Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.

2 JUNE-DECEMBER 2019]

บทความปริทรรศน์
การถ่ ายภาพเอกซเรย์ Bone age ในผู้ป่วยเด็กไทยทีโ่ รงพยาบาลศิริราช
Bone age X-ray in Thai Children at Siriraj Hospital

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ วท.บ.รังสี เทคนิค


กนกอร เมืองแพน วท.บ.รังสี เทคนิค
บทคัดย่ อ
การเอกซเรย์กระดูก Bone age มีประโยชน์ช่วยในการวินิจฉัยดูอายุกระดูกเทียบกับอายุจริ ง ซึ่ งจะช่วยประเมิน
การเจริ ญเติ บโตในเด็กได้ โดยสาขาวิชารั งสี วินิจฉัย ภาควิชารั งสี วิทยาจะถ่ายภาพ Bone age 3 รู ป ได้แก่ Lt. Hand
include wrist PA, Lt. Elbow AP และ Lt. Elbow lateral โดยการถ่ายภาพเอกซเรย์จะต้องให้ได้ภาพที่มีคุณภาพและยัง
ต้องคานึงถึงหลักการป้ องกันอันตรายจากรังสี ให้แก่ผปู ่ วยเด็กที่มารับบริ การด้วย
คาสาคัญ Bone age , อายุกระดูก , การประเมินการเจริ ญเติบโตในเด็ก

Abstract
Bone age X-rays are useful in diagnosing bone age versus actual age. This will help assess the growth in
children. The division of Diagnostic Radiology, The Department of Radiology will protocol to take three Bone age
images: Lt. Hand include wrist PA, Lt. Elbow AP, and Lt. Elbow lateral, and must also take into account the principle
of radiation protection for the pediatrics patient who is served with bone age imaging.
Keywords: Bone age, bone age, pediatric growth assessment.

ภาควิชารังสี วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล


มหาวิทยาลัยมหิ ดล
54 | การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age
[VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019] วารสารรังสี วทิ ยาศิริราช

บทนา จากการสารวจภาวะสุ ขภาพ พัฒนาการ และการ


ความผิ ด ปกติ ใ นการเจริ ญเติ บ โตในเด็ ก เจริ ญเติ บ โตของเด็ ก ไทยใน พ.ศ. 2562 โดยส านั ก
หมายถึง เด็กที่มีความสูงต่าหรื อสู งกว่าค่าเฉลี่ยของเด็กที่ ส่ งเสริ มสุ ขภาพ กรมอนามั ย พบว่ า เด็ ก ปฐมวัย มี
เพศและอายุเดี ยวกันมากกว่า 2 ค่าเบี่ ยงเบนมาตรฐาน พัฒ นาการรวมปกติ ทุ ก ด้า นร้ อ ยละ 92.19 และสงสั ย
(Standard deviation ; SD) (1) ซึ่ งสามารถทราบได้โดยดู พัฒนาการล่าช้าร้อยละ 7.81(3)
จากกราฟแสดงการเจริ ญเติบโต (Growth chart) ร่ วมกับ
การวินิจฉัยจากการเอกซเรย์กระดูก (Bone age) การตรวจวินิจฉัยโรค
สาหรับการเอกซเรย์กระดูก จะทาโดยเอกซเรย์ เมื่ อ มี ผู ้ป่ วยมาพบแพทย์ แ ละสงสั ย ว่ า จะมี
มื อ ข้อ มื อ และข้อ ศอก เพื่ อ ใช้ใ นการวิ นิ จ ฉั ย ดู อ ายุ โครงสร้ า งของกระดู ก ผิด ปกติ การซัก ประวัติ ตรวจ
กระดูกว่าอายุกระดูกใกล้เคียงกับอายุจริ งหรื อไม่ อาจ ร่ า งกายอย่า งละเอี ย ดและภาพถ่ า ยรั ง สี มี ค วามส าคัญ
เจริ ญช้ากว่าหรื อเร็ วกว่าอายุจริ งก็ได้ ซึ่ งจะช่วยประเมิน อย่างยิ่งต่อการที่จะได้มาซึ่ งการวินิจฉัยโรค แม้ว่าการ
การเจริ ญเติบโตในเด็กได้ โดยการเจริ ญเติบโตในเด็กแต่ ตรวจสอบทางชี วเคมี (Biochemical test) และอณู พนั ธุ
ละวัยแตกต่างกัน สามารถจาแนกออกเป็ น 3 ช่วงอายุคือ ศาสตร์ (Molecular test) จะใช้ในการยืนยันการวินิจฉัย
- วัย ทารก (Infancy) หมายถึ ง อายุ ต้ ัง แต่ แต่ก็มีขอ้ จากัดที่ไม่สามารถตรวจได้ทุกที่ ในทางปฎิบตั ิ
แรกเกิดถึงอายุ 2 ปี นั้นข้อมูลจากลักษณะทางคลินิกและภาพถ่ายรังสี มักจะ
- วัยเด็ก (Childhood) หมายถึงอายุ 2 ถึง 8 เพียงพอที่จะช่วยชี้แนะในการให้การวินิจฉัยแยกโรคได้
ปี ในเด็กหญิงและอายุ 2 ถึง 10 ปี ในเด็กชาย ส่ วนการตรวจเพิ่มเติมทางอณู พนั ธุ ศาสตร์ (Molecular
- วัยรุ่ น (Puberty) หมายถึงอายุมากกว่า 8 test) นั้นจะช่วยกรณี ที่ไม่แน่ใจหรื อใช้เพื่อเป็ นการยืนยัน
ปี ในเด็กหญิงและอายุมากกว่า 10 ปี ในเด็กชาย (2) การวินิจฉัยเท่านั้น (4)
ภาพถ่ายทางรังสี ที่ได้จะต้องมีรายละเอียดของ
การประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการในเด็ก กระดู กที่ ครบถ้วน เพื่อให้เพียงพอต่อการวินิจฉัย ของ
ในการประเมินการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ แพทย์ โดยภาพเอกซเรย์ที่ได้น้ ันรั งสี แพทย์จะอ่านผล
ตรวจหาความผิดปกติหรื อความบกพร่ องเพื่อจะได้ให้ อ้ า งอิ ง จ ากหนั ง สื อ Radiographic Atlas of Skeletal
การวินิจฉัยและการแก้ไขปั ญหาแต่เนิ่นๆในรายที่เติบโต Development of the Hand and Wrist
ช้าหรื อมีพฒั นาการช้า ส่ วนในกรณี ที่มีการเจริ ญเติบโต
และพัฒนาการปกติหรื อเร็ ว ทาให้บิดามารดาของเด็ก การถ่ ายภาพเอกซเรย์ ทั่วไป
ทราบและแนะน าวิ ธี ที่ ป ฏิ บ ัติ ที่ เ หมาะสมต่ อ ไป โดย การถ่ายภาพเอกซเรย์กระดูกสาหรั บผูป้ ่ วยที่ มี
เกณฑ์การประเมินการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ ได้แก่ โครงสร้ างของกระดู กผิดปกติ น้ ี เป็ นการถ่ายภาพทาง
น้ าหนัก ความสูง และเส้นรอบวงของศีรษะ รังสี ของมือ ข้อมือ และข้อศอกด้านซ้าย หรื อด้านที่ไม่
ถนัด เพื่อบอกอายุพฒั นาการกระดูก สามารถนามาใช้

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ และคณะ 55


JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019]

รู ปที่ 1 ภาพแสดงส่ วนสู งตามเกณฑ์อายุของเพศหญิงสาหรับพ่อแม่ใช้ติดตามความสู งลูก


ที่มา http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/nutrition/images/file/ความยาว_ส่ วนสู ง_หญิง.pdf

รู ปที่ 2 ภาพแสดงส่ วนสู งตามเกณฑอายุของเพศชายสาหรับพ่อแม่ใช้ติดตามความสู งของลูก


ที่มา http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/nutrition/images/file/ความยาว_ส่ วนสู ง_ชาย.pdf
56 การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age
[VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019] วารสารรังสี วทิ ยาศิริราช

ตารางที่ 1 แสดงเกณฑ์การประเมินการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการในเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 10 ปี

อายุ นา้ หนัก ความสู ง เส้ นรอบวงศีรษะ

แรกเกิด 3 50 35

4 เดือน 6 60 40
(2 เท่าของแรกเกิด) (2.5 ซม./เดือน) (1.5ซม./เดือน)
1 ปี 9-10 75 45
(3 เท่าของแรกเกิด) (1.5 ซม./เดือน) (0.5 ซม./เดือน)
2 ปี 12 88 47
(4 เท่าของแรกเกิด) (13 ซม./ปี ) (2 ซม./ปี )
4 ปี 15-16 103-105 50
(5 เท่าของแรกเกิด) (6 ซม./ปี ) (1 ซม./ปี )
9-10 ปี 30-32 135 55
(10 เท่าของแรกเกิด) (5 ซม./ปี ) (0.5 ซม./ปี )

ประเมินการเจริ ญเติบโตในเด็กได้โดยเปรี ยบเทียบกับ รังสี เอกซ์ หรื อ X-ray คือรังสี ชนิ ดหนึ่ งที่อยู่ใน
อายุ จ ริ งของเด็ ก ที่ มี ปั ญหาด้ า นการเจริ ญเติ บ โต รู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic radiation)
ความสัมพันธ์ของอายุกระดูกและอายุจริ งสามารถนามา โดยจัดเป็ นรังสี ประเภทที่ทาให้เกิดการแตกตัว (Ionizing
พิ จ ารณาเพื่ อ วิ นิ จฉั ย ปั ญหาด้ า นการเจริ ญเติ บ โต radiation) โดยผลของรั ง สี มี ผ ลต่ อ มนุ ษ ย์ โดยเฉพาะ
นอกจากนี้ อายุก ระดู ก ยังสามารถน ามาใช้ติด ตามการ อย่างยิง่ ในเด็กจะมีความอันตรายมากกว่าผูใ้ หญ่เพราะว่า
รักษาหลังได้รับฮอร์โมนสาหรับภาวะการเจริ ญเติบโตที่ เด็กมีเนื้ อเยือ่ บางชนิดจะมีความไวมากกว่าผูใ้ หญ่ อีกทั้ง
ผิดปกติ ยังมีช่วงชีวิตที่เหลืออีกยาวนาน จึงต้องคานึงถึงหลักการ
สาหรับสาขาวิชารังสี วินิจฉัย ภาควิชารังสี วิทยา ป้ องกันอันตรายทางรังสี โดยการใช้รังสี ทุกครั้งจะต้อง
คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาลนั้น ได้ก าหนดการ คานึ งทั้งประโยชน์และอันตรายจากรังสี โดยต้องมัน่ ใจ
ถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age เอาไว้ 2 ตาแหน่ง 3 รู ป ได้แก่ ว่าต้องได้รับประโยชน์มากกว่าโทษ และต้องใช้ปริ มาณ
Left hand include wrist PA ( Postero- anterior) , left รังสี ที่นอ้ ยทีสุดเท่าที่สมควรจะได้รับโดยที่คุณภาพของ
elbow AP (Antero-posterior) , และ left elbow lateral ภาพยัง สามารถใช้ใ นการวิ นิ จ ฉั ย ได้ โดยมี แ นวทาง
ปฏิบตั ิดงั นี้
การป้องกันอันตรายจากรังสี แก่ผู้ป่วยเด็กทีม่ ารับบริการ

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ และคณะ 57


JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019]

รู ปที่ 3 ภาพเอกซเรย์ของกระดูกมือและข้อมือท่า PA (Posrtero-anterior)

A B
รู ปที่ 4 ภาพเอกซเรย์ของกระดูกข้อศอก (A) ท่า AP (Antero-posterior) , (B) ท่า Lateral

58 การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age


[VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019] วารสารรังสี วทิ ยาศิริราช

ตารางที่ 2 แสดงตัวอย่างค่า Exposure estimation chart ของ Bone age ที่ใช้ประจาห้องถ่ายภาพอกซเรย์ทวั่ ไปใน
หน่วยงานรังสี วินิจฉัย ตึกผูป้ ่ วยนอก โรงพยาบาลศิริราช

Exposure chart

Age SID
Examination Position Exposure technique Grid
(year) (inches)

kV mA mAS No Yes

0- 2 45 100 2  40

Lt. Hand include


PA 2-10 45 100 2.2  40
wrist
มากกว่า 10 50 125 4.5  40

0- 2 45 100 2.5  40

Lt. Elbow AP 2-10 45 100 2.5  40

มากกว่า
52 140 5.6  40
10

0- 2 45 100 25  40

Lt. Elbow Lateral 2-10 45 100 2.5  40

มากกว่า
52 140 5.6  40
10

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ และคณะ 59


JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019]

ตารางที่ 3 แสดงความถูกต้องของการจัดท่า (Position) และ Central ray

ภาพ การจัดท่ า (Position) Central ray


Lt. Hand include wrist PA ผูป้ ่ วยนัง่ เก้าอี้ปลายเตียง งอศอก 90 Third metacarpophalangeal joint
องศา คว่ามือวางแขนและมือบนกลาง
ฟิ ล์มให้ชิดฟิ ล์ม จัดท่าให้นิ้วเหยียดตรง
และกางนิ้วออกพอประมาณ

Lt. Elbow AP ผูป้ ่ วยนัง่ บนเก้าอี้ปลายเตียง เหยียด Elbow joint between epicondyles
ข้อศอก หงายมือวางบนกลางฟิ ล์ม ให้
หัวไหล่ ต้นแขนและข้อศอกอยูใ่ น
ระนาบเดียวกันให้แนวยาวของแขน
ขนานกับแนวยาวของฟิ ล์ม
Lt. Elbow lateral ผูป้ ่ วยนัง่ บนเก้าอี้ปลายเตียง งอศอก 90 Mid elbow joint
องศา วางบนกลางฟิ ล์มและตั้งมือขึ้น
กดหัวไหล่และแขนลงให้อยูร่ ะนาบ
เดียวกับฟิ ล์ม จัดท่าให้เป็ น True lateral

รู ปที่ 5 ภาพการจัดท่า Lt. Hand include wrist PA

60 การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age


[VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019] วารสารรังสี วทิ ยาศิริราช

รู ปที่ 6 ภาพการจัดท่า Lt. Elbow AP

รู ปที่ 7 ภาพการจัดท่า Lt. Elbow lateral

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ และคณะ 61


JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019]

1. ก่ อ นท าการตรวจเอกซเรย์ ต้ อ งเตรี ยม
เครื่ องเอกซเรย์ให้พร้ อม เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ใช้รังสี ที่ไม่แน่นอนหรื อการตรวจที่ลม้ เหลว
ทาให้ตอ้ งตรวจซ้ า
2. ให้เด็กสวมเสื้ อตะกัว่ กันรั งสี (Lead apron)
และแผ่ น ตะกั่ ว กั น รั ง สี บริ เวณไทรอยด์
(Thyroid shield) ถ้ า เป็ นเด็ ก เล็ ก หรื อไม่
สามารถสื่ อ สารให้เ ด็ก อยู่ใ นท่ า ที่ ต ้อ งการ
หรื อนิ่งได้ ต้องให้พ่อแม่หรื อผูป้ กครองที่มา
กับเด็กช่ วยจับ ซึ่ งต้องป้ องกันอันตรายจาก
รั งสี โดยใส่ เสื้ อตะกั่วกันรั งสี (Lead apron)
และแผ่ น ตะกั่ ว กั น รั ง สี บริ เวณไทรอยด์
(Thyroid shield) เช่นกัน
3. จัด ท่ า เด็ก ให้ถู ก ต้อ งและรวดเร็ ว อี ก ทั้ง ยัง
ต้ อ ง ก า ห น ด ข อ บ เ ข ต ข อ ง ล า รั ง สี
(Collimator) ให้พอดี เหมาะสมกับอวัยวะที่
ทาการตรวจ เพื่อช่วยลดปริ มาณรังสี ที่ผปู ้ ่ วย
จะได้รั บ และช่ ว ยลดรั ง สี ก ระเจิ ง (Scatter
รู ป ที่ 8 ภาพการใส่ เ สื้ อ ตะกั่ว กัน รั ง สี (Lead apron) และแผ่ น
ray) ทาให้คุณภาพของภาพดียงิ่ ขึ้น
ตะกัว่ กันรังสี บริ เวณไทรอยด์ (Thyroid shield)
4. ใช้เทคนิคให้เหมาะสม โดยใช้ปริ มาณรังสี ที่
เ ห ม า ะ ส ม ต า ม ต า ร า ง ที่ 2 พ ร้ อ ม กั บ
อย่ า งไรก็ ต ามภาพเอกซเรย์ ที่ ไ ด้ จะต้ อ ง
ตรวจสอบคุณภาพของภาพที่ได้
ประกอบด้วยคุณสมบัติตามมาตรฐาน คือภาพมีคุณภาพ
และให้ร ายละเอี ย ดของกระดู ก ได้จ ริ ง ดัง นั้น นัก รั ง สี
สรุป
การแพทย์จะต้องมีความรู ้ในกระบวนการจัดท่าและการ
การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age เป็ นการถ่ายภาพ
ถ่ายภาพเอกซเรย์ที่ครบถ้วน สามารถพิจารณาคุณภาพ
กระดู ก มื อ ข้อ มื อ และข้อ ศอกด้า นซ้า ยหรื อ ด้า นที่ ไ ม่
ของภาพที่ ได้ รวมถึ งต้องพิจารณาตั้งค่าปริ มาณรั งสี ที่
ถนัด เพื่อประเมินการเจริ ญเติบโตในเด็ก เป็ นการตรวจที่
เหมาะสมและการป้ องกันอันตรายจากรังสี ให้แก่ผปู ้ ่ วย
มีประสิ ทธิภาพ การจัดท่าไม่ยงุ่ ยาก กระบวนการได้ภาพ
เด็ ก ซึ่ งสมรรถนะทางวิ ช าชี พ นี้ เป็ นสิ่ งที่ นั ก รั ง สี
เอกซเรย์มีความรวดเร็ ว ทันต่อการวินิฉัย วางแผนการ
การแพทย์ต ้อ งฝึ กฝนและทบทวนการปฏิ บ ัติ อ ย่ า ง
รักษา และติดตามการรักษาได้
สม่าเสมอ เพื่อคุณภาพในการบริ การทางรังสี วิทยาทัว่ ไป

62 การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age


[VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019] วารสารรังสี วทิ ยาศิริราช

เอกสารอ้างอิง 5. อภิฉตั ร มาศเมธาทิพย์. การประเมินอายุกระดูก


1. นิ ภ าภัท ร์ วิ ศ วชัย พัน ธ์ . สาเหตุ แ ละการรั ก ษา ของเด็กไทยที่โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
ภาวะเด็กเตี้ ย [อิ นเตอร์ เน็ ต]. กรุ งเทพฯ: ศูนย์ โดยวิธีของ Greulich and Ryle. สวรรค์ประชา
กุ ม ารเวช โรงพยาบาลบ ารุ งราษฎร์ ; 2557 รักษ์เวชสาร [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 15
[เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: มกราคม 2563]; 15:40-47. เข้า ถึ ง ได้ จ าก:
https:// bumrungrad.com/th/health-blog/septem https://digitaljournals.moph.go.th/tdj/index.ph
ber-2014/short-stature p/SMJ/article/download/3424/3673
2. สมจิตร์ จารุ รัตนศิริกุล. การเจริ ญเติบโตในเด็ก 6. Radtechonduty. HAND X-RAY [อินเตอร์เน็ต].
วัยต่างๆ [อินเตอร์ เน็ต]. สงขลา: ภาควิชากุมาร Radtechoduty; 2558 [เข้า ถึ ง เมื่ อ 16 มกราคม
เ ว ช ศ า ส ต ร์ ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ 2563]. เข้า ถึ ง ได้ จ าก: http://.radtechoduty.
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ; 2560 [เข้าถึงเมื่อ com/2011/12/pa-projection-hand.html
1 6 ม ก ร า ค ม 2 5 6 3 ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก : 7. นิ ต ยา คชภัก ดี . การประเมิ น การเจริ ญ เติ บ โต
https://meded.psu.ac.th/binla/class05/388_551/ และพั ฒ นาการของเด็ ก [อิ น เตอร์ เน็ ต ].
Short_stature/index1.html กรุ งเทพฯ: บริ ษทั เอซ คอน (ไทยแลนด์) จากัด;
3. พิ ม พ์ด วงใจ ชัย ชนะ. แบบรายงานการตรวจ 2560 [เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2563]. เข้าถึงได้
ราชการระดับเขตสุ ขภาพ ประจาปี งบประมาณ จาก: https://.babybbb.com/article_detail.php?
พ.ศ.2562 [อินเตอร์ เน็ต]. กรุ งเทพ: กระทรวง nid=273
สาธารณสุ ข ; 2562 [เข้า ถึ ง เมื่ อ 16 มกราคม 8. ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ด ล . Radiation Protection
2563]. เข้าถึ งได้จาก: http://bie.moph.go.th/e- [อิ นเตอร์ เน็ต]. กรุ งเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์
insreport/file_report/2019-08-13-02-37-40- มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล; 2561 [เข้ า ถึ ง เมื่ อ 28
11.pdf ม ก ร า ค ม 2 5 6 3 ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :
4. ราชวิ ท ยาลัย กุ ม ารแพทย์แ ห่ ง ประเทศไทย https://med.mahidol.ac.th/radiology/sites/defau
สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. Guideline lt/files/public/training/Protection2018.pdf
in Child Health Supervision [อิ น เตอร์ เน็ ต ]. 9. International Atomic Energy Agency (IAEA).
กรุ งเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศ Radiation Protection [อินเตอร์เน็ต]. New York:
ไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย; 2557 International Atomic Energy Agency (IAEA);
[เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2563]. เข้าถึงได้จาก:
http://thaipediatrics.org/file_upload/files/Guid https:// iaea.org/sites/default/files/documents/
eline_in_Child_Health_Supervision_Part_1.pd rpop/ 1 0 _pearls_children_interventional_Thai.
f pdf

เสาวลักษณ์ พันธ์เรื องวงศ์ และคณะ 63


JOURNAL OF SIRIRAJ RADIOLOGY [VOL.6 NO.2 JUNE-DECEMBER 2019]

10. ส านัก โภชนาการ กรมอนามัย . กราฟแสดง


ความยาว/ส่ ว นสู ง ตามเกณฑ์ อ ายุ เ พศหญิ ง
สาหรับพ่อแม่ใช้ในการติดตามส่ วนสู งของลูก
[อิ น เตอร์ เ น็ ต ]. กรุ ง เทพฯ: ส านัก โภชนาการ
กรมอนามัย ; 2558 [เข้า ถึ ง เมื่ อ 28 มกราคม
2 5 6 3 ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก : http: / / nutrition.
anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/nutrition/im
ages/file/ความยาว_ส่ วนสูง_หญิง.pdf
11. ส านัก โภชนาการ กรมอนามัย . กราฟแสดง
ความยาว/ส่ วนสู งตามเกณฑ์ อ ายุ เ พศชาย
สาหรับพ่อแม่ใช้ในการติดตามส่ วนสู งของลูก
[อิ น เตอร์ เ น็ ต ]. กรุ ง เทพฯ: ส านัก โภชนาการ
กรมอนามัย ; 2558 [เข้า ถึ ง เมื่ อ 28 มกราคม
2563]. เข้า ถึ ง ได้จ าก: http://nutrition.anamai.
moph.go.th/ewtadmin/ewt/nutrition/images/fil
e/ความยาว_ส่ วนสูง_ชาย.pdf
12. Greulich W, Pyle S. Radiographic Atlas of
Skeletal Development of the Hand and Wrist.
2nd ed. California: Stanford University Press;
1959.

64 การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age

You might also like