Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 107

การทำวิจัยในชั้นเรียน

เพื่อพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียนด้วยวิธี
Action Research

ดร.ภาวิณี รัตนคอน
ดร.ภาวิณี รัตนคอน
อาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

นักวิชาการ บรรณาธิการ
สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด
สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
สำนักพิมพ์ ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด
สำนักพิพม์ I Love CU
บริษัท เพชรประกาย จำกัด
การทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาผลลัพธ์
การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธี Action research
? ? ?
. . ?
ไม . ยน
ทำ น เรี
ใ น ชั้
วิ จั ย
ง ทำ
ต้อ
https://www.youtube.com/watch?v=pPTj6hUKEL4
https://www.obec.go.th/archives/3108549 https://www.rn.ac.th/default/archives/13709
https://www.thairath.co.th/news/local/2703152 https://www.obec.go.th/archives/726678
วิ จั ย
ต้ องทำ
ที่ เรา พระราชบัญญัติการศึ กษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หตุ
สาเ
มาตรา 30 ให้สถานศึ กษาพัฒนากระบวนการเรียน
การสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอน
สามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ในแต่ละระดับการศึ กษา
มาตรฐานวิชาชีพครู
การจัดการเรียนรู้
- พัฒนาหลักสูตร
- บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนที่พัฒนาผู้เรียน
- ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล
มาตรฐาน
- จัดกิจกรรม สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้เหมาะสม
ด้านการปฏิบัติงาน
- ทำวิจัยและสร้างนวัตกรรม
- ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ
พัฒนาผู้เรียน/เเก้ปัญหาผู้เรียนเป็นรายบุคคล

ข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance agreement : PA)


ส่ วนที่ 2 การพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของ
ผู้เรียน โดยให้เห็นถึงการประยุกต์
แก้ปัญหา ริเริ่ มพัฒนา คิดค้น และ
ปรับเปลี่ยน

https://www.xn--12ca0ezbc4ai2ee1bzl.com/09/01/2022/pa-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9/
ความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน
1. ให้โอกาสครูในการสร้างองค์ความรู้และทักษะการทำวิจัย

2. เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติโดยตรง

3. ช่วยทำให้เกิดการพัฒนาที่ต่อเนื่อง

4. ช่วยตรวจสอบวิธีการทำงานของครู

5. ทำให้ครูเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้วิจัย

กลุ่มผู้ใช้
เพื่อนร่วมงาน
งานวิจัย

นักวิชาการ
การทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียนด้วยวิธี Action research

การแสวงหาความรู้เพื่อตรวจสอบประเด็นและ
ปัญหาในสถานที่ทำงานของตนเองเป็นการนำ
ความคิดไปปฏิบัติผ่านกระบวนการที่เป็นวงจร

Action research .. .
การวิจัยในชั้นเรียนการทำวิจัยควบคู่ไปกับ
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง โ ด ย มี ค รู เ ป็ น ทั้ ง ผู้ ผ ลิ ต
งานวิจัยและผู้บริโภคงานวิจัย
รูปแบบการทำวิจัยในชั้นเรียนด้วยวิธี Action research

ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร

ครูผู้สอน หาวิธีแก้ไข ห้องเรียน ขณะสอน ด้วยการวิจัย


วงจรการวิจัย Action research

ขั้นการวางแผน (Planning) ขั้นการสังเกตการณ์ (Observing)

ขั้นการปฏิบัติการ (Action) ขั้นการสะท้อนผล (Reflect/Revise)

https://graduate.sru.ac.th/wp-content/uploads/2018/11/Action-Research-1.pdf
วงจรการวิจัย Action research

- วิเคราะห์และสํารวจ - ทำ pre test - ทำ post test - อภิปรายผลจาก


ปัญหาของนักเรียน - ดำเนินการวิจัยด้วย การใช้

- ศึ กษาทฤษฎีที่เกี่ยว กระบวนการ PAOR - สิ่ งที่ควรปรับปรุง


กับการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาการ
และเทคนิควิธีการ จัดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ เลือก
วิธีการแก้ปัญหา
สร้างเครื่องมือวิจัยที่
ใช้ในการวิจัย
ขั้นตอนการวิจัย
ท ฤ ษ ฏี

กำหนดประเด็น ทบทวน กำหนด ตั้งสมมติฐาน ออกแบบ


ปัญหา วรรณกรรม วัตถุประสงค์ การวิจัย
ขั้นตอนการวิจัย
ป ฏิ บั ติ

สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปรผล เขียนรายงาน


และสรุ ปผล การวิจัย
กำหนดประเด็นปัญหา
กำหนดประเด็นปัญหา

การวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดในห้องเรียน

สิ่ งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน


หรือสิ่ งที่เกิดกับผู้เรียน แล้วส่งผลให้การเรียนการสอน
ไม่บรรลุตามที่กำหนด
การกำหนดประเด็นปัญหา ประเด็นในการวิเคราะห์สภาพปัญหา

ปัญหาที่เกิดขึ้น
1. เป็นปัญหาที่ไม่กว้างเกินไป คืออะไร
2. มีวิธีแก้ปัญหาเเละเเหล่งที่ใช้
เป็นปัญหาของใคร
ศึกษาค้นคว้าที่จะนำมาวิเคราะห์
เเปลผลข้อมูล ส่งผลกระทบต่อใคร

3. เป็นปัญหาที่มีประโยชน์และ
มีความสำคัญระดับใด
ความสำคัญ สามารถใช้เพิ่มความรู้
ใหม่ๆ หรือเเก้ปัญหาผู้เรียนได้ ใครคือผู้รับผิดชอบหลัก
ตัวอย่าง

การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้ นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา


ทักษะการคิดมากขึ้ น ทั้งด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงระบบ และ
การคิดสร้างสรรค์ ทั้งนี้ จากการศึ กษาทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
ของนั กเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ต่ำ
โดยนักเรียนไม่สามารถสรุปความรู้และสร้างสรรค์ชิ้นงานที่เป็นรูปแบบ
ความคิดใหม่ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะ
การคิดที่สำคัญ
ประเด็นในการวิเคราะห์สภาพปัญหา

ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ต่ำ

เป็นปัญหาของใคร นักเรียนส่วนใหญ่

ส่งผลกระทบต่อใคร การสอนของครู

มีความสำคัญมาก เพราะทำให้นักเรียน
มีความสำคัญระดับใด
ขาดทักษะการคิด

ใครคือผู้รับผิดชอบหลัก ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.4


เกณฑ์การตั้งคำถามการวิจัย

1. ควรใช้คำถาม “ทำไม อย่างไร


การตั้งคำถามการวิจัย
อะไร”

การกำหนดประเด็นข้อสงสัย 2. มีความน่าสนใจในการศึ กษา


ที่ต้องการค้นหาคำตอบ โดยมัก
3. มีความสำคัญทั้งต่อตัวครูผู้สอน
เขียนในรูปประโยคคำถาม ที่มี และนักเรียน
ความเฉพาะเจาะจง สามารถ 4. สามารถจัดการให้อยู่ภายใต้
การควบคุมของผู้วิจัยได้
สังเกต สำรวจและศึ กษาวิจัยได้
5. มีความเป็นไปได้ในการทำ
เหมาะสมกับเวลาและทรัพยากร
ตัวอย่าง

คำถามการวิจัย
1. สาเหตุอะไรที่ทำให้นั กเรียนมีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ต่ำ
2. แนวทางการเเก้ไขให้นั กเรียนมีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
จะทำอย่างไร
3. วิธีการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
คืออะไร
4. วิธีที่จะนำมาใช้จะได้ผลหรือไม่ ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
ทบทวนวรรณกรรม
ทบทวนวรรณกรรม

การศึ กษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย


หรือตัวแปรการวิจัย เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการทำวิจัย

การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะช่วยกำหนด
กรอบแนวความคิดให้แก่ผู้วิจัยทั้งก่อนการทำวิจัย
ระหว่างดำเนินการวิจัย และภายหลังการเก็บข้อมูลเสร็จสิ้ น
ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม

เป็นการศึกษาตัวแปร เป็นการกำหนดขอบเขต
ช่วยในการกำหนด และกรอบแนวคิด เป็นการกำหนดภาพ
หรือประเด็นสำคัญ
ปัญหาหรือหัวข้อ ในการทำวิจัยที่มีความ รวมขององค์ความรู้
ที่เกี่ยวกับหัวข้อ
ในการวิจัย น่าเชื่อถือ จากประเด็น จากงานวิจัยที่มีอยู่
ที่ผู้วิจัยสนใจ หรือตัวแปรที่ได้ศึกษา

ช่วยในการอธิบาย
ช่วยป้องกัน
ความหมาย และ ช่วยกำหนด
การทำวิจัยซ้ำซ้อน
ความสัมพันธ์ของ สมมติฐานการวิจัย
จากงานวิจัยก่อนหน้า
ตัวแปรต่างๆได้ชัดเจน
หลักเกณฑ์การพิจารณาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ความเกี่ยวข้อง
1 เนื้อหาต้องเกี่ยวข้องหรือตรงกับเรื่องที่จะศึ กษา

ความทันสมัย
ถ้าเป็นเอกสารที่ทันสมัยที่สุด ไม่เกิน 5 ปี นับ
จากวันที่ค้นคว้า เว้นแต่หนังสือเก่าที่ยังมีคุณค่า 2
หรือยังไม่มีผู้แต่งใหม่

มีมาตรฐาน
3 ควรพิจารณาประวัติ ความมีชื่อเสียงของผู้แต่ง
หรือผู้เกี่ยวข้อง บรรณาธิการ สานักพิมพ์ ฯลฯ
แหล่งข้อมูลการสืบค้นวรรณกรรม
1. วรรณกรรมปฐมภูมิ (primary literature) 2. วรรณกรรมทุติยภูมิ (secondary literature)
คือ เอกสาร งานเขียนและสารสนเทศที่เจ้าของ คือ เอกสารและงานเขียน หรือสารสนเทศที่ได้
ผลงานเป็นผู้เสนอเอง จากวรรณกรรมปฐมภูมิหรือจากวรรณกรรมทุติยภูมิ

1.1 รายงานผลการวิจัย (research report) 2.1 คู่มือการปฏิบัติ (handbooks)

1.2 วิทยานิพนธ์ (thesis) 2.2 รายงานประจำปี (yearbooks)

1.3 การบันทึกภาพหรือเสียงในสิ่ งที่ค้นพบ 2.3 การสรุปรวมงานวิจัย (research review)

2.4 หนังสือหรือตำรา (text books)

2.5 พจนานุกรม (dictionary) และ


สารานุกรม (encyclopedia)
การวางแผนการทบทวนวรรณกรรม
1. การทบทวนแนวคิดทางทฤษฎี

เพื่อนำไปสร้างกรอบแนวคิด ซึ่งตำราหรือบทความที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดที่จะทำวิจัย
ส่วนหนึ่ งจะได้จากแนวคิดของนักวิชาการที่ได้วางรากฐานการวิจัยเอาไว้แล้ว เช่น ทฤษฎี
การเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ แนวคิดในการกําหนดจุดมุ่งหมายทางการศึ กษาของบลูม และ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

2. การทบทวนวรรณกรรมด้านผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จะช่วยให้ผู้วิจัยทราบว่าหัวข้อการวิจัยที่ตั้งใจจะลงมือทำการวิจัยนั้นได้มีผู้ใดทำมาแล้วบ้าง
ได้มีโอกาสตรวจสอบข้อมูล ได้แนวคิดใหม่ที่จะทำวิจัยให้แตกต่างไปจากผู้อื่นที่ได้ทำมาแล้ว
การนำเสนอผลการศึกษา
1
การศึ กษาเอกสาร 3
ที่เกี่ยวข้อง ต้องเริ่มด้วย นำเสนอโดยยึดตาม

การค้นคว้าจาก ตัวแปรหรือความ

แหล่งต่าง ๆ สั มพันธ์ระหว่างตัวแปร
2 ที่ศึ กษาเป็นหลัก
4
นำเอกสารที่ค้นคว้า
มาวิเคราะห์ เขียนเป็นหัวข้อหลัก

สั งเคราะห์ เพื่อให้ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย

สอดคล้องกับเนื้ อหา ซึ่งแต่ละหัวข้อต้องมีการ


สรุปเนื้อหาตอนท้าย
ตัวอย่าง
วิจัยเรื่อง การศึ กษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม STEM เรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 3
โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

หัวข้อหลัก 1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม 2. การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึ กษา 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อรอง 1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม - แนวคิดและลักษณะของสะเต็มศึกษา


- ความหมายของชุดกิจกรรม - จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
- ประเภทของชุดกิจกรรม - แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
- องค์ประกอบของชุดกิจกรรม - บทบาทของผู้สอนต่อการจัดการเรียนตามแนวคิดของ
- การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม สะเต็มศึกษา
- เกณฑ์การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม - การวัดและประเมินผลตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
- วิธีคำนวณหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม - ประโยชน์จากการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา
2. การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ความหมายของสะเต็มศึกษา
ตัวอย่าง
วิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้น ป.1 โรงเรียนวัดหนองกะขะ (บุญยิ่งประชานุกูล)

หัวข้อหลัก 1. หลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั กราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


2. การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ
3. การสอนแบบบันไดทักษะ 4 ขั้น สู่การอ่านออกเขียนได้
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อรอง 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ความสำคัญของการอ่านสะกดคำ


พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - หลักการอ่านสะกดคำ
ภาษาไทย 3. การสอนแบบบันไดทักษะ 4 ขั้น สู่การอ่านออก
2. การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ เขียนได้
- ความหมายของการอ่าน 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ความสำคัญของการอ่าน
แหล่งของเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1. หนังสือทั่วไป : หนังสือ ตำราในสาขาต่างๆ


2. หนังสืออ้างอิง : สารานุกรม รายงานประจำปี
3. วิทยานิพนธ์
4. รายงานการวิจัย ที่ตีพิมพ์เผยเเพร่
5. วารสาร เอกสารที่รวบรวมงานวิจัยหรือบทความวิชาการ
6. เอกสารทางราชการ : ประกาศ คำสั่ง จดหมายเหตุ
7. การสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ
ตัวอย่างการสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

1 ฐานข้อมูลงานวิจัยทางการศึ กษา http://www.thaiedresearch.org/


ตัวอย่างการสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

2 Thai Journals Online (ThaiJO) https://www.tci-thaijo.org/


ตัวอย่างการสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

3 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) https://tci-thailand.org/


ตัวอย่างการสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

4 https://scholar.google.com/
ตัวอย่างการสืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ

5 https://libgen.is/
กำหนดวัตถุประสงค์
กำหนดวัตถุประสงค์

แนวทางหรือทิศทางในการค้นหาคำตอบ เป็นการ
กำหนดว่าต้องการศึ กษาในประเด็นใดบ้างในเรื่องที่
ต้องการทำวิจัย รวมถึงเป็นการกำหนดขอบเขตการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัยที่ดีต้องมีความสมเหตุสมผลและ
ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
ข้อสำคัญของการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย

ควรขึ้นต้นด้วยคำว่า “เพื่อ” และข้อความที่จะแสดงการกระทำในการวิจัย เช่น ศึ กษา สำรวจ


1 เปรียบเทียบ หาความสัมพันธ์ หาผลกระทบ

การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ต้อง ต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือ


2 เป็นสิ่งที่ปฏิบัติจริง วัดและประเมินได้
3 ชื่อเรื่อง

ครอบคลุมส่งที่ต้องการศึ กษาหรือ ระบุสิ่ งที่ต้องการศึ กษา ตัวเเปร


4 ตัวเเปร
5 กลุ่มที่ศึ กษา
ตัวอย่าง

วิจัยเรื่อง การสร้างเเบบฝึกทักษะการอ่านคำที่ใช้อักษร ร ล ว ควบกล้ำ สำหรับนักเรียน


ชั้นประถมศึ กษาปีที่ 6

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านที่ใช้อักษร ร ล ว ควบกล้ำ สำหรับนั กเรียน
ชั้นประถมศึ กษาปีที่ 6
2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนในการอ่านคำที่ใช้อักษร ร ล ว ควบกล้ำ
ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ
3. เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการอ่านภาษาไทยของนักเรียน
ตัวอย่าง

วิจัยเรื่อง การศึ กษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และทักษะ


กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้
ชุดการสอนชุดมินิคร์อสกับเรียนโดยการสอนตามคู่มือครูของ สสวท.

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนั กเรียน
ที่เรียนโดยการสอนมินิ คร์อสกับ การสอนตามคู่มือครู ของ สสวท.
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง

วิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนแบบโครงงาน
กับการสอนตามคู่มือครูของนักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปีที่1 ในกรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสั มฤทธิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระหว่างการสอนแบบโครงงานกับการสอนตามคู่มือครู
2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนแบบโครงงานกับการสอน
ตามคู่มือครู
กรอบแนวคิดการวิจัย
หลักเกณฑ์ในการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
ตัวแปรแต่ละตัวที่เลือกศึ กษาต้องมีพื้นฐานเชิงทฤษฏีว่ามีความสัมพันธ์หรือ
1 เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ต้องการศึ กษา

มีความตรงประเด็นในด้านเนื้อหาสาระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านตัวแปรอิสระ
2 หรือตัวแปรที่ใช้ควบคุม

3 มีรูปแบบสอดคล้องวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ระบุรายละเอียดของตัวแปรและสามารถแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรได้ชัดเจน
4 ด้วยสัญลักษณ์หรือแผนภาพ
ประโยชน์ของการสร้างกรอบแนวคิด

สร้างความชัดเจนใน
งานวิจัยว่าจะสามารถ เป็นแนวทางในการ
ตอบคำถามที่ศึ กษาได้ กำหนดความหมายตัวแปร
การสร้างเครื่องมือ และ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
สามารถเชื่อมโยงไปสู่
ในการวิจัย
การกำหนดกรอบทิศทาง เป็นตัวชี้นำทำให้
การทำวิจัยได้เหมาะสม ผู้วิจัยเกิดความ
สามารถเข้าใจ ถูกต้อง โดยเฉพาะ มั่นใจว่างานวิจัย
แนวคิดสำคัญที่ เป็นไปในแนวทาง
วิเคราะห์ข้อมูล
แสดงถึงแก่นของ ที่สอดคล้องกับ
ปัญหาการศึ กษาใน วัตถุประสงค์
ระยะเวลาอันสั้น
ตัวอย่าง

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านคำควบกล้ำและเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

การจัดกิจกรรมการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทักษะ
การสอนโดยใช้ชุดการเรียนรู้
ทางด้านการอ่านคำควบกล้ำ
ด้านการอ่านคำควบกล้ำ
ตัวอย่าง
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดด้วย
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการใช้แบบจำลองของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 2

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

- ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


- ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้
- ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) - ด้านการจัดการเรียนรู้
- ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) - ด้านสิ่ งแวดล้อมและบรรยากาศใน
- ขั้นประเมิน (Evaluation) การเรียนรู้
- ด้านประโยชน์ที่ได้รับ
การใช้แบบจำลอง
ตัวเเปรการวิจัย
ตัวเเปรการวิจัย

สิ่ งต่าง ๆ หรือลักษณะต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นถึง


สถานการณ์ที่ปรากฏในประเด็นที่ต้องการศึ กษาโดยมี
ค่าที่แปรเปลี่ยนกันไปในแต่ละหน่วยของประชากรที
ศึ กษา
ประเภทของตัวเเปร

1 ตัวแปรต้น
ตัวแปรที่เกิดขึ้นมาก่อนและเป็นสาเหตุ หรือมีอิทธิพลให้ตัวแปรตาม
เปลี่ยนแปลงไป

Vision & Mission


2 ตัวแปรตาม
ตัวแปรที่จะผันแปรไปตามตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ เป็นผลหรือ
ได้รับอิทธิพลจากตัวแปรต้น
ตัวแปรต้น

ใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนา
ใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาจิตใจ
ความรู้และทักษะ

1. สื่อวัสดุ ได้แก่ บทเรียนสำเร็จรูป ใช้เทคนิคต่าง ๆ ของการปรับ


ชุดกิจกรรม แบบฝึกทักษะ CAI , พฤติกรรม เช่น การเสริมแรงบวก
Moodle , Application ด้วยวิธีการต่าง ๆ การเลียนแบบ
2. เทคนิควิธีการ ได้แก่ รูปแบบการ
การชี้แนะ การวางเงื่อนไข
สอน Inquiry-Based Learning ,
Active learning , PBL , Stem
ตัวแปรตาม

ความรู้เเละทักษะ พัฒนาจิตใจ

1. ผลสัมฤทธิ์ หรือคะแนนในกลุ่ม การพัฒนาทางจิตใจที่ต้องการให้


สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เพิ่มขึ้นหรือลดลง เช่น ความสนใจ
2. ทักษะการปฏิบัติในกลุ่มสาระ ในการเรียน การเข้าเรียน การอ่าน
การเรียนรู้ต่าง ๆ
หนั งสื อ การเคารพกติกาหรือ
ระเบียบ การไม่เก็บรักษาของ ฯลฯ
ตัวอย่าง

ชื่อเรื่อง

การเปรียบเทียบผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
ระหว่างการสอนแบบโครงงาน
กับการสอนตามคู่มือครูของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่1 ในกรุงเทพมหานคร
ตัวอย่าง

ชื่อเรื่อง
การพัฒนารู ปแบบการสอนเพื่อเสริม
สร้างสมรรถนะด้านเทคโนโลยี
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนั กเรียน
ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนั นทา
การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัย

การกำหนดแผนการเเละวิธีการ จุดมุ่งหมาย
ดำเนิ นงานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ 1. เพื่อให้ได้คำตอบของปัญหาวิจัย
กำหนดปัญหาวิจัย การวางตัวเเปร ที่ถูกต้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ 2. เพื่อควบคุมความเเปรปรวนของ
ข้อมูล และการสรุปผล ตัวเเปรในการวิจัย
องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัย

การออกแบบ การออกแบบการ การออกแบบ


การวัดตัวเเปร สุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล

การกำหนดวิธีการวัด การดำเนินการเพื่อให้ การวางแผนในการดำเนิน


ค่าหรือการสร้างและ ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็น การกับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ ตัวแทนที่ดีของ เพื่อที่จะได้ใช้ในการตอบ
วัดค่าตัวแปร ประชากรในการนำมา ปัญหาการวิจัยตามจุดมุ่ง
ศึ กษา หมายของการวิจัยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง ชัดเจน และมีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ
สามารถควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรการวิจัยที่ศึ กษา
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย

ข้อความที่ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวเเปร
หรือแนวคิด ซึ่งผู้วิจัยต้องการจะทดสอบว่าเป็น
ความจริงหรือไม่ เป็นข้อความที่คาดคะแนคำตอบ
หรือทำนายไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลมีความ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดของ
การวิจัย
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
1. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย 4. สมเหตุสมผลตามทฤษฎี หลักการและ
จุดมุ่งหมายต้องการศึ กษาอะไร สมมุติฐาน เหตุผล สภาพที่เป็นจริงที่ยอมรับกันทั่วไป
ก็ควรตั้งให้อยู่ในลักษณะแนวทางเดียวกัน

2. สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูลและวิธีการ 5. ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย รัดกุม


ทางสถิติ

3. ต้องตอบคำถามได้ครอบคลุมปัญหาทุกๆ ด้าน 6. สมมุติฐานแต่ละข้อควรตอบคำถามเพียง


ที่ศึ กษา โดยระบุความสัมพันธ์ของตัวแปร ข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
ที่สนใจ
ตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องการคูณของนั กเรียน
ชั้นประถมศึ กษาปีที่ 4 โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการคูณ

สมมติฐาน
1. นักเรียนชั้นประถมศึ กษาปีที่ 4 ที่ได้รับการฝึกทักษะ เรื่อง การคูณ มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงขึ้น
2. นักเรียนชั้นประถมศึ กษาปีที่ 4 ที่ได้รับการฝึกทักษะเรื่องการคูณ มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การคูณ สูงกว่าร้อยละ 60 ทุกคน
ตัวอย่าง
ชื่อเรื่อง
การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ในรายวิชาชีววิทยา

สมมติฐาน
การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียน ทำให้
สามารถพัฒนา ศั กยภาพด้านพฤติกรรมและการเรียนให้ดีขึ้น
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย

การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ

การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยไม่ทดลอง การวิจัยและพัฒนา


การวิจัยทดลอง
การวิจัยเชิงพรรณา การวิจัยปฏิบัติการ
เเบบแท้จริง
การวิจัยเเบบกึ่ง การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ
สาเหตุ การวิจัยแบบผสม
ทดลอง
การวิจัยหาความ
สัมพันธ์
การวิจัยกึ่งทดลอง

ลักษณะ ความมุ่งหมาย

1. มีการจัดกระทำก้บตัวเเปรต้น 1. เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของสาเหตุที่ทำให้เกิดผล
2. มีการควบคุมตัวเเปรแทรกซ้อน 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลของ
3. มีการออกแบบการทดลองเพื่อให้เกิด ปรากฏการณ์ต่าง ๆ
ความเที่ยงตรงภายในและภายนอก 3. เพื่อนำผลการวิจัยไปสร้างเป็นกฎเกณฑ์ สูตรทฤษฎี
4. เพื่อวิเคราะห์หรือค้นหาข้อบกพร่องของงานต่างๆ
เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น
5. เพื่อนำผลการทดลองไปใช้
รูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง

ERIMENT
RE – EXP ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวและไม่มีการสุ่ม
แบบ P
DESIGN

แบบที่ 1 หนึ่ งกลุ่มสอบหลัง One Shot Case Study

แบบที่ 2 หนึ่ งกลุ่มสอบก่อน –สอบหลัง


(One Group Group Pretest-Posttest Design)

แบบที่ 3 ทดลองตามระยะเวลา (One group time series)


แบบที่ 1 หนึ่ งกลุ่มสอบหลัง One Shot Case Study

เขียนเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้ ขั้นตอนการวิจัย

X O เลือกตัวอย่างมา 1 กลุ่ม
หรือ 1 คน
โดย X หมายถึง การจัดกระทำ (Treatment)
O หมายถึง ตัวแปรตาม (Dependent Variable)
ให้นวัตกรรม

แบบวิจัยนี้ มีการศึ กษาเพียงกลุ่มเดียวหรือคนเดียว ไม่มี


วัดผลตามตัวแปร
กลุ่มควบคุม มีการวัดครั้งเดียวโดยครูจัดนวัตกรรมให้แล้ว
ตามที่กำหนดไว้
วัดผลของการให้นวัตกรรม
แบบที่ 2 หนึ่ งกลุ่มสอบก่อน –สอบหลัง ขั้นตอนการวิจัย
(One Group Group Pretest-Posttest Design)
เลือกตัวอย่างมา 1 กลุ่ม
หรือ 1 คน
เขียนเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้
วัดครั้งที่ 1 ก่อนให้
O1 X O2 นวัตกรรม

โดย O1 หมายถึง ทดสอบก่อนการจัดกระทำ


ให้นวัตกรรม
X หมายถึง การจัดกระทำ
O2 หมายถึง ทดสอบหลังการจัดกระทำ
วัดครั้งที่ 2 เมื่อให้
นวัตกรรมเสร็จ
แบบวิจัยนี้ มีการศึ กษาเพียงกลุ่มเดียวหรือคนเดียว
มีการวัด 2 ครั้ง คือ วัดก่อนให้นวัตกรรมและหลังจากให้
เปรียบเทียบความแตกต่าง
นวัตกรรม ของการวัด ครั้งที่ 1 กับ 2
แบบที่ 3 ทดลองตามระยะเวลา ขั้นตอนการวิจัย
(One group time series)
เลือกตัวอย่างมา 1 กลุ่ม
หรือ 1 คน
เขียนเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้
วัดครั้งที่ 1, 2, 3 ก่อนให้
O1 O2 O3 O4 X O5 O6 O7 O8 นวัตกรรม

โดย O1, O2, O3, O4 หมายถึง ทดสอบก่อนการจัดกระทำ


ให้นวัตกรรม
X หมายถึง การจัดกระทำ
O5, O6, O7 O8 หมายถึง จำนวนการทดสอบหลังการจัดกระทำ
วัดครั้งที่ 4, 5, 6 เมื่อ
แบบวิจัยนี้ มีการศึ กษาเพียงกลุ่มเดียวหรือคนเดียว มีการวัดซ้ําหรือ ให้นวัตกรรมเสร็จ
ทดสอบติดกันหลาย ๆ ครั้ง ก่อนให้และหลังให้นวัตกรรม ทําให้เห็น
แนวโน้มลําดับขั้นของพัฒนาการ เปรียบเทียบความแตกต่าง
ของการวัดในแต่ละครั้ง
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึ กษา นวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัย


ในชั้นเรียน

แนวคิด รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ รูปแบบใหม่ๆ ของสื่อการเรียนการสอน


สื่อต่างๆ ที่เกี่ยวกับการศึ กษาที่สร้างขึ้น เทคนิควิธี กิจกรรม หรือสิ่ งอื่นใดที่ผู้สอน
ม า เ พื่ อ ช่ ว ย แ ก้ ปั ญ ห า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน หรือ
จัดการเรียนการสอนหรือพั ฒนาให้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อให้การเรียน
ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอนมีคุณภาพ
ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม

กำหนดสิ่ ง กำหนด สร้างและ ใช้ใน ประเมินผล


ทดลองใช้
ที่จะพัฒนา นวัตกรรม พัฒนา สถานการณ์ การใช้
ประเภทของนวัตกรรม

แบ่งตาม แบ่งตาม แบ่งตาม แบ่งตาม


ผู้ใช้ ลักษณะของ ขอบข่ายการ พฤติกรรมและ
ประโยชน์ นวัตกรรม พัฒนา คุณลักษณะ
โดยตรง
ประเภทของนวัตกรรม

แบ่งตามผู้ใช้ประโยชน์
โดยตรง

นวัตกรรมสาหรับครู นวัตกรรมสาหรับนักเรียน
แผนการสอน บทเรียนสาเร็จรูป แบ่งตามลักษณะของ
คู่มือครู ชุดฝึกปฏิบัติ นวัตกรรม

เอกสารประกอบการสอน เอกสารปรกอบการเรียน สื่อการเรียนการสอน เทคนิคและวิธีการ


CAI การสอนแบบ Active
ชุดการสอน ชุดเกม Learning
Application
การสอนแบบ PBL
Moodle การฝึกทักษะการ
ทำงานกลุ่ม
VDO
ประเภทของนวัตกรรม

แบ่งตามขอบข่ายการพัฒนา

ด้านการบริหารจัดการเรียนการสอน

ด้านการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ แบ่งตามพฤติกรรมและ
คุณลักษณะ
ด้านการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ด้านแก้ปัญหาหรือ ด้านแก้ปัญหาหรือพัฒนา
ด้านสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน พัฒนาความรู้ ทักษะ จิตใจ
สื่อ ใช้หลักจิตวิทยาเข้ามา
ร่วม เพื่อเปลี่ยนแปลง
วัสดุ
พฤติกรรมผู้เรียนให้
กระบวนการ เพิ่มหรือลด เช่น แรง
จูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความ
เทคนิค วิธีการ รับผิดชอบ
นวัตกรรมที่นิยมใช้

1 เป็นวัตถุ สื่อ วัสดุ สิ่ งประดิษฐ์

มีลักษณะเป็นรูปธรรม จับต้อง มองเห็นได้ชัดเจน เช่น บทเรียน


สำเร็จรูป ชุดการสอน แบบฝึกทักษะ

2 เป็นเทคนิค วิธีการ

มีลักษณะเป็นวิธีการสอนแบบต่าง ๆเช่น สอนแบบแสดงบทบาทสมมติ


แบบโครงการ แบบสืบเสาะ แบบบูรณาการ แบบการระดมความคิด
ตัวอย่าง นวัตกรรมการสอนออนไลน์

1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI )

http://nasan.ac.th/workteacher-detail_16422
ตัวอย่าง นวัตกรรมการสอนออนไลน์

2 ระบบการจัดบทเรียน (LMS )
ตัวอย่าง นวัตกรรมการสอนออนไลน์

3 เอกสารการสอนแบบ Online

https://www.liveworksheets.com/w/en/english-language/2030345
https://www.liveworksheets.com/w/th/phasaithy-prathmsueksa/1392623
ตัวอย่าง นวัตกรรมการสอนออนไลน์

4 การใช้ Application
เครื่องมือการวิจัย
เครื่องมือการวิจัย

สิ่ งที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อวัดค่าตัวแปรของงานวิจัย ซึ่งการ


วัดค่าดังกล่าวต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้

ประกอบด้วย 4 แบบ
1. แบบทดสอบ (Test)
2. แบบสอบถาม (Questionnaire)
3. แบบสัมภาษณ์ (Interview)
4. แบบสังเกต (Observation)
แบบทดสอบ แบบสอบถาม

เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ความสามารถ เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยส่งแบบสอบถาม
ของบุคคล ให้กลุ่มเป้าหมายตอบกลับ

https://exercise-exam.blogspot.com/2023/09/thai-m3-book1-5.html https://www.slideshare.net/tuktuktum/ss-56566970
แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต

เป็นการเก็บข้อมูลโดยอาศัยการสัมภาษณ์ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัย
เผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้ เข้าไปสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
สัมภาษณ์

https://northnfe.blogspot.com/2019/08/ED256212.html http://www.oryornoi.com/
คุณภาพของเครื่องมือที่ต้องตรวจสอบ

คุณภาพของเครื่องมือที่ต้องตรวจสอบ มี 5 ด้าน

1. ความเที่ยงตรง (validity)
2. ความเชื่อมั่น (reliability)
3. ความเป็นปรนัย (objectivity)
4. ความยากง่าย (Difficulty เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p)
5. อำนาจจำแนก (Discrimination เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r)
คุณภาพของเครื่องมือที่ต้องตรวจสอบ
1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
2. แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า เป็นแบบทดสอบให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ/ประเมินนวัตกรรม
และใช้วัดเจตคติของนักเรียน

https://www.slideshare.net/AonNarinchoti/ss-37115937
https://nuiphen.files.wordpress.com/2014/08/0000001.gif
ขั้นตอนการตรวจคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

1. ผู้เชี่ยวชาญไม่ต่่ำกว่า 3 คน พิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา
คือ พิจารณาว่าข้อสอบแต่ละข้อตรงตามจุดประสงค์หรือไม่
อาจใช้วิธีการ Rovinelli และ Hambleton หรือวิธีการหา IOC
(Index of Item–Objective Congruence)
2. นำไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง
3. หาค่าความยากง่าย (p)
4. หาอำนาจจำแนก (r)
ขั้นตอนการตรวจคุณภาพแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า

1. ไม่ต้องหาค่าความยากง่าย แต่ต้องหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ
ที่นิยมมีสองวิธี คือ หาโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์อย่างง่ายและหาโดยใช้
t-test
2. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาใช้วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตัดสิน
เป็นรายข้อ ส่ วนความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างใช้วิธีการเดียว
กับแบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์
3. หาความเชื่อมั่น ใช้วิธีของ Cronbach เรียกว่า"สัมประสิทธิ์แอลฟา"
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเที่ยงตรง (Validity) เป็นความแม่นยำของเครื่องมือในการวัดสิ่ งที่ต้องการจะวัด
และคะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่มีความตรงสูงสามารถบอกถึง
สภาพที่แท้จริงและพยากรณ์ได้ถูกต้องแม่นยำ

ประเภทความเที่ยง
1. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา หมายถึง คุณสมบัติของข้อคำถามที่ สามารถวัดได้ตรงตาม
เนื้ อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัด
2. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง เป็นการตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาที่วัดกับ
จุดประสงค์ที่ต้องการจะวัดโดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาว่าข้อคำถามวัดได้ ตรงตามจุดประสงค์
ที่ต้องการจะวัดหรือไม่ วิธีนี้เป็นการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์
(Item-Objective Congruence Index : IOC)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเที่ยงตรง (Validity) ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์
(Item-Objective Congruence Index : IOC)
โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน

ซึ่งจะพิจารณาให้คะแนนข้อสอบ
แต่ละข้อดังนี้
+1 เมื่อแน่ใจว่า ข้อคำถามนั้น
สอดคล้องกับจุดประสงค์
0 เมื่อไม่แน่ใจว่า ข้อคำถามนั้น
สอดคล้องกับจุดประสงค์
-1 เมื่อแน่ใจว่า ข้อคำถามนั้นไม่
ค่า IOC ต้องมีค่าตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปจึงจะใช้ได้
สอดคล้องกับจุดประสงค
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเชื่อมั่น (reliability) ความคงที่ในการวัด กล่าวคือ ไม่ว่าจะวัดกี่ครั้ง
จะได้ผลคงที่เสมอ โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบใดๆ
มีค่าอยู่ระหว่าง .00 ถึง 1.00

ประเภทความเชื่อมั่น
1. ความเชื่อมั่นแบบความคงที่ เป็นวิธีสอบซ้ำด้วยเครื่องมือฉบับเดิม แล้วนำผลการวัดทั้งสองครั้งมาหาค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ ถ้ามีความสัมพันธ์สูง แสดงว่า มีความเชื่อมั่นสูง
2. ความเชื่อมั่นแบบความเท่าเทียมกัน ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้ข้อสอบ
เหมือนกัน คำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับ
3. ความเชื่อมั่นแบบความสอดคล้องภายใน เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ ภายในโดยใช้แบบทดสอบ
ชุดเดียวและสอบครั้งเดียว แต่แบ่งข้อสอบเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่ หรือใช้วิธีของ Kuder-Richardson (KR – 20/
KR – 21)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเป็นปรนัย (objectivity) เป็นความสอดคล้องกันในเรื่องของคำถาม ค่าของคะแนน
หรืออันดับที่ที่วัดได้ ตลอดจนการแปลงค่าคะแนน
เป็นผลประเมินในการตัดสินคุณค่าก็สอดคล้องตรงกัน

การพิจารณาความเป็นปรนัยของแบบทดสอบมี 3 ประการ ดังนี้


1. ความชัดแจ้งในความหมายของคำถาม ทุกคนที่อ่านข้อสอบไม่ว่าจะเป็นผู้สอบหรือผู้ตรวจข้อสอบ
ต้องเข้าใจตรงกันไม่ตีความไปคนละแง่
2. การตรวจให้คะแนนตรงกัน ไม่ว่าใครจะเป็นผู้ออกข้อสอบก็ตาม สามารถตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน
3. แปลความหมายของคะแนนได้ตรงกัน การตรวจสอบคุณภาพด้านความเป็นปรนัยจะใช้ผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้านภาษาพิจารณาอย่างน้อย 3 - 7 คน พิจารณาข้อคำถาม ถ้าแต่ละคนอ่านข้อคำถามแล้ว เข้าใจความหมาย
ได้ตรงกันเกินครึ่งของจำนวนผู้เชี่ยวชาญก็แสดง ว่าข้อคำถามนั้นมีความเป็นปรนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความยากง่าย (Difficulty) หมายถึง จำนวนร้อยละหรือสัดส่วนของคนที่ตอบถูก
ในข้อนั้นเมื่อเปรียบเทียบ
กับจำนวนคนทั้งหมดที่ทำข้อสอบนั้น

ความยากของข้อสอบ (p) = จำนวนคนที่ตอบถูกในแต่ละข้อ


จำนวนคนทั้งหมด
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
อำนาจจำแนกของข้อสอบ
(Discrimination) หมายถึง ประสิทธิภาพของข้อสอบในการแบ่งผู้สอบ
ออกเป็นกลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้คะแนนสูงหรือกลุ่มเก่ง
กับกลุ่มที่ได้คะแนนต่ำหรือกลุ่มอ่อน

เมื่อ .. .
r แทน ค่าอำนาจจำแนก
r = PH - PL
สูตร PH แทน จำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูง
n
PL แทน จำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มต่ำ
n แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ำ
กิจกรรม brainstorming วิเคราะห์ชั้นเรียน

วิเคราะห์ปัญหา ค้นหาสาเหตุ

วิเคราะห์ผลกระทบ คำตอบ
กิจกรรม brainstorming วิเคราะห์ชั้นเรียน

วิเคราะปัญหา

วิเคราะห์ผลกระทบ บทนำ

ค้นหาสาเหตุ

เราต้องทำอะไรบ้าง ตัวเเปรต้น
คำตอบ วิธีดำเนินการ
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสำเร็จแล้ว ตัวเเปรตาม
การเขียนบทความวิจัย
เพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร
การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร

1 เป็นชื่อที่มาจากชื่องานวิจัย ควรเขียนให้กระชับ และแสดงสิ่ งที่ต้องการศึ กษาโดยย่อ ได้แก่ ตัวอย่าง จุดประสงค์


และวิธีการวิจัย

2 เป็นการเขียนสรุปการทำวิจัยทั้งหมด โดยจะต้องเขียนอย่างสรุป กระชับ และได้ใจความ โดยมีองค์ประกอบ ซึ่งได้แก่


ที่มาของงานวิจัย จุดประสงค์หลัก ตัวแปร วิธีดำเนินการวิจัยอย่างย่อ ผลการวิจัย/ทดลองหลัก และข้อสรุปหลัก

3 เป็นการเสนอปัญหาและการกำหนดขอบเขตของปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงปัญหา
การวิจัย โดยอาจยกสถานการณ์มาประกอบและบอกเหตุผลว่าทำไมปัญหานี้ จึงต้องนำมาแก้ไข และงานวิจัยนี้ จะช่วย
ให้เกิดประโยชน์ อะไรได้ อาจรวมวัตถุประสงค์ หรือแยกการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย แล้วแต่รูปแบบของแต่ละ
วารสารจะกำหนด
การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร

4 เป็นการเขียนเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลของงานวิจัยนี้ถูกรวบรวมหรือถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร โดยนำข้อมูลที่อยู่ในขอบเขต
การวิจัย เช่น ประชากรกลุ่มตัวอย่างตัวแปรที่ศึกษา ระยะเวลา กรอบแนวคิด เครื่องมือ รวมทั้งกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล

5 เป็นการเขียนเพื่อแสดงผลที่ได้จากการทำวิจัย และถอดความหมายจากผลการทดลองหรือข้อมูลที่ได้มาจากการวิเคราะห์
อาจนำเสนอด้วยรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น รูปตาราง แผนสถิติ แผนภาพ หรือคำบรรยายที่ชัดเจนตามวัตถุประสงค์การวิจัย

6 เป็นการให้คำวิจารณ์ แนะนำและอภิปรายผลของการวิจัยที่เกิดขึ้นว่าเป็นเพราะเหตุใด เป็นการอธิบายสาเหตุ


การเกิดผล การเปรียบเทียบผลกับข้อมูลหรือข้อสรุปที่ได้มาจากการทบทวนวรรณกรรม
การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร

7 เป็นการนำเสนอว่าผลจากการวิจัยนั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์จริงได้อย่างสมเหตุสมผล
และมีแนวโน้มว่าจะเป็นไปได้ โดยทั่วไปจะเขียนเป็น 2 แนวทาง คือ
1) ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้
2) ข้อเสนอแนะที่สืบเนื่องจากผลวิจัย

8 เป็นการแสดงรายการหลักฐานต่าง ๆ ที่นำมาใช้ประกอบการเขียนบทความ
แหล่งสารสนเทศ
เพื่อการตีพิมพ์
แหล่งสารสนเทศเพื่อการตีพิมพ์
วารสารที่มีคุณภาพ สามารถตรวจสอบได้จากฐานข้อมูล และ แหล่งสารสนเทศ
เพื่อการตีพิมพ์ ดังนี้

ฐานข้อมูล TCI (Thai-Journal Citation Index Centre)


1 ตรวจสอบรายชื่อวารสารได้ที่ https://tci-thailand.org/

ฐานข้อมูล Scopus
2 ตรวจสอบรายชื่อวารสารได้ที่ https://www.scopus.com/

ฐานข้อมูล Google Scholar


2 ตรวจสอบรายชื่อวารสารได้ที่ https://scholar.google.com/
https://tci-thailand.org/list%20journal.php
AI ที่ช่วยในการทำวิจัย
https://chat.openai.com/ ช่วยให้คำแนะนำหัวข้อ

PARAPHRASE TOOL https://paraphrasetool.com/ ช่วยแก้ไขสำนวน

https://scholar.google.com/หางานวิจัยและการอ้างอิง

https://www.turnitin.com/ ตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชการ

https://app.akarawisut.com/ตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรมทางวิชาการ
งานวิจัยจะสำเร็จได้ จากการ .. .
Vision & Mission
“เปิดใจ” และ “ลงมือทำ”
THANK YOU

You might also like