Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

ระบบ ย่ อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร คือ ระบบที-ทาํ หน้าที-ยอ่ ยอาหารให้ละเอียดจนร่ างกายสามารถดูดซึมสารอาหาร


เข้าสู่ กระแสเลือด เพื-อนําไปเลีCยงส่ วนต่างๆของร่ างกายได้ ซึ-งอวัยวะต่างๆมีการทํางานร่ วมกันเป็ น
ระบบ ดังนีC

1
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

1.ปากและอวัยวะภายในช่ องปาก
เมื-ออาหารผ่านเข้าสู่ ปาก ฟันจะมีหน้าที-ในการบดเคีCยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง จากนัCนลิCนจะทํา
หน้าที-ในการคลุกเคล้าอาหารให้เข้ากันรวมกับนํCาลายเพื-อทําให้อาหารเกิดการอ่อนตัวและไม่
ติดกันมากเกินไป
ฟันจะมี 2 ชุด คือฟันนํCานม จะเริ- มมีในเด็กอายุประมาณ 6 เดือน และจะครบ 20 ซี- เมื-ออายุ
ประมาณ 3 ปี ส่ วนฟันแท้จะมีอายุเริ- มประมาณ 6 ปี และจะครบ 32 ซี เมื-ออายุประมาณ 20 ปี
ลิน3
นอกจากจะช่วยในการคลุกเคล้าอาหารแล้ว ยังมีหน้าที-สาํ คัญ คือ การรับรส สามารถรับรู ้รสได้ 4
อย่าง คือ ขม เปรีC ยว เค็ม และหวาน ส่ วนเผ็ด ไม่ใช่รส จะเป็ นอาการของการร้อนหรื อแสบลิCน
เท่านัCน
ต่ อมนํา3 ลาย
จะผลิตนํCาลายได้ถึงวันละ 1-1.5 ลิตร ต่อมนํCาลาย มี 3 คู่ ด้วยกัน คือ1.บริ เวณข้างกกหู ทัCง 2 ข้าง
สร้างนํCาลายชนิดใสเพียงอย่างเดียว และมีขนาดใหญ่ที-สุด ถ้าเกิดอาการอักเสบจะเกิดอาการบวม
แดง เรี ยกอาการนีCวา่ คางทูม บริ เวณนีCจะผลิตนํCาลายประมาน 25 % ของนํCาลายทัCงหมด
2.บริ เวณใต้ขากรรไกร สร้างนํCาลายชนิดใสและเหนียว แต่มีนC าํ ลายชนิดใสมากกว่าจะผลิตนํCาลาย
ประมาณ 70 % ของนํCาลายทัCงหมด
3.บริ เวณใต้ลิCนสร้างนํCาลายชนิดใสและเหนียว แต่มีนC าํ ลายชนิดเหนียวมากกว่าจะผลิตนํCาลาย
ประมาณ 5 % ของนํCาลายทัCงหมด
นํา3 ลายประกอบด้ วย
1.เอนไซม์อะไมเลส ช่วยย่อยสลายคาร์โบไฮเดรต
2.นํCา เป็ นตัวทําละลายสารอาหาร
3.นํCาเมือก

2
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

3
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

โครงสร้ างเหล่านี @มีบทบาทในการรับรู้รสหลัก ๆ F อย่าง คือ เค็ม เปรี ย@ ว ขม หวาน และอุมะมิ ซึง4 เมื4อรวมกันก็จะเป็ นรสชาติของ
สิง4 ที4อยูใ่ นปาก มีขา่ วลอยว่า มีสว่ นต่าง ๆ ของลิ @นที4รับรสโดยเฉพาะ ๆ แต่ความจริ งลิ @นทังหมดสามารถรั
@ บรสได้ ทกุ รส ผ่านช่อง
เล็ก ๆ ในเนื @อเยื4อของลิ @นซึง4 เรี ยกได้ วา่ รูรับรส (taste pore)
อ่านต่อได้ ที4 https://board.postjung.com/1245095

4
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

2.หลอดอาหาร
เป็ นอวัยวะที-อยูต่ ่อจากช่องปากไปเชื-อมต่อกับกระเพาะอาหาร เมื-ออาหารเคลื-อนตัวเข้าสู่ หลอดอาหาร
ผนังหลอดอาหารจะบีบตัวเพื-อให้อาหารลงไปสู่ กระเพาะอาหาร บริ เวณนีCจะไม่เกิดการย่อย แต่ในการ
บีบตัวของหลอดอาหารนัCนอาจจะส่ งผลต่อขนาดของอาหารให้มีขนาดเล็กลงเล็กน้อย
3.กระเพาะอาหาร
เมื-ออาหารเข้าสู่ กระเพาะอาหาร ผนังของกระเพาะอาหารจะขับนํCาย่อยออกมาย่อยอาหาร พร้อมทัCงบีบรัด
อาหารให้เกิดการคลุกเคล้ากับนํCาย่อย ส่ วนใหญ่บริ เวณกระเพาะอาหารจะย่อยอาหารประเภทโปรตีน
อาหารจะอยูใ่ นกระเพาะอาหารประมาณ 3-4 ชัว- โมง ในสภาวะที-เป็ นกรด
เอนไซม์หรื อนํCาย่อยในกระเพาะอาหาร จะมีกรดไฮโดรคลอริ กและเพปซิน ซึงย่อยอาหารประเภท
โปรตีนจะได้ เพปไทด์
ส่ วนโปรตีนที-ได้จากนํCานมจะถูกเอนไซม์ เรนนิน
***ดังนัCนการย่อยที-กระเพาะอาหารจะมีการย่อยเฉพาะโปรตีนเท่านัCน

5
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

อาหารจะถูกคลุกเคล้ ากับนํา3 ย่ อย ซึ8งมี 3 ชนิด


1.นํ$าดีที)ผลิตจากตับนํ$าดีจะช่วยแตกตัวโมเลกุลของไขมันให้ละลายนํ$า
2.นํ$าย่อยจากตับอ่อนได้แก่
2.1ทริ ปซิน (trypsin) เป็ นเอนไซม์ที)ยอ่ ยโปรตีนโปรตีนหรื อเพปไทด์ให้เป็ นกรดอะมิโน
2.2อะไมเลส (amylase) เป็ นเอนไซม์ที)ยอ่ ยแป้งให้เป็ นนํ$าตาลมอลโทส
2.3ไลเปส (lipase) เป็ นเอนไซม์ที)ยอ่ ยไขมันให้เป็ นกรดไขมันและกลีเซอรอล
3.นํCาย่อยจากลําไส้เล็กได้แก่
3.1มอลเทส (maltase) เป็ นเอนไซม์ที-ยอ่ ยนํCาตาลมอลโทสให้เป็ นกลูโคส
3.2 ซูเครส (sucrase) เป็ นเอนไซม์ที-ยอ่ ยนํCาตาลทรายหรื อที-ทางวิทยาศาสตร์เรี ยกว่า นํCาตาลซูโครส (sucrose) ให้
เป็ นกลูโคสกับฟรักโทส (fructose) ซึ-งเป็ นนํCาตาลโมเลกุลเดี-ยวที-มีขนาดของโมเลกุลเล็กลง
3.3แล็กเทส (lactase) เป็ นเอนไซม์ที-ยอ่ ยนํCาตาลแล็กโทส (lactose) ให้เป็ นกลูโคสกับกาแล็กโทส (galactose)

6
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

5.ลําไส้ ใหญ่
อาหารที)ผา่ นเข้าสู่ ลาํ ไส้ใหญ่ ส่ วนมากจะอยูใ่ นรู ปกากอาหาร ซึ)งในลําไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมี
การดูดซึมนํ$า วิตามิน เกลือแร่ และกลูโคส หลังจากนั$นกากอาหารที)ถูกดูดซึมแล้วจะเคลื)อนที)เข้าสู่ ไส้ตรง
และถูกขับออกทางทวารหนัก
กากอาหารถ้าเกิดอาการลักษณะร่ างกายขับถ่ายไม่สะดวกหรื อไม่ตรงเวลาจะทําให้ร่างกายดูดนํ$าในปริ มาณที)
มากในบริ เวณลําไส้ใหญ่จะส่ งผลทําให้กากอาหารเกิดการแข็งตัวจะเกิดอาการท้องผูกและจะส่ งผลทําให้
เป็ นโรคริ ดสี ดวงทวาร

วิธีป้องกันและบํารุงรักษาอวัยวะในระบบย่ อยอาหาร
1.ทําความสะอาดปากและฟันหลังรับประทานอาหาร
2.รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
3.รับประทานอาหารที-สะอาด สุ กใหม่ๆ มีประโยชน์ รสไม่จดั รับประทานอาหารจําพวกผักผลไม้
4.เคีCยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน ไม่กดั อาหารที-แข็งเกินไป
5.ไม่ออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารเสร็ จใหม่ๆ
6.ขับถ่ายทุกวันและฝึ กเป็ นประจํา
7.ทําจิตใจให้ร่าเริ ง ไม่เคร่ งเครี ยดจนเกินไป

7
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

วิตามิน แหล่ งอาหาร ความสํ าคัญ ผลจากการขาด


ละลายในลิพดิ

เด็กไม่เจริ ญเติบโต
เรตินอล ตับ นํ+ามันตับปลา ไข่ นม เนย ผัก
ช่วยในการเจริ ญเติบโต
และผลไม้ที:มีสีเขียว
บํารุ งสายตา ผิวหนังแห้ง หยาบ
(A) และเหลือง
มองไม่เห็นในที:สลัว
แคลซิเฟอรอล นม เนย ไข่ ตับ จําเป็ นในการสร้างกระดูกและ
ฟัน ช่วยเพิ:มอัตราการดูดซึม โรคกระดูกอ่อน
(D) นํ+ามันตับปลา แคลเซียมและฟอสฟอรัส
แอลฟา โทโคเฟอรอล ทําให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง
ผักสี เขียว นํ+ามันจากพืช เช่น โรคโลหิ ตจาง หญิงมีครรภ์อาจทํา
นํ+ามันรํา นํ+ามันถัว: เหลือง ให้แท้งได้ ผูช้ ายอาจเป็ นหมัน
(E) และไม่เป็ นหมัน
แอลฟา ฟิ ลโลควิโนน
ผักสี เขียว ตับ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เลือดแข็งตัวช้ากว่าปกติ
(K)
ละลายในนํา<

ไทอามีน ข้าวซ้อมมือหรื อข้าวกล้อง โรคเหน็บชา


ช่วยบํารุ งระบบประสาท
และการทํางานของหัวใจ
(B1) เนื+อสัตว์ ตับ ถัว: ไข่ เบื:ออาหาร อ่อนเพลีย
ไรโบเฟลวิน ช่วยให้การเจริ ญเติบโตเป็ นไป โรคปากนกกระจอก
ตับ ไข่ ถัว: นม ยีสต์ อย่างปกติ ทําให้ผวิ หน้า ลิ+น ตามี
(B2) สุ ขภาพดี แข็งแรง ผิวหนังแห้งและแตก ลิ+นอักเสบ
ช่วยในการทํางานของระบบ
ไนอาซิน เบื:ออาหาร อ่อนเพลีย ผิวหนังเป็ น
เนื+อสัตว์ ตับ ถัว: ข้าวซ้อมมือหรื อ ประสาท กระเพาะอาหาร ลําไส้
ผืน: แดง ต่อมาสี จะคลํ+าหยาบ และ
ข้าวกล้อง ยีสต์ จําเป็ นสําหรับสุ ขภาพของ
(B3) อักเสบเมื:อถูกแสงแดด
ผิวหนัง ลิ+น
เบื:ออาหาร
ไพริ ดอกซิน
ช่วยการทํางานของ
เนื+อสัตว์ ตับ ผัก ถัว: ผิวหนังเป็ นแผล
ระบบย่อยอาหาร
(B6)
มีอาการทางประสาท
จําเป็ นสําหรับการสร้าง
ไซยาโนโคบาลามิน
เม็ดเลือดแดง ช่วยให้การเจริ ญ
ตับ ไข่ เนื+อปลา โรคโลหิ ตจาง ประสาทเสื: อม
(B12)
เติบโตในเด็กเป็ นไปตามปกติ

8
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

ผลไม้และผักต่างๆ เช่น โรคเลือดออกตามไรฟัน


กรดแอสคอร์บิก ทําให้หลอดเลือดแข็งแรง
มะขามป้อม ผลไม้จาํ พวกส้ม
ช่วยรักษาสุ ขภาพ หลอดเลือดฝอยเปราะ
มะละกอ ฝรั:ง กล้วยนํ+าว้า มะเขือ
(C) ของฟันและเหงือก
เทศ คะน้า กะหลํ:าปลี เป็ นหวัดง่าย

แร่ ธาตุ แหล่ งอาหาร ความสํ าคัญ ผลจากการขาด


เป็ นส่ วนประกอบที9สาํ คัญ
นม เนื+อ ไข่ ผักสี เขียวเข้ม ของกระดูกและฟัน ช่วยใน เด็กเจริ ญเติบโตไม่
แคลเซี ยม สัตว์ที9กินทั+งเปลือกและ การแข็งตัวของเลือด ช่วย เต็มที9 ในหญิงมีครรภ์จะ
ในการทํางานของประสาท ทําให้ฟันผุ
กระดูก เช่น กุง้ แห้ง ปลา
และกล้ามเนื+อ
ช่วยในการสร้างกระดูก
นม เนื+อสัตว์ ไข่ ถัว9 และฟัน อ่อนเพลีย
ฟอสฟอรัส ผักบางชนิด เช่น เห็ดมะเขือ การดูดซึ มคาร์โบไฮเดรต กระดูกเปราะและแตกง่าย
เทศ
การสร้างเซลล์ประสาท
เป็ นส่ วนประกอบของสาร
เคลือบฟัน ทําให้กระดูก
ฟลูออรี น ชา อาหารทะเล ฟันผุง่าย
และฟันแข็งแรง ป้องกัน
ฟันผุ
เป็ นส่ วนประกอบของเลือด
อาหารทะเล
และกระดูก ช่วยในการ เกิดความผิดปกติของระบบ
แมกนีเซี ยม
ทํางานของระบบประสาท
ถัว9 นม ผักสี เขียว ประสาทและกล้ามเนื+อ
และกล้ามเนื+อ
เกิดอาการคลื9นไส้
ควบคุมปริ มาณนํ+าในเซลล์
โซเดียม เกลือแกง ไข่ นม
เบื9ออาหาร ความดันเลือด
ให้คงที9
ตํ9า
ตับ เนื+อสัตว์ ถัว9 ไข่ เป็ นส่ วนประกอบของ
เหล็ก โลหิ ตจาง อ่อนเพลีย
ผักสี เขียว เอนไซม์บางชนิดและ

9
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

ฮีโมโกลบิน
ในเม็ดเลือดแดง
เป็ นส่ วนประกอบของ ในเด็กทําให้สติปัญญา
อาหารทะเล เกลือสมุทร ฮอร์โมนไทรอกซิ น ซึ9งผลิต เสื9 อม ร่ างกายแคระแกรน
ไอโอดีน
จาก ในผูใ้ หญ่
เกลือเสริ มไอโอดีน
ต่อมไทรอยด์ จะทําให้เป็ นโรคคอพอก

10
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

11
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

12
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

13
โรงเรี ยนกวดวิ ช าอั พ เกรดเอ็ ด ดู เ คชั4 น (ครู ปุ๋ ย)

*********************

14

You might also like