิดจากการตกทับถม
ของตะกอนบริเวณปากแม่น้า มีลักษณะเป็นที่ราบ
ขนาดใหญ่ มีดินอุดมสมบูรณ์
ที่ราบชายฝั่งทะเล

• ที่ราบชายฝั่งทะเล ทวีปแอฟริกามีที่ราบชายฝั่งที่มลี ักษณะเป็น


ที่ราบแคบ ๆ เนื่องจากเป็นลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็น
ที่ราบสูงกระจายอยู่ทั่วทั้งทวีป ที่ราบชายฝั่งที่พบจะอยู่บริเวณ
ทิศตะวันตกและที่ราบชายฝั่งตะวันออกของโมซัมบิก
ทะเลทรายและซาเฮล

• ทวีปแอฟริกามีทะเลทรายสะฮาราเป็นทะเลทรายที่
แห้งแล้ง และมีพื้นที่มากที่สุดในโลก ทะเลทรายอื่น ๆ
ได้แก่ ทะเลทรายคาลาฮารีและทะเลทรายอีสเทิร์น
• บริเวณทะเลทรายมีพื้นที่ชุ่มน้าเรียกว่า “โอเอซิส”
ทะเลทราย

• บริเวณทะเลทรายที่มีระดับน้าใต้ดินตื้น มีลักษณะเป็นพื้นที่ชุ่มน้าเรียกว่า “โอเอซิส” เป็นแหล่งที่มีประชากรอาศัยอยู่มาก


ในทาง ภูมิศาสตร์ โอเอซิส หมายถึง อาณาบริเวณส่วนใดของทะเลทราย ที่มีพืชขึ้นอยู่ในลักษณะที่
ไม่ใช่สังคมพืชทะเลทราย ซึ่งโดยปกติ จะปรากฏรอบๆตาน้า หรือแหล่งน้าประเภทอื่นๆ โอเอซิสมักเป็นแหล่งพักพิง
ของสัตว์ต่างๆ และอาจรวมถึงมนุษย์ด้วย หากโอเอซิสนั้นมีพื้นที่มากพอ ตาแหน่งที่ตั้งของโอเอซิสนั้ น มีความสาคัญ
อย่างยิ่งยวด ในการค้า หรือการขนส่งผ่านทะเลทราย กองคาราวานจาเป็นที่จะต้องแวะพักยังโอเอซิสต่างๆ เพื่ อสะสม
น้าและอาหาร ในการเดินทางต่อๆไป
ซาเฮล
ทะเลแดง

มหาสมุทรแอตแลนติก

ภาพแสดงบริเวณซาเฮล มีความยาวราว 1,000 กม.


พาดระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับทะเลแดง
ที่มา : https://www.dw.com/en/eu-france-step-up-security-development-aid-for-africas-
g5-sahel/a-46621975
ซาเฮล (Sahel) เป็นเขตรอยต่อบริเวณกึ่งทะเลทรายบริเวณทะเลทรายสะฮารา แบ่งทวีปแอฟริกาเป็น
เหนือและใต้ ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนทะเลแดง ซาเฮลเป็นภาษาอาหรับ มีความหมายว่า ชายหาด พื้นที่
ของซาเฮลครอบคลุมตั้งแต่ (ไล่จากตะวันตกสู่ตะวันออก) ประเทศเซเนกัล, ทางใต้ของประเทศมอริเตเนีย, ประเทศ
มาลี, ประเทศบูร์กินาฟาโซ, ทางตอนใต้ของประเทศแอลจีเรีย , ประเทศไนเจอร์, ทางตอนเหนือของประเทศไนจีเรีย ,
ประเทศชาด, ทางตอนเหนือของประเทศแคเมอรูน, ประเทศซูดาน และประเทศเอริเทรีย
ซาเฮล

ซาเฮล เป็นพื้นที่กึ่งแห้งขนาดใหญ่ของแอฟริกาที่แยกทะเลทรายซาฮาราไปทางเหนือและป่าเขตร้อนและทุ่ง
หญ้าสะวันนาทางทิศใต้มีสภาพอากาศเลวร้ายและความแห้งแล้งเป็นระยะ มันเป็นแถบของแผ่นดินแห้งยาวประมาณ
5500 กิโลเมตร กว้าง 450 กิโลเมตรกึ่งแห้งแล้งในเขตร้อนของสภาพภูมิอากาศ มีอุณหภูมิสูงตลอดทั้งปี มีฝนตกเล็กน้อย
ในบางปีอาจจะแห้งมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากบริเวณที่มีความกดอากาศต่าขนาดใหญ่
แอ่งแผ่นดิน

• แอ่งแผ่นดิน เป็นลักษณะภูมิประเทศที่ต่ากว่าพื้นดิน
โดยรอบ เกิดจากการทรุดตัวของแผ่นดิน แอ่งที่สาคัญ
ได้แก่ แอ่งกัตตารา แอ่งทาอูเดนนี แอ่งคองโก
ที่สูงและที่ราบสูง

• ภูมิประเทศโดยส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา ประกอบด้วย
เทือกเขาและที่ราบสูง ภายในทวีปมีที่ราบสูงสาคัญคือ
• ที่สูงเอธิโอเปีย เป็นที่ราบสูงขนาดใหญ่ของทวีปแอฟริกา
มีความสูงเฉลี่ย 2,000-4,000 เมตร และเป็นต้นกาเนิด
แม่น้าไนล์ด้วย
หุบเขาทรุด

• เป็นลักษณะของหุบเขาที่เกิดจากการยกตัวของเปลือกโลก
ตามแนวรอยเลื่อน ทาให้เกิดการทรุดของแผ่นดิน ซึ่งตัวอย่าง
ลักษณะภูมิประเทศแบบหุบเขาทรุด คือ ภูเขาคิลมิ ันจาโร
สูง 5,895 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง มียอดสูงที่สุดชื่อ
คีโบ ซึ่งเป็นยอดเขา ที่สูงที่สุดในทวีปแอฟริกา
ภูเขาคิลิมันจาโร
ภูเขาคิลิมันจาโร
ภูเขาและเทือกเขา

• เทือกเขาของทวีปแอฟริกา มีลักษณะเป็นแนวยาว
ต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ และพบกระจายอยู่ตามขอบของ
ทวีปใกล้กับชายฝั่งทะเล เทือกเขาที่สาคัญ คือ เทือกเขา
แอตลาส เทือกเขาดราเคนส์เบิร์ก เทือกเขาทิเบสตี
และเทือกเขาอาฮักการ์
เขตที่ราบสูงและภูเขาสูง
ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ

ในประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย
และตูนิเซีย มีแนวเทือกเขาแอตลาส
ซึ่งมียอดเขาเมานต์ตูบคาลเป็นยอด
สูงสุด มีความสูง 4,167 เมตร
ประชากรหลักของเทือกเขา Atlas คือชนชาติ
เบอร์เ บอร์ในแอฟริ กาเหนื อโบราณ รวมถึงกลุ ่มชาติ พ ันธุ์
จานวนมาก (Amatsirgi, Shillu, Kabila, Shauya ฯลฯ ) ที่มี
วิถีชีวิตที่แตกต่างกัน

เทือกเขาแอตลาส เป็นแนวสันเขาหลายแนวที่ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลทรายซาฮาราที่ใหญ่ที่สุดใน
โลก มีความยาว 2092 กิโลเมตรและกว้างเกือบ 1,020 กิโลเมตรครอบคลุมพื้นที่ 776,000 ตร.กม. เทือกเขาแอตลาสตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียง
เหนือสุดของทวีปแอฟริกา ทอดยาวจากชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของโมร็อกโกผ่าน แอลจีเรียไปยัง ชายฝั่งตะวันออก ตูนิเซีย
เกาะและหมู่เกาะ

• เกาะมาดากัสการ์ เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา
ตั้งอยู่ทางตะวันออกของทวีป ในมหาสมุทรอินเดีย มีพื้นที่
ประมาณ 587,713 ตารางกิโลเมตร
ข้อสอบ เน้นการคิด
ข้อใดเป็นลักษณะภูมิประเทศที่เด่นชัดที่สุดทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา
1. แม่น้าไนล์
2. เทือกเขาแอตลาส
3. ทะเลทรายสะฮารา
4. ทะเลสาบวิกตอเรีย
วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 2. เนื่องจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกาเป็นเขต
ภูเขาหินใหม่ มีภูเขาที่มีการโก่งตัวและมียอดเขาสูงกระจายอยู่ทั่วไม่ป เช่น ยอดเขาตู บคาลของ
เทือกเขาแอตลาส ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุด สูง 4,165 เมตร นอกจากนี้ ยังมีที่ราบอันอุดมสมบูรณ์
บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางด้านตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก รวมทั้ งที่ราบ
ขนาดเล็กถัดจากเทือกเขาแอตลาส
KruMai
เทือกเขาแอตลาส เทือกเขาดราเคนส์เบิร์ก ขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา MindMap
เป็นแนวยาวต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ เทือกเขาทิเบสตี
ตะวันออกของทวีป ใน มส.อินเดีย
กระจายอยู่ตามขอบของทวีป เทือกเขาอาฮักการ์ เกาะมาดากัสการ์
ปากแม่น้าไนล์
การยกตัวของเปลือก ภูเขาและเทือกเขา เกาะและหมู่เกาะ
โลกตามแนวรอยเลื่อน ดินดอนสามเหลี่ยม ตะกอนปากแม่น้า
หุบเขาทรุด ที่ราบ
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูเขาคิลมิ ันจาโร ตะกอนน้าพา ดินอุดมสมบูรณ์

ของทวีปแอฟริกา
คีโบ ยอดเขาที่สูงที่สุดในแอฟริกา ชายฝั่งทะเล ที่ราบแคบ ๆ
ที่สูงและที่ราบสูง ทิศตะวันตก
เป็นภูมิประเทศส่วนใหญ่ ทะเลทราย+ซาเฮล ตะวันออกของโมซัมบิก
ของทวีปแอฟริกา แอ่งแผ่นดิน
ซาเฮล (Sahel)
ที่ราบสูงสาคัญ ลักษณะภูมิประเทศที่ต่ากว่า
แอ่งทาอูเดนนี ทะเลทราย บริเวณกึ่งทะเลทราย
พื้นดินโดยรอบ
ที่สูงเอธิโอเปีย แอ่งกัตตารา แอ่งคองโก “โอเอซิส” ทะเลทรายสะฮารา มส.แอตแลนติกถึงทะเลแดง
พื้นที่ชุ่มน้า ทะเลทรายคาลาฮารี ฉายา “เข็มขัดแอฟริกา”
มีประชากรอาศัยอยู่มาก ทะเลทรายนามิบ
เรื่ องน่ ารู้ : ทะเลเพลิงลาวา
สิ่ งมหัศจรรย์ ของทวีปแอฟริกา สวยงาม และหาดูยาก
ทีมงานนักวิ ทยาศาสตร์และนักส ารวจเสี่ยงภัยไปยังริมทะเลลาวาปากภูเขาไฟนีอีร ากองโก (Nyiragongo)ประเทศสาธารณรั ฐ
ประชาธิปไตยคองโก ที่ลาวากาลังเดือด โดยปากปล่องภูเขาไฟตั้งอยู่ ใจกลางของภูมิภาคเกรตเลกส์ (Great Lakes) ของทวีปแอฟริกา
คนแรกที่รับรู้เรื่องการปะทุของลาวา คือ ช่างภาพ โอลิเวียร์ กรุนเวลด์ (Olivier Grunewald) ซึ่งเข้าไปใกล้ปากปล่องได้ในระยะ 1 เมตร
จากริมขอบของภูเขาไฟ สูง 11,380 ฟุตเหนือพื้นดิน ที่ความลึก 1,300 ฟุต
ทะเลเพลิงลาวาที่โชติช่วงอยู่ตลอดเวลาของภูเขาไฟนีอีรากองโกเป็นทะเลลาวาที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีปริมาณลาวาประมาณ 282 ล้าน
ลูกบาศก์ฟุต ทะเลลาวานี้มีการระเบิดของฟองก๊าซอยู่ตลอดเวลา
ลักษณะภูมิอากาศ

? นักเรียนคิดว่า มีปัจจัยใดบ้างที่ทาให้
ทวีปแอฟริกามีสภาพอากาศที่แห้งแล้ง
กว่าทวีปอื่น ๆ และเหตุผลใดทาให้
ทะเลทรายหลายแห่งในทวีปแอฟริกามี
ขนาดใหญ่กว่าทะเลทรายของทวีปอื่น ๆ
ลักษณะภูมิอากาศ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา ได้แก่

เขตอบอุ่น 1. ตาแหน่งที่ตั้ง เนื่องจากทวีปแอฟริกามีที่ตั้งอยู่


ทั้งในซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้ โดยมีเส้นศูนย์
เขตร้อน สูตรลากผ่านกลางทวีป จึงทาให้พื้นที่ส่วนใหญ่
อยู่ในเขตร้อน มีเพียงบางส่วนอยู่ในเขตอบอุน่
ไม่ด้แก่ ตอนเหนือสุดและตอนใต้สุดของทวีป
เขตอบอุ่น
ลักษณะภูมิอากาศ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา ได้แก่

2. ลักษณะลักษณะภูมิประเทศ
เขตอบอุ่น
ทวีปแอฟริกามีขนาดใหญ่ พื้นที่ประมาณ 2 ใน 3
ของทวีปแอฟริกาเป็นเขตที่ราบสูง มีหน้าผาชัน
เขตร้อน
จึงขวางกั้นการรับความชื้นจากทะเลเข้าสู่แผ่นดิน
ภายในทวีป ชายฝั่งไม่ค่อยเว้าแหว่ง มีอ่าวและ
คาบสมุทรน้อย รวมทั้งมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่าน
เขตอบอุ่น กลางทวีปจึงทาให้พื้นที่ทางตอนเหนือและตอนใต้
ได้รับอิทธิพลและความชื้นจากทะเลน้อยมากจึง
กลายเป็นทะเลทรายกว้างใหญ่
ลักษณะภูมิอากาศ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา ได้แก่

3. ทิศทางลมประจา เนื่องจากมีเส้นศูนย์สูตรลาก
ผ่านกลางทวีป ทาให้เกือบทั้งทวีปตกอยู่ภายใต้อิทธิพล
ของลมสินค้าได้แก่ ลมสินค้าตะวันออกเฉียงเหนือ
และ ลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจะนาพาความชุ่ม
ชื้นเข้ามาทางด้านตะวันออกเมื่อปะทะกับขอบที่ราบสูง
จะส่งผลให้บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้มีฝนตกชุก
แต่พื้นที่ด้านเหนือ และด้านใต้ของทวีปเป็นเขตเงาฝน
จึงกลายเป็นทะเลทราย
ลักษณะภูมิอากาศ
4. กระแสน ้าในมหาสมุทร ที่มีอิทธิพลต่ออากาศ
ของทวีปแอฟริกา
➢ กระแสน้าเย็น เบงเกวลา ไหลเลียบฝั่งตะวันตกเฉียง
ใต้ บริเวณประเทศแอฟริกาใต้และนามิเบีย ทาให้
บริเวณนี้มีอากาศเย็นและแห้งแล้ง ทาให้ไม่มีฝนตก
เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดทะเลทรายนามิบ
➢ กระแสน้าเย็น คะแนรี ไหลเลียบฝั่งตะวันตกเฉียง
เหนือบริเวณประเทศโมร็อกโกและทะเลทรายสะฮา
ราตะวันตก ทาให้บริเวณนี้มีอากาศเย็นและแห้งแล้ง
ทาให้ไม่มีฝนตก เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิด
ทะเลทรายชายฝั่งประเทศโมร็อกโก
➢ กระแสน้าอุ่น อะกะลัส(โมซัมบิก) ไหลเลียบชายฝั่ง
ตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณชายฝั่งภาคใต้ของประเทศ
โมซัมบิกและตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ
แอฟริกาใต้ ทาให้บริเวณนี้มีอากาศอบอุ่นชุ่มชื้น
ลักษณะภูมิอากาศ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา ได้แก่
5. ความสูงของพื้นที่ ระดับความสูงที่แตกต่างกันของทวีป
แอฟริกามีอิทธิพลต่อความแตกต่างด้านอุณหภูมิในพื้นที่ที่มี
ความสูงแตกต่างกัน
6. ร่องความกดอากาศต่าแถบศูนย์สูตร (L) พื้นที่บริเวณ
แถบเส้นศูนย์สูตรรของทวีปแอฟริกาได้รับอิทธิพลของลมค้า
พัดเข้าหากัน แล้วลอยตัวขึ้นก่อเป็นเมฆแบบพาความร้อน
ทาให้มีฝนตกชุก
7. บริเวณความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อน (H) เป็นบริเวณที่
มีอากาศจมตัวลง ทาให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น อากาศที่มีอุณหภูมิ
สูงไม่ก่อให้เกิดการกลั่นตัว จึงเกิดความแห้งแล้งเป็น
ทะเลทราย
ข้อสอบ เน้นการคิด
สาเหตุใดที่ส่งผลให้บริเวณชายฝั่งตะวันตกทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกาเกิดลักษณะ
ภูมิประเทศแบบทะเลทราย
1. อิทธิพลของกระแสน้าเย็น
2. การตัดไม้ทาลายป่าในอดีต
3. ปรากฎการณ์น้าเกิด-น้าตาย
4. แนวความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อน
วิเคราะห์ค าตอบ ตอบข้อ 4. เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีแนวความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อ น
ลมจะพัด ออกจากแผ่ นดินเอาความชื ้ นจากทะเลออกไม่ป ท าให้ช ั้นบรรยากาศไม่ม่มีไม่ อน ้า และไม่ร้เมฆ
เกิดเป็นพื้นที่แห้งแล้งจึงมีสภาพเป็นทะเลทราย
1. เขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร

✓ มีอุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ยมากกว่า 18 °C

✓ ไม่มีฤดูหนาว

✓ มีปริมาณฝนตกชุกตลอดปี

พบบริเวณประเทศคองโกและชายฝั่งตะวันออก
ของเกาะมาดากัสการ์
2. เขตภูมิอากาศแบบเขตมรสุม

✓ มีอุณหภูมิเฉลี่ยทุกเดือนสูงกว่า 18 °C

✓ ไม่มีฤดูหนาว

✓ มีปริมาณฝนตกชุกตลอดปี
มีเพียง 2-3 เดือนที่ฝนตกน้อย

พบบริเวณตอนเหนือของอ่าวกินีและชายฝั่ง
ตะวันออกของเกาะมาดากัสการ์
3. เขตภูมิอากาศแบบสะวันนา

✓ มีอุณหภูมิสูงและความชื้นปานกลาง

✓ มีฤดูฝนและฤดูแล้งสลับกัน

✓ อากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว

เป็นบริเวณที่ติดอยู่กับภูมิอากาศแถบเส้นศูนย์สูตร
ไปจนถึงบริเวณกึ่งแห้งแล้งขอบทะเลทรายหรือซาเฮล
และทางตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์
4. เขตภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อนและเขตอบอุ่น

✓ อากาศร้อนจัดในช่วงเวลากลางวัน

✓ อากาศเย็นจัดในช่วงเวลากลางคืน

✓ ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยน้อยกว่า
250 มิลลิเมตรต่อปี

พบบริเวณทะเลทรายสะฮาราทางตอนเหนือ
ทะเลทรายนามิบ และทะเลทรายคาลาฮารี
5. เขตภูมิอากาศแบบกึ่งแห้งแล้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น

✓ อากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว

✓ ปริมาณฝนมากกว่าเขตทะเลทราย
เฉลี่ย 250-500 มิลลิเมตรต่อปี

พบบริเวณพื้นที่ระหว่างเขตทะเลทรายกับเขตสะวันนาทัง้
ตอนบนและตอนใต้ของทวีป และบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้
ของเกาะมาดากัสการ์
6. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

✓ ฤดูร้อนมีอากาศร้อนและแห้ง

✓ ฤดูหนาวอากาศอบอุ่นและมีฝนตก

พบบริเวณชายฝั่งใกล้กับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณ
หุบเขาของเทือกเขาแอตลาส ชายฝั่งตอนเหนือของ
ประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย และตูนิเซีย รวมถึงชายฝั่ง
ตะวันตกเฉียงใต้ของแอฟริกา
7. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป

✓ ไม่มีฤดูแล้ง

✓ มีฝนตกทุกเดือน
และมีความชื้นตลอดปี

✓ ฤดูร้อนมีอากาศร้อน

พบบริเวณ 10 องศาใต้ แถบประเทศเองโกลา แซมเบีย


ซิมบับเว ตอนใต้ของคองโก และตะวันออกของประเทศ
แอฟริกาใต้
8. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันออก

✓ ไม่มีฤดูแล้ง

✓ มีฝนตกทุกเดือน
และมีความชื้นตลอดปี

✓ ฤดูร้อนมีอากาศอบอุ่น

พบบริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาใต้
เลโซโท และเอสวาตินี บางส่วนของเกาะมาดากัสการ์
ข้อสอบ เน้นการคิด
เพราะเหตุใดบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา
จึงมีภูมิอากาศแบบอุ่นชื้น
1. กระแสน้าอุ่นอะกะลัสไหลผ่าน
2. พายุไซโคลนเคลื่อนตัวเข้าชายฝั่งเป็นประจา
3. อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรอากาศจึงร้อนและชุ่มชื้น
4. ลมตะวันออกเฉียงเหนือนาความชุ่มชื้นมาให้
วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 1. ลักษณะภูมิอากาศในทวีปแอฟริกามีความแตกต่างกัน เนื่อ งจาก
ปัจจัยหลายประการ เช่น ทิศทางตามลมพายุหมุน กระแสน้า ซึ่งบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ ของทวีป
มีกระแสน้าอุ่นอะกะลัสไม่หลผ่าน ทาให้บริเวณดังกล่าวมีภูมิอากาศแบบอุ่นชื้น
ข้อสอบ เน้นการคิด
การมีลักษณะภูมิประเทศแบบทะเลทรายของบริเวณชายฝั่งตะวันตกทางตอนใต้ของทวีป
แอฟริกา มีความเกี่ยวข้องกับเขตภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตร้อนอย่างไร

วิเคราะห์คาตอบ ทวีปแอฟริกามีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านกลางทวีป ท าให้กับทางทวีป ตกอยู่


ภายใต้อิทธิพลของลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือและลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจะพาฝนเข้ามาทางด้ าน
ตะวันออกและปะทะกับขอบที่ราบสูง ส่งผลให้บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้มีฝนตกชุก แต่ พื้นที่ทาง
เหนือและชายฝั่งตะวันตกทางใต้ของทวีปมีความแห้งแล้งและเกิดเป็นทะเลทรายขนาดใหญ่
ข้อสอบ เน้นการคิด
หากนักเรียนชอบสภาพอากาศที่อบอุ่นเย็นสบาย ไม่ร้อน และมีฝนตกชุกใน
ฤดูหนาว นักเรียนจะเลือกตั้งถิ่นฐานในเขตภูมิอากาศแบบใดของทวีปแอฟริกา
1. ภูมิอากาศแบบที่สูง
2. ภูมิอากาศแบบสะวันนา
3. ภูมิอากาศชื้นกึ่งเขตร้อน
4. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 4. เนื่องจากลักษณะเด่นของภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนจะมี


อากาศร้อนและแห้งในฤดูร้อน ส่วนในฤดูหนาวจะมีอากาศเย็นสบายและมีฝนตก
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ

? นักเรียนคิดว่า มีปัจจัยใดบ้างที่
ทาให้ทวีปแอฟริกามีพืชพรรณ
ธรรมชาติหลากหลาย
มีพรรณไม้เฉพาะถิ่นที่พบได้
เฉพาะในทวีปแอฟริกาเท่านัน้
ลองยกตัวอย่างต้นไม้ที่นักเรียน
รู้จักและเคยเห็นผ่านตา
ป่าดิบชื้น

มีป่าไม้ขึ้นหนาทึบหลากหลายชนิด
ส่วนใหญ่เป็นป่าไม่ผลัดใบ พบไม้
จาพวก มอสส์ ไม้พุ่ม และต้นไม้ใหญ่
ทุ่งหญ้าสะวันนา

พบแบบพุ่มประปราย
และเป็นทุ่งหญ้าสลับกับป่าโปร่ง
พืชที่พบ เช่น ปาล์ม อะเคเซีย เบาบับ
พืชทะเลทราย

พบกระบองเพชร ไม้พุ่ม
และไม้หนาม
ป่าเมดิเตอร์เรเนียน

พบต้นไม้ใบแข็ง และมีสีเขียวมัน
รวมถึงไม้พุ่มและไม้หนามที่ทนสภาพกึ่งแห้ง
แล้งได้ดี เช่น คอร์ก โอ๊ก มะกอก ผลไม้สกุลส้ม
ป่าชายเลน

เขตภูมิอากาศแบบมรสุม พบพืชพรรณไม้
ป่าชายเลน ได้แก่ ไม้โกงกาง แสม และลาพู
แบบที่สูง

พืชพรรณเปลี่ยนแปลงไปตามระดับ
ความสูงของพื้นที่ บนยอดเขาอุณหภูมิ
จะลดลงจนไม่มีพืชพรรณขึ้นได้
Geo Question
บริเวณที่ราบสูงและเทือกเขามีอิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศและกิจกรรมของมนุษย์อย่างไร
และถ้าหากไม่มีเทือกเขาดราเคนสเบิร์กทางตอนใต้ของทวีป จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

วิเคราะห์คาตอบ บริเวณพื้นที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูง ทาให้ประชากรอาศัยอยู่บ ริเวณที่ราบ


สูงและเทือกเขาน้อย มีการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เมืองหนาว แต่ถ้าหากไม่ม่มีเทือกเขาดราเคนสเบิร์กทางตอนใต้ของทวีป
แอฟริกา จะทาให้ไม่ด้รับความชื้นจากมหาสมุทรอินเดียเข้ามาในแผ่นดิน และจะไม่ม่เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบทะเลทราย
เช่น ทะเลทรายคาลาฮารี
คาถามทบทวน
ทาเลที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริกา
1 มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศอย่างไร
ที่ตั้งของทวีปแอฟริกาตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 37 องศาเหนือกับ 35 องศาใต้ ทาให้เนื้อที่ประมาณ
3 ใน 4 ส่วนของทวีปนี้อยู่ในเขตร้อน และเนื้อที่ประมาณ 1 ใน 4 ส่วนอยู่ในเขตอบอุ่น
ส่วนลักษณะภูมิประเทศ เนื้อที่ประมาณ 2 ใน 3 ส่วนของทวีปเป็นที่ราบสูง และยังเป็นทวีปที่มี
รูปร่างไม่ม่ค่อยเว้าแหว่ง จึงมีอ่าวและคาบสมุทรน้อย ประกอบกับพื้นที่ทางตอนกลางของทวีป
ตั้งอยู่ในเขตลมสงบที่มีทิศทางการพัดของลมไม่ม่แน่ชัด ทวีปแอฟริกาจึงไม่ด้รับอิทธิพลความชื้น
และมวลอากาศจากทะเลน้อยมาก แม้จะมีแนวเทือกเขาตั้งรับลมทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือตะวันออก
และตะวันออกเฉียงใต้ก็ไม่ม่มีผลต่อความชื้นและปริมาณฝนภายในทวีปมากนัก
คาถามทบทวน

อะไรเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ทวีปแอฟริกา
2 มีภูมิอากาศแตกต่างกัน

ที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ กระแสน้า และทิศทางลม


82
ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน ดินบริเวณภูมิภาคตะวันออกมี
ลักษณะเป็นดินร่วนละเอียดสีดา และมี
ดินบริเวณทะเลทราย มี ปริมาณธาตุอินทรีย์คาร์บอนในดินสูงจึง
ลักษณะ เป็นทรายและหินทั้งหมด ซึง่ เป็น มีความอุดมสมบูรณ์ เช่น เคนยา
ผลมาจากตาแหน่งที่ตั้งและสภาพอากาศ
เช่น ทะเลทรายสะฮารา ดินที่มีความเค็มพบตามบริเวณ
พื้นที่ติดชายฝั่งและในเขตพื้นที่แห้งแล้ง
เช่น ซูดาน อียิปต์ ตอนใต้ของแอฟริกาใต้
ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมีลักษณะ
เป็นดินร่วนกักเก็บน้าปานกลาง มีความเป็น ดินบางบริเวณมีลักษณะเป็นสีแดง
กรด-ด่างและปริมาณธาตุอินทรีย์คาร์บอน เนื่องจากมีธาตุเหล็กและอะลูมินัมเป็น
ปานกลาง ส่วนประกอบสูง เช่น แถบแอฟริกาใต้
ดินบริเวณป่าฝนเขตร้อนง่ายต่อการถูกชะล้าง
และสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีฝนตกชุก ดินบริเวณที่ราบน้าท่วมถึงและดิน
ดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าต่าง ๆ เป็นดิน
ส่วนเขตพื้นที่ชุ่มน้าในประเทศคองโก ดินมีความเป็น ตะกอน แม่น้าที่มีความอุดมสมบูรณ์
กรดสูง และมีธาตุอินทรีย์คาร์บอนปานกลางถึงระดับสูง เช่น แม่น้าไนล์
น้าผิวดิน

แม่น้าไนเจอร์

แม่น้าไนเจอร์
มีต้นกาเนิดจากที่สูงฟูตาจาโลน ไหลไปทางใต้
ลงสู่อ่าวกินี มีความยาว 4,183 กิโลเมตร
มีแก่งและสันดอนบางช่วง พื้นที่ลุ่มน้าและ
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ากว้างขวางมาก
Geo Question
สาเหตุใดที่ทาให้ทรัพยากรดินของทวีปแอฟริกาส่วนใหญ่ทาการเพาะปลูกได้ค่อนข้างน้อย

วิเคราะห์คาตอบ เนื่องจากทางตอนเหนือของทวีปเป็นทะเลทราย อีกทั้งบางพื้นที่แม้มีพื้นดินแต่


ก็ยังขาดแคลนน้า โดยในขณะเดียวกันชนเผ่าต่างๆ ยังมีการถางป่า เผาป่า ทาไม่ร่เลื่อนลอย นอกจากนี้
ยังคงนิยมใช้สารเคมีและเร่งผลผลิต ซึ่งส่งผลให้ดินเสื่อมโทรม รวมไม่ปถึงเกิดปัญหาดินเค็ม ปั ญหาความ
แห้งแล้ง และปัญหาการขยายตัวของพื้นที่ทะเลทรายก็เป็นปัญหาที่ทาให้ดินของทวีปแอฟริก าลดปริมาณ
และคุณภาพลง ซึ่งทาให้มีผลต่อการขาดแคลนพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกนั่นเอง
แหล่งน้าในทวีปแอฟริกา

ทวีปแอฟริกามีแม่น้าหลายสายที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของประชากร
ในทวีปเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบน้าจืดอีกหลายแห่ง ดังนี้
แหล่งน้าในทวีปแอฟริกา
แม่น้า
แม่น้าไนล์ เป็นแม่น้าสายยาวที่สุดของทวีป
แอฟริกาและของโลก เกิดจากที่สูงทาง
ตะวันออก ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

แม่น้าคองโก มีความยาวเป็นอันดับ 2 รองจาก


แม่น้าไนล์ เกิดจากที่สูงทางตะวันตกเฉียงใต้ ลง
สู่มหาสมุทรแอตแลนติก

แม่น้าไนเจอร์ มีความยาวเป็นอันดับ 3 เกิด


จากที่สูงทางตะวันตก ลงสู่อ่าวกินี มีการสร้าง
อ่างเก็บน้าเพื่อป้องกันน้าท่วม
แหล่งน้าในทวีปแอฟริกา
แม่ นา้

แม่ น้ำแซมบีซี เกิดจากภูเขาทางตะวันออก


เฉี ยงใต้ ลงสู่ มหาสมุทรอินเดีย

แม่ น้ำออเรนจ์ เกิดจากเทือกเขาดราเคนส์-


เบิร์ก ไหลลงสู่ มหาสมุทรอินเดีย

แม่ น้ำลิมโปโป เป็ นแม่น้ าทางใต้ของทวีป


แอฟริ กา ไหลลงสู่ มหาสมุทรอินเดีย
แม่น้าไนล์

แม่น้าไนล์
มีต้นกาเนิดจากที่สูงเอธิโอเปียและทะเลสาบวิกตอเรีย มีลาน้า
สาขาใหญ่ คือ ลาน้าไวต์ไนล์และบลูไนล์ ไหลไปทางทิศเหนือ
ผ่านประเทศยูกันดา ซูดาน ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่
ประเทศอียิปต์ มีความยาว 5,588 กิโลเมตร
แม่น้าคองโก

แม่น้าคองโก
มีต้นกาเนิดจากที่ราบสูงตอนกลางและภูเขา
สูงทางตะวันออก ไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก
มีความยาวมากกว่า 4,300 กิโลเมตร มีแก่งและน้าตกขวาง
กั้นลาน้าอยู่หลายแห่ง
แม่น้าแซมบีซี

แม่น้าแซมบีซี
มีต้นกาเนิดจากที่ราบสูงทางตะวันออกของประเทศแองโกลา
และทะเลสาบมาลาวี ไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ลงสู่
มหาสมุทรอินเดีย บริเวณช่องแคบโมซัมบิก มีความยาว
2,735 กิโลเมตร มีแก่งและน้าตกขวางกั้นเป็นตอน ๆ
แม่น้าออเรนจ์
แม่น้าออเรนจ์
มีต้นกาเนิดบริเวณที่สูงในประเทศเลโซโท
ไหลไปทางตะวันตกลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก
ยาวประมาณ 2,100 กิโลเมตร
น้าใต้ดิน

แหล่งน้าจืดที่ไหลซึมลงไปตามช่องว่างของดินธารน้าไหล
ตามโพรงหินและแนวรอยเลื่อนลงไปกักขังไว้ตามโครงสร้าง
คล้ายแอ่งใต้ดิน รวมถึงแหล่งน้ากลางทะเลทราย เรียกว่า
โอเอซิส เกิดจากตาน้าใต้ดินผุดขึ้นมา
ทวีปแอฟริกามีการนาน้าใต้ดินขึ้นมาใช้ประโยชน์มาก
แหล่งน้าในทวีปแอฟริกา

ทะเลสาบน้าจืด

ทะเลสาบน้าจืดที่สาคัญมี 3 แห่ง
ทะเลสาบวิกตอเรีย มีขนาดใหญ่เป็น
อันดับ 2 ของโลก
ทะเลสาบแทนกันยีกา
ทะเลสาบมาลาวีหรือทะเลสาบ
ยาซา
เรื่องน่ารู:้ น้าตกวิกตอเรีย (Victoria Falls) สถานที่ศักดิ์สิทธิ์

มีสถานที่ไม่กี่แห่งบนโลกที่น่ายาเกรงอย่างยิ่ง
ชาวโคโลโลผู้เคยใช้ชีวิตอยู่เหนือหมู่น้าตกวิกตอเรียนี้
และเป็นผู้ตั้งสมญานามว่า “ควันที่ส่งเสียงกึกก้อง”
เผ่าตองกาก็ถือว่าน้าตกนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
จะมีการจัดพิธีทางศาสนาขึ้นที่แก่งน้าตก
ทางด้านตะวันออกและใช้วัวดาในการทาพิธี
ดร.เดวิด ลิฟวิงสตัน หมอสอนศาสนา
ชาวสกอตแลนด์เป็นชาวยุโรปคนแรกที่ได้เห็นน้าตกนี้เมื่อ ค.ศ. 1855 และตั้งชื่อน้าตกตาม
พระนามราชินีของเขา คือ สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย นักสารวจผู้ยิ่งใหญ่นี้เดินเรือไปตาม
แม่น้าแซมบีซีที่ยาว 2,700 กิโลเมตร ในฐานะเส้นทางสาคัญ ซึ่งเขาหวังว่าอาจทาหน้าที่ประหนึ่ง “ถนนของพระเจ้า” ที่เปิดไปสู่
แอฟริกากลาง เขาเดินทางโดยล่องเรือแคนูและมาถึงน้าตกนี้เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายนในปีนั้น
กิจกรรม ตอบคาถาม

ต้นกาเนิด: เขตที่สูงทางด้านตะวันออกของทวีป
แม่น้าไนล์ ไหลลงสู่: ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ต้นกาเนิด: เขตที่สูงทางด้านตะวันตกของทวีป
แม่น้าไนเจอร์ ไหลลงสู่: อ่าวกินี

ต้นกาเนิด: เขตภูเขาทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป
แม่น้าแซมบีซี ไหลลงสู่: มหาสมุทรอินเดีย

ต้นกาเนิด: เขตที่สูงทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของทวีป
แม่น้าคองโก ไหลลงสู่: มหาสมุทรแอตแลนติก
แร่และแร่พลังงาน

ทวีปแอฟริกามีแหล่งแร่และทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์
แร่ที่สาคัญ ได้แก่ ทองคา เพชร ถ่านหิน และ
น้ามันดิบ แหล่งแร่ที่สาคัญของทวีปอยู่ในภูมิภาค
แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก และแอฟริกาใต้
ทองคา พบมากในประเทศแอฟริกาใต้ กานา กาบอง และ
ทางตอนเหนือของเกาะมาดากัสการ์ ประเทศแอฟริกาใต้ เป็น
แหล่งแร่ทองคาที่ใหญ่ที่สุดของทวีปแอฟริกา
มีปริมาณร้อยละ 30 ของโลก ปัจจุบันมีเหมืองทองคาจานวน
มากที่รัฐให้ทาการสัมปทาน
เพชร พบกระจายทั่วไปในเขตประเทศแอฟริกาใต้
นามิเบีย และบอตสวานา แหล่งที่พบแร่เพชร
กระจายอยู่มากที่สุด คือ ประเทศแอฟริกาใต้
น้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ แหล่งสาคัญของ
ทวีปแอฟริกา ได้แก่ บริเวณทะเลทรายทางตอน
เหนือ เช่น ประเทศแอลจีเรีย ลิเบีย อียิปต์
ประเทศไนจีเรีย เป็นประเทศที่มีแหล่งน้ามันดิบ
สารองถึงร้อยละ 3 ของโลก
การส ารวจและผลิตแร่เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส าคัญของหลายประเทศและมีส่วน
สาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของทวีปแอฟริกา แต่การทาเหมืองแร่จากัดอยู่เฉพาะบางบริเวณเท่านั้น
ประเทศที่ส่งแร่และพลังงานเป็นสินค้าออกมากกว่าร้อยละ 90 ได้แก่ แองโกลา แอลจีเรียและ
แซมเบีย ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นผู้ผลิตและส่งออกเหล็กถ่านหินและอัญมณีรายใหญ่ของโลก
ประเทศไนจีเรียส่งเสริมให้บริษัทต่างชาติเข้าไปส ารวจและลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ต่ าง ๆ
ประเทศบอตสวานามีระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโดยสาหกรรมเหมืองแร่ โดยเฉพาะเป็นผู้ผลิตเพชร
รายใหญ่ของโลก
Geo Question
เพราะเหตุใดการทาเหมืองแร่ของทวีปแอฟริกาจึงจากัดอยู่ในบางบริเวณเท่านั้น

วิเคราะห์คาตอบ เนื่องจากทวีปแอฟริกามีทรัพยากรแร่กระจายอยู่ทั่วไม่ปภายในทวีป อย่างไม่รก็


ตามการนาทรัพยากรแร่มาใช้ประโยชน์อย่างมีน้อย เนื่องจากขาดการสารวจและบุกเบิก รวมถึงการขาด
แคลนทุนทรัพย์ในการสารวจและทาเหมืองแร่ จึงส่งผลให้การทาเหมืองแร่ของทวีปแอฟริกามีอ ยู่อย่าง
จากัดเฉพาะบางบริเวณเท่านั้น
VDO
สัตว์ป่า
บริเวณทุ่งหญ้าสะวันนามี Big 5 เป็นสัญลักษณ์ ได้แก่ แรด ช้างป่าแอฟริกา ควายป่า เสือดาว และสิงโต

แรด ช้างป่าแอฟริกา ควายป่า เสือดาว สิงโต


สัตว์ป่า

เสือดาว

ยีราฟ

ช้าง

แรด
สิงโต
ลักษณะประชากร

? นักเรียนคิดว่า พื้นที่บริเวณใดของ
ทวีปแอฟริกาเหมาะสมต่อการตั้ง
ถิ่นฐานของประชากรมากที่สุด
เพราะเหตุใด
ประชากร

ทวีปแอฟริกามีจานวนประชากรประมาณ 1,225 ล้านคน (ปี 2560)


หรือคิดเป็นร้อยละ 17 ของประชากรโลก
มีจานวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย
และมีอัตราเฉลี่ยความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย

ประมาณ 41 คนต่อตารางกิโลเมตร
ลักษณะประชากร
ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่มีอัตราการเกิดมากที่สุดในโลก
และมีอัตราการตายสูงที่สุดเช่นกัน เพราะว่า

มีระดับคุณภาพชีวิตต่า มีเทคโนโลยีทาง
การแพทย์น้อย

มีพื้นที่ส่วนใหญ่แห้ง
ขาดการศึกษา
แล้ง
การตั้งถิ่นฐานและการกระจายตัวของประชากร
➢ บริเวณที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานหนาแน่นมากที่สุด
ในทวีป ได้แก่ บริเวณที่ราบลุ่มน้าต่าง ๆ เช่น
ที่ราบลุ่มน้าไนล์ ที่ราบลุ่มน้าไนเจอร์ หรือ
บริเวณที่ราบชายฝั่งอ่าวกินี ที่ราบสูงเอธิโอเปีย

➢ บริเวณทะเลทรายและป่าดิบชื้น เช่น ทะเลทรายสะฮารา


ทะเลทรายคาลาฮารี ทะเลทรายนามิบ จะมีประชากร
อาศัยอยู่เบาบาง ยกเว้นบริเวณที่มีแหล่งน้าใต้ดินใน
ทะเลทราย (โอเอซิส) จะมีประชากรอาศัยอยู่อย่าง
หนาแน่น เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์และมีปริมาณน้า
เพียงพอต่อการบริโภค ส่วนบริเวณป่าดิบชื้นแถบลุ่มน้า
คองโก ประชากรอาศัยอยู่เบาบาง
➢ ภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก มีจานวนประชากรมาก
ที่สุด เนื่องจากมีพื้นที่กว้างใหญ่ มีที่ราบสูงที่มีอากาศ
อบอุ่นเหมาะกับการเกษตรกรรมและตั้งถิ่นที่อยู่อาศัย
➢ ภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีจานวนประชากรน้อยที่สุด
เนื่องจากมีเนื้อที่เล็กกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ซึ่งประชากร
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร

ประชากรทวีปแอฟริกา พ.ศ. 2510 ประชากรทวีปแอฟริกา พ.ศ. 2560


➢ ปัญหาด้านประชากรของทวีปแอฟริกา คือ การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของประชากรวัยเด็กที่มีอัตราการเกิดสูง
เนื่องจากสาเหตุหลัก คือ การต่อต้านการคุมกาเนิดและความเชื่อทางศาสนา
➢ จากพีระมิดประชากรในปัจจุบันมีลักษณะเป็นพีระมิดแบบฐานกว้าง ในอนาคตมีการคาดการณ์ว่าฐานพีระมิด
จะแคบลง ซึ่งแสดงถึงประชากรวัยเด็กเพิ่มจานวนช้าลง และมีจานวนประชากรวัยสูงอายุมากขึ้น
ลักษณะทางสังคม
กลุ่มนิกรอยด์ กลุ่มคอเคซอยด์
ผมสีดาหรือสีน้าตาล เป็นผมหยิก
ผมสีดาหรือสีน้าตาล
หรือขมวดติดหนังศีรษะ ผม

นัยน์ตาดาโต นัยน์ตาดา
นัยน์ตา

จมูกหนาและกว้าง สันจมูกโด่ง
จมูก

ริมฝีปากหนา ริมฝีปากบาง
ปาก

ผิวดา ผิวสีน้าตาล ค่อนข้างขาว หรือขาว


ผิว

ขากรรไกรยื่น และกะโหลกศีรษะค่อนข้างยาว กะโหลกศีรษะยาว


ศีรษะ
อพยพมาจากทวีปยุโรปสมัยโบราณ อาศัยอยู่บริเวณ
อยู่บริเวณตอนใต้ของทะเลทรายสะฮาราถึงตอนใต้ของทวีป ทะเลทรายจนถึงชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ถิ่นอาศย
1. กลุ่มผิวดา (นิกรอยด์)

ชาวบุชแมน ชาวมาไซ ชนเผ่าปิกมี


ชนเผ่าบุชแมน ( Bushman ) ใน
ทะเลทรายคาลาฮารี (Kalahari Desert)
Masai tribe (Maasai)
ชนเผ่าปิ๊กมี่ (Pygmies)
ชนเผ่าปิ๊กมี่ (Pygmies)
ชนเผ่ามูร์ซี (Mursi)

เป็นชนเผ่าที่อยู่ติดกับพรมแดนของประเทศ
ซูด าน โดยชาวเผ่านี้จ ะมีล ักษณะสูงใหญ่
แถมยังขึ้นชื่อว่าเป็นพวกที่ก้าวร้า ว และดุ
ร้ายที่สุดในประเทศเอธิโอเปีย ตามธรรม
เนี ย มของเผ่ า มู ร ์ ซ ี ผ ู ้ ช ายมี ห น้ า ที ่ เลี ้ ย งวั ว
เลี้ยงแพะ และดื่มกินเท่านั้น ส่วนการทาไร่
ตั ก น ้ า หาฟื น หาอาหาร เป็ น หน้ า ที ่ ข อง
ผู้หญิง ซึ่งนอกจากสาวๆ จะทางานบ้านงาน
เรือนเก่งแล้ว แฟชั่นการแต่งตัวก็จัด จ้านไม่
แพ้กัน
สาหรับสาวๆ ชาวเผ่ามูร์ซนี ั้นหากต้องการได้รับ
ความเสน่หาจากชายหนุ่ม จะต้องเจาะปากให้ใหญ่พอที่จะ
ใส่แผ่นดินเผาได้ ซึ่งวัฒนธรรมนี้มีมานานกว่าสามหมื่นปี
เลยทีเดียว โดยจะเจาะผ่าบริเวณต่ากว่าริมฝีปากเข้ามา
ประมาณ 1 - 2 เซนติเมตร หลังจากนั้น 2 - 3 สัปดาห์ เมือ่
แผลหายจะใช้แผ่นดินเหนียวเผาใส่เข้าไปแล้วเพิ่มขนาดให้
ใหญ่ขึ้นเรือ่ ยๆ จนปากฉีกไปถึงเหงือก ตามความเชื่อยิ่ง
แผ่นดินเผาใหญ่เท่าไหร่ ก็จะสามารถเรียกร้องวัวมาเป็น
สินสอดได้มากขึ้นเท่านั้น
และผู้ชายจะต้องผ่านพิธีกรรมการต่อสู้ที่เรียกว่า ‘Donga’ ก่อนถึง
จะเรียกว่าลูกผู้ชายตัวจริงแล้วออกไปมีครอบครัวได้ โดยพวกเขาจะ
มารวมตัวกันแล้วเอากิ่งไม้ยาวประมาณ 2-2.5 เมตร มาตีต่อสู้กัน
จนได้รับชัยชนะในที่สุด จะถือว่าผ่านการทดสอบเป็นลูกผู้ ชายตัว
จริงอย่างสมบูรณ์

และเมื่อชายหนุ่มชาวมูร์ซีถูกตาต้องใจสาวคนไหนขึ้นมาก็จะต้องหา
สินสอดเป็นวัวอย่างน้อย 38 ตัว กับปืน AK-47 หนึ่งกระบอก ซึ่งปืนคือ
อีกหนึ่งสัญลักษณ์ของความร่ารวย และการปกป้องดูแลที่ดีของชนเผ่ามูร์ซี
2. กลุ่มผิวขาว (คอเคซอยด์)
เป็นชนเผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของทวีปแอฟริกา ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของทวีป ได้แก่ อาหรับและเบอร์เบอร์ และ
พวกผิวขาวกลุ่มใหม่ที่อพยพไปจากทวีปยุโรป นิยมตั้งถิ่นฐานในเขตอบอุ่นทางตอนใต้ของทวีป ส่วนพวกผิวขาวจาก
ปากีสถานและอินเดียจะอพยพไปอาศัยอยู่ทางตะวันออกของทวีป

ชาวอาหรับ
ชาวเบอร์เบอร์
เรื่ องน่ ารู้ : พระนางคลีโอพัตรามีเชื้อสายแอฟริกนั
เว็บไซต์ของ BBC รายงานว่า จากเอกสารของคณะผู้เชี่ยวชาญที่เชื่อว่า
พวกเขาได้ค้นพบสุสานของอาร์สิโนเอ พระขนิษฐาของพระนางคลีโอพัตรา
ทาให้เชื่อว่า ราชินีผู้เลอโฉมแห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณพระองค์นี้มีเชื้อสายแอฟริกัน
หลังจากที่เชื่อกันมาตลอดว่า พระนางทรงมีเชื้อสายกรีก และเป็นสมาชิกองค์สุดท้าย
ของราชวงศ์ปโตเลมีแห่งมาซิโดเนีย
โดยจากหลักฐานที่ยังเหลืออยู่ในสุสานของเจ้าหญิงอาร์สิโนเอ ที่พบในเมืองอิฟิซุส
ประเทศตุรกี ได้บ่งชี้ว่า พระมารดาของพระองค์มีโครงกระดูกแบบชาวแอฟริกัน
ที่ผู้เชี่ยวชาญระบุว่า การค้นพบครั้งนี้เป็นเรื่องน่าตื่นเต้นอย่างยิ่ง
ผู้ค้นพบครั้งนี้ คือ ดร.ไฮค์ ธูเออร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย กล่าวว่า เป็นสิ่งพิเศษในชีวิตของนักโบราณคดี
ที่ได้พบสุสานและโครงกระดูกของสมาชิกในราชวงศ์ปโตเลมี และการที่เจ้าหญิงอาร์สิโนเอ มีพระมารดาเป็นชาวแอฟริกัน
ได้นาไปสู่การค้นคว้าครั้งใหม่ภายในพระราชวงศ์ของพระนางคลีโอพัตรา และความสัมพันธ์ระหว่างพระนางคลีโอพัตรากับ
เจ้าหญิงอาร์สิโนเอ
ลักษณะทางวัฒนธรรม

กลุ่มวัฒนธรรมชนเผ่า กลุ่มวัฒนธรรมอาหรับ กลุ่มวัฒนธรรมตะวันตก

มีการแต่งกาย ภาษาพูด ลัทธิ นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งถูกเผยแผ่มา จุดเริ่มต้นจากการแสวงหา


ความเชื่อ การดารงชีวิต และ จากทางตะวันตกของทวีปเอเชีย โดย อาณานิคมและการยึดครอง
แหล่งที่อยู่เป็นเอกลักษณ์ประจา เข้ามาทางภาคเหนือของทวีปแอฟริกา ทวีปต่าง ๆ ของชาติตะวันตกใน
เผ่า ตั้งแต่ยุคกลาง คริสต์ศตวรรษที่ 19
นับถือผีและสิ่งลึกลับที่แตกต่าง ใช้ภาษาอาหรับ หรือภาษาอารบิก เกิดการนับถือคริสต์ศาสนา
กัน มีแหล่งที่อยู่กระจายอยู่ทั่วทั้ง ส่วนมากมักอยู่ทางตอนบนของทวีป การปกครองระบอบประชาธิปไตย
ทวีปแอฟริกา เช่น อียิปต์ ลิเบีย โมร็อกโก การใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และ
โปรตุเกส เป็นภาษาราชการ
นอกจากนี้ประชากรใน
ทวีปแอฟริกาอย่างมีการใช้ภาษาของ
ประเทศที่เคยเข้ามาปกครองในยุค
อาณานิ ค มเป็ น ภาษาราชการ เช่ น
ประเทศไนจี เ รี ย ใช้ ภ าษาอั ง กฤษ
ประเทศเซเนกั ล ใช้ ภ าษาฝรั ่ ง เศส
ส่ ว นภาษาอื ่ น ๆ ที ่ ใ ช้ เ ป็ น ภาษา
ราชการได้ แ ก่ ภาษาอาหรั บ และ
ภาษาสวาฮิลี
จากอิ ท ธิ พ ลของยุ ค
โลกาภิ ว ั ต น์ ใ นปั จ จุ บ ั น ท าให้ ก าร
เลือกใช้ภาษาสากลเป็นภาษาราชการ
เป็นประโยชน์ทางด้านการค้า การ
ติดต่อกลับภายนอกประเทศ ดังนั้ น
คนรุ่นใหม่ในทวีปแอฟริกาจึงนิ ยม
ใช้ภาษากลางมากกว่าภาษาท้องถิ่น
ศาสนา ทวีปแอฟริกามีประเพณีและความเชื่อดั้งเดิมก่อนที่ศาสนาอิสลามและศาสนาจะเข้ามามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของผู้คนในทวีปนี้
จากการติดต่อค้าขายตั้งแต่สมัยโบราณ และจากยุคแสวงหาอาณานิคม ในปัจจุบันประชากรในทวีปแอฟริกานับถือศาสนาต่างๆดังนี้
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

ปัจจุบันสังคมแอฟริกามีความเปลี่ยนแปลง จากปัญหาการอพยพเข้าสู่เมืองใหญ่ ๆ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและ


ไปสู่สังคมเมืองมากขึ้น มีการอพยพเข้าสู่ ทาให้เมืองหลายเมืองเกิดการเพิ่มขึ้นของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นสาเหตุทาให้
เมืองใหญ่ ๆ ที่เป็นเมืองศูนย์กลางทาง คนยากจน เนื่องจากการเข้ามาอยู่ในเขต จานวนประชากรชนเผ่าลดลง ในปัจจุบันมี
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการ เมืองจาเป็นต้องมีค่าครองชีพสูง ทาให้ การปรับเปลี่ยนประเพณีของกลุ่มชนเผ่ามา
กระจุกตัวของประชากรเมืองมากขึ้น คนที่อพยพมีคุณภาพชีวิตต่า เป็นการแสดงต้อนรับนักท่องเที่ยว
เมืองใหญ่ต่าง ๆ มีสภาพเป็นเมืองโตเดี่ยว
ข้อสอบ เน้นการคิด
วัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวแอฟริกัน
ในข้อใดน้อยที่สุด
1. ภาษาทางราชการ
2. การนับถือศาสนา
3. การเมืองการปกครอง
4. วัฒนธรรมด้านอาหาร
วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 4. เนื่องจากเนื่องจากวัฒนธรรมแบบตะวันตกเข้ามามีอิทธิพ ลต่อ
ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวแอฟริกัน โดยมีการเปลี่ยนการนับถือศาสนามาเป็นคริสต์ศาสนา เปลี่ ยน
การเมืองการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไม่ตย และเปลี่ยนแปลงภาษาราชการโดยใช้ภาษาของประเทศ
ที่เคยปกครองตนเป็นภาษาราชการ ส่วนวัฒนธรรมด้านอาหารนั้นไม่ม่ไม่ด้มีการเปลี่ยนแปลงไม่ปมากนัก
Geo Question
สาเหตุสาคัญที่ทาให้ประชากรจากชนบทของแอฟริกาอพยพเข้าสู่เมืองคืออะไร

วิเคราะห์ค าตอบ ปัญหาความยากจนเป็ นอุปสรรคส าคัญ ในการพัฒนา ของทวีปแอฟริก า


โดยเฉพาะปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพของประชากรอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความแห้งแล้งขอ งพื้นที่
รวมถึงประเทศที่ประสบกับปัญหาโรคระบาด ความไม่ม่สงบและปัญหาการเมืองภายในประเทศ
ทาให้ประชากรจากชนบทอพยพเข้าสู่เมืองมากขึ้น
สรุปความรู้

➢ ประชากรส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกามีความเชื่อแบบดั้งเดิมเรื่อง จิตวิญญาณ อานาจของ


ดวงดาว ภูเขา ต้นไม้ สิ่งมหัศจรรย์ ศาสนา ที่นับถือกันมากที่สุด คือ คริสต์ศาสนา
➢ การกระจายของประชากรในทวีปแอฟริกา ในเขตที่มีประชากรหนาแน่น ได้แก่ ประเทศอียิปต์
เขตที่ราบสูงเอธิโอเปีย คาบสมุทรในประเทศแอฟริกาใต้ ส่วนในเขตที่มีประชากรเบาบาง เช่น
แถบลุ่มน้าคองโก พื้นที่ชายฝั่งอ่าวกินี
ลักษณะทางเศรษฐกิจ

? นักเรียนคิดว่า การที่ทวีปแอฟริกามี
ขนาดพื้นที่กว้างใหญ่และมีทรัพยากร
แร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ จะทาให้เศรษฐกิจ
ของแต่ละประเทศดีขึ้นเทียบเท่ากับ
ทวีปอื่นได้หรือไม่
เศรษฐกิจ

1. การเกษตร
1.1 การเพาะปลูก
ใช้แรงงานคนและแรงสัตว์เป็นหลัก ได้
ผลผลิ ต น้ อ ย ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การบริ โ ภค
ภายในทวีป จึงจ าเป็นต้องน าเข้า ลักษณะ
การเพาะปลูกแบ่งได้ตามสภาพอากาศ ดังนี้
เศรษฐกิจ

เขตร้อนชื้น ได้แก่ แอฟริกาตะวันตก ลุ่มน้าคองโก และชายฝั่งแอฟริกา


ตะวันออก มีภูมิอากาศร้อนชื้น เป็นแหล่งเพาะปลูกโกโก้ ประเทศกานาส่งเมล็ด
โกโก้ออกจาหน่ายมากที่สุดในโลก
พืชสาคัญอย่างอื่น ได้แก่ เผือก มัน ปาล์มน้ามัน กาแฟ ถั่วลิสง อ้อย ยางพารา

เขตลุ่มน้าไนล์ มีอากาศร้อนและแห้งแล้ง ได้น้าจากระบบ


ชลประทาน พืชสาคัญ ได้แก่ ฝ้าย ชา อินทผลัม และข้าวฟ่าง
เศรษฐกิจ

เขตเมดิเตอร์เรเนียน ชายฝั่งบาร์บารีในโมร็อกโกและตูนิเซีย ทางตอนเหนือของทวีป และภาคใต้


ของประเทศแอฟริกาใต้ ได้แก่ องุ่น ส้ม มะกอก อินทผลัม

เขตอบอุ่นชื้น ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแอฟริกาใต้และภาคใต้ของ
โมซัมบิก อิทธิพลจากกระแสน้าอุ่นโมซัมบิกทาให้สามารถปลูกข้าวสาลี ข้าวโพด
และผลไม้ได้ดี บางพื้นที่มีการเลี้ยงสัตว์ควบคู่กันไป ได้แก่ โคเนื้อ โคนม และแกะ
โดยเฉพาะในประเทศแอฟริกาใต้
เรื่องน่ารู้: กรูทคอนสแตนเทีย (Groot Constantia)
ไร่องุ่นและแหล่งทาเหล้าองุ่นที่เก่าแก่ที่สุดของแอฟริกาใต้ สร้าง
ขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1692 โดยผู้ว่าการเมืองชาวดัตช์ ปัจจุบันยังคงดาเนินการทา
เหล้าองุ่นและเปิดให้คนทั่วไปเข้าชมการผลิต ภายในบริเวณ มีอาคารพิพธิ ภัณฑ์
ไวน์ แสดงประวัติความเป็นมาของไวน์ย้อนหลังไปถึง 500 ปีก่อนคริสตกาล
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18–19 ไวน์เป็นอุตสาหกรรมที่สาคัญ ผู้ผลิตเมื่อ
ขายไวน์ได้ก็สร้างบ้าน และโรงบ่มที่สวยงามด้วยสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า เคป
ดัตช์ (Cape Dutch) โดยตัวอาคารมีสีขาว หลังคามุงด้วยหญ้า มีลวดลายปูน
ปั้นตรงหน้าจั่วเป็นเอกลักษณ์ที่ยังอยู่คู่กับไวน์มาจนทุกวันนี้ ไร่องุ่นแทบทุกแห่ง
มีร้านอาหารและที่พักขนาดย่อมไว้ตอ้ นรับนักท่องเที่ยว
เมืองที่สาคัญในการทาไวน์ คือ เมืองสแตลเลนบอช (Stellenbosch)
การเพาะปลูก

การปลูกปาล์มน้ามัน

ปาล์มน้ามัน ได้กลายมาเป็นพืชเศรษฐกิจ
ที่มีความสาคัญอย่างมากของทวีปแอฟริกา
เนื่องจากเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตน้ามัน
ไบโอดีเซล พื้นที่ที่ปลูกปาล์มน้ามันมาก คือ
ภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก
การปลูกกาแฟ

กาแฟ เป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้
จานวนมากให้แก่ทวีปแอฟริกา เนื่องจาก
ผลผลิตกาแฟที่ได้มีจานวนมากและมี
คุณภาพดี แหล่งปลูกกาแฟขึ้นชื่อ ได้แก่
บริเวณที่สูงเอธิโอเปียและเคนยา
การปลูกโกโก้

แหล่งปลูกโกโก้ของทวีปแอฟริกา คือ
ภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก รอบ ๆ อ่าว
กินีในประเทศโกตดิวัวร์ กานา เซเนกัล
ประเทศที่ปลูกและส่งออกโกโก้มากที่สดุ
คือ โกตดิวัวร์และกานา
การปลูกผลไม้

การปลูกพืชผลไม้ตระกูลส้ม ได้แก่ ส้ม


องุ่นและมะนาว บริเวณที่พบ ได้แก่
แถบชายฝั่งประเทศแอฟริกาใต้
ประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย และตูนิเซีย
เศรษฐกิจ
1.2 การเลี้ยงสัตว์
ทวีปแอฟริกามีการเลี้ยงสัตว์กันแพร่หลาย เนื่องจากมีเขตทุ่งหญ้าที่กว้างขวาง แต่เพราะ
ปัญหาปริมาณการเลี้ยงสัตว์ที่มากเกินไป ทาให้ทุ่งหญ้าถูกทาลาย และปัญหาการแพร่เชื้อ
โรคเหงาหลับเข้าสู่สัตว์เลีย้ ง จนบางแห่งไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ได้ สัตว์เลี้ยงสาคัญ ได้แก่

โคพันธุ์พื้นเมือง เป็นโคเขายาวที่นิยมเลี้ยงกันทางตะวันออกและ
ทางตอนใต้ของทวีป นอกจากเลี้ยงเพื่อใช้แรงงานและใช้เนื้อเป็นอาหารแล้ว
ยังแสดงถึงฐานะทางสังคม ผู้มีวัวจานวนมากเป็นผู้ทมี่ ีฐานะดีและเป็น
ผู้มีหน้ามีตาในสังคม
เศรษฐกิจ
1.2 การเลี้ยงสัตว์
ทวีปแอฟริกามีการเลี้ยงสัตว์กันแพร่หลาย เนื่องจากมีเขตทุ่งหญ้าที่กว้างขวาง แต่เพราะ
ปัญหาปริมาณการเลี้ยงสัตว์ที่มากเกินไป ทาให้ทุ่งหญ้าถูกทาลาย และปัญหาการแพร่เชื้อ
โรคเหงาหลับเข้าสู่สัตว์เลีย้ ง จนบางแห่งไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ได้ สัตว์เลี้ยงสาคัญ ได้แก่

โคพันธุ์ต่างประเทศ เป็นโคที่นามาจากต่างประเทศ
เลี้ยงเพื่อใช้เนื้อและนม เลี้ยงมากในเขตอากาศอบอุ่นชื้น
และเขตเมดิเตอร์เรเนียน
เศรษฐกิจ
1.2 การเลี้ยงสัตว์
ทวีปแอฟริกามีการเลี้ยงสัตว์กันแพร่หลาย เนื่องจากมีเขตทุ่งหญ้าที่กว้างขวาง แต่เพราะ
ปัญหาปริมาณการเลี้ยงสัตว์ที่มากเกินไป ทาให้ทุ่งหญ้าถูกทาลาย และปัญหาการแพร่เชื้อ
โรคเหงาหลับเข้าสู่สัตว์เลี้ยง จนบางแห่งไม่สามารถเลี้ยงสัตว์ได้ สัตว์เลี้ยงสาคัญ ได้แก่

แพะและแกะ นิยมเลี้ยงแบบเร่ร่อน พบในทุกประเทศที่มภี ูมอิ ากาศ


แบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย โดยแพะนิยมเลี้ยงเพื่อใช้เนื้อและนมเป็นอาหาร
อูฐ เป็นสัตว์เลี้ยงในเขตแห้งแล้ง ใช้เป็นพาหนะและใช้เนื้อเป็นอาหาร

ลา เลี้ยงไว้เป็นสัตว์พาหนะในเขตทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
เศรษฐกิจ
การล่าสัตว์
พวกปิกมีแถบลุ่มน้าคองโก และพวกบุชเมนในเขตทะเลทรายคาลา
ฮารียังคงดาเนินชีวิตด้วยการล่าสัตว์ เพื่อนางาช้างและนอแรดไปขาย
ต่อมาชาวยุโรปเข้ามาล่าสัตว์ในทวีปแอฟริกามากขึ้น ทาให้จานวน
สัตว์ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว จึงได้มีการจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
แห่งชาติขึ้นหลายแห่ง โดยเฉพาะในเคนยาและเอธิโอเปีย
การเลี้ยงสัตว์

การเลี้ยงโค

ในเขตที่สูงบริเวณภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก
และภูมิภาคแอฟริกาใต้นิยมเลี้ยงโคพันธุ์
พื้นเมืองเพื่อไว้ใช้งานและเป็นอาหาร ส่วนเขต
อบอุ่นชื้นและเมดิเตอร์เรเนียนนิยมเลี้ยงโค
พันธุ์ต่างประเทศเพื่อบริโภคนมและเนื้อ
การเลี้ยงแกะและแพะ

นิยมเลี้ยงแบบเร่ร่อนในภูมิอากาศแบบกึ่งแห้งแล้ง
เขตร้อนที่มีทุ่งหญ้าสาหรับเลี้ยงสัตว์ บริเวณ
ที่เลี้ยงแพะมากที่สุด คือ ตอนกลางของภูมิภาค
แอฟริกาใต้ และตอนเหนือของประเทศแอลจีเรีย
ส่วนแกะเลี้ยงมากทางภูมิภาคแอฟริกาใต้
เศรษฐกิจ

1.3 การทาประมง
การทาประมงไม่ใช่อาชีพหลักของชาวแอฟริกนั
มีการจับปลาเล็กปลาน้อยในแม่น้าและทะเลสาบ
แหล่งจับสัตว์น้าเค็มที่สาคัญ ได้แก่ น่านน้าแถบ
ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศแอฟริกาใต้จบั
ปลาได้มากที่สุดในทวีปนี้
การประมง

แหล่งประมงสาคัญของทวีปแอฟริกา ได้แก่
น่านน้าชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ตั้งแต่แหลมกู๊ดโฮป
จนถึงอ่าวกินี ในเขตนี้มีกระแสน้าเย็นเบงเกวลา
ไหลผ่านประเทศแอฟริกาใต้เป็นประเทศที่จับ
ปลาได้มากที่สุดในทวีปแอฟริกา
เศรษฐกิจ

1.4 การทาป่าไม้
บริเวณชายฝั่งอ่าวกินแี ละลุ่มน้าคองโก
เป็นแหล่งป่าไม้เมืองร้อนที่มีอยู่มากและอยู่
ใกล้ชายฝั่งทะเล ทาให้สามารถขนส่งได้ง่าย
อีกบริเวณหนึ่งคือ เขตที่ราบสูงทาง
ตะวันออกของทวีปแอฟริกา
อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมเหมืองแร่

ทวีปแอฟริกามีทรัพยากรแร่ที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ถ่านหิน ทองคา


เพชร เหล็ก ดีบุก บริเวณประเทศแอฟริกาใต้มีการทาเหมืองแร่
ที่เจริญก้าวหน้าที่สุดในทวีป มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ
ทาเหมือง นอกจากนี้ ยังมีถ่านหินในปริมาณมากพบในบริเวณ
ภูมิภาคแอฟริกาใต้ แอฟริกาตะวันตก และแอฟริกากลาง
อุตสาหกรรมปิโตรเลียม

พบมากบริเวณตอนเหนือของทะเลทรายสะฮะรา
ในประเทศแอลจีเรีย ลิเบีย อียิปต์ ส่วนภูมิภาคแอฟริกา
ตะวันตกพบแก๊สธรรมชาติตามแนวชายฝั่งของโกตดิวัวร์
และดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนเจอร์
เรื่องน่ารู้: เหมืองทองโบราณโกลด์รีฟซิตี (Gold Reef City)
เหมืองทองโบราณโกลด์รีฟซิตีเป็นที่ตั้งของสวนสนุกและเหมืองทองโบราณ สร้างขึ้น
เพื่อฉลองครบรอบ 100 ปี แห่งการค้นพบทองคาในประเทศแอฟริกาใต้ อาคารภายใน
สร้างจาลองเลียนแบบและบางแห่งยกของจริงที่ยังเหลืออยู่ของสมัยโบราณมาจัดเป็น
พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งให้ชม จุดที่น่าสนใจอยู่ที่การลงไปชมเหมืองทองใต้ดิน ดูวิธีการขุดทอง
ในยุคเก่าเทียบกับยุคใหม่และชมสภาพความเป็นอยู่ของกรรมกรเหมืองที่แทบไม่ได้เห็นแสง
สว่าง ที่สาคัญที่สุด คือ ได้เห็นสายแร่ทองที่ฝังอยู่ในเนื้อหิน ชมการหลอมทอง
พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณ์ และที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่ง คือ เครื่องเล่นกระเช้าเหล็กที่หล่น
ลงมาในแนวดิ่ง 90 องศา จากความสูงเท่ากับอาคาร 10 ชั้น
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป

การเกษตรเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก
มีการทาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปสินค้าทางการเกษตร
ส่วนบริเวณภูมิภาคแอฟริกาใต้มีสินค้าแปรรูปจากทะเล
นามิเบียมีการส่งออกเนื้อกระป๋องและผลิตภัณฑ์จากนม
เศรษฐกิจ
การค้าพาณิชยกรรม
ประเทศในทวีปแอฟริกามักเป็นฝ่ายเสียดุลการค้า เพราะเป็นผู้ส่งออกวัตถุดิบและนาเข้าสินค้าสาเร็จรูป
และอาหารเป็นหลัก

สินค้าเข้าส่วนใหญ่ ได้แก่ เครื่องจักรกล ยานยนต์ อุปกรณ์การขนส่ง


น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และอาหาร
สินค้าออกส่วนใหญ่ ได้แก่ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ แร่
และวัตถุดิบต่าง ๆ

ตลาดการค้าของทวีปแอฟริกาที่สาคัญ ไม่ด้แก่ กลุ่มประเทศสหภาพ


ยุโรป สหรัฐอเมริกา และประเทศในยุโรปตะวันออก
การบริการและการท่องเที่ยว

ประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกามีรายได้จากภาคบริการประมาณ 1 ใน 3
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีการจ้างแรงงานประมาณ 1 ใน 3 ของ
แรงงานทั้งหมดส่วนใหญ่เป็นบริการด้านสังคม เช่น การศึกษา สาธารณสุขชุมชน
การท่องเที่ยวสร้างรายได้ค่อนข้างสูงให้กับหลายประเทศ เช่น ตูนีเซีย
โมร็อกโก อียิปต์ เคนยา แอลจีเรีย แอฟริกาใต้ และปัจจุบันมีแนวโน้มสูงขึ้น
ด้วยเนื่องจากทวีปแอฟริกามีทั้ง แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงวั ฒนธรรม
และประวัติศาสตร์
เสน่ห์แห่งท้องทะเลเมดิเตอร์เรเนียนชายฝั่งแอลจีเรีย
พีระมิด 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ที่ประเทศอียิปต์
วิหารอะบูซิมเบลที่ประเทศอียิปต์
ทะเลสาบมาลาวี ประเทศมาลาวี
ทะเลสาบ Nakuru ประเทศเคนยา
Ganvie หมู่บ้านลอยน้ากลางในทะเลสาบ Nokoué ที่นี่อยู่ใกล้กับเมือง Cotonou ของสาธารณรัฐเบนิน ประเทศเล็กๆ
ในทวีปแอฟริกา เป็นที่เที่ยวสาคัญของประเทศและที่นี่ยังเป็นหมู่บ้านลอยน้าที่ใหญ่ที่สุดในทวีป โดยหมู่บ้านลอยน้าแห่งนี้
ได้เริ่มมีประวัติการเข้ามาตั้งถิ่นฐานปลายศตวรรษที่ 16 – 17 ปัจจุบันมีชาวบ้านอยู่อาศัยทั้งหมดมากกว่า 20,000 คน
และได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเรียบร้อยแล้ว
เรื่องน่ารู้: การท่องป่าซาฟารี (Safari)
ไฮไลต์ของการท่องเที่ยวในทวีปแอฟริกา คือ การท่องเที่ยวแบบซาฟารี
ชมสัตว์ป่าที่มีชีวิตอยู่อย่างอิสรเสรีตามธรรมชาติในป่า ทั้งป่าโปร่ง ป่าละเมาะ
และทุ่งหญ้าสะวันนา จนถึงทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย แอฟริกา มีสัตว์ป่ามากกว่า 220 ชนิด
โดยแรงเจอร์ (Ranger) หรือผู้พิทักษ์ป่าและนักตามรอย (Tracker) จะเป็นผู้ขับรถพาชม
สัตว์ป่าในซาฟารี รถที่จัดพาท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติจะเป็นรถตู้หรือรถจิ๊ปมีหลังคา
แต่ถ้าเป็นของเอกชนที่ไม่ปล่อยเสือและสิงโตเดินเป็นอิสระจะให้นั่งรถแบบเปิดประทุน
นักท่องเที่ยวควรออกชมสัตว์ตั้งแต่เช้ามืด ก่อนพระอาทิตย์ขึ้น เพราะเป็นเวลาที่สัตว์
ออกหากินในเวลากลางคืน ยังคงเดินวนเวียนและหากินอยู่ ในช่วงเวลาบ่ายถึงเย็น สัตว์หากินกลางคืนจะเริ่มตื่นนอน
สัตว์หากินกลางวันก็จะมาชุมนุมตามบ่อน้า การดักเฝ้าดูใกล้ ๆ บ่อน้าจะได้เห็นสัตว์หลายชนิดรวมทั้งอาจได้เห็นภาพ
ของฝูงเสือและสิงโต
ในเวลากลางวันอากาศจะร้อนจัด สัตว์ส่วนใหญ่จะหลบในที่ร่ม สิงโตและเสือชีตาห์จะนอนอยู่ใต้ต้นไม้ในพงหญ้า
ส่วนเสือดาวจะนอนอยู่บนต้นไม้ และออกหากินในเวลากลางคืน การออกไปส่องชมสัตว์อาจจะได้เห็นการล่าเหยื่อ สัตว์
ใหญ่ที่ควรได้พบเห็น 5 ชนิดแห่งป่าซาฟารี ได้แก่ ช้าง แรด ควายป่า เสือดาว และสิงโต
ข้อสอบ เน้นการคิด
การเพาะปลูกของประชากรส่วนใหญ่ในทวีปแอฟริกามีลักษณะเป็น
อย่างไร
1. เพาะปลูกเพื่อการค้า
2. เพาะปลูกแบบยังชีพ
3. เพาะปลูกแบบไร่ขนาดใหญ่
4. เพาะปลูกแบบไร่นาสวนผสม
วิเคราะห์คาตอบ ตอบข้อ 2. เนื่องจากการทาการเกษตรในทวีปแอฟริกาส่วนใหญ่เพื่อยังชีพ
มีวิธีเพาะปลูกแบบดั้งเดิมที่ใช้แรงงานคนและสัตว์เป็นหลัก พึ่งพาฝนฟ้าตามธรรมชาติ ขาดแคลนแหล่ง
น้า ดินมีความอุดมสมบูรณ์น้อย จึงทาให้ไม่ด้ผลผลิตต่า ดังนั้นจึงเป็นการเพาะปลูกแบบยังชีพที่เน้น
บริโภคภายในท้องถิ่นเท่านั้น
คาถามทบทวน

ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนในทวีปแอฟริกา
1 ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของทวีปอย่างไร

เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนเป็นเขตที่สามารถเพาะปลูกพืชไม่ด้หลากหลายชนิด
โดยเฉพาะองุ่น ส้ม มะกอก และอินทผลัม ซึ่งเป็นสินค้าที่สาคัญของทวีปแอฟริกา
นอกจากนี้ยังเป็นเขตเลี้ยงสัตว์ที่สาคัญ โดยเฉพาะการเลี้ยงโคพันธุ์ต่างประเทศ

ประเทศใดมีความเจริญทางด้านอุตสาหกรรมมากที่สุด
2 ในทวีปแอฟริกา เพราะเหตุใด
ประเทศแอฟริกาใต้ เพราะเป็นประเทศที่มีแหล่งแร่สาคัญหลายแห่ง ซึ่งเป็นแร่ที่มีค่าทางเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ติดกับแนวชายฝั่ง ซึ่งเป็นเขตท่าเรือขนส่งที่สาคัญ
ทาให้ประเทศแอฟริกาใต้มีการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมมากกว่าประเทศอื่น ๆ ในทวีป
คาถามทบทวน

3 เกษตรกรรมในทวีปแอฟริกามีลักษณะอย่างไร

ส่วนใหญ่ใช้วิธีการเพาะปลูกแบบดั้งเดิม โดยการใช้แรงงานคนและสัตว์เป็นหลัก

ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์มีความสัมพันธ์
4 ต่อเศรษฐกิจของทวีปแอฟริกาอย่างไร
การมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์จะช่วยให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า
ทางเศรษฐกิจหากมีการนาไม่ปใช้ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ
คาถามทบทวน

เพราะเหตุใดประชากรในทวีปแอฟริกาจึงมีฐานะยากจน
5 ทั้ง ๆ ที่มีแหล่งแร่สาคัญที่มีค่าทางเศรษฐกิจ
เช่น ทองคา เพชร อยู่เป็นจานวนมาก
เนื่องมาจากแร่สาคัญที่มีค่าทางเศรษฐกิจมีอยู่เฉพาะในบางประเทศไม่ม่กระจายไม่ปอยู่
ในทุกประเทศ ประกอบกับกิจการเหมืองแร่ที่มีอยู่ก็ดาเนินการโดยชาวตะวันตก
รายไม่ด้ส่วนใหญ่จึงไม่ม่ตกถึงชาวพืน้ เมือง
สรุปความรู้
➢ การเพาะปลูกในทวีปแอฟริกา ในเขตร้อนชื้นนิยมปลูกโกโก้ พืชสาคัญชนิดอื่น ได้แก่ เผือก มัน ปาล์มน้ามัน
กาแฟ ถั่วลิสง อ้อย และยางพารา
➢ ในเขตลุ่มน้าไนล์นิยมปลูกฝ้าย ชา อินทผลัม และข้าวฟ่าง
➢ ในเขตเมดิเตอร์เรเนียนนิยมปลูกองุ่น ส้ม มะกอก และอินทผลัม
➢ ในเขตอบอุ่นชื้นจะเหมาะแก่การปลูกข้าวสาลี ข้าวโพด และผลไม้ชนิดต่าง ๆ
➢ การเลี้ยงสัตว์ในทวีปแอฟริกา สัตว์เลี้ยงที่สาคัญ ได้แก่ โคพันธุ์พื้นเมือง เป็นโคเขายาว ใช้แรงงานและใช้เนื้อ
เป็นอาหาร และโคพันธุ์ต่างประเทศ เลี้ยงเพื่อใช้เนื้อและนม นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงแพะ แกะ อูฐ และลาอยู่
เป็นจานวนมาก
➢ การล่าสัตว์เป็นอาชีพหลักของชนพื้นเมืองเดิมในทวีป เช่น พวกปิกมี พวกบุช-เมน โดยเฉพาะการล่าเพื่อนา
งาช้างและนอแรดไปขาย
สรุปความรู้

➢ การทาประมง โดยประเทศแอฟริกาใต้จับปลาได้มากที่สุดในทวีปนี้
➢ การทาป่าไม้ โดยเฉพาะในเขตชายฝั่งอ่าวกินีและลุ่มน้าคองโก เป็นแหล่งป่าไม้เมืองร้อนที่สาคัญ
➢ การทาเหมืองแร่ ได้แก่ เพชรในประเทศแอฟริกาใต้ ทองคาในวิตวอเตอร์ส- แรนด์ของประเทศแอฟริกาใต้
ถ่านหิน น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติในทะเลทรายสะฮารา เหล็ก และทองแดงในประเทศคองโก
➢ ประเทศแอฟริกาใต้มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมากที่สุด
➢ สินค้าออกของทวีปแอฟริกาที่สาคัญ ได้แก่ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ แร่ และวัตถุดิบต่าง ๆ ส่วนสินค้าเข้าที่
สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกล ยานยนต์ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และอาหาร
การคมนาคมขนส่ง

ทวีปแอฟริกายังมีปัญหาทางด้านการคมนาคม เพราะยังขาดเงินทุน
ในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมให้ทันสมัย อีกทั้งลักษณะภูมิประเทศ
ที่เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่ง เช่น ทะเลทราย
พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ ป่าดิบ ภูเขาสูง
การคมนาคมขนส่ง

1. ทางบก
ถนนส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรังที่ไม่ได้มาตรฐาน ลักษณะ
ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างถนนและ
ทางรถไฟและไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน
บริเวณที่มีเส้นทางคมนาคมมักเป็นสาย สั้น ๆ ได้แก่
บริเวณเขตเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ และดินแดนที่ตงั้ อยู่
ใกล้ชายฝั่งทะเลและมหาสมุทร โดยประเทศแอฟริกาใต้มี
เส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกหนาแน่นมากที่สุด
การคมนาคมทางบก

➢ ปัจจุบันสหภาพแอฟริกาได้ร่วมมือกับจีนในการ
วางแผนสร้างเส้นทางโครงข่ายทางหลวงแอฟริกา
(Trans-African Highway) เพื่อเป็นเส้นทางเชื่อม
ระหว่างเมืองหลวงและเมืองใหญ่ต่าง ๆ ทั่วทั้งทวีป

➢ เส้นทางคมนาคมทางบกของทวีปแอฟริกามี
อุปสรรคในการพัฒนา คือ ภูมิประเทศส่วนใหญ่
เป็นทะเลทรายและป่าดิบชื้น มีประชากรอาศัยอยู่
เบาบาง ไม่คุ้มทุนต่อการก่อสร้าง

➢ ทางรถไฟส่วนใหญ่สร้างเชื่อมพื้นที่ที่มีความสาคัญ
ทางเศรษฐกิจหรือเมืองที่มีประชากรหนาแน่น
เท่านั้น
การคมนาคมขนส่ง

2. ทางน้า
เส้นทางทางทะเลมีความสาคัญต่อทวีปแอฟริกามาก
เพราะตั้งอยู่ในเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับ
ทวีปเอเชียและทวีปยุโรปกับทวีปออสเตรเลีย จึงมีการ
ปรับปรุงท่าเรือ น้าลึกเพื่อให้รับส่งสินค้าได้สะดวก

ทวีปแอฟริกามีเมืองท่าขนาดใหญ่หลายเมือง

อะเล็กซานเดรีย ในอียิปต์ เคปทาวน์ ในแอฟริกาใต้


คาซาบลังกา ในโมร็อกโก มอนโรเวีย ในไลบีเรีย
การคมนาคมขนส่ง
2. ทางน้า เส้นทางน้าภายในทวีปแอฟริกามีแม่น้าสายยาวอยู่หลายสาย แต่มักมีเกาะแก่ ง น้าตก
มีระดับน้าลึกและไหลเชี่ยว ไม่เหมาะแก่การขนส่งสินค้า
แม่น้าที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งมากที่สุดในทวีปแอฟริกา ได้แก่ แม่น้าคองโก
การคมนาคมทางน้า
คลองสุเอซ ➢ ทวีปแอฟริกามีเส้นทางขนส่งทางน้าที่สาคัญ เช่น
แม่น้าไนล์ แม่น้าไนเจอร์ คลองสุเอซ

➢ คลองสุเอซ เป็นเส้นทางเดินเรือสินค้าที่สาคัญของทวีป
ช่วยย่นระยะทางให้สั้นและประหยัดเวลาในการเดินทาง
ปัจจุบันเป็นจุดแวะพักเรือขนสินค้าที่สาคัญของโลก
เรื่องน่ารู้: คลองสุเอซ คลองขุดที่สาคัญของโลก
คลองสุเอซ ตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์ ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เป็นคลองที่เชื่อมระหว่างทวีปยุโรป
กับทวีปเอเชีย คลองมีความยาว 163 กิโลเมตร กว้างน้อยที่สุด 55 เมตร และลึกน้อยที่สุด 12 เมตร ซึ่งช่วยย่นระยะทางในการ
เดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย โดยไม่ต้องอ้อมไปทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกาได้ถึง 6,400 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินเรือผ่าน
คลองประมาณ 13 ชั่วโมง
คลองสุเอซ ขุดขึ้นโดยนักการทูตและผู้ส่งเสริมการขุดคลองชาวฝรั่งเศส ชื่อ เฟอร์ดินานด์ เดอ เลสเซป (Ferdinand de Lesseps)
ซึ่งได้รับสัมปทานจากรัฐบาลอียิปต์ในการขุดคลองนี้ โดยเริ่มขุดเมื่อ พ.ศ. 2402 (ตรงกับรัชกาลที่ 4 ของไทย) แล้วเสร็จและเปิดใช้ใน
พ.ศ. 2412 (ตรงกับรัชกาลที่ 5 ของไทย) ปัจจุบันคลองสุเอซได้รับการปรับปรุง และเปิดให้เรือนานาชาติแล่นผ่านได้ นับเป็นคลองที่มี
ความสาคัญทางด้านการค้าและทางยุทธศาสตร์มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
การคมนาคมขนส่ง
3. ทางอากาศ
ทวีปแอฟริกามีสายการบินที่ใช้ติดต่อกันทั้งภายในประเทศ ภายในทวีป และระหว่างทวีป
ประเทศที่มีระบบการคมนาคมขนส่งทางอากาศที่ดี ได้แก่

แอฟริกา ศูนย์กลางการ เมืองไคโร ในอียิปต์

อียใต้ิปต์ คมนาคมขนส่ง เมืองคาร์ทูม ในซูดาน


เอธิโอเปี ทางอากาศในทวีป เมืองแอลจีเรีย ในแอลจีเรีย
เคนยาย แอฟริกา ได้แก่ เมืองไนโรบี ในเคนยา
ไนจีเรีย เมืองลากอส ในไนจีเรีย
กานา เมืองโจฮันเนสเบิร์กและ
เมืองเคปทาวน์ ในแอฟริกาใต้

You might also like