Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)

ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548


DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

การศึกษาตาแหน่ งการเกิ ดดิ สชาร์จบางส่วนบนวัสดุฉนวนอะคริลิค


อัญญารัตน์ สอนสนาม1 สมพร วงษ์เพ็ง1 และ ธวัชชัย สอนสนาม2*
1 ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุร ี
*
ผูป้ ระสานงานเผยแพร่ (Corresponding author), E-mail: tawatchai.s@dru.ac.th

วันทีร่ บั บทความ: 6 ตุลาคม 2565; วันทีท่ บทวนบทความ: 14 พฤศจิกายน 2565; วันทีต่ อบรับบทความ: 19 ธันวาคม 2565
วันทีเ่ ผยแพร่ออนไลน์: 22 มีนาคม 2566

บทคัดย่อ: บทความนี้นาเสนอการตรวจจับดิสชาร์จบางส่วนบนฉนวนอะคริลคิ ซึ่งเป็ นวัสดุทน่ี ิยมใช้แพร่หลายในงาน


ป้ องกันส่วนทีเ่ ป็ นบัสบาร์และต่อเชื่อมในส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้ า งานวิจยั นี้ได้ออกแบบและสร้างชุดตรวจจับ
ดิสชาร์จบางส่วนทีเ่ กิดขึน้ จากการจาลองกับฉนวนอะคริลคิ ที่ใช้เป็ นฉนวนไฟฟ้ าในการทดลอง โดยใช้หลักการวิธวี ดั
กระแสความถี่สูงที่เกิดขึ้นจากการเกิดดิสชาร์จบางส่ วนในฉนวนไฟฟ้ าเมื่อได้รบั แรงดันสูง ผู้วิจยั ได้ ใช้ชุดวงจร
อินทิเกรทร่วมกับอุปกรณ์ ตรวจจับกระแสความถี่สูง ซึ่งสามารถเหนี่ยวนาสัญญาณได้ตงั ้ แต่ 500 กิโลเฮิร์ตซ์ข้นึ ไป
การใช้งานอุปกรณ์ตรวจจับสามารถนาไปคล้องกับสายตัวนาชุดทดลองเพื่อให้เกิดการเหนี่ ยวนาสัญญาณผ่านวงจร
อินทิเกรท ผลการทดลองพบว่าอุปกรณ์ทส่ี ร้างขึน้ สามารถตรวจวัดสัญญาณการเกิดดิสชาร์จบางส่วนบนผิวและในเนื้อ
ของฉนวน รวมทัง้ โคโรน่ าดิสชาร์ จ ที่ ต าแหน่ งปลายแหลมทางด้ านแรงดัน สู งและด้ านกราวด์ ได้ เป็ นอย่ างดี
ประสิ ท ธิ ภ าพของอุ ป กรณ์ ก ารตรวจจับ เกิ ด ดิ สชาร์ จ บางส่ ว นเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 60270 และรู ป คลื่ น
ของสัญญาณเป็ นไปตามรูปแบบมาตรฐานที่ก าหนดซึ่งสามารถใช้อ้างอิงต าแหน่ งการเกิดดิสชาร์จบางส่ วนบน
ฉนวนอะคริลคิ ได้

คาสาคัญ: โคโรน่า; ดิสชาร์จบางส่วน; แรงดันเบรกดาวน์; อะคริลคิ

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


52
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

A Study of the Partial Discharge Position on Acrylic Insulation


Anyarat Sonsanam1, Somporn Vongpeang1 and Tawatchai Sonsanam2*
1 Department of Industrial Education, Faculty of Technical Education,
Rajamangala University of Technology Thanyaburi
2 Division of Electrical Engineering, Faculty of Science and Technology, Dhonburi Rajabhat University

* Corresponding author, E-mail: tawatchai.s@dru.ac.th

Received: 6 June 2022; Revised: 14 November 2022; Accepted: 19 December 2022


Online Published: 22 March 2023

Abstract: This paper presents the design and construction of partial discharge detection from simulation
with acrylic insulation instead of general electrical insulation by using the concept of measurement of
high current frequency from partial discharge on insulation when high voltage was supplied. An
integrated circuit was created to use together with a high current frequency detection signal from 500
kHz or more frequency. Partial discharge detection can hook on the conductor to induce magnetic
induction and signal through integrated circuits. The result showed that this tool was able to detect
partial discharge signals on the surface and internal of the insulator, including the corona discharge that
occurs at the high voltage rod and the ground rod as well. The testing of efficiency detection was similar
according to IEC 60270 standard. It can be used to refer to the partial discharge position on acrylic
insulation.

Keywords: Corona; Partial Discharge; Breakdown Voltage; Acrylic

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


53
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

1. บทนา ดิสชาร์จนัน้ ไม่มากพอทีจ่ ะทาให้ฉนวนเปลีย่ นสภาพจาก


ปั จจัยสาคัญ ของการใช้แรงดันไฟฟ้ าทุ กระดับคือ ฉนวนเป็ นตัวนาได้สมบูรณ์ ดิสชาร์จบางส่วนเป็ นหนึ่ง
การฉนวน ซึ่งหมายถึงวัสดุ ท่ีน ามาใช้เป็ นฉนวนและ ในปั จ จัย หลัก ที่ ส ามารถน าไปสู่ ค วามผิ ด พร่ อ งของ
เทคนิคการฉนวน กล่าวคือ ที่ใดมีไฟฟ้ าแรงดันสูงที่นัน่ อุ ป กรณ์ ไฟฟ้ าก าลัง ยิ่ ง ไปกว่ านี้ ดิ ส ชาร์ จ บางส่ ว น
ย่อมมีการฉนวนเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สามารถท าลายระบบฉนวน และท าให้ เ กิ ด การ
และสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ข้าไปใกล้หรือสัมผัสไฟฟ้ าแรงดันสูงและ เสื่อมสภาพของระบบฉนวน [3] ซึ่งเป็ นต้นเหตุท่ที าให้
ป้ องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจรของระบบไฟฟ้ าระหว่าง ฉนวนเกิดการเสื่อมสภาพแล้วนาไปสู่การเบรกดาวน์ใน
สายเฟสกับ สายเฟสหรือสายเฟสกับ สายดิน ในการ ที่ สุ ด ดั ง นั ้ น อุ ป กรณ์ ไฟฟ้ าที่ ใ ช้ กั บ แรงดั น สู ง จึ ง
ฉนวนอุปกรณ์ ไฟฟ้ าแรงสูงนัน้ จะทาได้ง่ายหากมีพ้นื ที่ จาเป็ นต้องมีการทดลองการวัดค่าดิสชาร์จบางส่วนก่อน
ว่ างมากเพี ย งพอหรือ เป็ นการฉนวนที่ ระดั บ ไฟฟ้ า นาไปใช้งานหรือระหว่างที่ใช้งานไปได้ระยะหนึ่ งแล้ว
แรงดันต่ าซึ่งจะใช้เทคนิ คการฉนวนที่ไม่ ซับซ้ อนเท่ า การตรวจติดตามอุปกรณ์ ไฟฟ้ าแรงสู งนัน้ จะท าให้พบ
แรงดันสูงหากแต่การฉนวนไฟฟ้ าแรงดันสูงและมีการ ความบกพร่องในอุปกรณ์ ก่อนที่จะได้รบั ความเสียหาย
จากัดพื้นที่ต้องออกแบบการฉนวนให้ดีและค านึ งถึง และจะท าให้ ก ารท างานของระบบไฟฟ้ าแรงสู ง มี
ค่ าใช้ จ่ าย ดังนั ้น ผู้ อ อกแบบจึงจ าเป็ นต้ อ งมี ค วามรู้ ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือมากยิง่ ขึน้ [4] โดยเป็ น
พื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของสนามไฟฟ้ า ความเครียด การทดลองแบบไม่ทาลาย เนื่องจากการวัดค่าดิสชาร์จ
สนามไฟฟ้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคงทนของฉนวน บางส่วนเป็ นการวัดค่าการดิสชาร์จภายในเนื้อฉนวนซึ่ง
ต่อความเครียดสนามไฟฟ้ า [1] เกิดจากโพรงก๊ าชหรือการมีสิ่งเจือปนอยู่ภายในเนื้ อ
ปั จจุ บ ั น ฉนวนในอุ ป กรณ์ ไฟฟ้ าแรงสู ง นั ้น เป็ น ฉนวน ณ ต าแหน่ งต่ าง ๆ ของอุ ป กรณ์ การดิสชาร์ จ
ส่วนประกอบหลักที่สาคัญ โดยทัวไปฉนวนไฟฟ้่ านัน้ มี ภายในภายใต้ความเครียดสนามไฟฟ้ าและระยะเวลา
ความต้ านทานสู ง ความต้ านทานของฉนวนไม่ ได้ มี การดิสชาร์จทาให้ฉนวนเกิดการเบรกดาวน์ ในที่สุด [5]
ความสัมพันธ์กบั ความแข็งแรงไดอิเล็กทริกซึ่งพิจารณา ดังนั น้ ผู้วิจยั จึงได้เกิดแนวความคิดในการศึกษาวัสดุ
ได้จากเกรเดียนต์หรือความหนาแน่ นฟลักซ์ไฟฟ้ า ถ้า ฉนวนอะคริลคิ เนื่องจากเป็ นทีน่ ิยมประยุกต์ใช้กนั ้ ส่วนที่
สนามไฟฟ้ าที่ให้กับ ฉนวนมีค่ าสู งกว่ าความแข็งแรง มี ไฟ ฟ้ าอย่ างแ พ ร่ ห ลาย เพื่ อ ป ระเมิ น แ ละห า
ไดอิเล็กทริกของฉนวนจะเกิดการเบรกดาวน์ของฉนวน ความสัม พั น ธ์ ข องแรงดัน ไฟฟ้ าเบรกดาวน์ ระหว่ าง
ขึ้น [2] หรือถ้าหากฉนวนเกิดความบกพร่องเนื่องจาก อิเล็กโทรด [6] และรูปแบบของการเกิดดิสชาร์จบางส่วน
การผลิตหรือใช้งานอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยอ้างอิงตามมาตรฐานทีก่ าหนด [7-9]
หรือได้รบั แรงดันเกินเป็ นระยะเวลานานจะทาให้เกิดการ จากงานวิจ ัยผ่ านมาพบว่ าในการจ าแนกรูป แบบ
เสื่อมสภาพของฉนวนได้ โดยสภาพเช่ นนี้ อาจท าให้ ดิสชาร์จบางส่ วนที่นิ ยมและใช้กันมากมี 3 แบบ คือ
อุปกรณ์ ไฟฟ้ าแรงสูงเกิดดิสชาร์จบางส่ วนซึ่งเป็ นการ แบบที่ 1 คือการตรวจวัดดิสชาร์จบางส่วนทีต่ อ้ งจัดกลุ่ม
เกิดเบรกดาวน์ทไ่ี ม่สมบูรณ์โดยพลังงานทีท่ าให้เกิดการ ลักษณะการเกิดขึ้นหรือการจาแนกประเภท แบบที่ 2

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


54
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

คือ การค านวณหาค่ าของการเกิ ดดิสชาร์จบางส่ วน 10 เมกกะเฮิร์ต หรือมากกว่า มีค่าอัตราสูงสุดของการ


แต่ ล ะชนิ ด เพื่ อ ใช้ เป็ นข้ อ มู ล ในการจ าและจ าแนก เปลี่ยนแปลงของเอาต์พุต (Slew Rare) และช่วงเวลาที่
ประเภทโดยใช้เทคนิคในการเลือกลักษณะที่เหมาะสม ผลตอบสนองเมื่อสัญ ญาณเอาต์ พุ ต (Rise Time) ต่ า
เพื่อลดจานวนให้น้อยลง และแบบที่ 3 คือการจาแนก เพื่อลดปั ญหาความผิดเพีย้ นของรูปสัญญาณเพื่อให้การ
ประเภทของดิสชาร์จบางส่วนโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์เข้า วัดมีความแม่นยามากยิง่ ขึน้
ช่วย ซึ่งในงานวิจยั นี้ผวู้ จิ ยั ได้สร้างอุปกรณ์การตรวจจับ จากข้อมูลข้างต้นจึงเลือกใช้ออปแอมป์ ทีเ่ หมาะสมกับ
ดิสชาร์จบางส่วนตามมาตรฐานและวัดสัญญาณบนฐาน การใช้งานนี้ คือ เบอร์ LM6181IN และท าการจ าลอง
เวลารูปคลื่นไซด์ วงจรอินทิเกรทเพื่อหาค่ า Frequency Response และ
Bandwidth ของตัววงจรอินทิเกรท หลังจากนั น้ จะท า
2. ระเบียบวิ ธีการ การประกอบสร้างชุ ดอินทิเกรทขึ้นและน าไปทดลอง
2.1 การเตรียมอุปกรณ์การทดลอง ร่วมกับชุดวัดกระแสความถี่สูง เพื่อใช้ในการวิเคราะห์
สาหรับการออกแบบวงจรจะพิจารณาจากความถี่ท่ี ผลในการหารูปแบบของการเกิดดิสชาร์จบางส่วน ซึ่ง
เกิ ดดิ สชาร์จ บางส่ วนในรู ป แบบต่ าง ๆ คือ โคโรน่ า ช่ วงความถี่ท่ีได้ออกแบบและอัตราการขยายเป็ นไป
ดิสชาร์จ (Corona Discharge) ดิสชาร์จภายใน (Internal ดังสมการที่ 1-2 [13-14]
Discharge) และดิสชาร์จตามผิว (Surface Discharge)
ซึ่ งความถี่ ข องกระแสดิสชาร์ จบางส่ วนจะเกิ ด ขึ้น ใน FL =
1
(1)
2π × R1 C1
ความถีต่ งั ้ แต่ระดับกิโลเฮิรตซ์จนถึงเมกกะเฮิรตซ์ ดังนัน้ 1
=
การออกแบบจึ งให้ ค รอบคลุ ม ย่ า นความถี่ ห รือ ช่ ว ง 2π × 200 × 6800 × 10−12
= 117 กิโลเฮิรต์
ความถี่ของดิสชาร์จบางส่ วนที่ชุ ดเหนี่ ยวน ากระแสที่
1 (2)
สามารถวัดได้ [3-4] FH =
2π × R 2 C2
งานวิจยั นี้เลือกใช้วงจรอินทิเกรทแบบแอคทีฟตัว 1
=
กรองสัญญาณช่วงความถี่ย่านที่กว้าง ตามมาตรฐาน 2π × 200 × 100 × 10−12
=8 เมกกะเฮิรต์
IEC 60270 ระบุ ว่ า ความถี่ ข องอุ ป กรณ์ วั ด ที่ จ ะใช้
AV = R4 : R3 = 300:100 = 3:1
ตรวจจับดิสชาร์จบางส่วนนัน้ ต้องสามารถตอบสนองได้
ตัง้ แต่ 500 กิโลเฮิร์ต ขึน้ ไปและช่วงความถี่ของการเกิด เมื่อ FL คือ ความถีต่ ่าสุดทีผ่ ่านได้
ดิสชาร์จบางส่วนในแต่ละรูปแบบมีค่าในระดับ 1 เมกกะ FH คือ ความถีส่ งู สุดทีผ่ ่านได้
AV คือ อัตราการขยายกลับเฟส
เฮิร์ต ขึ้นไปและค่าขนาดแรงดันที่วดั ได้อยู่ในช่วง 200- R1, R2 คือ Element Input ของวงจรอินทิเกรท
1000 มิลลิโวลต์ ลักษณะเป็ นรูปคลื่นพัลส์ความถี่สูง [7] C1, C2 คือ Feedback Element ของวงจรอินทิเกรท
ดังนัน้ การเลือกออปแอมป์ จะต้องมีคุณสมบัตติ อบสนอง R3, R4 คือ ความต้านทานของวงจรขยายกลับเฟส
ความถี่ อ ยู่ ในช่ ว ง 500 กิ โลเฮิ ร์ ต ขึ้น ไปจนถึ งระดับ

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


55
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

วงจรอินทิเกรทที่ได้ทาการออกแบบเป็ นชนิ ดตัว


กรองความถีร่ วม (Band Pass Filter) โดยออกแบบให้
มีช่วงความถี่ 117 กิโลเฮิร์ต ถึง 8 เมกกะเฮิร์ต และมี
อัตราการขยายอินพุตต่อเอาท์พุตเท่ากับ 1:3 ในการ
ทดลองจะป้ อนสัญญาณรูปคลื่นไซด์ (Sinusoidal) เพื่อ
ทดลองรูปคลื่นสัญญาณโดยให้ CH1 คือ อินพุต และ
CH2 คือ เอาท์พุตจากวงจรอินทิเกรท ดังรูปที่ 1-4
รูปที่ 1 การจาลองวงจรอินทิเกรทและวงจรขยาย
2.2 การออกแบบอุปกรณ์วดั กระแสความถี่สูง
(High Frequency Current Transformer)
การเลื อ กใช้ ว ัส ดุ ต้ อ งเลื อ กอุ ป กรณ์ ที่ ส ามารถ
ตอบสนองต่อความถี่ท่ตี ้องการใช้งาน จากการศึกษา
การออกแบบอุปกรณ์วดั กระแสความถี่สูง พบว่าแกน
เฟอร์ไรท์ทเ่ี หมาะสมและจัดหามาใช้ได้กบั งานวิจยั นี้ก็
คือ แกนเฟอร์ไรท์แบบวงแหวน (Ferrite Ring Core) รูปที่ 2 การจาลองวงจรออปแอมป์
ลักษณะรูปร่างของและสายการวัด แสดงดังรูปที่ 5
2.3 การออกแบบจาลองการเกิ ดดิ สชาร์จบางส่วน
อุ ป กรณ์ ทดลองที่ ใ ช้ เพื่ อ จ าลองสภาวะการเกิ ด
ดิสชาร์จบางส่วนแบ่งออกเป็ น 3 รูปแบบ คือ การเกิด
ดิสชาร์จบางส่วนภายใน การเกิดดิสชาร์จบางส่วนที่
ผิว และการเกิดโคโรน่าดิสชาร์จทีแ่ กปปลายแหลม รูปที่ 3 สัญญาณจากการจาลองทีค่ วามถี่
ผู้วิจยั เลือกวัสดุฉนวนชนิดอะคริลคิ ตัดเป็ นรูปทรง 500 กิโลเฮิรต์
กลมใช้ในการจาลองการเกิดดิสชาร์จบางส่วนภายใน
และการเกิดดิสชาร์จบางส่วนตามผิว ส่วนการทดลอง
การเกิดโคโรน่ าดิสชาร์จที่แกปปลายแหลมจะใช้วสั ดุ
ทองเหลืองกลึงขึ้นรูปให้ปลายแหลมทามุม 45 องศา
และอี ก ด้ า นเป็ นแผ่ น ทองเหลื อ งระนาบลั ก ษณะ
จานกลม ซึ่ ง วัส ดุ ท ดลองทัง้ สามรูป แบบ แสดงได้ รูปที่ 4 สัญญาณจากการจาลองทีค่ วามถี่
ดังรูปที่ 6-8 1 เมกกะเฮิรต์

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


56
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

2.4 วงจรทดลองการเกิ ดดิ สชาร์จบางส่วน


ว ง จ ร ท ด ล อ ง ก า ร เกิ ด ดิ ส ช า ร์ จ บ า ง ส่ ว น
ประกอบด้ว ย ตัว ปรับ แหล่ งจ่ ายแรงดัน กระแสสลับ
(Variac) 0-220 โวลต์ เชื่อมต่อกับหม้อแปลงทดลอง
แรงสู ง ขนาด 0-15 กิ โ ลโวลต์ (Single-Phase AC
Voltage Test Transformer) เพื่อป้ อนแรงดันสูงให้กบั
ชุดทดลอง (Test Object) [8-9] โดยวัดสัญ ญาณจาก
อุ ป กรณ์ ตรวจจั บ กระแสความถี่ สู ง (HFCT) และ
รูปที่ 5 แกนเฟอร์ไรท์แบบวงแหวน แสดงผลบนออสซิลโลสโคปบนฐานเวลารูปคลื่นไซด์
ตามมาตรฐาน IEC 60270 [7] ดังรูปที่ 9-10

3. ผลการทดลอง
3.1. ผลการตรวจวัด สัญ ญาณการเกิ ด ดิ ส ชาร์จ
บางส่วนแบบต่าง ๆ
รูปที่ 6 วัสดุทดลองสาหรับการดิสชาร์จทีผ่ วิ การทดลองตรวจวัด รู ป แบบสัญ ญาณการเกิ ด
ดิสชาร์จบางส่วนนัน้ จะทาการเพิม่ แรงดันกระแสสลับ
จากแหล่ ง จ่า ยหม้อ แปลงแรงดัน สูง และสัง เกตการ
เปลี่ ย นแปลงด้ ว ยปรากฏการณ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้น กั บ วัส ดุ
ทดสอบร่วมกับสัญญาณพัลส์ดสิ ชาร์จที่ตรวจจับได้ใน
รูปที่ 7 วัสดุทดลองสาหรับการดิสชาร์จภายใน ออสซิลโลสโคป (CH2) บนฐานเวลารูปคลื่นไซด์ และ
การตรวจวัดแรงดันทีท่ าการจ่ายให้กบั วัสดุทดสอบนัน้
ท าการวัด โดยใช้ โ วลเตจดิ ไ วเดอร์ ซ่ึ ง วัด ทางด้ า น
แรงดันสูงของหม้อแปลงทดสอบ (CH3)
สาหรับการเกิดดิสชาร์จภายในเนื้อฉนวนในรูปที่
11 ปรากฏการณ์ดสิ ชาร์จจะเริม่ เกิดขึน้ เมื่อทาการเพิม่
แรงดันทดลองจนถึง 6.2 กิโลโวลต์ ของวัสดุทดลอง
หนา 1 เซนติเมตร ค่ ายอดของกระแสดิสชาร์จ จะมี
ขนาดใกล้เคียงกันเมื่อเปรียบเทียบระหว่างไซเคิลบวก
หรือไซเคิลลบทางด้านเดียวกันของรูปคลื่นไซด์
รูปที่ 8 การทดลองสาหรับการดิสชาร์จแบบโคโรน่า

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


57
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

รูปที่ 9 วงจรทดลองการเกิดดิสชาร์จบางส่วน

รูปที่ 11 การเกิดดิสชาร์จบางส่วนภายในเนื้อฉนวน

รูปที่ 10 วงจรจริงทีใ่ ช้ในการทดลองดิสชาร์จบางส่วน


สาหรับการเกิดดิสชาร์จ ตามผิวแสดงดังรูปที่ 12
การเกิดดิสชาร์จเกิดขึน้ เมื่อแรงดันทดลองสูงขึน้ ถึง 7.2
กิโลโวลต์ ของวัสดุ ทดลองหนา 1 เซนติเมตร ปรากฏ
การดิสชาร์จบางส่วนจะเกิดขึน้ ก่อนค่าแรงดันทดลองขึน้ รูปที่ 12 การเกิดดิสชาร์จบางส่วนตามผิวของฉนวน
ถึงจุดสูงสุด แต่การเกิดดิสชาร์จบางส่วนตามผิวนี้พบว่า
ระดับความสูงของพัลส์หรือประจุของไซเคิลบวกและลบ
ไม่เท่ากันโดยที่ประจุหรือพัลส์ในไซเคิลบวกจะมีขนาด
ต่ากว่าประจุหรือพัลส์ในไซเคิลลบ
การเกิ ด โคโรน่ า ดิสชาร์ จที่ ป ลายแหลมทางด้ า น
กราวด์มีผลตรวจวัดตามรูปที่ 13 พบว่าปรากฏการณ์
ดิสชาร์จเกิดเพียงไซเคิลใดไซเคิลหนึ่ง จากรูปมีประจุ
หรือพัลส์เกิดขึ้นรอบๆ ค่ายอดของแรงดันเพียงไซเคิล
บวกเท่ านั ้น การเกิ ด โคโรน่ า ดิสชาร์ จที่ป ลายแหลม
ทางด้านกราวด์จะเริ่มเกิดขึ้นเมื่อแรงดันทดลองเพิ่ม รูปที่ 13 การเกิดโคโรน่าดิสชาร์จทีป่ ลายแหลม
สู ง ถึ ง 4.5 กิ โ ลโวลต์ ที่ ร ะยะห่ างของช่ อ งอากาศ ทางด้านกราวด์ทร่ี ะยะห่างของช่องอากาศ
1 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


58
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

รูปที่ 14 แสดงการเกิดโคโรน่ าดิสชาร์จปลายแหลม


ทางด้านแรงดัน สูง พบว่ าปรากฏการณ์ การดิสชาร์จ
เกิดขึ้นเพียงไซเคิลใดไซเคิลหนึ่ง จากรูปพบว่ามีประจุ
หรือกระแสพัลส์เกิดขึ้นรอบๆ ค่ายอดของแรงดันเพียง
ไซเคิลลบเท่านัน้ การเกิดโคโรน่ าดิสชาร์จทีป่ ลายแหลม
ทางด้านแรงดันสูงจะเริม่ เกิดขึ้นเมื่อแรงดันทดลองเพิ่ม
สู ง ถึ ง 4.2 กิ โ ลโวลต์ ที่ ร ะยะห่ างของช่ อ งอากาศ
1 เซนติเมตร
ผลการวัดดิสชาร์จบางส่วนแบบโคโรน่ าดิสชาร์จโดย รูปที่ 14 การเกิดโคโรน่าดิสชาร์จทีป่ ลายแหลม
ให้ปลายแหลมเป็ นด้านแรงดันสูงดังรูปที่ 14 การเกิด ทางด้านแรงสูงทีร่ ะยะห่างของช่องอากาศ
โคโรน่ าดิสชาร์จเกิดที่ต าแหน่ ง 90 องศา ของรูปคลื่น 1 เซนติเมตร
ไซน์และเมื่อเปลี่ยนให้ปลายแหลายเป็ นกราวด์ตาแหน่ ง อะคริลคิ ที่มรี ูโพรงข้างใน กรณีปลายแหลม ด้านกราวด์
การเกิดดิสชาร์จบางส่ วนยังเกิดที่ต าแหน่ ง 90 องศา และกรณีปลายแหลมด้านไฟฟ้ าแรงดันสูง ตามลาดับ
เหมือนเดิมแต่อยู่ในซีกบวกของแรงดันทดลอง จากผลการทดลองพบว่าเมื่อเปรียบเทียบแรงดันเบรก
จากผลการทดลองได้ทาการการเปรียบเทียบผลการ ดาวน์ ข องรูป แบบการทดลองที่ 2 มีค่า แรงดัน น้ อ ย
วัดที่จากอุปกรณ์วดั กระแสความถี่สูงที่ได้ออกแบบและ กว่ า รู ป แบบการทดลองที่ 1 เท่ า กับ 5.1 กิ โ ลโวลต์
สร้างขึ้น จากแกนเฟอร์ ไรท์ เบอร์ Ferrite Ring Core หรือ 28.98 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากรูปแบบการทดลองที่
742 702 5 พัน ด้วยลวดตัวน าจ านวนรอบเท่ ากัน คือ 2 นั น้ จาลองให้วสั ดุ ไม่ เป็ น เนื้ อ เดีย วกัน โดยให้เกิด รู
25 รอบ พบว่าลักษณะและตาแหน่ งของสัญญาณกระแส โพรงอากาศตรงกลางเมื่อแรงดันที่ตกคร่อมช่องว่าง
พั ล ส์ ไ ด้ จ ากแกนเฟอร์ ไ รท์ มี ลั ก ษณะใกล้ เคี ย งกั บ อากาศจะเกื อ บเท่ า กับ แรงดัน ทัง้ หมดระหว่ า งขัว้
ลักษณะกระแสพัลส์หรือรูปแบบการเกิดดิสชาร์จตาม อิเล็กโทรด การสปาร์กจะเกิดในช่องว่างอากาศก่อน
มาตรฐานและสามารถแยกรู ป แบบการเกิ ด ดิสชาร์ จ เรีย กว่า การเกิด ดิสชาร์จ บางส่ วนและท าให้มีป ระจุ
บางส่วนได้ชดั เจนและสามารถเหนี่ ยวนากระแสที่เกิด เกิ ด ขึ้ น บนผิ ว ฉนวนเพิ่ ม ขึ้น มี ป ระจุ ส ะสมอยู่ ม าก
การดิสชาร์จได้ดี เนื่ องจากมี ค่ าไดอิ เ ล็ ก ท ริ ก ต่ า มี ค วาม เค รี ย ด
การทดลองฉนวนทางไฟฟ้ าแรงสูงอีกรูปแบบหนึ่งที่ สนามไฟฟ้ าสูงกว่าบริเวณอื่นและมีค่าเปอร์มติ ติวติ ้ตี ่า
นิยมทาการวัดค่าคือ แรงดันเบรกดาวน์ของฉนวนไม่ว่า กว่าเนื้อฉนวนหลักเมื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้ าจะเกิดความ
ช่องว่างอากาศหรือวัสดุ ฉนวนแข็งที่นามาใช้งานเพื่อ ร้อนเกิดขึน้ มากกว่าบริเวณส่วนอื่น ฉะนัน้ สนามไฟฟ้ า
สังเกตุและประเมินผลกลไกการเกิดเบรกดาวน์ [10-11] ภายในช่องว่างจึงเกิดขึน้ มากกว่าค่าแรงดันเบรกดาวน์
จากรู ป ที่ 15 คือ ค่ าแรงดัน เบรกดาวน์ ของ รู ป แบบ ท าให้น าไปสู่ก ารเบรกดาวน์ ท่ี เร็ว กว่ าวัสดุ อ ะคริลิค
การทดลองที่ 1-4 คือ กรณีวสั ดุอะคริลคิ ปกติ กรณีวสั ดุ รูปแบบที่ 1 [12-13]

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


59
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

รูปที่ 15 แรงดันเบรกดาวน์ของการทดลองแต่ละกรณี

เมื่อเปรียบเทียบแรงดันเบรกดาวน์ของรูปแบบการ ต่อระยะปลายแหลมให้ระยะห่างระหว่างปลายแหลม
ทดลองที่ 3 และ 4 พบว่า อิเล็กโทรดปลายแหลมขัว้ กับแผ่นระนาบสัน้ ลงขณะที่ความเครียดสนามไฟฟ้ า
แรงดันสูงเมื่อเทียบกับแผ่นระนาบเมื่อแรงดันสูงถึงค่า เพิ่ ม ขึ้น ระหว่ า งช่ อ งว่ า งของปลายแหลมกั บ แผ่ น
แรงดันคอโรนาเริม่ เกิด ก๊าซที่อยู่ระหว่างปลายแหลม ระนาบเป็ นผลทาให้เกิดเบรกดาวน์ได้งา่ ยนั ่นคือ ประจุ
กับแผ่นระนาบจะเกิดการแตกตัวบริเวณทีป่ ลายแหลม คงค้า งท าให้ แ รงดัน เบรกดาวน์ ข วั ้ บวกลดลงท าให้
ซึง่ อิเล็กตรอนมีสมบัตเิ คลื่อนทีไ่ ด้เร็วจะวิง่ เข้าหาปลาย แรงดัน เบรกดาวน์ รู ป แบบการทดลองที่ 4 ต่ า กว่ า
แหลมที่มีศกั ย์เป็ นบวกหรือแอโนด ทาให้วตั ถุปลาย รูปแบบการทดลองที่ 3 [1, 14]
แหลมมีสภาพเป็ นกลางทางไฟฟ้ า ขณะทีไ่ อออนบวก
ถู ก ดึง อิ เ ล็ ก ตรอนออกไปบริเวณปลายแหลมซึ่ ง มี 4. สรุปผลการทดลอง
สมบัติเคลื่อนทีไ่ ด้ช้ากว่าอิเล็กตรอนค้างอยู่บริเวณผิว จากผลการวัด ดิ ส ชาร์ จ บางส่ ว นแบบโคโรน่ า
ปลายแหลมเป็ นผลท าให้ค วามเครีย ดทางไฟฟ้ าที่ ดิสชาร์จโดยให้ปลายแหลมเป็ นด้านแรงดันสูง การเกิด
บริเ วณปลายแหลมลดลง แต่ ใ นทางตรงกั น ข้ า ม โคโรน่ า ดิ ส ชาร์ จ จะเกิ ด ที่ ต าแหน่ ง 90 องศา ของ
ความเครีย ดของสนามไฟฟ้ าจะไปเกิด ขึ้น ที่บ ริเวณ รูปคลื่นไซน์และเมื่อเปลี่ยนให้ปลายแหลายเป็ นกราวด์
แผ่ น ระนาบสูงขึ้น อัน เนื่ อ งมาจากประจุ ไอออนบวก ตาแหน่ งการเกิดดิสชาร์จบางส่วนยังเกิด ที่ต าแหน่ ง
หน้าปลายแหลมที่ค้างอยู่คล้ายกับปลายอิเล็กโทรดมี 90 องศา เหมือนเดิมแต่อยู่ในฝั ง่ ด้านบวกของแรงดัน
พื้นที่ม ากขึ้น และการสะสมตัวของไอออนสูงเหมือ น ทดลอง

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


60
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

ดิ สชาร์ จ บางส่ ว นภายในเนื้ อ ฉนวนพบว่ า คลื่ น 5. กิ ตติ กรรมประกาศ


ตาแหน่ งที่เกิดจะเกิดขึ้นที่มุมระหว่าง 0-90 องศา และ ผู้วิจ ัย ขอขอบคุ ณ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ ธนบุ รีท่ี
180-270 องศา การทดลองการเกิดดิสชาร์จบางส่ วน อนุเคราะห์สถานทีแ่ ละเครื่องมือในการทดลอง
ตามผิวของฉนวนจะเกิดที่มุมเฟสระหว่าง 0-90 องศา
และ 180-270 องศา เหมือนกับดิสชาร์จบางส่วนภายใน 6. เอกสารอ้างอิ ง
ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการเกิดดิสชาร์จบางส่วน [1] M. Abdel-Salam, H. Anis, A. El-Morshedy and
ตามผิวนัน้ ไซเคิลบวกมีกระแสดิสชาร์จบางส่วนน้ อย R. Radwan, High voltage engineering: Theory
กว่าไซเคิลลบ and practice, Marcel Dekker Inc., NY, USA,
ขนาดของแรงดันที่เริม่ เกิดดิสชาร์จและเบรกดาวน์ 2000.
ขึ้นอยู่กบั ความเครียดสนามไฟฟ้ าในโพรงอากาศ และ [2] S. Sumruay, High voltage engineering, 3rd
ความคงทนต่ อการเบรกดาวน์ ของโพรงอากาศโดยที่ Ed., Chulalongkorn University, Thailand,
ความเครียดสนามไฟฟ้ าในโพรงอากาศขึน้ อยู่กบั ความ 2006.
เข้มของสนามไฟฟ้ าและความเข้มสนามไฟฟ้ าขึน้ อยู่กบั [3] S. Boonpoke, Development of partial
ขนาดแรงดั น ที่ ป้ อนและขนาดของโพรงอากาศและ discharges pattern recognition systems by
ทิ ศ ทางของความเข้ ม สนามไฟฟ้ าซึ่ ง สั ม พั น ธ์ กั บ using artificial intelligence techniques, Thesis,
สนามไฟฟ้ าและผลของประจุ ค้างจะเกิดขึ้นในกรณี ท่ี Suranaree University of Technology,
สนามไฟฟ้ าไม่สม่าเสมอสูงเป็ นผลให้แรงดันเบรกดาวน์ Thailand, 2010.
มีค่าสูงกว่าแรงดันโคโรนาเริม่ เกิด และผลกระทบของ [4] R. Sriphuek, S. Chotigo and K. Tikakosol,
ประจุคา้ งทาให้แรงดันเบรกดาวน์ของขัว้ บวกและขัว้ ลบ Application of on-line partial discharge
ต่างกันในทางตรงกันข้ามกับแรงดันเบรกดาวน์โดยตรง measurement for high voltage equipment in
อุปกรณ์ ตรวจจับกระแสความถี่สูงสาหรับตรวจจับ thailand, KMUTT Research and Development
ดิสชาร์จบางส่ วนที่ ออกแบบและสร้างเพื่อ ใช้ ในการ Journal, 2016, 39(1), 101-118. (in Thai)
ต รวจวั ด ดิ ส ช าร์ จ บ างส่ วน ของฉ น วน อุ ป กรณ์ [5] A. Phongsa and W. Plueksawan, Partial
ไฟฟ้ าแรงสูง พบว่าอุปกรณ์ ตรวจจับกระแสความถี่สูง discharge diagnosis and localization in
สามารถทาการวัดสัญญาณการเกิดดิสชาร์จบางส่วนใน underground cable at Hin Kong power
เนื้ อฉนวน การดิสชาร์จบางส่ วนที่ผิวของฉนวนและ station, Nong Kae district, Saraburi, Thailand,
โคโรน่ าดิสชาร์จที่เกิดขึ้นทีป่ ลายแหลมทางด้านแรงดัน Journal of Engineering, RMUTT, 2020, 18(2),
สูงและปลายแหลมทางด้านกราวด์ได้มลี กั ษณะใกล้เคียง 59-68. (in Thai)
เมื่อเทียบกับรูปแบบลักษณะการเกิดดิสชาร์จบางส่วน
ตามมาตรฐาน

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


61
วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology)
ISSN (Print): 1686-9869, ISSN (online): 2697-5548
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2023.03.004
บทความวิจัย

[6] M. Schueller, A. Blaszczyk, A. Krivda and [11] S. Chakraborty, R. Patil and Y.B. Mandake,
J. Smajic, Influence of the surface Study of breakdown phenomenon in solid
conductivity of a single glass barrier on the insulators using sphere gap and insulation
breakdown voltage in an air insulated rod testing kits, International Research Journal of
plane arrangement, 2016 IEEE Conference Engineering and Technology, 5(4), 2018,
on Electrical Insulation and Dielectric 2759-2761.
Phenomena (CEIDP), Proceeding, 2016, [12] S.S. M.Ghoneim, S.S. Dessouky, A. Boubakeur,
428-431. A.A. Elfaraskoury, A.B.A. Sharaf, K. Mahmoud,
[7] IEC 60270, High-voltage Test Techniques – M. Lehtonen and M.M.F. Darwish, Accurate
Partial Discharge Measurements, 2000. insulating oil breakdown voltage model
[8] IEC 60060-1, High-voltage Test Techniques, associated with different barrier effects,
1989. Processes, 2021, 9, 657.
[9] IEEE 4a, Standard Techniques for High- [13] M. S. Naidu and V. Kamaraju, High voltage
Voltage Testing, 2001. engineering, McGraw Hill Ltd., NY, USA,
[10] B. Chen, M. Kollosche, M. Stewart, 1995.
J. Busfield and F. Carpi, Electrical breakdown [14] E. Kuffel, W.S. Zaengl and J. Kuffel, High-
of on acrylic dielectric elastomer: effects of voltage engineering, Butterworth Heinemann
hemispherical probing electrode’s size and Inc., Oxford, UK, 2000.
force, International Journal of Smart and
Nano Materials, 2015, 6(4), 290-303.

The Journal of Industrial Technology (2023) volume.19, issue 1 http://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech


62

You might also like