Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 197

Jus_Highlight

ประมวลกฎหมาย
วิธีพจิ ารณาความแพ่ ง

Jus_Highlight
Jus_Highlight

คำนำ

เอกสำรฉบับนีผ้ ้ ูจัดทำได้ รวบรวมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ ง


เพื่อควำมสะดวกแก่ กำรศึกษำสำหรับผู้สนใจทุกระดับ

ติดตำมปั ญหำข้ อกฎหมำยที่น่ำสนใจได้ ท่ ี

www.lawhappyfun.blogspot.com

Jus_Highlight
Jus_Highlight

สารบาญ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ ง
มาตรา
ภาค ๑ บททั่วไป
ลักษณะ ๑ บทวิเคราะห์ ศพั ท์ ๑
ลักษณะ ๒ ศาล
หมวด ๑ เขตอานาจศาล ๒-๑๐
หมวด ๒ การคัดค้ านผู้พิพากษา ๑๑-๑๔
หมวด ๓ อานาจและหน้ าที่ของศาล ๑๕-๓๔
หมวด ๔ การนัง่ พิจารณา ๓๕-๔๕
หมวด ๕ รายงานและสานวนความ ๔๖-๕๔
ลักษณะ ๓ คู่ความ ๕๕-๖๖
ลักษณะ ๔ การยื่นและส่งคาคู่ความและเอกสาร ๖๗-๘๓ อัฏฐ
ลักษณะ ๕ พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลักทัว่ ไป ๘๔-๑๐๕
หมวด ๒ การมาศาลของพยานและการซักถามพยาน ๑๐๖-๑๒๑
หมวด ๓ การนาพยานเอกสารมาสืบ ๑๒๒-๑๒๗ ทวิ
หมวด ๔ การตรวจและการแต่งตั ้งผู้เชี่ยวชาญโดยศาล ๑๒๘-๑๓๐
ลักษณะ ๖ คาพิพากษาและคาสัง่
หมวด ๑ หลักทัว่ ไปว่าด้ วยการชี ้ขาดตัดสินคดี ๑๓๑-๑๓๙
หมวด ๒ ข้ อความและผลแห่งคาพิพากษาและคาสัง่ ๑๔๐-๑๔๘
หมวด ๓ ค่าฤชาธรรมเนียม
ส่วนที่ ๑ การกาหนดและการชาระค่าฤชาธรรมเนียม
และการยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาล ๑๔๙-๑๖๐
Jus_Highlight

ส่วนที่ ๒ ความรับผิดชั ้นที่สดุ ในค่าฤชาธรรมเนียม ๑๖๑-๑๖๙

ภาค ๒ วิธีพิจารณาในศาลชัน้ ต้ น
ลักษณะ ๑ วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั ้นต้ น ๑๗๐-๑๘๘
ลักษณะ ๒ วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชั ้นต้ น
หมวด ๑ วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่ ๑๘๙-๑๙๖
หมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด
ส่วนที่ ๑ การขาดนัดยื่นคาให้ การ ๑๙๗-๑๙๙ ฉ
ส่วนที่ ๒ การขาดนัดพิจารณา ๒๐๐-๒๐๙
หมวด ๓ อนุญาโตตุลาการ ๒๑๐-๒๒๒

ภาค ๓ อุทธรณ์ และฎีกา


ลักษณะ ๑ อุทธรณ์ ๒๒๓-๒๔๖
ลักษณะ ๒ ฎีกา ๒๔๗-๒๕๒

ภาค ๔ วิธีการชั่วคราวก่ อนพิพากษาและการบังคับตามคาพิพากษาหรอ อคาสั่ง


ลักษณะ ๑ วิธีการชัว่ คราวก่อนพิพากษา
หมวด ๑ หลักทัว่ ไป ๒๕๓-๒๖๕
หมวด ๒ คาขอในเหตุฉกุ เฉิน ๒๖๖-๒๗๐
ลักษณะ ๒ การบังคับตามคาพิพากษาและคาสัง่
หมวด ๑ หลักทัว่ ไป ๒๗๑-๓๐๒
หมวด ๒ วิธียดึ ทรัพย์ อายัดและการจ่ายเงิน ๓๐๓-๓๒๓
Jus_Highlight

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ ง
ภาค ๑
บททั่วไป

ลักษณะ ๑
บทวิเคราะห์ ศัพท์

มาตรา ๑ ในประมวลกฎหมายนี ้ ถ้ าข้ อความมิได้ แสดงให้ เห็นเป็ นอย่างอื่น


(๑) “ศาล” หมายความว่า ศาลยุติธรรมหรื อผู้พิพากษาที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี
แพ่ง
(๒) “คดี ” หมายความว่ า กระบวนพิจ ารณานับ ตัง้ แต่เ สนอคาฟ้ องต่ อ ศาลเพื่ อ ขอให้
รับรอง คุ้มครองบังคับตามหรือเพื่อการใช้ ซึ่งสิทธิหรือหน้ าที่
(๓) “คาฟ้อง” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้ เสนอข้ อหาต่อศาลไม่ว่าจะ
ได้ เสนอด้ วยวาจาหรือทาเป็ นหนังสือ ไม่ว่าจะได้ เสนอต่อศาลชั ้นต้ น หรือชั ้นอุทธรณ์ หรื อฎี กา ไม่
ว่ า จะได้ เ สนอในขณะที่ เ ริ่ ม คดี โ ดยค าฟ้ องหรื อ คาร้ องขอหรื อ เสนอในภายหลัง โดยคาฟ้ อง
เพิ่มเติมหรือแก้ ไข หรือฟ้องแย้ งหรือโดยสอดเข้ ามาในคดีไม่ว่าด้ วยสมัครใจ หรื อถูกบังคับ หรื อ
โดยมีคาขอให้ พิจารณาใหม่
(๔) “คาให้ การ” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ซึ่งคู่ความฝ่ ายหนึ่งยกข้ อต่อสู้เป็ น
ข้ อแก้ คาฟ้องตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้ นอกจากคาแถลงการณ์
(๕) “คาคู่ความ” หมายความว่า บรรดาคาฟ้อง คาให้ การหรือคาร้ องทั ้งหลายที่ยื่นต่อศาล
เพื่อตั ้งประเด็นระหว่างคู่ความ
(๖) “คาแถลงการณ์ ” หมายความว่า คาแถลงด้ วยวาจาหรื อเป็ นหนังสือ ซึ่งคู่ความฝ่ าย
หนึง่ กระทาหรือยื่นต่อศาล ด้ วยมุ่งหมายที่จะเสนอความเห็นต่อศาลในข้ อความในประเด็นที่ได้
ยกขึ ้นอ้ างในคาคู่ความหรือในปั ญหาข้ อใดที่ศาลจะพึงมีคาสัง่ หรื อคาพิพากษา ซึ่งในข้ อเหล่านี ้
Jus_Highlight

คู่ค วามฝ่ ายนั น้ เพี ย งแต่ แ สดง หรื อ กล่า วทบทวนหรื อ ยื น ยั น หรื อ อธิ บ ายข้ อความแห่ ง ค า
พยานหลักฐาน และปั ญหาข้ อกฎหมายและข้ อเท็จจริ งทั ้งปวง คาแถลงการณ์ อาจรวมอยู่ในคา
คู่ความ
(๗) “กระบวนพิจ ารณา” หมายความว่ า การกระทาใด ๆ ตามที่ บัญญั ติไ ว้ ในประมวล
กฎหมายนี ้อันเกี่ยวด้ วยคดีซงึ่ ได้ กระทาไปโดยคู่ความในคดีนั ้นหรื อโดยศาล หรื อตามคาสัง่ ของ
ศาลไม่ว่าการนั ้นจะเป็ นโดยคู่ความฝ่ ายใดทาต่อศาลหรือต่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง หรื อศาลทาต่อ
คู่ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อ ทุกฝ่ าย และรวมถึง การส่ง คาคู่ความและเอกสารอื่ น ๆ ตามที่
บัญญัติไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้
(๘) “การพิจารณา” หมายความว่า กระบวนพิจารณาทั ้งหมดในศาลใดศาลหนึ่งก่อนศาล
นั ้นชี ้ขาดตัดสินหรือจาหน่ายคดีโดยคาพิพากษาหรือคาสัง่
(๙) “การนั่งพิจารณา” หมายความว่า การที่ศาลออกนั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีเช่น ชี ้
สองสถาน สืบพยาน ทาการไต่สวน ฟั งคาขอต่าง ๆ และฟั งคาแถลงการณ์ด้วยวาจา
(๑๐) “วันสืบพยาน” หมายความว่า วันที่ศาลเริ่มต้ นทาการสืบพยาน
(๑๑) “คู่ความ” หมายความว่า บุคคลผู้ยื่นคาฟ้อง หรื อถูกฟ้องต่อศาล และเพื่อประโยชน์
แห่ ง การด าเนิ น กระบวนพิ จ ารณาให้ รวมถึง บุคคลผู้มี สิท ธิ กระท าการแทนบุคคลนัน้ ๆ ตาม
กฎหมาย หรือในฐานะทนายความ
(๑๒) “บุคคลผู้ไร้ ความสามารถ” หมายความว่า บุคคลใดๆ ซึ่งไม่มีความสามารถตาม
กฎหมายหรือความสามารถถูกจากัดโดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่า
ด้ วยความสามารถ
(๑๓) “ผู้แทนโดยชอบธรรม” หมายความว่า บุคคลซึ่ง ตามกฎหมายมีสิทธิ ที่ จะทาการ
แทนบุคคลผู้ไร้ ความสามารถหรือเป็ นบุคคลที่จะต้ องให้ คาอนุญาต หรื อให้ ความยินยอมแก่ผ้ ไู ร้
ความสามารถในอันที่จะกระทาการอย่างใดอย่างหนึง่
Jus_Highlight

(๑๔)[๕] เจ้ าพนักงานบังคับคดี หมายความว่า เจ้ าพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรื อ


พนัก งานอื่ นผู้มี อานาจตามบทบัญญั ติแ ห่ง กฎหมายที่ ใ ช้ อยู่ ในอัน ที่จ ะปฏิ บัติต ามวิ ธีการที่
บัญญั ติ ไ ว้ ใ นภาค ๔ แห่ง ประมวลกฎหมายนี ้ เพื่ อ คุ้ม ครองสิท ธิ ข องคู่ความในระหว่ า งการ
พิจารณา หรื อ เพื่ อบังคับตามคาพิ พากษาหรื อคาสั่งและให้ ห มายความรวมถึงบุคคลที่ไ ด้ รับ
มอบหมายจากเจ้ าพนักงานบังคับคดีให้ ปฏิบตั ิการแทน

ลักษณะ ๒
ศาล

หมวด ๑
เขตอานาจศาล

มาตรา ๒ ห้ ามมิให้ เสนอคาฟ้องต่อศาลใด เว้ นแต่


(๑) เมื่อได้ พิจารณาถึงสภาพแห่งคาฟ้องและชั ้นของศาลแล้ ว ปรากฏว่า ศาลนั ้นมีอานาจ
ที่จะพิจารณาพิพากษาคดีนั ้นได้ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
และ
(๒) เมื่อได้ พิจารณาถึงคาฟ้องแล้ ว ปรากฏว่าคดีนั ้นอยู่ในเขตศาลนั ้นตามบทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายนี ้ ว่าด้ วยศาลที่จะรับคาฟ้อง และตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่กาหนดเขต
ศาลด้ วย

มาตรา ๓ เพื่อประโยชน์ในการเสนอคาฟ้อง
(๑) ในกรณีที่มลู คดีเกิดขึ ้นในเรือไทยหรื ออากาศยานไทยที่อยู่นอกราชอาณาจักรให้ ศาล
แพ่งเป็ นศาลที่มีเขตอานาจ
(๒) ในกรณีที่จาเลยไม่มีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักร
Jus_Highlight

(ก) ถ้ าจาเลยเคยมีภูมิลาเนาอยู่ ณ ที่ใดในราชอาณาจักรภายในกาหนดสองปี ก่อนวันที่มี


การเสนอคาฟ้อง ให้ ถือว่าที่นั ้นเป็ นภูมิลาเนาของจาเลย
(ข) ถ้ าจาเลยประกอบหรือเคยประกอบกิจการทั ้งหมดหรือแต่บางส่วนในราชอาณาจักรไม่
ว่าโดยตนเองหรือตัวแทน หรือโดยมีบุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็ นผู้ติดต่อในการประกอบกิจการนั ้น
ในราชอาณาจักร ให้ ถื อ ว่ า สถานที่ ที่ ใ ช้ ห รื อ เคยใช้ ป ระกอบกิจ การหรื อ ติ ดต่ อ ดัง กล่า ว หรื อ
สถานที่อนั เป็ นถิ่นที่อยู่ของตัวแทนหรือของผู้ติดต่อในวันที่มีการเสนอคาฟ้องหรือภายในกาหนด
สองปี ก่อนนั ้น เป็ นภูมิลาเนาของจาเลย

มาตรา ๔ เว้ นแต่จะมีบทบัญญัติเป็ นอย่างอื่น


(๑) คาฟ้อง ให้ เสนอต่อศาลที่จาเลยมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล หรื อต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึ ้น
ในเขตศาลไม่ว่าจาเลยจะมีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักรหรือไม่
(๒) คาร้ องขอ ให้ เสนอต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึ ้นในเขตศาล หรื อต่อศาลที่ผ้ รู ้ องมีภูมิลาเนา
อยู่ในเขตศาล

มาตรา ๔ ทวิ คาฟ้ องเกี่ยวด้ วยอสัง หาริ มทรัพ ย์ หรื อ สิท ธิ หรื อประโยชน์ อันเกี่ ยวด้ ว ย
อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ให้ เ สนอต่ อ ศาลที่ อ สัง หาริ ม ทรั พ ย์ นัน้ ตัง้ อยู่ใ นเขตศาล ไม่ ว่ า จ าเลยจะมี
ภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักรหรือไม่ หรือต่อศาลที่จาเลยมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล

มาตรา ๔ ตรี คาฟ้องอื่นนอกจากที่บญ


ั ญัติไว้ ในมาตรา ๔ ทวิ ซึ่งจาเลยมิได้ มีภูมิลาเนา
อยู่ในราชอาณาจักรและมูลคดีมิได้ เกิดขึ ้นในราชอาณาจักร ถ้ าโจทก์ เป็ นผู้มีสญ
ั ชาติไทยหรื อมี
ภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้ เสนอต่อศาลแพ่งหรือต่อศาลที่โจทก์ มีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล
คาฟ้องตามวรรคหนึง่ ถ้ าจาเลยมีทรัพย์สนิ ที่อาจถูกบังคับคดีได้ อยู่ในราชอาณาจักร ไม่ว่า
จะเป็ นการชัว่ คราวหรือถาวร โจทก์จะเสนอคาฟ้องต่อศาลที่ทรัพย์สนิ นั ้นอยู่ในเขตศาลก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๔ จัตวา คาร้ องขอแต่งตั ้งผู้จดั การมรดก ให้ เสนอต่ อศาลที่เจ้ ามรดกมีภูมิลาเนา
อยู่ในเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่เจ้ ามรดกไม่มีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้ เสนอต่อศาลที่ทรัพย์ มรดกอยู่ใน
เขตศาล

มาตรา ๔ เบญจ คาร้ องขอเพิกถอนมติของที่ประชุมหรือที่ประชุมใหญ่ ของนิติบุคคล คา


ร้ อ งขอเลิกนิ ติ บุคคล ค าร้ องขอตัง้ หรื อ ถอนผู้ช าระบัญชี ข องนิ ติบุคคล หรื อคาร้ องขออื่ น ใด
เกี่ยวกับนิติบคุ คล ให้ เสนอต่อศาลที่นิติบคุ คลนั ้นมีสานักงานแห่งใหญ่อยู่ในเขตศาล

มาตรา ๔ ฉ คาร้ องขอเกี่ยวกับทรัพย์สนิ ที่อยู่ในราชอาณาจักรก็ดี คาร้ องขอที่หากศาลมี


คาสัง่ ตามคาร้ องขอนั ้นจะเป็ นผลให้ ต้องจัดการหรื อเลิกจัดการทรัพย์ สินที่อยู่ในราชอาณาจักรก็
ดี ซึง่ มูลคดีมิได้ เกิดขึ ้นในราชอาณาจักรและผู้ร้องไม่มีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักรให้ เสนอต่อ
ศาลที่ทรัพย์สนิ ดังกล่าวอยู่ในเขตศาล
มาตรา ๕ คาฟ้องหรือคาร้ องขอซึง่ อาจเสนอต่อศาลได้ สองศาลหรื อกว่านั ้นไม่ว่าจะเป็ น
เพราะภูมิลาเนาของบุคคลก็ดี เพราะที่ตั ้งของทรัพย์ สินก็ดี เพราะสถานที่ที่เกิดมูลคดีก็ดี หรื อ
เพราะมีข้อหาหลายข้ อก็ดี ถ้ ามูลความแห่งคดีเกี่ยวข้ องกัน โจทก์ หรื อผู้ร้องจะเสนอคาฟ้องหรื อ
คาร้ องขอต่อศาลใดศาลหนึง่ เช่นว่านั ้นก็ได้

มาตรา ๖ ก่ อนยื่น คาให้ การ จาเลยชอบที่จะยื่ นคาร้ องต่อศาลที่โ จทก์ ได้ ยื่น คาฟ้ องไว้
ขอให้ โอนคดีไปยังศาลอื่นที่มีเขตอานาจได้ คาร้ องนั ้นจาเลยต้ องแสดงเหตุที่ยกขึ ้นอ้ างอิงว่ า
การพิจารณาคดี ต่อไปในศาลนั ้นจะไม่สะดวก หรื อจาเลยอาจไม่ได้ รับความยุติธรรมเมื่อศาล
เห็นสมควร ศาลจะมีคาสัง่ อนุญาตตามคาร้ องนั ้นก็ได้
Jus_Highlight

ห้ ามมิให้ ศาลออกคาสัง่ อนุญาตตามวรรคหนึง่ เว้ นแต่ศาลที่จะรับโอนคดีไปนั ้นได้ ยินยอม


เสียก่อน ถ้ าศาลที่จะรับโอนคดีไม่ยินยอม ก็ให้ ศาลที่จะโอนคดีนั ้นส่งเรื่ องให้ อธิ บดีผ้ พู ิพากษา
ศาลอุทธรณ์ชี ้ขาด คาสัง่ ของอธิบดีผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๗ บทบัญญัติในมาตรา ๔ มาตรา ๔ ทวิ มาตรา ๔ ตรี มาตรา ๔ จัตวา มาตรา


๔ เบญจ มาตรา ๔ ฉ มาตรา ๕ และมาตรา ๖ ต้ องอยู่ภายใต้ บงั คับแห่งบทบัญญัติดงั ต่อไปนี ้
(๑) คาฟ้องหรือคาร้ องขอที่เสนอภายหลังเกี่ยวเนื่องกับคดีที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาลใด ให้
เสนอต่อศาลนั ้น
(๒) คาฟ้องหรื อค าร้ องขอที่เสนอเกี่ ยวเนื่องกับการบังคับคดีตามคาพิ พากษาหรื อคาสั่ง
ของศาลซึง่ คาฟ้องหรือคาร้ องขอนั ้นจาต้ องมีคาวินิจฉัยของศาลก่อนที่การบังคับคดีจะได้ ดาเนิน
ไปได้ โดยครบถ้ วนและถูกต้ องนั ้น ให้ เสนอต่อศาลที่มีอานาจในการบังคับคดีตามมาตรา ๓๐๒
(๓) คาร้ องตามมาตรา ๑๐๑ ถ้ าได้ เสนอคาฟ้องหรื อคาร้ องขอต่อศาลใดแล้ วให้ เสนอต่อ
ศาลนั ้น ในกรณีที่ยงั ไม่ได้ เสนอคาฟ้องหรือคาร้ องขอต่อศาลใด ถ้ าพยานหลักฐานซึ่งจะเรี ยกมา
สืบหรือบุคคลหรือทรัพย์หรือสถานที่ที่จะต้ องตรวจอยู่ในเขตศาลใด ให้ เสนอต่อศาลนั ้น
(๔) คาร้ องที่เสนอให้ ศาลถอนคืนหรือเปลีย่ นแปลงคาสัง่ หรือการอนุญาตที่ ศาลได้ ให้ ไว้ ก็ดี
คาร้ องที่เสนอให้ ศาลถอดถอนบุคคลใดจากฐานะที่ศาลได้ แต่งตั ้งไว้ ก็ดี คาร้ องที่เสนอให้ ศาลมี
คาสัง่ ใดที่เกี่ยวกับการถอนคืนหรือเปลีย่ นแปลงคาสัง่ หรือการอนุญาตหรื อที่เกี่ยวกับการแต่งตั ้ง
เช่น ว่านัน้ ก็ดี คาร้ องขอหรื อคาร้ องอื่ นใดที่เสนอเกี่ยวเนื่อ งกับคดี ที่ศาลได้ มีคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ ไปแล้ วก็ดี ให้ เสนอต่อศาลในคดีที่ได้ มีคาสัง่ การอนุญาต การแต่งตั ้ง หรือคาพิพากษานั ้น

มาตรา ๘ ถ้ า คดี สองเรื่ องซึ่งมี ประเด็ นอย่า งเดี ยวกัน หรื อเกี่ยวเนื่ องใกล้ ชิ ดกัน อยู่ใ น
ระหว่างพิจารณาของศาลชั ้นต้ นที่มีเขตอานาจสองศาลต่างกัน และศาลทั ้งสองนั ้นได้ ยกคาร้ อง
ทั ้งหลายที่ได้ ยื่นต่อศาลขอให้ คดีทั ้งสองได้ พิจารณาพิพากษารวมในศาลเดียวกันนั ้นเสียตราบ
Jus_Highlight

ใดที่ศาลใดศาลหนึง่ ยังมิได้ พิพากษาคดีนั ้น ๆ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะยื่นคาขอโดยทาเป็ นคา


ร้ องต่ออธิบดีผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์ เพื่อขอให้ มีคาสัง่ ให้ ศาลใดศาลหนึ่งจาหน่ายคดีซึ่งอยู่ใน
ระหว่างพิจารณานั ้นออกเสียจากสารบบความ หรือให้ โอนคดีไปยังอีกศาลหนึง่ ก็ได้ แล้ วแต่กรณี
คาสัง่ ใด ๆ ของอธิบดีผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์เช่นว่านี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๙ ในกรณีดงั กล่าวในมาตราก่อนนั ้น ถ้ าศาลใดศาลหนึง่ ได้ พิพากษาคดีแล้ ว และ


ได้ มีการยื่นอุทธรณ์คดั ค้ านคาพิพากษานั ้น คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจยื่นคาขอโดยทาเป็ นคา
ร้ องต่อศาลอุทธรณ์ ขอให้ มีคาสัง่ ให้ งดการพิจารณาคดีชั ้นอุทธรณ์นั ้นไว้ ก่อนจนกว่าอีกศาลหนึ่ง
จะได้ พิพ ากษาคดี อีกเรื่ องหนึ่ง เสร็ จแล้ ว ก็ ได้ และถ้ าได้ มี การอุท ธรณ์ คดี เรื่ อ งหลัง นี ก้ ็ใ ห้ ศาล
อุทธรณ์ รวมวินิจฉัยคดีทั ้งสองนั ้นโดยคาพิพากษาเดียวกัน ถ้ าคดี เรื่ องหลังนั ้นไม่มี อุทธรณ์ ใ ห้
บังคับตามบทบัญญัติแห่งมาตรา ๑๔๖

มาตรา ๑๐ ถ้ าไม่อาจดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลชั ้นต้ นที่มีเขตศาลเหนือคดีนั ้นได้


โดยเหตุสดุ วิสยั คู่ความฝ่ ายที่เสียหายหรื ออาจเสียหายเพราะการนั ้นจะยื่นคาขอฝ่ ายเดียวโดย
ทาเป็ นคาร้ องต่อศาลชั ้นต้ น ซึง่ ตนมีภูมิลาเนาหรืออยู่ในเขตศาลในขณะนั ้นก็ได้ และให้ ศาลนั ้น
มีอานาจทาคาสัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม

หมวด ๒
การคัดค้ านผู้พิพากษา

มาตรา ๑๑ เมื่อคดีถงึ ศาล ผู้พิพากษาคนหนึ่งคนใดในศาลนั ้นอาจถูกคัดค้ านได้ ในเหตุ


ใดเหตุหนึง่ ดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้ าผู้พิพากษานั ้นมีผลประโยชน์ได้ เสียเกี่ยวข้ องอยู่ในคดีนั ้น
Jus_Highlight

(๒) ถ้ าเป็ นญาติเกี่ยวข้ องกับคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง คือว่าเป็ นบุพการี หรื อผู้สืบสันดาน
ไม่ว่ าชัน้ ใด ๆ หรื อ เป็ นพี่ น้อ งหรื อ ลูกพี่ ลกู น้ อ งนับได้ เ พียงภายในสามชั ้น หรื อเป็ นญาติเ กี่ยว
พันทางแต่งงานนับได้ เพียงสองชั ้น
(๓) ถ้ าเป็ นผู้ที่ได้ ถูกอ้ างเป็ นพยานโดยที่ได้ ร้ ู ได้ เห็นเหตุการณ์ หรื อโดยเป็ นผู้เชี่ยวชาญมี
ความรู้เป็ นพิเศษเกี่ยวข้ องกับคดีนั ้น
(๔) ถ้ าได้ เป็ นหรือเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อผู้ แทนหรื อได้ เป็ นทนายความของคู่ความ
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มาแล้ ว
(๕) ถ้ าได้ เป็ นผู้ พิ พ ากษานั่ ง พิ จ ารณาคดี เ ดี ย วกั น นั น้ ในศาลอื่ น มาแล้ ว หรื อ เป็ น
อนุญาโตตุลาการมาแล้ ว
(๖) ถ้ ามีคดีอีกเรื่องหนึง่ อยู่ในระหว่างพิจารณาซึ่งผู้พิพากษานั ้นเอง หรื อภริ ยา หรื อญาติ
ทางสืบสายโลหิตตรงขึ ้นไป หรือตรงลงมาของผู้พิพากษานั ้นฝ่ ายหนึ่ง พิพาทกับคู่ความฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึง่ หรือภริ ยา หรื อญาติทางสืบสายโลหิตตรงขึ ้นไปหรื อตรงลงมาของคู่ความฝ่ ายนั ้นอีก
ฝ่ ายหนึง่
(๗) ถ้ าผู้พิพากษานั ้นเป็ นเจ้ าหนี ้หรือลูกหนี ้ หรือเป็ นนายจ้ างของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่

มาตรา ๑๒ เมือ่ ศาลใดมีผ้ พู ิพากษาแต่เพียงคนเดียว ผู้พิพากษานั ้นอาจถูกคัดค้ านด้ วย


เหตุใดเหตุหนึง่ ตามที่กาหนดไว้ ในมาตราก่อนนั ้นได้ หรือด้ วยเหตุประการอื่นอันมีสภาพร้ ายแรง
ซึง่ อาจทาให้ การพิจารณาหรือพิพากษาคดีเสียความยุติธรรมไป

มาตรา ๑๓ ถ้ า มีเหตุที่จะคัดค้ า นได้ อ ย่างใดอย่ างหนึ่งดังที่ กล่า วไว้ ใ นสองมาตราก่อ น


เกิดขึ ้นแก่ผ้ พู ิพากษาคนใดที่นงั่ ในศาล
(๑) ผู้พิพากษานั ้นเองจะยื่นคาบอกกล่าวต่อศาลแสดงเหตุที่ตนอาจถูกคัดค้ าน แล้ วขอ
ถอนตัวออกจากการนัง่ พิจารณาคดีนั ้นก็ได้
Jus_Highlight

(๒) คู่ความที่เกี่ยวข้ องอาจยกข้ อคัดค้ านขึ ้นอ้ างโดยทาเป็ นคาร้ องยื่นต่อศาลแต่ถ้าตนได้


ทราบเหตุที่พงึ คัดค้ านได้ ก่อนวันสืบพยาน ก็ให้ ยื่นคาร้ องคัดค้ านเสียก่อนวันสืบพยานนั ้นหรื อถ้ า
ทราบเหตุที่พึงคัดค้ านได้ ในระหว่างพิจารณา ก็ให้ ยื่นคาร้ องคัดค้ านไม่ช้ากว่าวันนัดสืบพยาน
ครั ้งต่อไป แต่ต้องก่อนเริ่มสืบพยานเช่นว่านั ้น
เมื่อได้ ยื่นคาร้ องดังกล่าวแล้ ว ให้ ศาลงดกระบวนพิจารณาทั ้งปวงไว้ ก่อนจนกว่าจะได้ มีคา
ชี ้ขาดในเรื่องที่คดั ค้ านนั ้นแล้ ว แต่ความข้ อนี ้มิให้ ใช้ แก่กระบวนพิจารณาซึ่งจะต้ องดาเนินโดยมิ
ชักช้ า อนึง่ กระบวนพิจารณาทั ้งหลายที่ได้ ดาเนินไปก่อนได้ ยื่นคาร้ องคัดค้ านก็ดี และกระบวน
พิจารณาทั ้งหลายในคดีที่จะต้ องดาเนินโดยมิชกั ช้ า แม้ ถึงว่าจะได้ ดาเนินไปภายหลังที่ได้ ยื่นคา
ร้ องคัดค้ านก็ดี เหล่านี ้ย่อมสมบูรณ์ไม่เสียไป เพราะเหตุที่ศาลมีคาสัง่ ยอมฟั งคาคัดค้ าน เว้ นแต่
ศาลจะได้ กาหนดไว้ ในคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น
ถ้ า ศาลใดมี ผ้ ูพิ พ ากษาคนเดี ย ว และผู้พิ พ ากษาคนนัน้ ถูกคัด ค้ า น หรื อ ถ้ าศาลใดมี ผ้ ู
พิ พ ากษาหลายคน และผู้ พิ พ ากษาทัง้ หมดถู กคัด ค้ า น ให้ ศ าลซึ่ ง มี อ านาจสูง กว่ า ศาลนั น้
ตามลาดับเป็ นผู้ชี ้ขาดคาคัดค้ าน
ถ้ าศาลใดมีผ้ พู ิพากษาหลายคน และผู้พิพากษาที่มิได้ ถูกคัดค้ านรวมทั ้งข้ าหลวงยุติธรรม
ถ้ า ได้ นั่ง พิ จ ารณาด้ ว ยมี จ านวนครบที่ จ ะเป็ นองค์ คณะและมี เ สียงข้ า งมากตามที่ กฎหมาย
ต้ องการ ให้ ศาลเช่นว่านั ้นเป็ นผู้ชี ้ขาดคาคัดค้ าน แต่ในกรณีที่อยู่ในอานาจของผู้พิพากษาคน
เดียวจะชี ้ขาดคาคัดค้ าน ห้ ามมิให้ ผ้ พู ิพากษาคนนั ้นมีคาสัง่ ให้ ยกคาคัดค้ าน โดยผู้พิพากษาอีก
คนหนึง่ หรือข้ าหลวงยุติธรรมมิได้ เห็นพ้ องด้ วย
ถ้ าศาลใดมีผ้ พู ิพากษาหลายคน และผู้พิพากษาที่มิได้ ถูกคัดค้ าน แม้ จะนับรวมข้ าหลวง
ยุติ ธ รรมเข้ า ด้ ว ย ยัง มีจ านวนไม่ครบที่ จ ะเป็ นองค์ คณะและมี เ สียงข้ า งมากตามที่ กฎหมาย
ต้ องการ หรือถ้ าผู้พิพากษาคนเดียวไม่สามารถมีคาสัง่ ให้ ยกคาคัดค้ านเสียด้ วยความเห็นพ้ อง
ของผู้พิ พ ากษาอี กคนหนึ่ง หรื อข้ า หลวงยุติธ รรมตามที่ บัญญั ติไ ว้ ใ นวรรคก่ อ น ให้ ศาลซึ่ง มี
อานาจสูงกว่าศาลนั ้นตามลาดับเป็ นผู้ชี ้ขาดคาคัดค้ าน
Jus_Highlight

มาตรา ๑๔ เมื่อได้ มีการร้ องคัดค้ านขึ ้น และผู้พิพากษาที่ถูกคัดค้ านไม่ยอมถอนตัวออก


จากการนัง่ พิจารณาคดี ให้ ศาลฟั งคาแถลงของคาคู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องและของผู้พิพ ากษาที่
ถูกคัดค้ าน กับทาการสืบพยานหลักฐานที่บคุ คลเหล่านั ้นได้ นามาและพยานหลักฐานอื่นตามที่
เห็นสมควร แล้ วออกคาสัง่ ยอมรับหรือยกเสียซึ่งคาคัดค้ านนั ้น คาสัง่ เช่นว่านี ้ให้ เป็ นที่สดุ
เมื่อศาลที่ผ้ พู ิพากษาแห่งศาลนั ้นเองถูกคัดค้ าน จะต้ องวินิจฉัยชี ้ขาดคาคัดค้ านห้ ามมิ ให้ ผ้ ู
พิพากษาที่ ถูกคัดค้ า นนั ้นนั่งหรื อออกเสียงกับผู้พิพ ากษาอื่น ๆ ในการพิจ ารณาและชี ้ขาดคา
คัดค้ านนั ้น
ถ้ าผู้พิพากษาคนใดได้ ขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดีก็ดี หรื อศาลได้ ยอมรับคา
คัดค้ านผู้พิพากษาคนใดก็ดี ให้ ผ้ พู ิพ ากษาคนอื่นทาการแทนตามบทบัญญั ติในพระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม

หมวด ๓
อานาจและหน้ าที่ของศาล

มาตรา ๑๕ ห้ ามมิให้ ศาลใช้ อานาจนอกเขตศาล เว้ นแต่


(๑) ถ้ าบุคคลผู้ที่จะถูกซักถามหรือถูกตรวจ หรื อบุคคลผู้เป็ นเจ้ าของทรัพย์ หรื อสถานที่ซึ่ง
จะถูกตรวจมิได้ ยกเรื่ อ งเขตศาลขึ ้นคัดค้ าน ศาลจะทาการซักถามหรื อตรวจดังว่านั ้นนอกเขต
ศาลก็ได้
(๒) ศาลจะออกหมายเรี ย กคู่ ค วามหรื อ บุ ค คลนอกเขตศาลก็ ไ ด้ ส่ ว นการที่ จ ะน า
บทบัญญัติมาตรา ๓๑, ๓๓, ๑๐๘, ๑๐๙ และ ๑๑๑ แห่งประมวลกฎหมายนี ้และมาตรา ๑๔๗
แห่งกฎหมายลักษณะอาญามาใช้ บังคับได้ นั ้น ต้ องให้ ศาลซึ่งมีอานาจในเขตศาลนั ้นสลักหลัง
หมายเสียก่อน
Jus_Highlight

(๓) หมายบังคับคดีและหมายของศาลที่ออกให้ จับและกักขังบุคคลผู้ใดตามบทบัญญัติ


แห่งประมวลกฎหมายนี ้ อาจบังคับได้ ไม่ว่าในที่ใด ๆ
ในกรณีที่มีการบังคับคดีนอกเขตศาลที่ออกหมายบังคับคดี ให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษายื่น
คาแถลงหรือเจ้ าพนักงานบังคับคดีรายงานให้ ศาลที่จะมีการบังคับคดีทราบในกรณีเช่น ว่านี ้ ให้
ศาลที่จะมีการบังคับคดีตั ้งเจ้ าพนักงานบังคับคดีเพื่อดาเนินการบังคับคดีโดยไม่ชักช้ า และให้
ศาลนั ้นดาเนินการไปเสมือนหนึง่ เป็ นศาลที่บงั คับคดีแทนตามมาตรา ๓๐๒ วรรคสาม[๑๗]

มาตรา ๑๖ ถ้ าจะต้ องทาการซักถาม หรือตรวจ หรือดาเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ


(๑) โดยศาลชั ้นต้ นศาลใด นอกเขตศาลนั ้น หรือ
(๒) โดยศาลแพ่งหรือศาลอาญา นอกเขตจังหวัดพระนครและธนบุรีหรื อโดยศาลอุทธรณ์
หรือฎีกา
ให้ ศาลที่กล่าวแล้ ว มีอ านาจที่จ ะแต่ งตัง้ ศาลอื่ น ที่เ ป็ นศาลชัน้ ต้ น ให้ ท าการซักถามหรื อ
ตรวจภายในบังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๐๒ หรือดาเนินกระบวนพิจารณาแทนได้

มาตรา ๑๗ คดี ที่ ไ ด้ ยื่น ฟ้ องไว้ ต่อ ศาลนัน้ ให้ ศาลดาเนิน การไปตามลาดับ เลขหมาย
สานวนในสารบบความ เว้ นแต่ศาลจะกาหนดเป็ นอย่างอื่นเมื่อมีเหตุผลพิเศษ

มาตรา ๑๘ ให้ ศาลมีอานาจที่จะตรวจคาคู่ความที่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ของศาลได้ รับไว้


เพื่อยื่นต่อศาล หรือส่งให้ แก่ค่คู วาม หรื อบุคคลใด ๆ
ถ้ าศาลเห็นว่าคาคู่ความที่ได้ ยื่นไว้ ดงั กล่าวแล้ วนั ้น อ่านไม่ออกหรืออ่านไม่เข้ าใจหรื อเขียน
ฟุ่ มเฟื อยเกินไป หรือไม่มีรายการ ไม่มีลายมือชื่อ ไม่แนบเอกสารต่าง ๆ ตามที่กฎหมายต้ องการ
หรือมิได้ ชาระหรือวางค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้ องครบถ้ วน ศาลจะมีคาสัง่ ให้ คืนคาคู่ความนั ้น
ไปให้ ทามาใหม่ หรื อแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม หรื อ ชาระหรื อ วางค่า ธรรมเนียมศาลให้ ถูกต้ อ งครบถ้ ว น
Jus_Highlight

ภายในระยะเวลาและก าหนดเงื่ อ นไขใด ๆ ตลอดจนเรื่ อ งค่ า ฤชาธรรมเนี ย มตามที่ ศ าล


เห็นสมควรก็ได้ ถ้ ามิได้ ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดของศาลในระยะเวลาหรื อเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ก็ให้
มีคาสัง่ ไม่รับคาคู่ความนั ้น
ถ้ า ศาลเห็ น ว่ า ค าคู่ค วามที่ ไ ด้ น ามายื่ น ดั ง กล่า วข้ างต้ น มิ ไ ด้ เ ป็ นไปตามเงื่ อ นไขแห่ ง
กฎหมายที่บังคับไว้ นอกจากที่กล่าวมาในวรรคก่อน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเห็นว่าสิท ธิ
ของคู่ความหรือบุคคลซึง่ ยื่นคาคู่ความนั ้นได้ ถกู จากัดห้ ามโดยบทบัญญัติแห่ งกฎหมายเรื่ องเขต
อานาจศาล ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ ไม่รับหรือคืนคาคู่ความนั ้นไปเพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอานาจ
ถ้ าไม่มีข้อขัดข้ องดังกล่าวแล้ ว ก็ให้ ศาลจดแจ้ งแสดงการรับคาคู่ความนั ้นไว้ บนคาคู่ความ
นั ้นเองหรือในที่อื่น
คาสั่ง ของศาลที่ ไ ม่รับ หรื อ ให้ คืน คาคู่ความตามมาตรานี ้ ให้ อุท ธรณ์ แ ละฎี กาได้ ตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๒๗, ๒๒๘ และ ๒๔๗

มาตรา ๑๙ ศาลมีอานาจสัง่ ได้ ตามที่เห็นสมควรให้ ค่คู วามทุกฝ่ าย หรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
มาศาลด้ วยตนเอง ถึงแม้ ว่าคู่ความนั ้น ๆ จะได้ มีทนายความว่าต่างแก้ ต่างอยู่แล้ วก็ดี อนึ่งถ้ า
ศาลเห็นว่ าการที่คู่ความมาศาลด้ วยตนเองอาจยัง ให้ เ กิดความตกลงหรื อ การประนีประนอม
ยอมความดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตราต่อไปนี ้ ก็ให้ ศาลสัง่ ให้ ค่คู วามมาศาลด้ วยตนเอง

มาตรา ๒๐ ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะได้ ดาเนินไปแล้ วเพียงใด ให้ ศาลมีอานาจที่จะไกล่


เกลีย่ ให้ ค่คู วามได้ ตกลงกัน หรือประนีประนอมยอมความกันในข้ อที่พิพาทนั ้น

มาตรา ๒๐ ทวิ เพื่อประโยชน์ ในการไกล่เกลี่ย เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อคู่ความฝ่ าย


ใดฝ่ ายหนึง่ ร้ องขอ ศาลจะสัง่ ให้ ดาเนินการเป็ นการลับเฉพาะต่อหน้ าตัวความทุกฝ่ ายหรื อฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึง่ โดยจะให้ มีทนายความอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้
Jus_Highlight

เมื่อ ศาลเห็น สมควรหรื อเมื่อ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งร้ อ งขอ ศาลอาจแต่ง ตั ้งบุคคลหรื อ
คณะบุคคลเป็ นผู้ประนีประนอม เพื่อช่วยเหลือศาลในการไกล่เกลี่ยให้ ค่คู วามได้ ประนีประนอม
กัน
หลักเกณฑ์ แ ละวิ ธี การในการไกล่เ กลี่ยของศาล การแต่ ง ตัง้ ผู้ป ระนี ป ระนอม รวมทั ง้
อานาจหน้ าที่ของผู้ประนีประนอม ให้ เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในข้ อกาหนดของประธานศาลฎี กา
โดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา[๒๑]
ข้ อกาหนดของประธานศาลฎี กาตามวรรคสาม เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว
ให้ ใช้ บงั คับได้ [๒๒]

มาตรา ๒๑ เมื่อคู่ความฝ่ ายใดเสนอคาขอหรือคาแถลงต่อศาล


(๑) ถ้ าประมวลกฎหมายนี ม้ ิได้ บัญ ญั ติว่า คาขอหรื อ คาแถลงจะต้ องท าเป็ นคาร้ องหรื อ
เป็ นหนังสือ ก็ให้ ศาลมีอานาจที่จะยอมรับคาขอหรือคาแถลงที่ค่คู วามได้ ทาในศาลด้ วยวาจาได้
แต่ศาลต้ องจดข้ อความนั ้นลงไว้ ในรายงาน หรื อจะกาหนดให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นยื่นคาขอโดยท า
เป็ นคาร้ อง หรือยื่นคาแถลงเป็ นหนังสือก็ได้ แล้ วแต่ศาลจะเห็นสมควร
(๒) ถ้ าประมวลกฎหมายนี ม้ ิได้ บัญญั ติไว้ ว่า คาขออันใดจะท าได้ แต่ฝ่ายเดียวห้ ามมิใ ห้
ศาลทาคาสัง่ ในเรื่ องนั ้น ๆ โดยมิให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อคู่ความอื่น ๆ มีโอกาสคัดค้ านก่อน
แต่ทั ้งนี ้ต้ องอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติของประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยการขาดนัด
(๓) ถ้ าประมวลกฎหมายนี ้บัญญัติไว้ ว่า คาขออันใดอาจทาได้ แต่ฝ่ายเดียวแล้ วให้ ศาลมี
อานาจที่จะฟั งคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อคู่ความอื่น ๆ ก่อนออกคาสัง่ ในเรื่ องนั ้น ๆ ได้ เว้ นแต่ใ น
กรณี ที่ ค าขอนัน้ เป็ นเรื่ อ งขอหมายเรี ยกให้ ให้ ก าร หรื อ เพื่ อ ยึ ดหรื อ อายัด ทรั พ ย์ สิ น ก่ อ นค า
พิพากษาหรือเพื่อให้ ออกหมายบังคับ หรือเพื่อจับหรือกักขังจาเลยหรือลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
Jus_Highlight

(๔) ถ้ าประมวลกฎหมายนี ม้ ิได้ บัญญั ติไว้ ว่าศาลต้ องออกคาสัง่ อนุญาตตามคาขอที่ไ ด้


เสนอต่ อ ศาลนั น้ โดยไม่ ต้ องท าการไต่ สวนแล้ ว ก็ ใ ห้ ศ าลมี อ านาจท าการไต่ ส วนได้ ตามที่
เห็นสมควรก่อนมีคาสัง่ ตามคาขอนั ้น
ในกรณีเ รื่ อ งใดที่ ศาลอาจออกคาสั่งได้ เ องหรื อต่ อเมื่อ คู่ความมี คาขอ ให้ ใ ช้ บ ทบัญญั ติ
อนุมาตรา (๒), (๓) และ (๔) แห่งมาตรานี ้บังคับ
ในกรณีเรื่องใดที่ค่คู วามไม่มีอานาจขอให้ ศาลมีคาสัง่ แต่หากศาลอาจมีคาสัง่ ในกรณีเรื่ อง
นั ้นได้ เอง ให้ ศาลมีอานาจภายในบังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๑๐๓ และ ๑๘๑ (๒) ที่จะงดฟั ง
คู่ความหรืองดทาการไต่สวนก่อนออกคาสัง่ ได้

มาตรา ๒๒ กาหนดระยะเวลาทั ้งปวงไม่ว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ หรื อที่ศาลเป็ นผู้กาหนด


ก็ดี เพื่อให้ ดาเนินหรือมิให้ ดาเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ก่อนสิ ้นระยะเวลานั ้น ให้ ศาลคานวณ
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้ วยระยะเวลา

มาตรา ๒๓ เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อมีค่คู วามฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องได้ ยื่นคาขอโดยทาเป็ นคา


ร้ อง ให้ ศาลมี อ านาจที่ จ ะออกค าสั่ง ขยายหรื อ ย่ น ระยะเวลาตามที่ กาหนดไว้ ในประมวล
กฎหมายนี ห้ รื อตามที่ศาลได้ กาหนดไว้ หรื อระยะเวลาที่เ กี่ยวด้ วยวิธี พิ จ ารณาความแพ่ งอัน
กาหนดไว้ ในกฎหมายอื่น เพื่อ ให้ ดาเนิ นหรื อ มิใ ห้ ดาเนิ นกระบวนวิ ธีพิ จ ารณาใด ๆ ก่อ นสิ ้น
ระยะเวลานั ้นแต่การขยายหรื อย่นเวลาเช่นว่านี ้ให้ พึงทาได้ ต่อเมื่อมีพฤติการณ์ พิเศษ และศาล
ได้ มีคาสัง่ หรือคู่ความมีคาขอขึ ้นมาก่อนสิ ้นระยะเวลานั ้น เว้ นแต่ในกรณีที่มีเหตุสดุ วิสยั

มาตรา ๒๔ เมื่อคู่ความฝ่ ายใดยกปั ญหาข้ อกฎหมายขึ ้นอ้ าง ซึ่งถ้ าหากได้ วินิจฉัยให้ เป็ น
คุณแก่ฝ่ายนั ้นแล้ ว จะไม่ต้องมีการพิจารณาคดีต่อไปอีก หรื อไม่ต้องพิจารณาประเด็นสาคัญ
แห่งคดีบางข้ อ หรือถึงแม้ จะดาเนินการพิจารณาประเด็นข้ อสาคัญแห่งคดีไป ก็ไม่ทาให้ ได้ ความ
Jus_Highlight

ชัดขึ ้นอีกแล้ ว เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาขอ ให้ ศาลมีอานาจที่จะ


มีคาสัง่ ให้ มีผลว่าก่อนดาเนินการพิจารณาต่อไป ศาลจะได้ พิจารณาปั ญหาข้ อกฎหมายเช่นว่านี ้
แล้ ววินิจฉัยชี ้ขาดเบื ้องต้ นในปั ญหานั ้น
ถ้ าศาลเห็นว่าคาวินิจฉัยชี ้ขาดเช่นว่านี ้จะทาให้ คดีเสร็จไปได้ ทั ้งเรื่องหรือเฉพาะแต่ประเด็น
แห่งคดีบางข้ อ ศาลจะวินิจฉัยชี ้ขาดปั ญหาที่กล่าวแล้ วและพิพากษาคดีเรื่ องนั ้นหรื อเฉพาะแต่
ประเด็นที่เกี่ยวข้ องไปโดยคาพิพากษาหรือคาสัง่ ฉบับเดียวกันก็ได้
คาสั่ง ใด ๆ ของศาลที่ ได้ อ อกตามมาตรานี ้ ให้ อุท ธรณ์ แ ละฎี กาได้ ตามที่ บัญญั ติไ ว้ ใ น
มาตรา ๒๒๗, ๒๒๘ และ ๒๔๗

มาตรา ๒๕ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ องให้ ศาลสัง่ กาหนดวิธีการอย่าง


ใด ๆ ที่บัญญั ติ ไว้ ในภาค ๔ เพื่ อคุ้ม ครองสิทธิ ของคู่ความในระหว่า งการพิ จารณา หรื อเพื่ อ
บังคับตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตหรือยกคาขอนั ้นเสียโดยไม่ชกั ช้ า
ถ้ า ในเวลาที่ ยื่ น ค าขอนัน้ ศาลจะชี ข้ าดคดี ไ ด้ อยู่แ ล้ ว ศาลจะวิ นิ จ ฉั ย ค าขอนั น้ ในค า
พิพากษา หรือในคาสัง่ ชี ้ขาดคดีก็ได้

มาตรา ๒๖ ถ้ าศาลได้ ตั ้งข้ อถาม หรือออกคาสัง่ หรือชี ้ขาดเกี่ยวด้ วยการดาเนินคดีเรื่ องใด


เรื่องหนึง่ และคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ในคดีเรื่องนั ้นคัดค้ านข้ อถามหรื อคาสัง่ หรื อคาชี ้ขาดนั ้นว่า
ไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ก่อนที่ศาลจะดาเนินคดีต่อไป ให้ ศาลจดข้ อถามหรื อคาสัง่ หรื อคาชี ้ขาดที่
ถูกคัดค้ านและสภาพแห่งการคัดค้ านลงไว้ ในรายงาน แต่สว่ นเหตุผลที่ผ้ คู ัดค้ านยกขึ ้นอ้ างอิงนั ้น
ให้ ศ าลใช้ ดุลพิ นิจ จดลงไว้ ใ นรายงาน หรื อ กาหนดให้ คู่ความฝ่ ายที่ คัดค้ า นยื่ น คาแถลงเป็ น
หนังสือเพื่อรวมไว้ ในสานวน
Jus_Highlight

มาตรา ๒๗ ในกรณี ที่ มิ ไ ด้ ป ฏิ บัติตามบทบัญญั ติแ ห่ ง ประมวลกฎหมายนี ใ้ นข้ อ ที่ มุ่ง


หมายจะยังให้ การเป็ นไปด้ วยความยุติธรรม หรื อที่เกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน
ในเรื่ องการเขียน และการยื่ นหรื อ การส่งคาคู่ความหรื อเอกสารอื่น ๆ หรื อในการพิจารณาคดี
การพิ จ ารณาพยานหลักฐาน หรื อ การบัง คับ คดี เมื่อ ศาลเห็ น สมควรหรื อ เมื่ อคู่ความฝ่ ายที่
เสียหายเนื่องจากการที่มิได้ ปฏิบตั ิเช่นว่านั ้นยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ อง ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่
ให้ เพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบนั ้นเสียทั ้งหมดหรื อบางส่วน หรื อสัง่ แก้ ไขหรื อมีคาสัง่ ใน
เรื่องนั ้นอย่างใดอย่างหนึง่ ตามที่ศาลเห็นสมควร
ข้ อค้ า นเรื่ อ งผิดระเบียบนั ้น คู่ความฝ่ ายที่เสียหายอาจยกขึ ้นกล่าวได้ ไม่ ว่าในเวลาใด ๆ
ก่อนมีค าพิพากษา แต่ ต้องไม่ช้ากว่ าแปดวันนับแต่วันที่คู่ความฝ่ ายนั ้นได้ ทราบข้ อความหรื อ
พฤติการณ์ อันเป็ นมูลแห่ งข้ ออ้ างนั ้น แต่ทั ้งนี ้คู่ความฝ่ ายนั ้นต้ องมิได้ ดาเนินการอันใดขึ ้นใหม่
หลังจากที่ได้ ทราบเรื่องผิดระเบียบแล้ ว หรือต้ องมิได้ ให้ สตั ยาบันแก่การผิดระเบียบนั ้น ๆ
ถ้ าศาลสัง่ ให้ เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบใด ๆ อันมิใช่เรื่ องที่ค่คู วามละเลยไม่
ดาเนินกระบวนพิจารณาเรื่องนั ้นภายในระยะเวลาซึง่ กฎหมายหรือศาลกาหนดไว้ เพียงเท่านี ้ไม่
เป็ นการตัดสิทธิค่คู วามฝ่ ายนั ้น ในอันที่จะดาเนินกระบวนพิจารณานั ้น ๆ ใหม่ให้ ถูกต้ องตามที่
กฎหมายบังคับ

มาตรา ๒๘ ถ้ ามีคดีหลายเรื่ องค้ า งพิจ ารณาอยู่ใ นศาลเดี ยวกันหรื อในศาลชั ้นต้ นสอง
ศาลต่างกัน และคู่ความทั ้งหมด หรื อแต่บางฝ่ ายเป็ นคู่ความรายเดียวกัน กับทั ้งการพิจารณา
คดี เหล่า นั ้น ถ้ า ได้ รวมกัน แล้ ว จะเป็ นการสะดวก หากศาลนั ้นหรื อ ศาลหนึ่ง ศาลใดเหล่า นัน้
เห็นสมควรให้ พิจารณาคดีรวมกัน หรื อหากคู่ความทั ้งหมดหรื อแต่บางฝ่ ายมีคาขอให้ พิจารณา
คดีรวมกันโดยแถลงไว้ ในคาให้ การหรือทาเป็ นคาร้ องไม่ว่าในเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษา เมื่อ
ศาลได้ ฟังคู่ความทุกฝ่ ายแห่งคดีนั ้น ๆ แล้ วถ้ าศาลเป็ นที่พอใจว่า คดีเหล่านั ้นเกี่ยวเนื่องกัน ก็ให้
ศาลมีอานาจออกคาสัง่ ให้ พิจารณาคดีเหล่านั ้นรวมกัน
Jus_Highlight

ถ้ าจะโอนคดีมาจากอีกศาลหนึ่งหรื อโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่งที่มีเขตอานาจเหนือคดีนั ้น
ศาลจะมีคาสัง่ ก่อนที่ได้ รับความยินยอมของอีกศาลหนึ่งนั ้นไม่ได้ แต่ถ้าศาลที่จะรับโอนคดีไม่
ยินยอม ก็ให้ ศาลที่จะโอนคดีนั ้นส่งเรื่องให้ อธิบดีผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์ ชี ้ขาด คาสัง่ ของอธิ บดี
ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๙ ถ้ าคดีที่ฟ้องกันนั ้นมีข้อหาหลายข้ อด้ วยกันและศาลเห็นว่าข้ อหาข้ อหนึ่งข้ อ


ใดเหล่านั ้นมิได้ เกี่ยวข้ องกันกับข้ ออื่น ๆ เมื่อศาลเห็นสมควร หรื อเมื่อคู่ความผู้มีส่วนได้ เสียได้
ยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ องให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ แยกคดีเสียโดยเร็ว ถ้ าโจทก์ ประสงค์ จะให้ พิจารณา
ข้ อหาเช่นว่ านัน้ ต่อ ไป ก็ ให้ ศาลดาเนิน การพิจ ารณาคดีไ ปเสมือ นหนึ่งว่ าเป็ นคดีอี กเรื่ องหนึ่ง
ต่างหาก โดยมีเงื่อนไขที่ศาลจะกาหนดไว้ ตามที่เห็นสมควร
ถ้ าคดีที่ฟ้องกันนั ้นมีข้อหาหลายข้ อ และศาลเห็นว่าหากแยกพิจารณาข้ อหาทั ้งหมดหรื อ
ข้ อใดข้ อหนึง่ ออกจากกันแล้ ว จะทาให้ การพิจารณาข้ อหาเหล่านั ้นสะดวก ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อน
มีคาพิพากษา เมื่อศาลเห็นสมควร หรื อเมื่อคู่ความผู้มีส่ว นได้ เสียยื่น คาขอโดยท าเป็ นคาร้ อ ง
และเมื่อศาลได้ ฟังคู่ความทุกฝ่ ายแล้ ว ให้ ศาลมีอานาจสัง่ แยกข้ อหาเหล่านั ้นทั ้งหมดหรื อแต่ข้อ
ใดข้ อหนึง่ ออกพิจารณาต่างหากเป็ นเรื่อง ๆ ไป

มาตรา ๓๐ ให้ ศาลมี อานาจออกข้ อ กาหนดใด ๆ แก่ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อ แก่
บุคคลภายนอกที่อยู่ต่อหน้ าศาลตามที่เห็นจาเป็ น เพื่อรักษาความเรี ยบร้ อยในบริ เวณศาล และ
เพื่อให้ กระบวนพิจารณาดาเนินไปตามเที่ยงธรรมและรวดเร็ ว อานาจเช่นว่านี ้ ให้ รวมถึ งการสัง่
ห้ ามคู่ความมิให้ ดาเนินกระบวนพิจารณาในทางก่อ ความราคาญ หรื อในทางประวิงให้ ชักช้ า
หรือในทางฟุ่ มเฟื อยเกินสมควร
Jus_Highlight

มาตรา ๓๑ ผู้ใดกระทาการอย่างใด ๆ ดังกล่าวต่ อไปนี ้ ให้ ถือว่ ากระท าผิดฐานละเมิ ด


อานาจศาล
(๑) ขัดขื นไม่ ปฏิ บัติตามข้ อกาหนดของศาลตามมาตราก่ อนอันว่า ด้ วยการรักษาความ
เรียบร้ อย หรือประพฤติตนไม่เรียบร้ อยในบริเวณศาล
(๒)[๒๔] เมื่ อ ได้ มีคาร้ องและได้ รับ อนุญาตจากศาลให้ ยกเว้ น ค่ า ธรรมเนี ยมศาลตาม
มาตรา ๑๕๖/๑ แล้ ว ปรากฏว่าได้ แสดงข้ อเท็จจริ งหรื อเสนอพยานหลักฐานอันเป็ นเท็จต่อศาล
ในการไต่สวนคาร้ องขอยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาล
(๓) เมื่อรู้ว่าจะมีการส่งคาคู่ความหรื อส่งเอกสารอื่น ๆ ถึงตน แล้ วจงใจไปเสียให้ พ้น หรื อ
หาทางหลีกเลีย่ งที่จะไม่รับคาคู่ความหรือเอกสารนั ้นโดยสถานอื่น
(๔) ตรวจเอกสารทั ้งหมด หรือฉบับใดฉบับหนึ่ง ซึ่งอยู่ในสานวนความ หรื อคัดเอาสาเนา
เอกสารเหล่านั ้นไป โดยฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติ มาตรา ๕๔
(๕) ขัดขื น ไม่ มาศาล เมื่ อศาลได้ มี คาสั่งตามมาตรา ๑๙ หรื อ มี หมายเรี ยกตามมาตรา
๒๗๗

มาตรา ๓๒ ผู้ใ ดเป็ นผู้ประพันธ์ บรรณาธิ การ หรื อผู้พิ มพ์ โ ฆษณาซึ่งหนังสือ พิมพ์ หรื อ
สิ่งพิมพ์ อันออกโฆษณาต่อ ประชาชน ไม่ว่า บุคคลเหล่านัน้ จะได้ ร้ ู ถึง ซึ่งข้ อ ความหรื อการออ ก
โฆษณาแห่งหนังสือพิมพ์ หรือสิง่ พิมพ์เช่นว่านั ้นหรือไม่ ให้ ถือว่าได้ กระทาผิดฐานละเมิดอานาจ
ศาลในกรณีอย่างใดอย่างหนึง่ ในสองอย่างดังจะกล่าวต่อไปนี ้
(๑) ไม่ว่าเวลาใด ๆ ถ้ าหนังสือพิมพ์ หรื อสิ่งพิมพ์ เช่นว่ามานั ้นได้ กล่าวหรื อแสดงไม่ว่าโดย
วิธีใด ๆ ซึง่ ข้ อความหรื อความเห็นอันเป็ นการเปิ ดเผยข้ อเท็จจริ งหรื อพฤติการณ์ อื่น ๆ แห่งคดี
หรือกระบวนพิจารณาใด ๆ แห่งคดี ซึง่ เพื่อความเหมาะสมหรื อเพื่อคุ้มครองสาธารณประโยชน์
ศาลได้ มี ค าสั่งห้ า มการออกโฆษณาสิ่ง เหล่า นัน้ ไม่ ว่ า โดยวิ ธี เพี ยงแต่สั่ง ให้ พิจ ารณาโดยไม่
เปิ ดเผยหรือโดยวิธีห้ามการออกโฆษณาโดยชัดแจ้ ง
Jus_Highlight

(๒) ถ้ า หนัง สือ พิ ม พ์ ห รื อ สิ่ง พิ ม พ์ ได้ กล่า วหรื อ แสดงไม่ ว่ า โดยวิ ธี ใด ๆ ในระหว่ า งการ
พิจารณาแห่งคดี ไปจนมี คาพิพากษาเป็ นที่สดุ ซึ่งข้ อความหรื อ ความเห็นโดยประสงค์ จะให้ มี
อิทธิพลเหนือความรู้สกึ ของประชาชน หรื อเหนือศาลหรื อเหนือคู่ความหรื อเหนือพยานแห่งคดี
ซึง่ พอเห็นได้ ว่าจะทาให้ การพิจารณาคดีเสียความยุติธรรมไป เช่น
ก. เป็ นการแสดงผิดจากข้ อเท็จจริงแห่งคดี หรือ
ข. เป็ นรายงานหรือย่อเรื่องหรือวิภาค ซึ่งกระบวนพิจารณาแห่งคดีอย่างไม่เป็ นกลางและ
ไม่ถกู ต้ อง หรือ
ค. เป็ นการวิภ าคโดยไม่เป็ นธรรม ซึ่ง การดาเนินคดี ของคู่ความ หรื อคาพยานหลักฐาน
หรือนิสยั ความประพฤติของคู่ความหรื อพยาน รวมทั ้งการแถลงข้ อความอันเป็ นการเสื่อมเสีย
ต่อชื่อเสียงของคู่ความหรือพยาน แม้ ถงึ ว่าข้ อความเหล่านั ้นจะเป็ นความจริง หรือ
ง. เป็ นการชักจูงให้ เกิดมีคาพยานเท็จ
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี ้ ให้ นาวิเคราะห์ ศัพท์ ทั ง้ ปวงในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ
การพิมพ์ พุทธศักราช ๒๔๗๖ มาใช้ บงั คับ

มาตรา ๓๓ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดหรือบุคคลใดกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลใดให้


ศาลนั ้นมีอานาจสัง่ ลงโทษโดยวิธีใดวิธีหนึง่ หรือทั ้งสองวิธีดงั จะกล่าวต่อไปนี ้ คือ
(ก) ไล่ออกจากบริเวณศาล หรือ
(ข) ให้ ลงโทษจาคุก หรือปรับ หรือทั ้งจาทั ้งปรับ
การไล่อ อกจากบริ เ วณศาลนั ้นให้ กระท าได้ ชั่วระยะเวลาที่ ศาลนั่ง พิจารณาหรื อภายใน
ระยะเวลาใด ๆ ก็ได้ ตามที่ศาลเห็นสมควร เมื่อจาเป็ นจะเรียกให้ ตารวจช่วยจัดการก็ได้
ในกรณีกาหนดโทษจาคุกและปรับนั ้นให้ จาคุกได้ ไม่เกินหกเดือนหรื อปรับ ไม่เกินห้ าร้ อย
บาท
Jus_Highlight

มาตรา ๓๔ ถ้ าจะต้ องดาเนิ นกระบวนพิจารณาทั ้งเรื่ องหรื อแต่บางส่วน โดยทางอาศัย


หรื อ โดยร้ องขอต่อ เจ้ า หน้ าที่ ในเมื องต่างประเทศ เมื่อ ไม่มี ข้อ ตกลงระหว่ างประเทศอย่า งใด
อย่างหนึ่ง หรื อไม่ มีกฎหมายบัญญัติไ ว้ สาหรับเรื่ องนั ้นแล้ ว ให้ ศาลปฏิ บัติตามหลักทั่ วไปแห่ ง
กฎหมายระหว่างประเทศ

หมวด ๔
การนั่งพิจารณา

มาตรา ๓๕ ถ้ าประมวลกฎหมายนี ้มิได้ บัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น การนั่งพิจารณาคดีที่ยื่น


ไว้ ต่ อ ศาลใดจะต้ อ งกระทาในศาลนัน้ ในวัน ที่ ศาลเปิ ดท าการและตามเวลาท างานที่ศาลได้
กาหนดไว้ แต่ในกรณีมีเหตุฉกุ เฉินหรือเป็ นการจาเป็ นศาลจะมีคาสัง่ กาหนดการนั่งพิจารณา ณ
สถานที่อื่น หรือในวันหยุดงาน หรือในเวลาใด ๆ ก็ได้
ให้ ผ้ ูพิพากษาและเจ้ า พนักงานศาลซึ่ง ปฏิ บัติง านในวัน หยุดงาน หรื อในเวลาใด ๆนอก
เวลาทาการปกติได้ รับค่าตอบแทนเป็ นพิเศษ ตามระเบียบที่กระทรวงยุติธรรมกาหนด โดยได้ รับ
ความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง[๒๕]
มาตรา ๓๖ การนั่งพิจารณาคดีจะต้ องกระทาในศาลต่อ หน้ าคู่ความที่ม าศาลและโดย
เปิ ดเผย เว้ นแต่
(๑) ในคดี เ รื่ อ งใดที่ มี ความจ าเป็ นเพื่ อ รั กษาความเรี ยบร้ อยในศาล เมื่ อ ศาลได้ ขับ ไล่
คู่ค วามฝ่ ายใดออกไปเสี ยจากบริ เ วณศาลโดยที่ ป ระพฤติ ไ ม่ สมควร ศาลจะดาเนิ น การนั่ ง
พิจารณาคดีต่อไปลับหลังคู่ความฝ่ ายนั ้นก็ได้
(๒) ในคดี เ รื่ อ งใด เพื่ อ ความเหมาะสม หรื อ เพื่ อ คุ้ม ครองสาธารณประโยชน์ ถ้า ศาล
เห็ น สมควรจะห้ า มมิ ใ ห้ มี การเปิ ดเผยซึ่งข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ พฤติ การณ์ ต่า ง ๆ ทัง้ หมด หรื อ แต่
บางส่ ว นแห่ ง คดี ซึ่ ง ปรากฏจากค าคู่ ค วามหรื อ ค าแถลงการณ์ ข องคู่ ค วา มหรื อ จากค า
พยานหลักฐานที่ได้ สบื มาแล้ วศาลจะมีคาสัง่ ดังต่อไปนี ้ก็ได้
Jus_Highlight

(ก) ห้ า มประชาชนมิ ใ ห้ เข้ า ฟั ง การพิ จ ารณาทัง้ หมดหรื อ แต่ บ างส่ว น แล้ ว ดาเนิ น การ
พิจารณาไปโดยไม่เปิ ดเผย หรือ
(ข) ห้ ามมิให้ ออกโฆษณาข้ อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ ต่าง ๆ เช่นว่านั ้น
ในบรรดาคดีทั ้งปวงที่ฟ้องขอหย่าหรือฟ้องชายชู้หรื อฟ้องให้ รับรองบุตร ให้ ศาลห้ ามมิให้ มี
การเปิ ดเผยซึง่ ข้ อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ใด ๆ ที่ศาลเห็นเป็ นการไม่สมควร หรื อพอจะเห็นได้ ว่า
จะทาให้ เกิดการเสียหายอันไม่เป็ นธรรมแก่ค่คู วามหรือบุคคลที่เกี่ยวข้ อง
ไม่ว่าศาลจะได้ มีคาสัง่ ตามอนุมาตรา (๒) นี ้หรื อไม่ คาสัง่ หรื อคาพิพากษาชี ้ขาดคดีของ
ศาลนั ้น ต้ องอ่านในศาลโดยเปิ ดเผย และมิให้ ถือ ว่าการออกโฆษณาทัง้ หมดหรื อ แต่บางส่ว น
แห่งคาพิพากษานั ้นหรือย่อเรื่องแห่งคาพิพากษาโดยเป็ นกลางและถูกต้ องนั ้น เป็ นผิดกฎหมาย

มาตรา ๓๗ ให้ ศาลดาเนินการนั่งพิจารณาคดีติดต่อกันไปเท่าที่ สามารถจะทาได้ โดยไม่


ต้ องเลือ่ นจนกว่าจะเสร็จการพิจารณาและพิพากษาคดี

มาตรา ๓๘ ถ้ าในวัน ที่ กาหนดนัด นั่ง พิ จ ารณาศาลไม่ มี เ วลาพอที่ จ ะด าเนิ น การนั่ ง


พิจารณา เนื่องจากกิจ ธุระของศาล ศาลจะมี คาสัง่ ให้ เลื่อนการนั่งพิ จารณาไปในวันอื่นตามที่
เห็นสมควรก็ได้
มาตรา ๓๙ ถ้ าการที่จะชี ้ขาดตัดสินคดีเรื่ องใดที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาลใดจาต้ องอาศัย
ทัง้ หมดหรื อ แต่ บ างส่ว นซึ่ ง คาชี ข้ าดตัด สิน บางข้ อ ที่ ศาลนัน้ เองหรื อ ศาลอื่ น จะต้ อ งกระท า
เสียก่อน หรื อ จาต้ องรอให้ เจ้ าพนักงานฝ่ ายธุรการวินิ จฉัยชี ้ขาดในข้ อเช่นนั ้นเสียก่อน หรื อถ้ า
ปรากฏว่ า ได้ มี การกระท าผิ ดอาญาเกิ ดขึ ้นซึ่ง อาจมีการฟ้องร้ องอัน อาจกระท าให้ การชี ข้ าด
ตัด สินคดี ที่ พิจ ารณาอยู่นั ้นเปลี่ยนแปลงไป หรื อ ในกรณี อื่ นใดซึ่ง ศาลเห็ น ว่า ถ้ า ได้ เ ลื่อนการ
พิ จ ารณาไปจักท าให้ ความยุติธ รรมดาเนิ น ไปด้ ว ยดี เมื่ อ ศาลเห็ น สมควรหรื อ เมื่ อ คู่ความที่
Jus_Highlight

เกี่ยวข้ องร้ อ งขอศาลจะมี คาสัง่ เลื่อนการนั่งพิ จารณาต่อไปจนกว่ าจะได้ มีการพิพากษาหรื อ ชี ้


ขาดในข้ อนั ้น ๆ แล้ วหรือภายในระยะเวลาใด ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้
ถ้ าศาลมีคาสัง่ ให้ เลือ่ นการนั่งพิจารณาดังกล่าวแล้ วโดยไม่มีกาหนด เมื่อศาลเห็นสมควร
หรื อคู่ความที่เ กี่ยวข้ องร้ อ งขอ ศาลจะมี คาสัง่ ให้ เริ่ มการนั่ง พิจ ารณาต่อ ไปในวัน ใด ๆ ตามที่
เห็นสมควรก็ได้

มาตรา ๔๐ เมื่อศาลได้ กาหนดวันนั่งพิจารณาและแจ้ งให้ ค่คู วามทราบแล้ ว ถ้ าคู่ความ


ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะขอเลื่อนการนั่งพิจารณา คู่ความฝ่ ายนั ้นต้ องเสนอคาขอเข้ ามาก่อนหรื อใน
วันนัดและแสดงเหตุผลแห่งการขอเลือ่ นนั ้น ในกรณีเช่นว่านี ้ ห้ ามมิให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตาม
คาขอ เว้ นแต่การขอเลื่อนการนั่งพิจ ารณานั ้นมีเหตุจาเป็ นอันไม่อาจก้ าวล่วงเสียได้ และหาก
ศาลไม่อนุญาตจะทาให้ เสียความยุติธรรม
เมื่อศาลจะสัง่ ให้ เลือ่ นการนัง่ พิจารณา ศาลอาจสัง่ ให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นเสียค่าป่ วยการพยาน
ซึ่ง มาศาลตามหมายเรี ยกและเสียค่ า ใช้ จ่า ยในการที่คู่ความฝ่ ายอื่น มาศาล เช่น ค่ าพาหนะ
เดิ น ทางและค่ า เช่ า ที่ พักของตัว ความ ทนายความ หรื อ พยาน เป็ นต้ น ตามจ านวนที่ ศาล
เห็นสมควร ถ้ าคู่ความฝ่ ายที่ขอเลือ่ นคดีไม่ชาระค่าป่ วยการหรื อค่าใช้ จ่ายตามที่ศาลกาหนด ให้
ศาลยกคาขอเลือ่ นคดีนั ้นเสีย
ค่าป่ วยการหรือค่าใช้ จ่ายที่จ่ายตามวรรคสองให้ ตกเป็ นพับ
คาขอเลือ่ นคดีตามวรรคหนึง่ ถ้ าไม่ได้ เสนอต่อหน้ าศาลด้ วยวาจา ก็ให้ ทาเป็ นคาร้ องและ
จะทาฝ่ ายเดียวโดยได้ รับอนุญาตจากศาลก็ได้

มาตรา ๔๑ ถ้ า มีการขอเลื่อนการนั่ง พิ จ ารณาโดยอ้ างว่ า ตัว ความผู้แ ทนทนายความ


พยาน หรื อ บุ คคลอื่ น ที่ ถู ก เรี ย กให้ มาศาลไม่ ส ามารถมาศาลได้ เพราะป่ วยเจ็ บ เมื่ อ ศาล
เห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาขอฝ่ ายเดียว ศาลจะมีคาสัง่ ตั ้งเจ้ าพนักงานไป
Jus_Highlight

ทาการตรวจก็ได้ และถ้ าสามารถหาแพทย์ได้ ก็ให้ ตั ้งแพทย์ไปตรวจด้ วย ถ้ าผู้ที่ศาลตั ้งให้ ไปตรวจ


ได้ รายงานโดยสาบานตนหรื อกล่าวคาปฏิ ญาณแล้ ว และศาลเชื่อว่าอาการของผู้ที่อ้างว่าป่ วย
นัน้ ไม่ ร้ ายแรงถึง กับ จะมาศาลไม่ ไ ด้ ให้ ศาลด าเนิ น กระบวนพิ จ ารณาตามบทบัญ ญั ติแ ห่ ง
ประมวลกฎหมายนี ้ว่ าด้ วยการขาดนัดหรื อการไม่ม าศาลของบุคคลที่อ้า งว่า ป่ วยนัน้ แล้ วแต่
กรณี
ศาลอาจสัง่ ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ขอให้ ไปตรวจตามวรรคหนึง่ หรือคู่ความใดไปกับผู้ที่ศาลตั ้งให้
ไปตรวจ คู่ความนั ้นจะมอบให้ ผ้ ใู ดไปแทนตนก็ได้
ค่าพาหนะและค่ าป่ วยการของเจ้ า พนักงานและแพทย์ ให้ ถือ ว่า เป็ นค่า ฤชาธรรมเนียม
และให้ นามาตรา ๑๖๖ มาใช้ บงั คับ

มาตรา ๔๒ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในคดีที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาลได้ มรณะเสียก่อน


ศาลพิพากษาคดี ให้ ศาลเลือ่ นการนัง่ พิจารณาไปจนกว่าทายาทของผู้มรณะหรื อผู้จัดการทรัพย์
มรดกของผู้มรณะ หรื อ บุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพย์ มรดกไว้ จะได้ เข้ ามาเป็ นคู่ความแทนที่ ผ้ ู
มรณะโดยมีคาขอเข้ ามาเอง หรื อโดยที่ศาลหมายเรี ยกให้ เข้ ามา เนื่องจากคู่ความฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึง่ มีคาขอฝ่ ายเดียว คาขอเช่นว่านี ้จะต้ องยื่นภายในกาหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่ค่คู วามฝ่ ายนั ้น
มรณะ
ถ้ าไม่มีคาขอของบุคคลดังกล่าวมาแล้ ว หรือไม่มีคาขอของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งภายใน
เวลาที่กาหนดไว้ ให้ ศาลมีคาสัง่ จาหน่ายคดีเรื่องนั ้นเสียจากสารบบความ

มาตรา ๔๓ ถ้ าทายาทของผู้มรณะ หรื อผู้จัดการทรัพย์ มรดกของผู้มรณะ หรื อบุคคลอื่น


ใดที่ปกครองทรัพย์มรดก ประสงค์จะขอเข้ ามาเป็ นคู่ความแทน ก็ให้ ยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ อง
ต่อศาลเพื่อการนั ้น
Jus_Highlight

ในกรณีเช่นนี ้ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาขอศาลอาจสัง่ ให้ ผ้ ู


ที่จะเข้ ามาเป็ นคู่ความแทนนั ้นแสดงพยานหลักฐานสนับสนุนคาขอเช่ นว่านั ้นได้ เ มื่อได้ แสดง
พยานหลักฐานดังกล่าวนั ้นแล้ ว ให้ ศาลมีคาสั่งอนุญาตหรื อไม่อนุญาตในการที่จะเข้ ามาเป็ น
คู่ความแทน

มาตรา ๔๔ ค าสั่ง ให้ หมายเรี ย กบุ ค คลใดเข้ ามาแทนผู้ มรณะนั น้ จะต้ องก าหนด
ระยะเวลาพอสมควรเพื่อให้ บคุ คลนั ้นมีโอกาสคัดค้ านในศาลว่าตนมิได้ เป็ นทายาทของผู้มรณะ
หรือมิได้ เป็ นผู้จดั การทรัพย์มรดกหรือผู้ปกครองทรัพย์ มรดกนั ้น
ทายาท ผู้จัดการทรัพย์ มรดก หรื อบุคคลผู้ถูกเรี ยกไม่จาต้ องปฏิ บัติตามหมายเช่นว่านัน้
ก่อนระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้ เพื่อการยอมรับฐานะนั ้นได้ ลว่ งพ้ นไปแล้ ว
ถ้ าบุคคลที่ ถูกศาลหมายเรี ยกนัน้ ยิน ยอมรั บเข้ า มาเป็ นคู่ความแทนผู้มรณะให้ ศาลจด
รายงานพิสดารไว้ และดาเนินคดีต่อไป
ถ้ าบุคคลนั ้นไม่ยินยอมหรือไม่มาศาล ให้ ศาลทาการไต่สวนตามที่เห็นสมควรถ้ าศาลเห็น
ว่าหมายเรียกนั ้นมีเหตุผลฟั งได้ ก็ให้ ออกคาสัง่ ตั ้งบุคคลผู้ ถูกเรี ยกเป็ นคู่ความแทนผู้มรณะแล้ ว
ดาเนินคดีต่ อไป ถ้ าศาลเห็นว่า ข้ อคัดค้ านของบุคคลผู้ถูกเรี ยกมีเหตุผลฟั งได้ ก็ให้ ศาลสัง่ เพิ ก
ถอนหมายเรี ยกนั ้นเสีย และถ้ าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่ สามารถเรี ยกทายาทอันแท้ จริ งหรื อ
ผู้จัด การทรั พ ย์ มรดกหรื อบุคคลที่ ป กครองทรั พย์ ม รดกของผู้ มรณะเข้ ามาเป็ นคู่ความแทนผู้
มรณะได้ ภายในกาหนดเวลาหนึ่งปี ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ ตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชน์ แห่งความ
ยุติธรรม

มาตรา ๔๕ ถ้ าปรากฏต่อศาลว่าคู่ความฝ่ ายหนึง่ ตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถก็ดี หรื อผู้แทน


โดยชอบธรรมของคู่ความฝ่ ายที่เป็ นผู้ไร้ ความสามารถได้ มรณะหรือหมดอานาจเป็ นผู้แทนก็ดีให้
ศาลเลือ่ นการนัง่ พิจารณาไปภายในระยะเวลาอันสมควรเพื่อผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อผู้แทนโดย
Jus_Highlight

ชอบธรรมคนใหม่จะได้ แจ้ งให้ ทราบถึงการได้ รับแต่งตั ้งของตนโดยยื่นคาขอเป็ นคาร้ องต่อศาล


เพื่อการนั ้น ถ้ ามิได้ ยื่นคาขอดังกล่าวมาแล้ วให้ นามาตรา ๕๖ มาใช้ บงั คับ
ถ้ าผู้แทนหรื อทนายความของคู่ความได้ มรณะหรื อหมดอานาจเป็ นผู้แทน ให้ ศาลเลื่อ น
การนัง่ พิจารณาไปจนกว่าตัวความจะได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลแจ้ งให้ ทราบถึงการที่ได้ แต่งตั ้งผู้แทน
หรือทนายความขึ ้นใหม่ หรือคู่ความฝ่ ายนั ้นมีความประสงค์ จะมาว่าคดีด้วยตนเอง แต่ถ้าศาล
เห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ มีคาขอฝ่ ายเดียว ให้ ศาลมีอานาจสัง่ กาหนดระยะเวลา
ไว้ พอสมควร เพื่อให้ ตวั ความมีโอกาสแจ้ งให้ ทราบถึงการแต่งตั ้งหรื อความประสงค์ ของตนนั ้นก็
ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ถ้ าตัวความมิได้ แจ้ งให้ ทราบภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ศาลจะมีคาสัง่ ให้
เริ่มการนัง่ พิจารณาต่อไปในวันใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
บทบัญญั ติ แ ห่ง วรรคก่ อนนัน้ ให้ น ามาใช้ บัง คับ แก่ กรณี ที่ ผ้ แู ทนโดยชอบธรรมของผู้ไ ร้
ความสามารถหมดอานาจลง เพราะเหตุที่บคุ คลนั ้นได้ มีความสามารถขึ ้นแล้ วด้ วยโดยอนุโลม

หมวด ๕
รายงานและสานวนความ

มาตรา ๔๖ บรรดากระบวนพิจารณาเกี่ยวด้ วยการพิจารณาและการชี ้ขาดตัดสินคดีแพ่ง


ทั ้งหลายซึง่ ศาลเป็ นผู้ทานั ้น ให้ ทาเป็ นภาษาไทย
บรรดาคาคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่ค่คู วามหรื อศาลหรื อเจ้ า
พนักงานศาลได้ ทาขึ ้นซึง่ ประกอบเป็ นสานวนของคดีนั ้น ให้ เขียนเป็ นหนังสือไทยและเขียนด้ วย
หมึกหรือดีดพิมพ์ หรื อตีพิมพ์ ถ้ ามีผิดตกที่ใดห้ ามมิให้ ขูดลบออก แต่ให้ ขีดฆ่าเสียแล้ วเขียนลง
ใหม่ และผู้เขียนต้ องลงชื่อไว้ ที่ริมกระดาษ ถ้ ามีข้อความตกเติมให้ ผ้ ตู กเติมลงลายมือชื่อ หรื อลง
ชื่อย่อไว้ เป็ นสาคัญ
Jus_Highlight

ถ้ าต้ นฉบั บ เอกสารหรื อ แผ่ น กระดาษไม่ ว่ า อย่ า งใด ๆ ที่ ส่ ง ต่ อ ศาลได้ ท า ขึ น้ เป็ น
ภาษาต่ างประเทศ ให้ ศาลสัง่ คู่ความฝ่ ายที่ส่งให้ ทาคาแปลทั ้งฉบับหรื อ เฉพาะแต่ส่ว นสาคัญ
โดยมีคารับรองมายื่นเพื่อแนบไว้ กบั ต้ นฉบับ
ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดหรื อ บุคคลใดที่ม าศาลไม่เ ข้ าใจภาษาไทยหรื อเป็ นใบ้ หรื อ หูหนวกและ
อ่านเขียนหนังสือไม่ได้ ให้ ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องจัดหาล่าม

มาตรา ๔๗ ถ้ าคู่ความหรือบุคคลใดยื่นใบมอบอานาจต่อศาล ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ ให้


คู่ความหรือบุคคลนั ้น ให้ ถ้อยคาสาบานตัวว่าเป็ นใบมอบอานาจอันแท้ จริง
ถ้ าศาลมีเหตุอนั ควรสงสัยว่า ใบมอบอานาจที่ยื่นนั ้นจะไม่ใช่ใบมอบอานาจอันแท้ จริ งก็ดี
หรือเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ยื่นคาร้ องแสดงเหตุอนั ควรสงสัยว่าใบมอบอานาจนั ้นจะมิใช่ใบมอบ
อานาจอัน แท้ จริ ง ก็ดี ให้ ศาลมี อานาจที่จ ะสัง่ ให้ คู่ความหรื อ บุคคลที่ เกี่ ยวข้ องนั ้นยื่ นใบมอบ
อานาจตามที่บญ
ั ญัติไว้ ต่อไปนี ้
ถ้ าใบมอบอานาจนั ้นได้ ทาในราชอาณาจักรสยามต้ องให้ นายอาเภอเป็ นพยานถ้ าได้ ทาใน
เมืองต่างประเทศที่มีกงสุลสยาม ต้ องให้ กงสุลนั ้นเป็ นพยาน ถ้ าได้ ทาในเมืองต่างประเทศที่ไม่มี
กงสุลสยาม ต้ องให้ บุคคลเหล่านี ้เป็ นพยานคือเจ้ าพนักงานโนตารี ปับลิกหรื อแมยิสเตร็ ด หรื อ
บุคคลอื่นซึง่ กฎหมายแห่งท้ องถิ่นตั ้งให้ เป็ นผู้มีอานาจเป็ นพยานในเอกสารเช่นว่านี ้ และต้ องมี
ใบสาคัญของรัฐบาลต่างประเทศที่เกี่ยวข้ องแสดงว่าบุคคลที่เป็ นพยานนั ้นเป็ นผู้มีอานาจกระทา
การได้
บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ให้ ใช้ บงั คับแก่ใบสาคัญและเอกสารอื่น ๆ ทานองเช่นว่ามานี ้ ซึ่ง
คู่ความจะต้ องยื่นต่อศาล

มาตรา ๔๘ ในคดีทกุ เรื่อง ให้ เป็ นหน้ าที่ของศาลต้ องจดแจ้ งรายงานการนั่งพิจารณาหรื อ


กระบวนพิจารณาอื่น ๆ ของศาลไว้ ทกุ ครั ้ง
Jus_Highlight

รายงานนั ้นต้ องมีรายการต่อไปนี ้


(๑) เลขคดี
(๒) ชื่อคู่ความ
(๓) สถานที่ วัน และเวลาที่ศาลนัง่ พิจารณาหรือดาเนินกระบวนพิจารณา
(๔) ข้ อความโดยย่อเกี่ยวด้ วยเรื่องที่กระทาและรายการข้ อสาคัญอื่น ๆ
(๕) ลายมือชื่อผู้พิพากษา
เมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้ หรือเมื่อศาลเห็นเป็ นการจาเป็ นก็ให้ ศาลจดบันทึก (โดยจดรวม
ไว้ ในรายงานพิสดารหรืออีกส่วนหนึง่ ต่างหาก) ซึ่งคาแถลงหรื อคาคัดค้ านในข้ อสาคัญข้ อตกลง
คาชี ้ขาด คาสัง่ หรือการอื่น ๆ หรือกระบวนพิจารณาที่ทาด้ วยวาจาตามบทบัญญัติแ ห่งประมวล
กฎหมายนี ้

มาตรา ๔๙ ในส่วนที่เกี่ ยวด้ ว ยคาแถลงหรื อคาคัดค้ านของคู่ความ หรื อคาให้ การของ


พยานหรื อผู้เชี่ ยวชาญหรื อข้ อ ตกลงในการสละสิท ธิ ของคู่ความนัน้ ให้ ถือว่ารายงานของศาล
เป็ นพยานหลักฐานเบื ้องต้ นได้ ต่อเมื่อศาลได้ อ่านให้ ค่คู วามหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องฟั งและได้ จด
ลงไว้ ซงึ่ ข้ อแก้ ไขเพิ่มเติมตามที่ขอร้ องหรื อที่ชี ้แจงใหม่ ทั ้งคู่ความหรื อบุคคลนั ้น ๆ ได้ ลงลายมือ
ชื่อไว้ เป็ นสาคัญ

มาตรา ๕๐ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใด หรือบุคคลใดจะต้ องลงลายมือชื่อในรายงานใดเพื่อแสดง


รับรู้ รายงานนั ้น หรื อจะต้ องลงลายมือชื่อในเอกสารใดเพื่อ รับรองการอ่านหรื อการส่งเอกสาร
เช่นว่านั ้น
(๑) การลงลายมือ พิมพ์นิ ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอย่างอื่นที่ได้ ทาต่อหน้ าศาลนั ้น ไม่
จาต้ องมีลายมือชื่อของพยานสองคนรับรอง
Jus_Highlight

(๒) ถ้ าคู่ความ หรื อ บุคคลที่ จะต้ อ งลงลายมือ ชื่อ ในรายงานดัง กล่าวแล้ ว ลงลายมือ ชื่ อ
ไม่ได้ หรือไม่ยอมลงลายมือชื่อ ให้ ศาลทารายงานจดแจ้ งเหตุที่ไม่มีลายมือชื่อเช่นนั ้นไว้ แทนการ
ลงลายมือชื่อ

มาตรา ๕๑ ให้ เป็ นหน้ าที่ของศาลที่จะปฏิบตั ิดงั นี ้


(๑) ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาลตามลาดับที่รับไว้ กล่าวคือ ตามวันและเวลาที่
ยื่นหรือเสนอคาฟ้องเพื่อเริ่มคดีต่อศาล ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้
(๒) ลงทะเบียนคาพิพากษา หรือคาสัง่ ชี ้ขาดคดีทั ้งหมดของศาลในสารบบคาพิพากษา
(๓) รวบรวมรายงานและเอกสารที่ส่งต่อศาลหรื อศาลทาขึน้ กับ คาสั่งและคาพิพ ากษา
ของศาล ไว้ ในสานวนความเรื่องนั ้น แล้ วเก็บรักษาไว้ ในที่ปลอดภัย
(๔) คัดสาเนาค าพิ พ ากษา คาสั่ง ชี ข้ าดคดี แล้ ว เก็ บ รั กษาไว้ เ รี ยงตามลาดับ และในที่
ปลอดภัย
(๕) เก็บรักษาสารบบและสมุดของศาล เช่นสารบบความและสารบบคาพิพากษาไว้ ในที่
ปลอดภัย

มาตรา ๕๒ เมื่อคาพิพากษาหรือคาสัง่ อันเป็ นเด็ดขาดถึงที่สดุ แล้ วเรื่ องใดได้ มีการปฏิ บัติ


ตาม หรือบังคับไปแล้ ว หรือระยะเวลาที่กาหนดไว้ เพื่อการบังคับนั ้นได้ ล่วงพ้ นไปแล้ ว ให้ ศาลที่
เก็ บสานวนนั ้นไว้ จัดส่ง สานวนนัน้ ไปยังกระทรวงยุติธ รรม เพื่ อเก็บ รั กษาไว้ ห รื อ จัดการตาม
กฎกระทรวงว่าด้ วยการนั ้น

มาตรา ๕๓ ถ้ ารายงาน คาพิพากษา คาสัง่ หรื อเอกสารอื่นใดที่รวมไว้ ในสานวนความซึ่ง


ยังอยู่ในระหว่างพิจารณา หรื อรอการบังคับของศาลสูญหายไป หรื อบุบสลายทั ้งหมดหรื อแต่
บางส่วน เป็ นการขัดข้ องต่อการชี ้ขาดตัดสินหรื อบังคับคดีเมื่อศาลเห็นสมควร หรื อเมื่อคู่ความ
Jus_Highlight

ฝ่ ายที่ เกี่ ยวข้ อ งยื่ น คาขอโดยท าเป็ นคาร้ อง ให้ ศาลสัง่ คู่ความหรื อบุคคลผู้ถือเอกสารนัน้ น า
สาเนาที่รับรองถูกต้ องมาส่งต่อศาล ถ้ าหากสาเนาเช่นว่านั ้นทั ้งหมดหรื อบางส่วนหาไม่ได้ ให้
ศาลมีคาสั่งให้ พิจารณาคดีนัน้ ใหม่ หรื อมีคาสัง่ อย่างอื่น ตามที่เห็น สมควร เพื่อประโยชน์ แห่ ง
ความยุติธรรม

มาตรา ๕๔ คู่ความก็ดี หรื อพยานในส่วนที่เ กี่ยวกับ คาให้ การของตนในคดีนั ้นก็ดีหรื อ


บุคคลภายนอกผู้มีสว่ นได้ เสียโดยชอบหรือมีเหตุผลอันสมควรก็ดี อาจร้ องขออนุญาตต่อศาลไม่
ว่าเวลาใดในระหว่าง หรื อภายหลังการพิจารณาเพื่อตรวจเอกสารทั ้งหมดหรื อแต่บางฉบับใน
สานวนเรื่องนั ้น หรือขอคัดสาเนา หรือขอให้ จ่าศาลคัดสาเนาและรับรอง แต่ทั ้งนี ้
(๑) ห้ ามมิให้ อนุญาตเช่นว่านั ้นแก่บุคคลอื่นนอกจากคู่ความหรื อพยานในคดีที่พิจารณา
โดยไม่เปิ ดเผย หรือในคดีที่ศาลได้ มีคาสัง่ ห้ ามการตรวจหรือคัดสาเนาเอกสารในสานวนทั ้งหมด
หรือบางฉบับเพื่อรักษาความสงบเรี ยบร้ อยหรื อผลประโยชน์ ทั่วไปของประชาชน ถึงแม้ ผ้ ขู อจะ
เป็ นคู่ความหรือพยานก็ห้ามมิให้ อนุญาตดุจกัน แต่ทั ้งนี ไ้ ม่ตัดสิทธิ ของคู่ความในการที่จะตรวจ
หรือคัดสาเนาคาพิพากษาหรือคาสัง่ ในคดีนั ้น หรือในการที่จะขอสาเนาอันรับรองถูกต้ อง
(๒) ห้ ามมิ ให้ อนุญาตให้ ค่คู วามคัดถ้ อ ยคาพยานฝ่ ายตนจนกว่า จะได้ สืบพยานฝ่ ายตน
เสร็จสิ ้นแล้ ว เว้ นแต่จะมีพฤติการณ์พิเศษที่จะให้ อนุญาต
เมื่ อได้ ใ ห้ อ นุญาตแล้ ว การตรวจ หรื อ การคัดสาเนานัน้ ให้ ผ้ ขู อหรื อบุคคลซึ่งได้ รับการ
แต่ งตัง้ จากผู้ข อโดยชอบเป็ นผู้คัดตามเวลาและเงื่อ นไขซึ่งจ่ าศาลจะได้ กาหนดให้ เ พื่อ ความ
สะดวกของศาลหรือเพื่อความปลอดภัยของเอกสารนั ้น
ห้ ามมิใ ห้ คัดสาเนาคาพิพ ากษาหรื อ คาสัง่ ก่ อนที่ไ ด้ อ่ านคาพิ พากษาหรื อ คาสัง่ นั ้นและ
ก่อนที่ได้ ลงทะเบียนในสารบบคาพิพากษา
Jus_Highlight

ในกรณีที่ ศาลได้ ทาคาอธิ บ ายเพิ่ม เติม กลัดไว้ กับ รายงานแห่ งคาสัง่ หรื อคาพิพ ากษาซึ่ง
กระทาด้ วยวาจาตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๑ คาอธิ บายเพิ่มเติมเช่นว่านั ้นคู่ความจะขอตรวจ
หรือขอคัดสาเนา หรือขอสาเนาเสมือนเป็ นส่วนหนึง่ แห่งคาสัง่ หรือคาพิพากษาก็ได้
สาเนาที่รับรองนั ้น ให้ จ่าศาลเป็ นผู้รับรองโดยเรี ยกค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดไว้ ในอัตรา
ท้ ายประมวลกฎหมายนี ้ ในกรณีที่ผ้ ขู อตรวจเอกสารหรื อขอคัดสาเนาด้ วยตนเอง ไม่ต้องเรี ยก
ค่าธรรมเนียม

ลักษณะ ๓
คู่ความ

มาตรา ๕๕ เมื่อมีข้อโต้ แย้ งเกิดขึ ้น เกี่ ยวกับสิทธิ หรื อหน้ าที่ของบุคคลใดตามกฎหมาย


แพ่ง หรือบุคคลใดจะต้ องใช้ สทิ ธิทางศาล บุคคลนั ้นชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลส่วนแพ่งที่
มีเขตอานาจได้ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายแพ่งและประมวลกฎหมายนี ้

มาตรา ๕๖ ผู้ไ ร้ ความสามารถหรื อ ผู้ท าการแทนจะเสนอข้ อ หาต่ อ ศาลหรื อ ดาเนิ น


กระบวนพิ จ ารณาใด ๆ ได้ ต่ อเมื่ อได้ ปฏิ บัติตามบทบัญญัติแห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ งและ
พาณิชย์ว่าด้ วยความสามารถและตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ การให้ อนุญาตหรื อ
ยินยอมตามบทบัญญัติเช่นว่านั ้น ให้ ทาเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลเพื่อรวมไว้ ในสานวนความ
ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษาเมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อคู่ความฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดยื่น
คาขอโดยทาเป็ นคาร้ อง ให้ ศาลมีอานาจทาการสอบสวนในเรื่องความสามารถของผู้ขอหรื อของ
คู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ และถ้ าเป็ นที่พอใจว่ามีการบกพร่ องในเรื่ องความสามารถ ศาลอาจมีคาสัง่
กาหนดให้ แก้ ไขข้ อบกพร่องนั ้นเสียให้ บริบรู ณ์ ภายในกาหนดเวลาอันสมควรที่ศาลจะสัง่
Jus_Highlight

ถ้ าศาลเห็นว่า เพื่อความยุติธรรมไม่ควรให้ กระบวนพิจารณาดาเนินเนิ่นช้ าไป ศาลจะสัง่


ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่บกพร่ องในเรื่ องความสามารถนั ้นดาเนินคดีไปก่อนชั่วคราวก็ได้ แต่ห้ามมิให้
ศาลพิพากษาในประเด็นแห่งคดีจนกว่าข้ อบกพร่องนั ้นได้ แก้ ไขโดยบริบูรณ์แล้ ว
ถ้ าผู้ไร้ ความสามารถไม่มีผ้ แู ทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนโดยชอบธรรมทาหน้ าที่ไม่ได้ ศาล
มีอานาจออกคาสัง่ ให้ อนุญาตหรื อให้ ความยินยอมตามที่ต้องการ หรื อตั ้งผู้แทนเฉพาะคดีนั ้น
ให้ แก่ผ้ ไู ร้ ความสามารถ ถ้ าไม่มีบคุ คลอื่นใดให้ ศาลมีอานาจตั ้งพนักงานอัยการหรื อเจ้ าพนักงาน
ฝ่ ายปกครองอื่นให้ เป็ นผู้แทนได้

มาตรา ๕๗ บุคคลภายนอกซึง่ มิใช่ค่คู วามอาจเข้ ามาเป็ นคู่ความได้ ด้วยการร้ องสอด


(๑) ด้ วยความสมั ครใจเองเพราะเห็ น ว่ า เป็ นการจ าเป็ นเพื่ อ ยั ง ให้ ไ ด้ รับ ความรั บ รอง
คุ้ม ครอง หรื อ บังคับ ตามสิท ธิ ข องตนที่ มีอ ยู่ โดยยื่ นคาร้ องขอต่ อ ศาลที่ คดีนัน้ อยู่ใ นระหว่ า ง
พิจารณาหรือเมื่อตนมีสทิ ธิเรียกร้ องเกี่ยวเนื่องด้ วยการบังคับตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ โดยยื่น
คาร้ องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีนั ้น
(๒) ด้ วยความสมัครใจเองเพราะตนมีสว่ นได้ เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีนั ้นโดยยื่นคา
ร้ องขอต่อศาลไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษา ขออนุญาตเข้ าเป็ นโจทก์ ร่วมหรื อจาเลยร่ วม
หรือเข้ าแทนที่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเสียทีเดียวโดยได้ รับความยินยอมของคู่ความฝ่ ายนั ้นแต่
ว่ า แม้ ศ าลจะได้ อ นุ ญาตให้ เ ข้ า แทนที่ กั น ได้ ก็ ตาม คู่ความฝ่ ายนั น้ จ าต้ องผูก พัน ตนโดยค า
พิพากษาของศาลทุกประการเสมือนหนึง่ ว่ามิได้ มีการเข้ าแทนที่กนั เลย
(๓) ด้ วยถูกหมายเรียกให้ เข้ ามาในคดี (ก) ตามคาขอของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งทาเป็ น
คาร้ องแสดงเหตุว่าตนอาจฟ้องหรื อถูกคู่ความเช่นว่านั ้นฟ้องตนได้ เพื่อการใช้ สิทธิ ไล่เบี ้ยหรื อ
เพื่อใช้ ค่าทดแทน ถ้ าหากศาลพิจารณาให้ ค่คู วามเช่นว่านั ้นแพ้ คดี หรื อ (ข) โดยคาสัง่ ของศาล
เมื่อ ศาลนั ้นเห็น สมควร หรื อเมื่ อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาขอ ในกรณีที่กฎหมายบังคับให้
บุค คลภายนอกเข้ ามาในคดี หรื อ ศาลเห็ นจ าเป็ นที่ จ ะเรี ยกบุคคลภายนอกเข้ า มาในคดีเ พื่ อ
Jus_Highlight

ประโยชน์แห่งความยุติธรรม แต่ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง จะเรี ยกบุคคลภายนอกเข้ ามาในคดี


ดังกล่าวแล้ วให้ เรียกด้ วยวิธียื่นคาร้ องเพื่อให้ หมายเรี ยกพร้ อมกับคาฟ้องหรื อคาให้ การ หรื อใน
เวลาใด ๆ ต่อมาก่อนมีคาพิพากษาโดยได้ รับอนุญาตจากศาล เมื่อศาลเป็ นที่พอใจว่าคาร้ องนั ้น
ไม่อาจยื่นก่อนนั ้นได้
การส่งหมายเรี ยกบุคคลภายนอกตามอนุมาตรานี ้ต้ องมีสาเนาคาขอ หรื อคาสัง่ ของศาล
แล้ วแต่กรณี และคาฟ้องตั ้งต้ นคดีนั ้นแนบไปด้ วย
บทบัญญั ติในประมวลกฎหมายนี ้ไม่ตัดสิทธิ ข องเจ้ า หนี ้ ในอันที่จะใช้ สิทธิ เรี ยกร้ องของ
ลูกหนี ้และที่จะเรียกลูกหนี ้ให้ เข้ ามาในคดีดงั ที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา ๕๘ ผู้ร้องสอดที่ได้ เข้ าเป็ นคู่ความตามอนุมาตรา (๑) และ (๓) แห่งมาตราก่อนนี ้


มีสิทธิ เสมือ นหนึ่ง ว่ าตนได้ ฟ้ องหรื อถูกฟ้องเป็ นคดี เรื่ องใหม่ ซึ่งโดยเฉพาะผู้ร้องสอดอาจน า
พยานหลักฐานใหม่ ม าแสดง คัดค้ านเอกสารที่ ได้ ยื่น ไว้ ถามค้ า นพยานที่ ไ ด้ สืบ มาแล้ ว และ
คัดค้ านพยานหลักฐานที่ได้ สืบไปแล้ วก่อนที่ ตนได้ ร้องสอด อาจอุทธรณ์ ฎีกาคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ ของศาลตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ และอาจได้ รับหรือถูกบังคับให้ ใช้ ค่าฤชาธรรมเนียม
ห้ ามมิให้ ผ้ รู ้ องสอดที่ได้ เป็ นคู่ความตามอนุมาตรา (๒) แห่งมาตราก่อน ใช้ สิทธิ อย่างอื่น
นอกจากสิทธิที่มีอยู่แก่ค่คู วามฝ่ ายซึง่ ตนเข้ าเป็ นโจทก์ร่วมหรือจาเลยร่ วมในชั ้นพิจารณาเมื่อตน
ร้ องสอด และห้ ามมิให้ ใช้ สิทธิ เช่นว่านั ้นในทางที่ขัดกับสิทธิ ของโจทก์ หรื อจาเลยเดิม และให้ ผ้ ู
ร้ องสอดเสียค่าฤชาธรรมเนียมอันเกิดแต่การที่ร้องสอด แต่ถ้าศาลได้ อนุญาตให้ เข้ าแทนที่โจทก์
หรือจาเลยเดิม ผู้ร้องสอดจึงมีฐานะเสมอด้ วยคู่ความที่ตนเข้ าแทน
เมื่อได้ มีคาพิพากษาหรือคาสัง่ แล้ ว ถ้ ามีข้อเกี่ยวข้ องกับคดี เป็ นปั ญหาจะต้ องวินิจฉัยใน
ระหว่ างผู้ร้องสอดกับคู่ความฝ่ ายที่ ตนเข้ ามาร่ วม หรื อ ที่ตนถูกหมายเรี ยกให้ เ ข้ ามาร่ วมผู้ร้อ ง
สอดย่อมต้ องผูกพันตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น เว้ นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
Jus_Highlight

(๑) เนื่องจากความประมาทเลินเล่อของคู่ความนั ้น ทาให้ ผ้ รู ้ องสอดเข้ ามาเป็ นคู่ความใน


คดีช้าเกินสมควรที่จะแสดงข้ อเถียงอันเป็ นสาระสาคัญได้ หรือ
(๒) เมื่อ คู่ความนัน้ จงใจหรื อประมาทเลินเล่ออย่า งร้ า ยแรงมิ ได้ ยกขึน้ ใช้ ซึ่งข้ อ เถี ยงใน
ปั ญหาข้ อกฎหมายหรือข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสาคัญซึง่ ผู้ร้องสอดมิได้ ร้ ู ว่ามีอยู่เช่นนั ้น

มาตรา ๕๙ บุคคลตั ้งแต่สองคนขึ ้นไป อาจเป็ นคู่ความในคดีเดียวกันได้ โดยเป็ นโจทก์


ร่วมหรือจาเลยร่ วม ถ้ าหากปรากฏว่าบุคคลเหล่านั ้นมีผลประโยชน์ ร่วมกันในมูลความแห่งคดี
แต่ห้ามมิให้ ถือว่าบุคคลเหล่านั ้นแทนซึง่ กันและกัน เว้ นแต่มูลแห่งความคดีเป็ นการชาระหนี ้ซึ่ง
แบ่ ง แยกจากกัน มิ ได้ หรื อ ได้ มีกฎหมายบัญญั ติไ ว้ ดัง นัน้ โดยชัดแจ้ ง ในกรณี เ ช่น นี ้ ให้ ถือ ว่ า
บุคคลเหล่านั ้นแทนซึง่ กันและกันเพียงเท่าที่จะกล่าวต่อไปนี ้
(๑) บรรดากระบวนพิจารณาซึง่ ได้ ทาโดย หรือทาต่อคู่ความร่ วมคนหนึ่งนั ้นให้ ถื อว่าได้ ทา
โดย หรือทาต่อ คู่ความร่วมคนอื่น ๆ ด้ วย เว้ นแต่กระบวนพิจารณาที่ค่คู วามร่ วมคนหนึ่งกระทา
ไปเป็ นที่เสือ่ มเสียแก่ค่คู วามร่วมคนอื่น ๆ
(๒) การเลือ่ นคดีหรือการงดพิจารณาคดีซงึ่ เกี่ยวกับคู่ความร่ วมคนหนึ่งนั ้นให้ ใช้ ถึงคู่ความ
ร่วมคนอื่น ๆ ด้ วย

มาตรา ๖๐ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อ ผู้แทนโดยชอบธรรมในกรณีที่ ค่คู วามเป็ นผู้ไ ร้


ความสามารถ หรื อ ผู้แ ทนในกรณี ที่คู่ความเป็ นนิติบุคคล จะว่า ความด้ ว ยตนเองและดาเนิ น
กระบวนพิจารณาทั ้งปวงตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์ ของตน หรื อจะตั ้งแต่งทนายความคน
เดียวหรือหลายคนให้ ว่าความและดาเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได้
ถ้ า คู่ความ หรื อ ผู้แ ทนโดยชอบธรรมหรื อ ผู้ แทน ดัง ที่ ไ ด้ กล่า วมาแล้ ว ท าหนัง สือ มอบ
อานาจให้ บคุ คลใดเป็ นผู้แทนตนในคดี ผู้รับมอบอานาจเช่นว่านั ้นจะว่าความอย่างทนายความ
ไม่ได้ แต่ย่อมตั ้งทนายความเพื่อดาเนินกระบวนพิจารณาได้
Jus_Highlight

มาตรา ๖๑ การตัง้ ทนายความนั น้ ต้ อ งท าเป็ นหนัง สื อ ลงลายมื อ ชื่ อ ตั ว ความและ


ทนายความ แล้ วยื่นต่อศาลเพื่อรวมไว้ ในสานวน ใบแต่งทนายนี ้ให้ ใช้ ได้ เฉพาะคดีเรื่ องหนึ่ง ๆ
ตามที่ได้ ยื่นไว้ เท่านั ้น เมื่อทนายความผู้ใดได้ รับมอบอานาจทัว่ ไปที่จะแทนบุคคลอื่นไม่ว่าในคดี
ใด ๆ ให้ ทนายความผู้นั ้นแสดงใบมอบอานาจทัว่ ไป แล้ วคัดสาเนายื่นต่อศาลแทนใบแต่งทนาย
เพื่อดาเนินคดีเป็ นเรื่อง ๆ ไป ตามความในมาตรานี ้

มาตรา ๖๒ ทนายความซึ่ง คู่ความได้ ตัง้ แต่ง นั ้นมีอ านาจว่าความและดาเนินกระบวน


พิจารณาใด ๆ แทนคู่ความได้ ตามที่ เห็น สมควรเพื่ อรักษาผลประโยชน์ ของคู่ความนั ้น แต่ถ้า
กระบวนพิจารณาใดเป็ นไปในทางจาหน่ายสิทธิ ของคู่ความ เช่น การยอมรับตามที่ค่คู วามอีก
ฝ่ ายหนึง่ เรียกร้ อง การถอนฟ้อง การประนีประนอมยอมความ การสละสิทธิ หรื อใช้ สิทธิ ในการ
อุทธรณ์หรือฎีกา หรือในการขอให้ พิจารณาคดีใหม่ ทนายความไม่มีอานาจที่จะดาเนินกระบวน
พิจารณาเช่นว่านี ้ได้ โดยมิได้ รับอานาจจากตัวความโดยชัดแจ้ ง อานาจโดยชัดแจ้ งเช่นว่านี ้จะ
ระบุให้ ไว้ ในใบแต่งทนายสาหรับคดีเรื่ องนั ้น หรื อทาเป็ นใบมอบอานาจต่างหากในภายหลังใบ
เดียวหรือหลายใบก็ได้ และในกรณีหลังนี ้ให้ ใช้ บทบัญญัติมาตรา ๖๑ บังคับ
กรณีจะเป็ นอย่างไรก็ตาม ตัวความหรือผู้แทนจะปฏิ เสธหรือแก้ ไขข้ อเท็จจริ งที่ทนายความ
ของตนได้ กล่าวด้ วยวาจาต่อหน้ าตนในศาลในขณะนั ้นก็ได้ แม้ ถึงว่าตัวความหรื อผู้แทนนั ้นจะ
มิได้ สงวนสิทธิเช่นนั ้นไว้ ในใบแต่งทนายก็ดี
มาตรา ๖๓ บทบัญญัติแห่งมาตราก่อนนี ้ไม่ตดั สิทธิตวั ความในอันที่จะตั ้งแต่งผู้แทนหรื อ
ทนายความโดยทาเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลเพื่อให้ รับเงินหรื อทรัพย์ สินซึ่งได้ ชาระไว้ ในศาลหรื อ
วางไว้ ยงั ศาลเป็ นเงินค่าธรรมเนียมหรืออย่างอื่น และศาลได้ สงั่ ให้ จ่ายคืน หรื อส่งมอบให้ แก่ตัว
ความฝ่ ายนั ้น แต่ถ้าศาลนั ้นมีความสงสัยในความสามารถหรื อตัวบุคคลผู้แทน หรื อทนายความ
ซึง่ ได้ รับตั ้งแต่งดังกล่าวข้ างต้ น ศาลมีอานาจที่จะสัง่ ให้ ตัวความหรื อทนายความหรื อทั ้งสองคน
ให้ มาศาลโดยตนเองได้
Jus_Highlight

มาตรา ๖๔ เว้ นแต่ศาลจะได้ สงั่ เป็ นอย่างอื่น เมื่อคดีมีเหตุผลพิเศษอันเกี่ยวกับคู่ความ


ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ หรือทนายความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ โดยเฉพาะ คู่ความหรื อทนายความอาจตั ้งแต่ง
ให้ บคุ คลใดทาการแทนได้ โดยยื่นใบมอบฉันทะต่อศาลทุกครัง้ เพื่อกระทากิจการอย่างใดอย่าง
หนึง่ ดังต่อไปนี ้ คือกาหนดวันนัง่ พิจารณาหรื อวันสืบพยาน หรื อวันฟั งคาสัง่ คาบังคับ หรื อคาชี ้
ขาดใด ๆ ของศาล มาฟั ง คาสั่ง คาบัง คับ หรื อ คาชี ข้ าดใด ๆ ของศาลหรื อ สลักหลัง รั บ รู้ ซึ่ง
ข้ อความนั ้น ๆ รับสาเนาแห่งคาให้ การ คาร้ องหรื อเอกสารอื่น ๆ ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๗๑
และ ๗๒ และแสดงการรับรู้สงิ่ เหล่านั ้น

มาตรา ๖๕ ทนายความที่ตัวความได้ ตั ้งแต่งให้ เป็ นทนายในคดีจะมีคาขอต่อศาลให้ สงั่


ถอนตนจากการตั ้งแต่งนั ้นก็ได้ แต่ต้องแสดงให้ เป็ นที่พอใจแก่ศาลว่ าทนายความผู้นั ้นได้ แจ้ งให้
ตัวความทราบแล้ ว เว้ นแต่จะหาตัวความไม่พบ
เมื่อศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอแล้ ว ให้ ศาลส่งคาสัง่ นั ้นให้ ตวั ความทราบโดยเร็ วโดยวิธี
ส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอื่นแทนแล้ วแต่จะเห็นสมควร

มาตรา ๖๖ ผู้ใ ดอ้ า งว่ า เป็ นผู้แ ทนโดยชอบธรรมของตัว ความหรื อ เป็ นผู้แทนของนิ ติ
บุคคล เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องยื่นคาขอ โดยทาเป็ นคาร้ องในขณะที่
ยื่นคาฟ้องหรือคาให้ การ ศาลจะทาการสอบสวนถึงอานาจของผู้นั ้นก็ได้ และถ้ าเป็ นที่พอใจว่าผู้
นั ้นไม่มีอานาจ หรืออานาจของผู้นั ้นบกพร่อง ศาลมีอานาจยกฟ้องคดีนั ้นเสีย หรื อมีคาพิพากษา
หรือคาสัง่ อย่างอื่นได้ ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
Jus_Highlight

ลักษณะ ๔
การยอ่นและส่ งคาคู่ความและเอกสาร

มาตรา ๖๗ เมื่อประมวลกฎหมายนี ้หรื อกฎหมายอื่นบัญญัติว่า เอกสารใดจะต้ องส่ง


ให้ แก่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ อง (เช่นคาคู่ความที่ทาโดยคาฟ้อง คาให้ การ
หรือคาร้ องหรือคาขอโดยทาเป็ นคาร้ อง หมายเรี ยกหรื อหมายอื่น ๆ สาเนาคาแถลงการณ์ หรื อ
สาเนาพยานเอกสาร ฯลฯ) เอกสารนั ้นต้ องทาขึ ้นให้ ป รากฏข้ อ ความแน่ชัดถึงตัวบุคคลและมี
รายการต่อไปนี ้
(๑) ชื่ อศาลที่จ ะรั บคาฟ้ อง หรื อ ถ้ า คดี อ ยู่ใ นระหว่า งพิ จารณา ชื่ อ ของศาลนัน้ และเลข
หมายคดี
(๒) ชื่อคู่ความในคดี
(๓) ชื่อคู่ความหรือบุคคล ซึง่ จะเป็ นผู้รับคาคู่ความหรือเอกสารนั ้น
(๔) ใจความ และเหตุผลถ้ าจาเป็ นแห่งคาคู่ความหรือเอกสาร
(๕) วัน เดือน ปี ของคาคู่ความ หรือเอกสาร และลายมือชื่อของเจ้ าพนักงาน คู่ความ หรื อ
บุคคลซึง่ เป็ นผู้ยื่นหรือเป็ นผู้สง่
ในการยื่น หรื อส่งค าคู่ความ หรื อ เอกสารอื่น ใดอัน จะต้ อ งท าตามแบบพิ มพ์ ที่จัดไว้ เจ้ า
พนักงาน คู่ความ หรือบุคคลผู้เกี่ยวข้ องจะต้ องใช้ กระดาษแบบพิมพ์นั ้น ส่วนราคากระดาษแบบ
พิมพ์นั ้นให้ เรียกตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมจะได้ กาหนดไว้

มาตรา ๖๘ เพื่อประโยชน์แห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้ เรี ยกนิติบุคคลตามชื่อหรื อตามชื่อ


ที่จดทะเบียน และภูมิลาเนาหรื อสานักท าการงานของนิติบุคคลนั ้น ให้ ถือเอาสานักงานหรื อ
สานักงานแห่งใหญ่ ซึง่ อยู่ภายในเขตศาลที่จะยื่นฟ้องคดีหรือที่คดีนั ้นอยู่ในระหว่างพิจารณา
Jus_Highlight

มาตรา ๖๙ การยื่ น คาคู่ความ หรื อ เอกสารอื่ น ใดต่ อ ศาลนัน้ ให้ กระทาได้ โ ดยส่ง ต่ อ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ของศาล หรือยื่นต่อศาลในระหว่างนัง่ พิจารณา

มาตรา ๗๐ บรรดาคาฟ้อง หมายเรียกและหมายอื่น ๆ คาสัง่ คาบังคับของศาลนั ้นให้ เจ้ า


พนักงานศาลเป็ นผู้สง่ ให้ แก่ค่คู วามหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้ อง แต่ว่า
(๑) หมายเรียกพยาน ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างพยานนั ้นเป็ นผู้สง่ โดยตรง เว้ นแต่ศาลจะสัง่ เป็ น
อย่างอื่น หรือพยานปฏิเสธไม่ยอมรับหมาย ในกรณีเช่นว่านี ้ให้ เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้สง่
(๒) คาสั่ง คาบังคับ ของศาล รวมทั ้งคาสั่งกาหนดวัน นั่งพิ จารณาหรื อ สืบพยานแล้ วแต่
กรณี หรือคาสัง่ ให้ เลือ่ นคดี ถ้ าคู่ความหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องนั ้นอยู่ในศาลในเวลาที่มีคาสัง่ และ
ได้ ลงลายมือชื่อรับรู้ไว้ ให้ ถือว่าได้ สง่ โดยชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว
คาฟ้องนั ้น ให้ โจทก์เสียค่าธรรมเนียมในการส่ง ส่วนการนาส่งนั ้นโจทก์จะนาส่งหรื อไม่ก็ได้
เว้ นแต่ศาลจะสัง่ ให้ โจทก์มีหน้ าที่จดั การนาส่ง ส่วนหมายเรี ยก หมายอื่น ๆ คาสัง่ คาบังคับของ
ศาลที่ได้ ออกตามคาขอของคู่ความฝ่ ายใด ถ้ าศาลมิได้ สงั่ ให้ จัดการนาส่งด้ วย ก็ให้ ค่คู วามฝ่ าย
นั ้นเพียงแต่เสียค่าธรรมเนียมในการส่ง ในกรณีอื่น ๆ ให้ เป็ นหน้ าที่ของศาลที่จะจัดการส่ งให้ แก่
คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้ อง

มาตรา ๗๑ คาให้ การนัน้ ให้ ฝ่ายที่ ให้ การนาต้ น ฉบับ ยื่ น ไว้ ต่อ ศาลพร้ อมด้ วยสาเนา
สาหรับให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึง่ หรือคู่ความอื่น ๆ รับไปโดยทางเจ้ าพนักงานศาล
คาร้ องเพื่อแก้ ไขเพิ่มเติมคาให้ การนั ้น ให้ เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้ส่งให้ คู่ ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
หรือคู่ความอื่น ๆ โดยฝ่ ายที่ยื่นคาร้ องเป็ นผู้มีหน้ าที่จดั การนาส่ง

มาตรา ๗๒ คาร้ องและคาแถลงการณ์ ซึ่งได้ ยื่นต่อศาลภายในเวลาที่กฎหมายหรื อศาล


กาหนดไว้ หรือโดยข้ อตกลงของคู่ความตามที่ศาลจดลงไว้ ในรายงานนั ้น ให้ ผ้ ยู ื่นคาร้ องหรื อคา
Jus_Highlight

แถลงการณ์นาต้ นฉบับยื่นไว้ ต่อศาลพร้ อมด้ วยสาเนาเพื่อให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อคู่ความอื่น


ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้ องมารับไปโดยทางเจ้ าพนักงานศาล
บรรดาคาร้ องอื่น ๆ ให้ ยื่นต่อศาลพร้ อมด้ วยสาเนา เพื่อส่งให้ แก่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อ
คู่ความอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้ องและถ้ าศาลกาหนดให้ เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้ส่งสาเนาเช่นว่า
นั ้น ก็ให้ เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้สง่ โดยให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ยื่นคาร้ องเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่าย
บรรดาเอกสารอื่ น ๆ เช่ น สาเนาคาแถลงการณ์ ห รื อ สาเนาพยานเอกสารนั ้น ให้ ส่ง แก่
คู่ค วามอี ก ฝ่ ายหนึ่ ง หรื อ คู่ ความอื่ น ๆ หรื อ บุ คคลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยวิ ธี ใ ดวิ ธี ห นึ่ ง ในสองวิ ธี
ดังต่อไปนี ้
(๑) โดยคู่ความฝ่ ายที่ต้องส่งนั ้น ส่งสาเนาให้ แก่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อคู่ความอื่น ๆ หรื อ
บุคคลที่เกี่ยวข้ องเอง แล้ วส่งใบรับต่อศาลพร้ อมกับต้ นฉบับนั ้น ๆ ใบรับนั ้นจะทาโดยวิธีลงไว้ ใน
ต้ นฉบับว่าได้ รับสาเนาแล้ ว และลงลายมือชื่อผู้รับกับวัน เดือน ปี ที่ได้ รับก็ได้ หรือ
(๒) โดยคู่ความฝ่ ายที่ ต้องส่งนั ้นน าสาเนายื่ นไว้ ต่อศาลพร้ อมกับต้ นฉบับ แล้ วขอให้ เจ้ า
พนักงานศาลเป็ นผู้นาส่งให้ แก่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อคู่ความอื่น ๆ หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ อง ใน
กรณีเช่นนี ้ ผู้ขอต้ องไปกับเจ้ าพนักงานศาลและเสียค่าธรรมเนียมในการส่งนั ้นด้ วย

มาตรา ๗๓ ถ้ าค าคู่ความหรื อ เอกสารอื่ นใดจะต้ อ งให้ เ จ้ า พนักงานศาลเป็ นผู้ส่ง เมื่ อ


คู่ความผู้มีหน้ าที่ต้องส่งได้ ร้องขอ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ดาเนินการส่งโดยเร็ วเท่าที่จะทาได้ เพื่อ
การนี ้ พนักงานผู้ส่งหมายจะให้ ผ้ ขู อหรื อ บุคคลที่ ผ้ ขู อเห็ นสมควรไปด้ วยเพื่อชี ต้ ัวคู่ความหรื อ
บุคคลผู้รับหรือเพื่อค้ นหาภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของผู้รับก็ได้
ในกรณี ที่ ต้อ งส่ง ค าคู่ความหรื อ เอกสารอื่ น ใดไปตามคาสั่ง ของศาล ซึ่ง บุคคลอื่ น หรื อ
คู่ความไม่มีหน้ าที่ต้องรับผิดชอบในการส่งนั ้น ให้ เป็ นหน้ าที่ของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของศาลจะ
ดาเนินการส่ง
Jus_Highlight

มาตรา ๗๓ ทวิ คาคู่ความหรือเอกสารที่เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้สง่ ไม่ว่าการส่งนั ้นจะเป็ น


หน้ าที่ของศาลจัดการส่งเองหรื อคู่ความมีหน้ า ที่จัดการนาส่งก็ตาม ศาลอาจสัง่ ให้ ส่งโดยทาง
ไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ โดยให้ ค่คู วามฝ่ ายที่มีหน้ าที่นาส่งเป็ นผู้เสียค่าธรรมเนียมไปรษณี
ยากร กรณีเช่นนี ้ ให้ ถือว่าคาคู่ความหรือเอกสารที่สง่ โดยเจ้ าพนักงานไปรษณีย์ มีผลเสมือนเจ้ า
พนักงานศาลเป็ นผู้ส่ง และให้ น าบทบัญญัติมาตรา ๗๔ มาตรา ๗๖ และมาตรา ๗๗ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๗๔ การส่งคาคู่ความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจ้ าพนักงานศาลนั ้นให้ ปฏิบตั ิดงั นี ้


(๑) ให้ สง่ ในเวลากลางวันระหว่างพระอาทิตย์ขึ ้นและพระอาทิตย์ ตก และ
(๒) ให้ สง่ แก่ค่คู วาม หรือบุคคลซึง่ ระบุไว้ ในคาคู่ความหรือเอกสาร ณ ภูมิลาเนาหรื อสานัก
ทาการงานของคู่ความหรือบุคคลนั ้น แต่ให้ อยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติหกมาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๗๕ การส่งคาคู่ความหรื อเอกสารอื่นใดให้ แก่ทนายความที่ค่คู วามตั ้งแต่งให้ ว่า


คดี หรือให้ แก่บคุ คลที่ทนายความเช่นว่านั ้นได้ ตั ้งแต่ง เพื่อกระทากิจการอย่างใด ๆ ที่ระบุไว้ ใน
มาตรา ๖๔ นั ้น ให้ ถือว่าเป็ นการส่งโดยชอบด้ วยกฎหมาย

มาตรา ๗๖ เมื่อเจ้ าพนักงานศาลไม่พบคู่ความหรื อบุคคลที่จะส่งคาคู่ความหรื อเอกสาร


ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของบุคคลนั ้น ๆ ถ้ าได้ ส่งคาคู่ความหรื อเอกสารให้ แก่บุคคล
ใด ๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบปี ซึ่งอยู่หรื อทางานในบ้ านเรื อนหรื อที่สานักทาการงานที่ปรากฏว่าเป็ น
ของคู่ความหรือบุคคลนั ้น หรือได้ สง่ คาคู่ความหรือเอกสารนั ้นตามข้ อความในคาสัง่ ของศาลให้
ถือว่าเป็ นการเพียงพอที่จะฟั งว่าได้ มีการส่งคาคู่ความหรือเอกสารถูกต้ องตามกฎหมายแล้ ว
ในกรณีเช่นว่ามานี ้ การส่งคาคู่ความหรือเอกสารแก่ค่คู วามฝ่ ายใด ห้ ามมิให้ ส่งแก่ค่คู วาม
ฝ่ ายปรปั กษ์ เป็ นผู้รับไว้ แทน
Jus_Highlight

มาตรา ๗๗ การส่งคาคู่ความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจ้ าพนักงานศาลไปยังที่อื่นนอกจาก


ภูมิลาเนา หรือสานักทาการงานของคู่ความหรื อของบุคคลซึ่งระบุไว้ ในคาคู่ความ หรื อเอกสาร
นั ้น ให้ ถือว่าเป็ นการถูกต้ องตามกฎหมาย เมื่อ
(๑) คู่ความหรือบุคคลนั ้นยอมรับคาคู่ความหรือเอกสารนั ้นไว้ หรือ
(๒) การส่งคาคู่ความหรือเอกสารนั ้นได้ กระทาในศาล

มาตรา ๗๘ ถ้ าคู่ความหรือบุคคลที่ระบุไว้ ในคาคู่ความหรื อเอกสารปฏิ เสธไม่ยอมรับคา


คู่ค วามหรื อ เอกสารนัน้ จากเจ้ าพนักงานศาลโดยปราศจากเหตุอัน ชอบด้ ว ยกฎหมาย เจ้ า
พนักงานนั ้นชอบที่จะขอให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายปกครองที่มีอานาจหรื อ เจ้ าพนักงานตารวจ
ไปด้ วยเพื่อเป็ นพยาน และถ้ า คู่ความหรื อบุคคลนัน้ ยังคงปฏิ เ สธไม่ยอมรับ อยู่อีก ก็ให้ วางคา
คู่ความหรือเอกสารไว้ ณ ที่นั ้น เมื่อได้ ทาดังนี ้แล้ วให้ ถือว่าการส่งคาคู่ความหรื อเอกสารนั ้นเป็ น
การถูกต้ องตามกฎหมาย

มาตรา ๗๙ ถ้ าการส่งคาคู่ความหรื อเอกสารนั ้นไม่ สามารถจะท าได้ ดังที่บัญญั ติไว้ ใ น


มาตราก่อน ศาลอาจสัง่ ให้ สง่ โดยวิธีอื่นแทนได้ กล่าวคือปิ ดคาคู่ความหรื อเอกสารไว้ ในที่แลเห็น
ได้ ง่าย ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของคู่ความหรื อบุคคลผู้มีชื่อระบุไว้ ในคาคู่ความหรื อ
เอกสาร หรือมอบหมายคาคู่ความหรือเอกสารไว้ แก่เจ้ าพนักงานฝ่ ายปกครองในท้ องถิ่นหรื อเจ้ า
พนักงานตารวจ แล้ วปิ ดประกาศแสดงการที่ได้ มอบหมายดังกล่าวแล้ วนั ้นไว้ ดังกล่าวมาข้ างต้ น
หรือลงโฆษณาหรือทาวิธีอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควร
การส่งคาคู่ความหรือเอกสารโดยวิธีอื่นแทนนั ้น ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อกาหนดเวลาสิบห้ าวัน
หรือระยะเวลานานกว่านั ้นตามที่ศาลเห็นสมควรกาหนด ได้ ล่วงพ้ นไปแล้ วนับตั ้งแต่เวลาที่คา
คู่ความหรือเอกสารหรือประกาศแสดงการมอบหมายนั ้นได้ ปิดไว้ หรื อการโฆษณาหรื อวิธีอื่นใด
ตามที่ศาลสัง่ นั ้นได้ ทาหรือได้ ตั ้งต้ นแล้ ว
Jus_Highlight

มาตรา ๘๐ การส่งคาคู่ความหรือเอกสารโดยเจ้ าพนักงานศาลหรื อทางเจ้ าพนักงานศาล


นั ้น ให้ เจ้ าพนักงานศาลส่งใบรับลงลายมือชื่อคู่ความ หรื อผู้รับคาคู่ความหรื อเอกสาร หรื อส่ง
รายงานการส่งคาคู่ความหรื อเอกสารลงลายมือชื่อเจ้ า พนักงานศาลต่อศาลแล้ วแต่กรณี เพื่ อ
รวมไว้ ในสานวนความ
ใบรับหรือรายงานนั ้นต้ องลงข้ อความให้ ปรากฏแน่ชดั ถึงตัวบุคคลและรายการต่อไปนี ้
(๑) ชื่อเจ้ าพนักงานผู้สง่ หมาย และชื่อผู้รับหมาย ถ้ าหากมี
(๒) วิธีสง่ วัน เดือน ปี และเวลาที่สง่
รายงานนั ้นต้ องลงวันเดือนปี และลงลายมือชื่อของเจ้ าพนักงานผู้ทารายงาน
ใบรับนั ้นจะทาโดยวิธีจดลงไว้ ที่ต้นฉบับซึ่งยื่นต่อศาลก็ได้

มาตรา ๘๑ การส่งหมายเรียกพยานโดยคู่ความที่เกี่ยวข้ องนั ้นให้ ปฏิบตั ิดังนี ้


(๑) ให้ สง่ ในเวลากลางวันระหว่างพระอาทิตย์ขึ ้นและพระอาทิตย์ ตก และ
(๒) ให้ สง่ แก่บคุ คลซึง่ ระบุไว้ ในหมายเรี ยก ณ ภูมิลาเนาหรื อสานักทาการงานของบุคคล
เช่นว่านั ้น แต่ว่าให้ อยู่ภายในบังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๗๖ และ ๗๗

มาตรา ๘๒ ถ้ าจะต้ องส่งคาคู่ความหรื อเอกสารอื่นใดไปยังคู่ความหรื อบุคคลหลายคน


ให้ ส่งสาเนาคาคู่ความหรื อเอกสารที่จะต้ องส่งไปให้ ทุก ๆ คน ในกรณีที่ต้องส่งคาคู่ความหรื อ
เอกสารโดยเจ้ าพนักงานศาลหรือทางเจ้ าพนักงานศาลนั ้นให้ ค่คู วามฝ่ ายซึ่งมีหน้ าที่จัดการนาส่ง
มอบสาเนาคาคู่ความหรื อเอกสารต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ให้ พ อกับจานวนคู่ความหรื อบุคคลที่
จะต้ องส่งให้ นั ้น

มาตรา ๘๓ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดจะต้ องยื่นต่อศาลหรื อจะต้ องส่งให้ แก่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ าย


หนึง่ หรือบุคคลภายนอกซึง่ คาคู่ความหรื อเอกสารอื่นใด ภายในเวลาหรื อก่อนเวลาที่กฎหมาย
Jus_Highlight

หรื อศาลได้ กาหนดไว้ และการส่ง เช่น ว่า นี จ้ ะต้ องกระทาโดยทางเจ้ า พนักงานศาล ให้ ถือ ว่ า
คู่ความฝ่ ายนั ้นได้ ปฏิบตั ิตามความมุ่งหมายของกฎหมายหรื อของศาลแล้ ว เมื่อคู่ความฝ่ ายนั ้น
ได้ สง่ คาคู่ความหรือเอกสารเช่นว่านั ้นแก่พนักงานเจ้ าหน้ าที่ของศาลเพื่อให้ ยื่นหรื อให้ ส่งในเวลา
หรื อ ก่ อ นเวลาที่ ก าหนดนัน้ แล้ ว แม้ ถึง ว่ า การรั บ คาคู่ความหรื อ เอกสารหรื อ การขอให้ ส่ง คา
คู่ ค วามหรื อ เอกสารหรื อ การส่ ง ค าคู่ ค วามหรื อ เอกสารให้ แก่ คู่ ค วามอี ก ฝ่ ายหนึ่ ง หรื อ
บุคคลภายนอกนั ้นจะได้ เป็ นไปภายหลังเวลาที่กาหนดนั ้นก็ดี
ถ้ าประมวลกฎหมายนี ้บัญญัติไว้ ว่าการส่งคาคู่ความหรื อเอกสารอื่นใด จะต้ องให้ ค่คู วาม
อีก ฝ่ ายหนึ่งหรื อบุคคลภายนอกทราบล่วงหน้ า ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ ก่อ นวัน เริ่ ม ต้ น นั่ง
พิจารณาหรื อสืบ พยาน ให้ ถือว่า คู่ความฝ่ ายที่ต้องรั บผิดในการส่งนัน้ ได้ ปฏิ บัติตามความมุ่ง
หมายของกฎหมายหรือของศาลตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในวรรคก่อนนั ้นได้ ต่อเมื่อ คู่ความฝ่ ายนั ้นได้ ยื่น
คาคู่ความหรื อเอกสารที่จะต้ อ งส่งให้ แก่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ข องศาลไม่ ต่ากว่าสามวันก่อนวัน
เริ่มต้ นแห่งระยะเวลาที่กาหนดล่วงหน้ าไว้ นั ้น
ในกรณีที่ค่คู วามอาจส่งคาคู่ความหรื อ เอกสารโดยวิธีส่งสาเนาตรงไปยังคู่ความอีกฝ่ าย
หนึ่ง หรื อบุคคลภายนอกได้ นั ้น บทบัญญัติแห่ งมาตรานี ้มิไ ด้ ห้ ามคู่ความที่มี หน้ าที่ ต้อ งส่งคา
คู่ความหรือเอกสารดังกล่าวแล้ วในอันที่จะใช้ วิธีเช่นว่านี ้ แต่ค่คู วามฝ่ ายนั ้นจะต้ องส่งใบรับของ
คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง หรื อบุคคลภายนอกต่ อศาลในเวลาหรื อก่ อนเวลาที่กฎหมายหรื อ ศาลได้
กาหนดไว้

มาตรา ๘๓ ทวิ ในกรณีที่จาเลยไม่มีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักรให้ ส่งหมายเรี ยกและ


คาฟ้องตั ้งต้ นคดีแก่จาเลย ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของจาเลยนอกราชอาณาจักร เว้ น
แต่ในกรณีที่จาเลยประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้ วยตนเองหรื อโดยตัวแทนหรื อในกรณีที่มี
การตกลงเป็ นหนังสือว่าคาคู่ความและเอกสารที่จะต้ องส่งให้ แก่จาเลยนั ้น ให้ ส่งแก่ตัวแทนซึ่งมี
ถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรที่จาเลยได้ แต่งตั ้งไว้ เพื่อการนี ้ให้ สง่ หมายเรี ยกและคาฟ้องตั ้งต้ นคดีแก่
Jus_Highlight

จ าเลยหรื อ ตัว แทนในการประกอบกิ จ การหรื อ ตัว แทนในการรั บ คาคู่ความและเอกสาร ณ


สถานที่ที่ จาเลยหรื อตัวแทนใช้ ประกอบกิจ การหรื อสถานที่ อันเป็ นถิ่ นที่อยู่ข องตัวแทนในการ
ประกอบกิจ การหรื อ ของตัวแทนในการรับ คาคู่ความและเอกสาร ซึ่ง ตั ้งอยู่ในราชอาณาจักร
แล้ วแต่กรณี
ในกรณี ที่ มี การเรี ยกบุคคลภายนอกซึ่ง ไม่ มี ภู มิ ลาเนาอยู่ใ นราชอาณาจักรเข้ า มาเป็ น
คู่ความตามมาตรา ๕๗ (๓) ให้ นาความในวรรคหนึง่ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๘๓ ตรี การส่งคาคู่ความ คาร้ อง คาแถลง หรื อเอกสารอื่นใดนอกจากที่บัญญัติ


ไว้ ในมาตรา ๘๓ ทวิ ถ้ าผู้ รั บ ไม่ มี ภู มิ ล าเนาอยู่ ใ นราชอาณาจั ก รแต่ ป ระกอบกิ จ การใน
ราชอาณาจักรด้ วยตนเองหรื อโดยตัวแทน หรื อมีตัวแทนในการรับคาคู่ความและเอกสารหรื อ
ทนายความในการด าเนิ น คดี อ ยู่ใ นราชอาณาจักร ให้ ส่ง แก่ ผ้ ูรับ หรื อ ตัว แทนเช่ น ว่ า นัน้ หรื อ
ทนายความ ณ สถานที่ ที่ผ้ รู ับหรื อตัวแทนใช้ ป ระกอบกิ จการ หรื อสถานที่อัน เป็ นถิ่น ที่อยู่ของ
ตัวแทน หรือภูมิลาเนา หรือสานักทาการงานของทนายความซึ่งตั ้งอยู่ในราชอาณาจักร แล้ วแต่
กรณี แต่ถ้าผู้รับมิได้ ประกอบกิจการในราชอาณาจักรด้ วยตนเองหรื อไม่มีตัวแทนดังกล่าวหรื อ
ทนายความอยู่ในราชอาณาจักร ให้ สง่ โดยวิธีปิดประกาศไว้ ที่ศาล

มาตรา ๘๓ จัตวา ในกรณีที่จะต้ องส่งหมายเรี ยกและคาฟ้องตั ้งต้ นคดีตามมาตรา ๘๓


ทวิ แก่จาเลย ณ ภูมิลาเนาหรื อสานักทาการงานของจาเลยนอกราชอาณาจัก รให้ โจทก์ ยื่นคา
ร้ องต่อศาลภายในกาหนดเจ็ดวันนับแต่วันยื่นคาฟ้อง เพื่อให้ ศาลจัดส่งหมายเรี ยกและคาฟ้อง
ตั ้งต้ นคดี แก่จ าเลย ในกรณีเช่ นว่า นี ้ ถ้ าไม่ มีข้ อตกลงระหว่ างประเทศที่ ประเทศไทยเป็ นภาคี
กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ โจทก์ ทาคาแปลหมายเรี ยก คาฟ้องตั ้งต้ นคดีและเอกสารอื่ นใดที่จะ
ส่งไปยังประเทศที่จาเลยมีภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานอยู่ เป็ นภาษาราชการของประเทศนั ้น
Jus_Highlight

หรือเป็ นภาษาอังกฤษ พร้ อมทั ้งคารับรองคาแปลว่าถูกต้ องยื่นต่อศาลพร้ อมกับคาร้ องดังกล่าว


และวางเงินค่าใช้ จ่ายไว้ ต่อศาลตามจานวนและภายในระยะเวลาที่ศาลกาหนด
ในกรณี ที่ ศาลเห็ น สมควร ศาลจะมี คาสั่งให้ โจทก์ จัดทาเอกสารอื่ นเพิ่ มเติ มยื่ น ต่อ ศาล
ภายในระยะเวลาที่ศาลกาหนดก็ได้
ในกรณีที่โ จทก์ เพิกเฉยไม่ดาเนินการตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง ให้ ถือว่าโจทก์ ทิ ้งฟ้อง
ตามมาตรา ๑๗๔
ในกรณี ที่ มี การเรี ยกบุคคลภายนอกซึ่ง ไม่ มี ภู มิ ลาเนาอยู่ใ นราชอาณาจักรเข้ า มาเป็ น
คู่ความตามมาตรา ๕๗ (๓) ให้ นาความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้ บังคับโดย
อนุโลม

มาตรา ๘๓ เบญจ การส่งหมายเรียกและคาฟ้องตั ้งต้ นคดีตามมาตรา ๘๓ ทวิแก่จาเลย


หรือบุคคลภายนอก ณ ภูมิลาเนาหรื อสานักทาการงานของบุคคลดังกล่าวนอกราชอาณาจักร
ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ น กาหนดเวลาหกสิบวันนับแต่วันที่ได้ มีการส่ง และในกรณีส่งโดยวิธีอื่ น
แทนการส่งให้ แก่จาเลยหรื อบุคคลภายนอก ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ นกาหนดเวลาเจ็ดสิบห้ าวัน
นับแต่วนั ที่ได้ มีการส่งโดยวิธีอื่น

มาตรา ๘๓ ฉ การส่งหมายเรียกและคาฟ้องตั ้งต้ นคดีตามมาตรา ๘๓ ทวิ แก่จาเลยหรื อ


ตัวแทนซึง่ ประกอบกิจการในราชอาณาจักรหรือตัวแทนในการรับคาคู่ความและเอกสาร ให้ มีผล
ใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ นกาหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ มีการส่งโดยชอบด้ วยกฎหมาย
การส่งคาคู่ความหรือเอกสารอื่นตามมาตรา ๘๓ ตรี แก่ผ้ รู ับหรื อตัวแทนหรื อทนายความ
ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ นกาหนดเวลาสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ได้ มีการส่งโดยชอบด้ วยกฎหมาย
การปิ ดประกาศตามมาตรา ๘๓ ตรี ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ นกาหนดเวลาสามสิบวันนับแต่
วันปิ ดประกาศ และมิให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๗๙ มาใช้ บงั คับ
Jus_Highlight

มาตรา ๘๓ สั ต ต เมื่ อ โจทก์ ไ ด้ ป ฏิ บัติตามมาตรา ๘๓ จัต วา แล้ ว ถ้ า ไม่ มี ข้ อตกลง


ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคีกาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ ศาลดาเนินการส่งให้ แก่จาเลย
หรือบุคคลภายนอกโดยผ่านกระทรวงยุติธรรมและกระทรวงการต่างประเทศ

มาตรา ๘๓ อัฎฐ ในกรณีที่จะต้ อ งส่งหมายเรี ยกและคาฟ้องตั ้งต้ นคดีตามมาตรา ๘๓


ทวิ แก่จาเลยหรื อบุคคลภายนอก ณ ภู มิลาเนาหรื อสานักทาการงานของบุคคลดังกล่าวนอก
ราชอาณาจักร ถ้ าโจทก์ ยื่นคาขอฝ่ ายเดียวโดยทาเป็ นคาร้ องและสามารถแสดงให้ เป็ นที่พอใจ
แก่ศาลได้ ว่าการส่งตามมาตรา ๘๓ สัตต ไม่อาจกระทาได้ เพราะเหตุที่ภูมิลาเนาและสานักทา
การงานของบุคคลดัง กล่า วไม่ ปรากฏหรื อ เพราะเหตุอื่ น ใด หรื อเมื่ อศาลได้ ดาเนิ นการตาม
มาตรา ๘๓ สัต ต เป็ นเวลาหนึ่ ง ร้ อยแปดสิ บ วั น แล้ ว แต่ ยั ง มิ ไ ด้ รั บ แจ้ งผลการส่ง ถ้ า ศาล
เห็นสมควรก็ให้ ศาลอนุญาตให้ สง่ โดยวิธีปิดประกาศไว้ ที่ศาลแทน ในกรณีเช่นว่านี ้ ศาลจะสัง่ ให้
ส่งโดยวิธีประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือโดยวิธีอื่นใดด้ วยก็ได้
การส่งโดยวิธีการตามวรรคหนึง่ ให้ มีผลใช้ ได้ ต่อเมื่อพ้ นกาหนดเวลาหกสิบวันนับแต่วันที่
ปิ ดประกาศไว้ ที่ศาล และมิให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๗๙ มาใช้ บงั คับ
Jus_Highlight

ลักษณะ ๕
พยานหลักฐาน

หมวด ๑
หลักทั่วไป

มาตรา ๘๔ การวิ นิ จ ฉั ย ปั ญหาข้ อเท็ จ จริ ง ในคดี ใ ดจะต้ องกระท าโดยอาศั ย


พยานหลักฐานในสานวนคดีนั ้น เว้ นแต่
(๑) ข้ อเท็จจริงซึง่ รู้กนั อยู่ทวั่ ไป
(๒) ข้ อเท็จจริงซึง่ ไม่อาจโต้ แย้ งได้ หรือ
(๓) ข้ อเท็จจริงที่ค่คู วามรับหรือถือว่ารับกันแล้ วในศาล

มาตรา ๘๔/๑ คู่ความฝ่ ายใดกล่า วอ้ างข้ อเท็จจริ งเพื่ อสนับ สนุน คาคู่ความของตน ให้
คู่ความฝ่ ายนั ้นมี ภ าระการพิสจู น์ ข้อเท็จจริ งนัน้ แต่ถ้ามีข้อสัน นิษฐานไว้ ในกฎหมายหรื อมีข้ อ
สันนิษฐานที่ควรจะเป็ นซึง่ ปรากฏจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์ เป็ นคุณแก่ค่คู วามฝ่ าย
ใด คู่ความฝ่ ายนั ้นต้ องพิสจู น์ เพียงว่าตนได้ ปฏิ บัติตามเงื่อนไขแห่งการที่ตนจะได้ รับประโยชน์
จากข้ อสันนิษฐานนั ้นครบถ้ วนแล้ ว

มาตรา ๘๕ คู่ความฝ่ ายที่มีหน้ าที่ต้องนาสืบข้ อเท็จจริงย่อมมีสทิ ธิที่จะนาพยานหลักฐาน


ใด ๆ มาสืบ ได้ ภ ายใต้ บัง คับ แห่ ง ประมวลกฎหมายนี ้ หรื อ กฎหมายอื่ น อัน ว่ า ด้ ว ยการรั บ ฟั ง
พยานหลักฐานและการยื่นพยานหลักฐาน
Jus_Highlight

มาตรา ๘๖ เมื่อศาลเห็นว่ าพยานหลักฐานใดเป็ นพยานหลักฐานที่รับฟั งไม่ ได้ ก็ดีหรื อ


เป็ นพยานหลักฐานที่รับฟั ง ได้ แต่ ได้ ยื่นฝ่ าฝื นต่ อบทบัญญั ติแ ห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้ ศาล
ปฏิเสธไม่รับพยานหลักฐานนั ้นไว้
เมื่อศาลเห็นว่าพยานหลักฐานใดฟุ่ มเฟื อยเกินสมควร หรือประวิงให้ ชักช้ า หรื อไม่เกี่ยวแก่
ประเด็น ให้ ศาลมีอานาจงดการสืบพยานหลักฐานเช่นว่านั ้น หรือพยานหลักฐานอื่นต่อไป
เมื่อศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมเป็ นการจาเป็ นที่จะต้ องนาพยานหลักฐาน
อื่น อัน เกี่ ยวกับประเด็น ในคดีม าสืบ เพิ่ ม เติ ม ให้ ศาลท าการสืบพยานหลักฐานต่ อไป ซึ่งอาจ
รวมทั ้งการที่จะเรียกพยานที่สบื แล้ วมาสืบใหม่ด้วย โดยไม่ต้องมีฝ่ายใดร้ องขอ

มาตรา ๘๗ ห้ ามมิให้ ศาลรับฟั งพยานหลักฐานใดเว้ นแต่


(๑) พยานหลักฐานนัน้ เกี่ยวถึงข้ อเท็จจริ ง ที่ค่คู วามฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดในคดีจ ะต้ องน าสืบ
และ
(๒) คู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานหลักฐานได้ แสดงความจานงที่จะอ้ างอิงพยานหลักฐานนัน้
ดัง ที่ บัญญั ติไ ว้ ใ นมาตรา ๘๘ และ ๙๐ แต่ ถ้า ศาลเห็ น ว่ า เพื่อ ประโยชน์ แ ห่ ง ความยุติธ รรม
จาเป็ นจะต้ อ งสืบ พยานหลักฐานอัน สาคัญซึ่ง เกี่ ยวกับประเด็ นข้ อ สาคัญในคดี โดยฝ่ าฝื นต่ อ
บทบัญญัติของอนุมาตรานี ้ ให้ ศาลมีอานาจรับฟั งพยานหลักฐานเช่นว่านั ้นได้

มาตรา ๘๘ เมื่อคู่ความฝ่ ายใดมีความจานงที่จะอ้ างอิงเอกสารฉบับใดหรื อคาเบิกความ


ของพยานคนใด หรื อมีความจานงที่จะให้ ศาลตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่ หรื ออ้ างอิงความเห็น
ของผู้ เชี่ ยวชาญที่ ศาลตั ง้ หรื อ ความเห็ น ของผู้มี ความรู้ เชี่ ย วชาญ เพื่ อ เป็ นพยานหลักฐาน
สนับ สนุน ข้ อ อ้ า งหรื อ ข้ อ เถี ยงของตน ให้ คู่ความฝ่ ายนัน้ ยื่ น บัญชี ระบุ พ ยานต่ อ ศาลก่ อ นวัน
สืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน โดยแสดงเอกสารหรือสภาพของเอกสารที่จะอ้ าง และรายชื่อ ที่อยู่
ของบุคคล ผู้มีความรู้เชี่ยวชาญ วัตถุ หรือสถานที่ซงึ่ คู่ความฝ่ ายนั ้นระบุอ้างเป็ นพยานหลักฐาน
Jus_Highlight

หรื อขอให้ ศาลไปตรวจ หรื อขอให้ ตั ้งผู้เชี่ยวชาญแล้ วแต่กรณี พร้ อมทั ง้ สาเนาบัญชีระบุพยาน
ดังกล่าวในจานวนที่เพียงพอ เพื่อให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นมารับไปจากเจ้ าพนักงานศาล
ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดมีความจานงจะยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม ให้ ยื่นคาแถลงขอระบุพยาน
เพิ่มเติมต่อศาลพร้ อมกับบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมและสาเนาบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมดังกล่าวได้
ภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั สืบพยาน
เมื่อระยะเวลาที่กาหนดให้ ยื่นบัญชีระบุพยานตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสองแล้ วแต่กรณี ได้
สิ ้นสุดลงแล้ ว ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดซึ่งได้ ยื่นบัญชีระบุพยานไว้ แล้ ว มีเหตุอันสมควรแสดงได้ ว่าตน
ไม่สามารถทราบได้ ว่าต้ องนาพยานหลักฐานบางอย่างมาสืบเพื่อประโยชน์ ของตนหรื อไม่ทราบ
ว่าพยานหลักฐานบางอย่างได้ มีอยู่ หรือมีเหตุอันสมควรอื่นใด หรื อถ้ าคู่ความฝ่ ายใดซึ่งมิได้ ยื่น
บัญชี ระบุพยานแสดงให้ เป็ นที่ พอใจแก่ศาลได้ ว่ า มี เหตุอัน สมควรที่ไ ม่สามารถยื่นบัญชี ระบุ
พยานตามกาหนดเวลาดังกล่าวได้ คู่ความฝ่ ายนั ้นอาจยื่นคาร้ องขออนุญ าตอ้ างพยานหลักฐาน
เช่นว่านั ้นต่อศาลพร้ อมกับบัญชีระบุพยานและสาเนาบัญชีระบุพยานดังกล่าวไม่ว่าเวลาใด ๆ
ก่อนพิพากษาคดีและถ้ าศาลเห็นว่า เพื่อให้ การวินิจฉัยชี ้ขาดข้ อสาคัญแห่งประเด็นเป็ นไปโดย
เที่ยงธรรม จาเป็ นจะต้ องสืบพยานหลักฐานเช่นว่านั ้น ก็ให้ ศาลอนุญาตตามคาร้ อง

มาตรา ๘๙ คู่ความฝ่ ายใดประสงค์ จะนาสืบพยานหลักฐานของตนเพื่อพิสจู น์ ต่อพยาน


ของคู่ความฝ่ ายอื่นในกรณีต่อไปนี ้
(๑) หักล้ างหรื อเปลี่ยนแปลงแก้ ไขถ้ อยคาพยานในข้ อความทั ้งหลายซึ่งพยานเช่นว่านั ้น
เป็ นผู้ร้ ูเห็นหรือ
(๒) พิ สูจ น์ ข้ อ ความอย่ า งหนึ่ง อย่ า งใดอัน เกี่ยวด้ ว ยการกระท า ถ้ อ ยคา เอกสาร หรื อ
พยานหลักฐานอื่นใดซึง่ พยานเช่นว่านั ้นได้ กระทาขึ ้น
ให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นถามค้ านพยานดังกล่า วเสียในเวลาที่พยานเบิกความ เพื่อ ให้ พยานมี
โอกาสอธิบายถึงข้ อความเหล่านั ้น แม้ ว่าพยานนั ้นจะมิได้ เบิกความถึงข้ อความดังกล่าวก็ตาม
Jus_Highlight

ในกรณีที่ค่คู วามฝ่ ายนั ้นมิได้ ถามค้ านพยานของคู่ความฝ่ ายอื่นไว้ ดังกล่าวมาข้ างต้ นแล้ ว
ต่อมานาพยานหลักฐานมาสืบถึงข้ อความนั ้น คู่ความฝ่ ายอื่นที่สืบพยานนั ้นไว้ ชอบที่จะคัดค้ าน
ได้ ในขณะที่คู่ความฝ่ ายนัน้ น าพยานหลักฐานมาสืบ และในกรณี เช่ น ว่า นี ้ ให้ ศาลปฏิ เ สธไม่
ยอมรับฟั งพยานหลักฐานเช่นว่ามานั ้น
ในกรณีที่ค่คู วามฝ่ ายที่ประสงค์จะนาสืบพยานหลักฐานเพื่อพิสจู น์ต่อพยานตามวรรคหนึ่ง
แสดงให้ เป็ นที่พอใจของศาลว่ า เมื่อเวลาพยานเบิกความนั ้นตนไม่ ร้ ู หรื อไม่ มีเหตุอัน ควรรู้ ถึง
ข้ อ ความดัง กล่าวมาแล้ ว หรื อถ้ าศาลเห็ นว่ าเพื่อ ประโยชน์ แ ห่ง ความยุติธรรมจาเป็ นต้ องสืบ
พยานหลักฐานเช่นว่านี ้ศาลจะยอมรับฟั งพยานหลักฐานเช่นว่านี ้ก็ได้ แต่ในกรณีเช่นนี ้ คู่ความ
อีกฝ่ ายหนึ่งจะขอให้ เรี ยกพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้ องมาสืบอีกก็ได้ หรื อเมื่อศาลเห็นสมควรจะ
เรียกมาสืบเองก็ได้

มาตรา ๙๐ ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารเป็ นพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนข้ อ อ้ างหรื อ


ข้ อเถียงของตนตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึง่ ยื่นต่อศาลและส่งให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นซึ่งสาเนาเอกสาร
นั ้นก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
ในกรณี ที่ คู่ ค วามฝ่ ายใดยื่ น ค าแถลงหรื อค าร้ องขออนุ ญ าตอ้ างอิ ง เอกสารเป็ น
พยานหลักฐานตามมาตรา ๘๘ วรรคสองหรื อวรรคสาม ให้ ยื่นต่อศาลและส่ งให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่น
ซึง่ สาเนาเอกสารนั ้นพร้ อมกับการยื่นคาแถลงหรื อคาร้ องดังกล่าว เว้ นแต่ศาลจะอนุญาตให้ ยื่น
สาเนาเอกสารภายหลังเมื่อมีเหตุอนั สมควร
คู่ความฝ่ ายที่อ้างอิงพยานหลักฐานไม่ต้องยื่นสาเนาเอกสารต่อศาล และไม่ต้องส่งสาเนา
เอกสารให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นในกรณีดงั ต่อไปนี ้
(๑) เมื่อคู่ความฝ่ ายใดอ้ างอิงเอกสารเป็ นชุดซึง่ คู่ความฝ่ ายอื่นทราบดีอยู่แล้ วหรื อสามารถ
ตรวจตราให้ ท ราบได้ โดยง่ า ยถึง ความมี อ ยู่แ ละความแท้ จริ ง แห่ ง เอกสารนัน้ เช่น จดหมาย
Jus_Highlight

โต้ ตอบระหว่างคู่ความในคดี หรื อสมุดบัญชีการค้ า และสมุดบัญชีของธนาคารหรื อเอกสารใน


สานวนคดีเรื่องอื่น
(๒) เมื่อคู่ความฝ่ ายใดอ้ างอิงเอกสารฉบับเดียวหรื อหลายฉบับที่อยู่ในความครอบครอง
ของคู่ความฝ่ ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก
(๓) ถ้ าการคัดสาเนาเอกสารจะทาให้ กระบวนพิจารณาล่าช้ าเป็ นที่เสื่อมเสียแก่ค่คู วามซึ่ง
อ้ างอิงเอกสารนั ้น หรือมีเหตุผลแสดงว่าไม่อาจคัดสาเนาเอกสารให้ เสร็ จภายในกาหนดเวลาที่
ให้ ยื่นสาเนาเอกสารนั ้น
กรณีตาม (๑) หรื อ (๓) ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารยื่นคาขอฝ่ ายเดียวโดยทาเป็ นคา
ร้ องต่อศาล ขออนุญาตงดการยื่นสาเนาเอกสารนั ้นและขอยื่นต้ นฉบับเอกสารแทน เพื่อให้ ศาล
หรือคู่ความฝ่ ายอื่นตรวจดูตามเงื่อนไขที่ศาลเห็นสมควรกาหนด
กรณีตาม (๒) ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารขอให้ ศาลมีคาสัง่ เรี ยกเอกสารนั ้นมาจากผู้
ครอบครองตามมาตรา ๑๒๓ โดยต้ องยื่นคาร้ องต่อศาลภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่งหรื อ
วรรคสอง แล้ ว แต่กรณี และให้ คู่ความฝ่ ายนัน้ มี หน้ า ที่ ติดตามเพื่ อ ให้ ไ ด้ เอกสารดัง กล่า วมา
ภายในเวลาที่ศาลกาหนด

มาตรา ๙๑ คู่ความทั ้งสองฝ่ ายต่างมีสทิ ธิที่จะอ้ างอิงพยานหลักฐานร่ วมกันได้

มาตรา ๙๒ ถ้ าคู่ความหรื อบุคคลใดจะต้ องเบิกความหรื อนาพยานหลักฐานชนิดใด ๆ


มาแสดง และคาเบิกความหรือพยานหลักฐานนั ้นอาจเปิ ดเผย
(๑) หนังสือ ราชการหรื อข้ อความอันเกี่ยวกับงานของแผ่นดินซึ่งโดยสภาพจะต้ องรักษา
เป็ นความลับไว้ ชวั่ คราวหรือตลอดไป และคู่ความหรื อบุคคลนั ้นเป็ นผู้รักษาไว้ หรื อได้ ทราบมา
โดยตาแหน่งราชการ หรือในหน้ าที่ราชการ หรือกึง่ ราชการอื่นใด
Jus_Highlight

(๒) เอกสารหรื อ ข้ อ ความที่เ ป็ นความลับ ใด ๆ ซึ่งตนได้ รับมอบหมายหรื อบอกเล่าจาก


ลูกความในฐานะที่ตนเป็ นทนายความ
(๓) การประดิ ษ ฐ์ แบบ หรื อการงานอื่ น ๆ ซึ่ง ได้ รับ ความคุ้ม ครองตามกฎหมายไม่ ใ ห้
เปิ ดเผย
คู่ความหรือบุคคลเช่นว่านั ้นชอบที่จะปฏิเสธไม่ยอมเบิกความหรื อนาพยานหลักฐานนั ้น ๆ
มาแสดงได้ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรือผู้ที่เกี่ยวข้ องให้ เปิ ดเผยได้
เมื่อคู่ความหรือบุคคลใดปฏิเสธไม่ยอมเบิกความหรื อนาพยานหลักฐานมาแสดงดังกล่าว
มาแล้ ว ให้ ศาลมีอานาจที่จะหมายเรียกพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องให้ มาศาลและ
ให้ ชี ้แจงข้ อ ความตามที่ ศาลต้ องการเพื่อวินิจฉัยว่า การปฏิ เสธนั ้นชอบด้ วยเหตุผลหรื อไม่ ถ้ า
ศาลเห็นว่า การปฏิเสธนั ้นไม่มีเหตุผลฟั งได้ ศาลมีอานาจออกคาสัง่ มิให้ ค่คู วามหรื อบุคคลเช่น
ว่านั ้นยกประโยชน์แห่งมาตรานี ้ขึ ้นใช้ และบังคับให้ เบิกความหรือนาพยานหลักฐานนั ้นมาแสดง
ได้

มาตรา ๙๓ การอ้ างเอกสารเป็ นพยานหลักฐานให้ ยอมรับฟั งได้ เฉพาะต้ นฉบับเอกสาร


เท่านั ้น เว้ นแต่
(๑) เมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ ายตกลงกันว่าสาเนาเอกสารนั ้นถูกต้ องแล้ วให้ ศาลยอมรับ
ฟั งสาเนาเช่นว่านั ้นเป็ นพยานหลักฐาน
(๒) ถ้ าต้ นฉบับเอกสารนามาไม่ได้ เพราะถูกทาลายโดยเหตุสดุ วิสยั หรื อสูญหาย หรื อไม่
สามารถนามาได้ โดยประการอื่น อันมิใช่เกิดจากพฤติการณ์ที่ผ้ อู ้ างต้ องรับผิดชอบ หรื อเมื่อศาล
เห็ นว่ าเป็ นกรณี จาเป็ นและเพื่อ ประโยชน์ แห่ งความยุติธรรมที่จ ะต้ อ งสืบสาเนาเอกสารหรื อ
พยานบุคคลแทนต้ นฉบับเอกสารที่นามาไม่ได้ นั ้น ศาลจะอนุญาตให้ นาสาเนาหรื อพยานบุคคล
มาสืบก็ได้
Jus_Highlight

(๓) ต้ นฉบับ เอกสารที่ อ ยู่ใ นความอารักขาหรื อ ในความควบคุม ของทางราชการนั ้นจะ


นามาแสดงได้ ต่อเมื่อได้ รับอนุญาตจากทางราชการที่เกี่ยวข้ องเสียก่อน อนึ่ง สาเนาเอกสารซึ่งผู้
มีอานาจหน้ าที่ได้ รับรองว่าถูกต้ องแล้ ว ให้ ถือว่าเป็ นอันเพียงพอในการที่จะนามาแสดง เว้ นแต่
ศาลจะได้ กาหนดเป็ นอย่างอื่น
(๔) เมื่อคู่ความฝ่ ายที่ถูกคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งอ้ างอิงเอกสารมาเป็ นพยานหลักฐานยันตน
มิได้ คัดค้ า นการนาเอกสารนัน้ มาสืบตามมาตรา ๑๒๕ ให้ ศาลรับ ฟั งสาเนาเอกสารเช่นว่านัน้
เป็ นพยานหลักฐานได้ แต่ทั ้งนี ้ไม่ตดั อานาจศาลตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสาม

มาตรา ๙๔ เมื่ อ ใดมี กฎหมายบัง คับ ให้ ต้อ งมี พ ยานเอกสารมาแสดง ห้ า มมิ ใ ห้ ศาล
ยอมรับฟั งพยานบุคคลในกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี ้ แม้ ถึงว่าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้
ยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่สามารถนาเอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ ออ้ างอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อได้ นาเอกสารมาแสดงแล้ ว
ว่า ยังมีข้อความเพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลีย่ นแปลงแก้ ไขข้ อความในเอกสารนั ้นอยู่อีก
แต่ว่ าบทบัญญัติ แห่ งมาตรานี ้ มิ ให้ ใช้ บังคับในกรณีที่ บัญญัติไว้ ใ นอนุม าตรา (๒) แห่ ง
มาตรา ๙๓ และมิให้ ถือว่าเป็ นการตัดสิทธิ ค่คู วามในอันที่จะกล่าวอ้ างและนาพยานบุคคลมา
สืบประกอบข้ ออ้ างว่า พยานเอกสารที่แสดงนั ้นเป็ นเอกสารปลอมหรือไม่ถกู ต้ องทั ้งหมด หรื อแต่
บางส่วน หรือสัญญาหรือหนี ้อย่างอื่นที่ระบุไว้ ในเอกสารนั ้นไม่สมบูรณ์ หรื อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
ตีความหมายผิด

มาตรา ๙๕ ห้ ามมิให้ ยอมรับฟั งพยานบุคคลใดเว้ นแต่บคุ คลนั ้น


(๑) สามารถเข้ าใจและตอบคาถามได้ และ
Jus_Highlight

(๒) เป็ นผู้ที่ได้ เห็น ได้ ยิน หรือทราบข้ อความเกี่ยวในเรื่ องที่จะให้ การเป็ นพยานนั ้นมาด้ วย
ตนเองโดยตรง แต่ความในข้ อนี ใ้ ห้ ใ ช้ ได้ ต่อ เมื่อ ไม่มี บทบัญญัติแห่ง กฎหมายโดยชัดแจ้ ง หรื อ
คาสัง่ ของศาลว่าให้ เป็ นอย่างอื่น
ถ้ าศาลไม่ยอมรับไว้ ซงึ่ คาเบิกความของบุคคลใด เพราะเห็นว่าบุคคลนัน้ จะเป็ นพยานหรื อ
ให้ ก ารดัง กล่าวข้ างต้ น ไม่ ได้ และคู่ความฝ่ ายที่เ กี่ยวข้ อ งร้ องคัดค้ านก่อ นที่ ศาลจะดาเนิ นคดี
ต่อไป ให้ ศาลจดรายงานระบุนามพยาน เหตุผลที่ไม่ยอมรับและข้ อคัดค้ า นของคู่ความฝ่ ายที่
เกี่ ย วข้ องไว้ ส่ว นเหตุผ ลที่ คู่ค วามฝ่ ายคัด ค้ า นยกขึน้ อ้ างนัน้ ให้ ศ าลใช้ ดุล พิ นิ จ จดลงไว้ ใ น
รายงานหรือกาหนดให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นยื่นคาแถลงต่อศาลเพื่อรวมไว้ ในสานวน

มาตรา ๙๕/๑ ข้ อความซึง่ เป็ นการบอกเล่าที่พยานบุคคลใดนามาเบิกความต่อศาลก็ดี


หรือที่บนั ทึกไว้ ในเอกสารหรื อวัตถุอื่นใดซึ่งได้ อ้างเป็ นพยานหลักฐานต่อศาลก็ดี หากนาเสนอ
เพื่อพิสจู น์ความจริงแห่งข้ อความนั ้น ให้ ถือเป็ นพยานบอกเล่า
ห้ ามมิให้ ศาลรับฟั งพยานบอกเล่า เว้ นแต่
(๑) ตามสภาพ ลักษณะ แหล่งที่มา และข้ อเท็จจริงแวดล้ อมของพยานบอกเล่านั ้น น่าเชื่อ
ว่าจะพิสจู น์ความจริงได้ หรือ
(๒) มีเหตุจาเป็ นเนื่องจากไม่สามารถนาบุคคลซึง่ เป็ นผู้ที่ได้ เห็น ได้ ยิน หรื อทราบข้ อความ
เกี่ยวในเรื่องที่จะให้ การเป็ นพยานนั ้นด้ วยตนเองโดยตรงมาเป็ นพยานได้ และมีเหตุผลสมควร
เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมที่จะรับฟั งพยานบอกเล่านั ้น
ในกรณีที่ศาลเห็นว่าไม่ควรรับไว้ ซงึ่ พยานบอกเล่าใด ให้ นาความในมาตรา ๙๕ วรรคสอง
มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
Jus_Highlight

มาตรา ๙๖ พยานที่เป็ นคนหูหนวก หรือเป็ นใบ้ หรือทั ้งหูหนวกและเป็ นใบ้ นั ้นอาจถูกถาม


หรือให้ คาตอบโดยวิธีเขียนหนังสือ หรือโดยวิธีอื่นใดที่สมควรได้ และคาเบิกความของบุคคลนั ้น
ๆ ให้ ถือว่าเป็ นคาพยานบุคคลตามประมวลกฎหมายนี ้

มาตรา ๙๗ คู่ความฝ่ ายหนึ่ง จะอ้ า งคู่ความอี กฝ่ ายหนึ่งเป็ นพยานของตนหรื อจะอ้ า ง


ตนเองเป็ นพยานก็ได้

มาตรา ๙๘ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ จะอ้ างบุคคลใดเป็ นพยานของตนก็ได้ เมื่อบุคคลนั ้น


เป็ นผู้ มี ความรู้ เชี่ ยวชาญในศิ ลป วิ ท ยาศาสตร์ การฝี มื อ การค้ า หรื อ การงานที่ ท าหรื อ ใน
กฎหมายต่ า งประเทศ และซึ่ง ความเห็ น ของพยานอาจเป็ นประโยชน์ ใ นการวิ นิ จ ฉัยชี ข้ าด
ข้ อความในประเด็นทั ้งนี ้ไม่ว่าพยานจะเป็ นผู้มีอาชีพในการนั ้นหรือไม่

มาตรา ๙๙ ถ้ าศาลเห็นว่า จาเป็ นที่จะต้ องตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่หรื อตั ้งผู้เชี่ยวชาญ


ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๑๒๙ และ ๑๓๐ เมื่อศาลเห็นสมควร ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะอยู่ ใน
ชั ้นใด หรือเมื่อมีคาขอของคู่ความฝ่ ายใดภายใต้ บังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา ๘๗ และ ๘๘ ให้
ศาลมีอานาจออกคาสัง่ กาหนดการตรวจหรือการแต่งตั ้งผู้เชี่ยวชาญเช่นว่านั ้นได้
บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ไม่ตดั สิทธิ ของคู่ความในอันที่จะเรี ยกบุคคลผู้มีความรู้ เชี่ยวชาญ
มาเป็ นพยานฝ่ ายตนได้

มาตรา ๑๐๐ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ซึง่ ประสงค์จะอ้ างอิงข้ อเท็จจริ งใดและขอให้ ค่คู วาม
ฝ่ ายอื่นตอบว่าจะรั บรองข้ อเท็จจริ งนัน้ ว่าถูกต้ องหรื อไม่ อาจส่งคาบอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้ ง
รายการข้ อเท็จจริงนั ้นไปให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
Jus_Highlight

ถ้ าคู่ความฝ่ ายอื่นได้ รับคาบอกกล่าวโดยชอบแล้ ว เมื่อคู่ความฝ่ ายที่ส่งคาบอกกล่าวร้ อง


ขอต่อ ศาลในวันสืบ พยาน ให้ ศาลสอบถามคู่ความฝ่ ายอื่น ว่า จะยอมรั บข้ อ เท็ จ จริ งตามที่ ไ ด้
รับคาบอกกล่าวนั ้นว่าถูกต้ องหรือไม่ แล้ วให้ ศาลจดคาตอบไว้ ในรายงานกระบวนพิจารณา ถ้ า
คู่ความฝ่ ายนั ้นไม่ตอบคาถามเกี่ยวกับข้ อเท็จจริ งใด หรื อปฏิ เสธข้ อเท็จจริ งใดโดยไม่มีเหตุแห่ง
การปฏิเสธโดยชัดแจ้ ง ให้ ถือว่ายอมรับข้ อเท็จจริ งนั ้นแล้ ว เว้ นแต่ศาลจะเห็นว่าคู่ความฝ่ ายนั ้น
ไม่อยู่ในวิสยั ที่จ ะตอบหรื อแสดงเหตุแห่ งการปฏิ เสธโดยชัดแจ้ งในขณะนั ้น ศาลจะมี คาสัง่ ให้
คู่ค วามฝ่ ายนัน้ ท าค าแถลงเกี่ ยวกั บ ข้ อเท็ จ จริ ง นัน้ มายื่ น ต่ อ ศาลภายในระยะเวลาที่ ศ าล
เห็นสมควรก็ได้
บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ให้ ใช้ บงั คับแก่เรื่องเอกสารทั ้งหมดหรื อฉบับใดฉบับหนึ่งที่ค่คู วาม
แสดงความจ านงจะอ้ า งอิ งด้ วยโดยอนุโลม แต่ ต้อ งส่งสาเนาเอกสารนัน้ ไปพร้ อมกับ คาบอก
กล่าวและต้ องมีต้นฉบับ เอกสารนั ้นให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่ นตรวจดูได้ เมื่ อต้ องการ เว้ นแต่ต้นฉบับ
เอกสารนั ้นอยู่ในความครอบครองของคู่ความฝ่ ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก

มาตรา ๑๐๑ ถ้ าบุคคลใดเกรงว่า พยานหลักฐานซึง่ ตนอาจต้ องอ้ างอิงในภายหน้ าจะสูญ


หายหรื อ ยากแก่การน ามา หรื อถ้ า คู่ความฝ่ ายใดในคดีเ กรงว่า พยานหลักฐานซึ่งตนจานงจะ
อ้ างอิงจะสูญหายเสียก่อนที่จะนามาสืบ หรื อเป็ นการยากที่จะนามาสืบในภายหลังบุคคลนัน้
หรื อคู่ความฝ่ ายนั ้นอาจยื่นคาขอต่อศาลโดยทาเป็ นคาร้ องขอหรื อคาร้ องให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ สืบ
พยานหลักฐานนั ้นไว้ ทนั ที
เมื่ อ ศาลได้ รั บ ค าขอเช่ น ว่ า นั น้ ให้ ศาลหมายเรี ย กผู้ ขอและคู่ ค วามอี ก ฝ่ ายหนึ่ง หรื อ
บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้ องมายังศาล และเมื่อได้ ฟังบุคคลเหล่านั ้นแล้ ว ให้ ศาลสัง่ คาขอตามที่
เห็ น สมควร ถ้ า ศาลสั่ง อนุญาตตามคาขอแล้ ว ให้ สืบ พยานไปตามที่ บัญ ญั ติไ ว้ ใ นประมวล
กฎหมายนี ้ส่วนรายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการนั ้นให้ ศาลเก็บรักษาไว้
Jus_Highlight

ในกรณี ที่ คู่ ค วามอี ก ฝ่ ายหนึ่ ง หรื อ บุ ค คลภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ องไม่ มี ภู มิ ล าเนาอยู่ ใ น
ราชอาณาจักรและยังมิได้ เข้ ามาในคดีนั ้น เมื่อศาลได้ รับคาขอตามวรรคหนึ่ง ให้ ศาลสัง่ คาขอ
นั ้นอย่างคาขออันอาจทาได้ แต่ฝ่ายเดียว ถ้ าศาลสัง่ อนุญาตตามคาขอแล้ วให้ สืบพยานไปฝ่ าย
เดียว

มาตรา ๑๐๑/๑ ในกรณี ที่ มี เ หตุฉุกเฉิ น ซึ่ง จ าเป็ นต้ องสืบ พยานหลักฐานใดเป็ นการ
เร่งด่วนและไม่สามารถแจ้ งให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นทราบก่อนได้ เมื่อมีการยื่นคาขอตามมาตรา ๑๐๑
พร้ อมกับคาฟ้องหรือคาให้ การหรือภายหลังจากนั ้น คู่ความฝ่ ายที่ขอจะยื่นคาขอฝ่ ายเดียวโดย
ทาเป็ นค าร้ องรวมไปด้ ว ย เพื่ อให้ ศาลมีคาสั่ง โดยไม่ชักช้ าก็ ได้ และถ้ าจ าเป็ นจะขอให้ ศาลมี
คาสัง่ ให้ ยดึ หรือให้ สง่ ต่อศาลซึง่ เอกสารหรือวัตถุที่จะใช้ เป็ นพยานหลักฐานที่ขอสืบไว้ ก่อนด้ วยก็
ได้
คาร้ องตามวรรคหนึ่งต้ องบรรยายถึงข้ อเท็จ จริ งที่แสดงว่ามีเหตุฉุกเฉินซึ่งจาเป็ นต้ องสืบ
พยานหลักฐานใดโดยเร่งด่วนและไม่สามารถแจ้ งให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นทราบก่อนได้ รวมทั ้งความ
เสียหายที่จะเกิดขึ ้นจากการที่มิได้ มีการสืบพยานหลักฐานดังกล่าว ส่วนในกรณีที่จะขอให้ ศาล
มีคาสัง่ ให้ ยึดหรื อให้ ส่งต่ อศาลซึ่งเอกสารหรื อวัตถุที่ จะใช้ เป็ นพยานหลักฐาน คาร้ อ งนั ้นต้ อ ง
บรรยายถึงข้ อเท็จจริ งที่แสดงถึงความจาเป็ นที่จะต้ องยึดหรื อให้ ส่งเอกสารหรื อวัตถุนั ้นว่ามีอยู่
อย่างไร ในการนี ้ห้ ามมิให้ ศาลอนุญาตตามคาร้ องนั ้น เว้ นแต่จะเป็ นที่พอใจของศาลจากการไต่
สวนว่ามีเหตุฉกุ เฉินและมีความจาเป็ นตามคาร้ องนั ้นจริง แต่ทั ้งนี ้ไม่ตัดสิทธิ ค่คู วามฝ่ ายอื่นที่จะ
ขอให้ ศาลออกหมายเรียกพยานดังกล่าวมาศาล เพื่อถามค้ านและดาเนินการตามมาตรา ๑๑๗
ในภายหลัง หากไม่อาจดาเนิน การดังกล่าวได้ ศาลต้ อ งใช้ ความระมัดระวังในการชั่ง น ้าหนัก
พยานหลักฐาน
Jus_Highlight

มาตรา ๑๐๑/๒ ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอให้ ยึดหรื อให้ ส่งเอกสารหรื อวัตถุ


ที่จะใช้ เป็ นพยานหลักฐาน ศาลอาจกาหนดเงื่อนไขอย่างใดตามที่เห็นสมควร และจะสัง่ ด้ วยว่า
ให้ ผ้ ูข อน าเงิ น หรื อ หาประกัน ตามจ านวนที่ เ ห็ น สมควรมาวางศาลเพื่ อ การช าระค่ า สิน ไหม
ทดแทนสาหรับความเสียหายที่อาจเกิดขึ ้นแก่บคุ คลใด เนื่องจากศาลได้ มีคาสัง่ โดยมีความเห็น
หลงไปว่ามีเหตุจาเป็ นโดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอก็ได้
ให้ นาความในมาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๖๒ มาตรา ๒๖๓ มาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ และ
มาตรา ๒๖๙ มาใช้ บังคับแก่กรณีตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม และในกรณีที่ทรัพย์ ซึ่งศาลสัง่ ยึด
นั ้นเป็ นของบุคคลที่สาม ให้ บุคคลที่ สามมี สิท ธิ เ สมื อ นเป็ นจ าเลยในคดี และเมื่ อหมดความ
จาเป็ นที่จะใช้ เอกสารหรือวัตถุนั ้นเป็ นพยานหลักฐานต่อไปแล้ ว เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อผู้มี
สิทธิจะได้ รับคืนร้ องขอให้ ศาลมีคาสัง่ คืนเอกสารหรือวัตถุนั ้นแก่ผ้ ขู อ

มาตรา ๑๐๒ ให้ ศาลที่พิจารณาคดีเป็ นผู้สืบพยานหลักฐาน โดยจะสืบในศาลหรื อนอก


ศาล ณ ที่ ใ ด ๆ ก็ ไ ด้ แล้ ว แต่ ศ าลจะสั่ง ตามที่ เ ห็ น สมควรตามความจ าเป็ นแห่ ง สภาพของ
พยานหลักฐานนั ้น
แต่ถ้าศาลที่พิจารณาคดีเห็นเป็ นการจาเป็ น ให้ มีอานาจมอบให้ ผ้ พู ิพากษาคนใดคนหนึ่ง
ในศาลนั ้น หรือตั ้งให้ ศาลอื่นสืบพยานหลักฐานแทนได้ ให้ ผ้ พู ิพากษาที่รับมอบหรื อศาลที่ได้ รับ
แต่ ง ตัง้ นัน้ มี อ านาจและหน้ า ที่ เ ช่ น เดี ยวกับ ศาลที่ พิ จ ารณาคดี รวมทัง้ อ านาจที่ จ ะมอบให้ ผู้
พิพากษาคนใดคนหนึง่ ในศาลนั ้นหรือตั ้งศาลอื่นให้ ทาการสืบพยานหลักฐานแทนต่อไปด้ วย
ถ้ าศาลที่พิจารณาคดีได้ แต่งตั ้งให้ ศาลอื่นสืบพยานแทน คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะแถลง
ต่อศาลที่พิจารณาคดีว่า ตนมีความจานงจะไปฟั งการพิจารณาก็ได้ ในกรณีเช่นนี ้ให้ ศาลที่ได้ รับ
แต่ ง ตัง้ แจ้ ง วัน ก าหนดสืบ พยานหลักฐานให้ ผ้ ูข อทราบล่ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ยไม่ ต่ า กว่ า เจ็ ดวัน
คู่ความที่ไปฟั งการพิจารณานั ้นชอบที่จะใช้ สทิ ธิได้ เสมือนหนึง่ ว่ากระบวนพิจารณานั ้นได้ ดาเนิน
ในศาลที่พิจารณาคดี
Jus_Highlight

ให้ สง่ สาเนาคาฟ้องและคาให้ การพร้ อมด้ วยเอกสารและหลักฐานอื่น ๆ อันจาเป็ นเพื่อสืบ


พยานหลักฐานไปยังศาลที่ได้ รับแต่งตั ้งดังกล่าวแล้ ว ถ้ าคู่ความฝ่ ายที่อ้างอิงพยานหลักฐานนั ้น
มิได้ แถลงความจานงที่จะไปฟั งการพิจารณา ก็ให้ แจ้ งไปให้ ศาลที่ได้ รับแต่งตั ้งทราบข้ อประเด็น
ที่จะสืบ เมื่อได้ สบื พยานหลักฐานเสร็จแล้ ว ให้ เป็ นหน้ าที่ของศาลที่รับแต่งตั ้งจะต้ องส่งรายงาน
ที่จาเป็ นและเอกสารอื่น ๆ ทั ้งหมดอันเกี่ยวข้ องในการสืบพยานหลักฐานไปยังศาลที่พิจารณา
คดี

มาตรา ๑๐๓ ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยการขาดนัดการร้ อง


สอด และการขับไล่ออกนอกศาล ห้ ามมิให้ ศาลที่ พิจารณาคดี หรื อผู้พิพากษาที่รับมอบหมาย
หรือศาลที่ได้ รับแต่งตั ้งดังกล่าวข้ างต้ นทาการสืบพยานหลักฐานใด โดยมิได้ ให้ โอกาสเต็มที่แก่
คู่ความทุกฝ่ ายในอันที่จะมาฟั งการพิจารณา และใช้ สิทธิ เกี่ยวด้ วยกระบวนพิจารณาเช่นว่านั ้น
ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้ ไม่ว่าพยานหลักฐานนั ้นคู่ความฝ่ ายใดจะเป็ นผู้อ้างอิง
หรือศาลเป็ นผู้สงั่ ให้ สบื

มาตรา ๑๐๓/๑ ในกรณีที่ค่คู วามตกลงกัน และศาลเห็นเป็ นการจาเป็ นและสมควร ศาล


อาจแต่งตั ้งเจ้ าพนักงานศาลหรือเจ้ าพนักงานอื่นซึง่ คู่ความเห็นชอบให้ ทาการสืบพยานหลักฐาน
ส่วนใดส่วนหนึง่ ที่จะต้ องกระทานอกศาลแทนได้
ให้ เจ้ าพนักงานผู้ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามวรรคหนึง่ เป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
และให้ นาความในมาตรา ๑๐๓ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๐๓/๒ คู่ ค วามฝ่ ายที่ เ กี่ ย วข้ องอาจร้ องขอต่ อ ศาลให้ ด าเนิ น การสื บ
พยานหลั ก ฐานไปตามวิ ธี การที่ คู่ ค วามตกลงกั น ถ้ าศาลเห็ น สมคว รเพื่ อ ให้ การสื บ
พยานหลักฐานเป็ นไปโดยสะดวกรวดเร็ว และเที่ยงธรรม ศาลจะอนุญาตตามคาร้ องขอนั ้นก็ได้
Jus_Highlight

เว้ นแต่การสืบพยานหลักฐานนั ้นจะเป็ นการไม่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้ อย


หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา ๑๐๓/๓ เพื่อให้ การสืบพยานหลักฐานเป็ นไปโดยสะดวก รวดเร็ ว และเที่ยงธรรม
ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกามีอานาจออกข้ อกาหนดใดๆ
เพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการนาสืบพยานหลักฐานได้ แต่ต้องไม่ขัดหรื อแย้ งกับบทบัญญัติใน
กฎหมาย
ข้ อกาหนดของประธานศาลฎีกาตามวรรคหนึง่ เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว ให้
ใช้ บงั คับได้

มาตรา ๑๐๔ ให้ ศาลมีอานาจเต็มที่ในอันที่จะวินิจฉัยว่าพยานหลักฐานที่ค่คู วามนามา


สืบนั ้นจะเกี่ยวกับประเด็นและเป็ นอันเพียงพอ ให้ เชื่อฟั งเป็ นยุติได้ หรื อไม่ แล้ วพิพากษาคดีไป
ตามนั ้น
ในการวินิจฉัยว่าพยานบอกเล่าตามมาตรา ๙๕/๑ หรือบันทึกถ้ อยคาที่ผ้ ใู ห้ ถ้ อยคามิได้ มา
ศาลตามมาตรา ๑๒๐/๑ วรรคสามและวรรคสี่ หรื อ บัน ทึกถ้ อ ยคาตามมาตรา ๑๒๐/๒ จะมี
น ้าหนักให้ เชื่อได้ หรือไม่เพียงใดนั ้น ศาลจะต้ องกระทาด้ วยความระมัดระวังโดยคานึงถึงสภาพ
ลักษณะและแหล่งที่มาของพยานบอกเล่าหรือบันทึกถ้ อยคานั ้นด้ วย[๕๔]

มาตรา ๑๐๕ คู่ความฝ่ ายใดไม่ ปฏิ บัติตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายนี ว้ ่า ด้ ว ย


พยานหลักฐาน กระทาให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งต้ องเสียค่าฤชาธรรมเนียม หรื อค่าธรรมเนียมเกิน
กว่าที่ควรเสีย ค่าฤชาธรรมเนียมที่เพิ่มขึ ้นนั ้น ให้ ถือว่าเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมอันไม่จาเป็ นตาม
ความหมายแห่งมาตรา ๑๖๖ และให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ก่อให้ เกิดขึ ้นนั ้นเป็ นผู้ออกใช้ ให้
Jus_Highlight

หมวด ๒
ว่ าด้ วยการมาศาลของพยานและการซักถามพยาน

มาตรา ๑๐๖ ในกรณีที่ค่คู วามฝ่ ายใดไม่สามารถนาพยานของตนมาศาลได้ เอง คู่ความ


ฝ่ ายนั ้นอาจขอต่อศาลก่อนวันสืบพยานให้ ออกหมายเรี ยกพยานนั ้นมาศาลได้ โดยศาลอาจให้
คู่ความฝ่ ายนัน้ แถลงถึง ความเกี่ยวพันของพยานกับ ข้ อเท็ จจริ ง ในคดี อันจาเป็ นที่ จะต้ อ งออก
หมายเรี ยกพยานดังกล่าวด้ วยและต้ องส่งหมายเรี ยกพร้ อมสาเนาคาแถลงของผู้ขอให้ พยานรู้
ล่วงหน้ าอย่างน้ อยสามวัน
หมายเรียกพยานต้ องมีข้อความดังนี ้
(๑) ชื่อและตาบลที่อยู่ของพยาน ชื่อคู่ความ ศาล และทนายความฝ่ ายผู้ขอ
(๒) สถานที่และวันเวลาซึง่ พยานจะต้ องไป
(๓) กาหนดโทษที่จะต้ องรับในกรณีที่ไม่ไปตามหมายเรียกหรือเบิกความเท็จ
ถ้ า ศาลเห็ น ว่ า พยานจะไม่ สามารถเบิ ก ความได้ โดยมิ ไ ด้ ตระเตรี ยม ศาลจะจดแจ้ ง
ข้ อเท็จจริงซึง่ พยานอาจถูกซักถามลงไว้ ในหมายเรียกด้ วยก็ได้

มาตรา ๑๐๖/๑ ห้ ามมิให้ ออกหมายเรียกพยานดังต่อไปนี ้


(๑) พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท หรื อผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์ ไม่ว่าใน
กรณีใดๆ
(๒) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา ไม่ว่าในกรณีใดๆ
(๓) ผู้ที่ได้ รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกันตามกฎหมาย
ในกรณีตาม (๒) และ (๓) ให้ ศาลหรือผู้พิพากษาที่รับมอบ หรื อศาลที่ได้ รับแต่งตั ้งออกคา
บอกกล่า วว่าจะสืบพยานนัน้ ณ สถานที่และวันเวลาใดแทนการออกหมายเรี ยก โดยในกรณี
ตาม (๒) ให้ ส่งไปยังพยาน ส่วนตาม (๓) ให้ ส่งคาบอกกล่าวไปยังสานักงานศาลยุติธรรมเพื่อ
ดาเนินการตามบทบัญญัติว่าด้ วยการนั ้น หรือตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ
Jus_Highlight

มาตรา ๑๐๗ ถ้ า ศาลเห็ น ว่ า ในการสืบ สวนหาความจริ ง จ าเป็ นต้ อ งไปสืบ พยาน ณ


สถานที่ซงึ่ ข้ อเท็จจริงอันประสงค์จะให้ พยานเบิกความนั ้นได้ เกิดขึ ้น ให้ ศาลหรื อผู้พิพากษาที่รับ
มอบ หรือศาลที่ได้ รับแต่งตั ้งเพื่อการนั ้นส่งหมายเรี ยกไปยังพยานระบุสถานที่และวันเวลาที่จะ
ไปสืบพยาน แล้ วสืบพยานไปตามนั ้น

มาตรา ๑๐๘ พยานที่ ได้ รับ หมายเรี ยกโดยชอบดัง ที่ บัญญั ติไ ว้ ใ นมาตรา ๑๐๖ และ
มาตรา ๑๐๗ นั ้น จาต้ องไป ณ สถานที่และตามวันเวลาที่กาหนดไว้ เว้ นแต่มีเหตุเจ็บป่ วยหรื อมี
ข้ อแก้ ตวั อันจาเป็ นอย่างอื่นโดยได้ แจ้ งเหตุนั ้นให้ ศาลทราบแล้ ว และศาลเห็นว่าข้ ออ้ างหรื อข้ อ
แก้ ตวั นั ้นฟั งได้

มาตรา ๑๐๙ เมื่อพยานคนใดได้ เบิกความแล้ ว ไม่ว่าพยานนั ้นจะได้ รับหมายเรี ยกหรื อ


คู่ความนามาเองก็ดี พยานนั ้นย่อมหมดหน้ าที่ ๆ จะอยู่ที่ศาลอีกต่อไป เว้ นแต่ศาลจะได้ สงั่ ให้
พยานนั ้นรอคอยอยู่ตามระยะเวลาที่ศาลจะกาหนดไว้

มาตรา ๑๑๐ ถ้ าพยานคนใดที่คู่ความได้ บอกกล่าวความจ านงจะอ้ างอิ งคาเบิ กความ


ของพยานโดยชอบแล้ ว ไม่ ไ ปศาลในวัน กาหนดนับ สืบ พยานนัน้ ศาลชอบที่ จ ะดาเนิ น การ
พิจารณาต่อไป และชี ้ขาดตัดสินคดีโดยไม่ต้องสืบพยานเช่นว่านั ้นได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้ บังคับ
บทบัญญัติแห่งมาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๑๑๑ เมื่ อศาลเห็นว่ าคาเบิ กความของพยานที่ ไม่ม าศาลเป็ นข้ อสาคัญในการ
วินิจฉัยชี ้ขาดคดี
Jus_Highlight

(๑) แต่ศาลเห็นว่าข้ ออ้ างว่าพยานไม่สามารถมาศาลนั ้นเป็ นเพราะเหตุเจ็บป่ วยของพยาน


หรือพยานมีข้อแก้ ตวั อันจาเป็ นอย่างอื่นที่ฟังได้ ศาลจะเลือ่ นการนัง่ พิจารณาคดีไปเพื่อให้ พยาน
มาศาลหรือเพื่อสืบพยานนั ้น ณ สถานที่และเวลาอันควรแก่พฤติการณ์ ก็ได้ หรือ
(๒) ศาลเห็ น ว่ า พยานได้ รั บ หมายเรี ยกโดยชอบแล้ ว จงใจไม่ ไ ปยั ง ศาลหรื อ ไม่ ไ ป ณ
สถานที่และตามวันเวลาที่กาหนดไว้ หรื อได้ รับคาสัง่ ศาลให้ รอคอยอยู่แล้ วจงใจหลบเสีย ศาล
จะเลื่อนการนั่งพิจารณาคดีไปและออกหมายจับและเอาตัวพยานกักขังไว้ จนกว่าพยานจะได้
เบิกความตามวันที่ศาลเห็นสมควรก็ได้ ทั ้งนี ้ ไม่เป็ นการลบล้ างโทษตามที่บัญญัติไว้ ในประมวล
กฎหมายอาญา

มาตรา ๑๑๒ ก่ อ นเบิ กความพยานทุกคนต้ อ งสาบานตนตามลัท ธิ ศาสนาหรื อ จารี ต


ประเพณีแห่งชาติของตน หรือกล่าวคาปฏิญาณว่าจะให้ การตามความสัตย์จริงเสียก่อน เว้ นแต่
(๑) พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท หรือผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
(๒) บุคคลที่มีอายุต่ากว่าสิบห้ าปี หรือบุคคลที่ศาลเห็นว่าหย่อนความรู้ สกึ ผิดและชอบ
(๓) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
(๔) บุคคลซึง่ คู่ความทั ้งสองฝ่ ายตกลงกันว่าไม่ต้องให้ สาบานหรือกล่าวคาปฏิญาณ

มาตรา ๑๑๓ พยานทุกคนต้ องเบิกความด้ วยวาจาและห้ ามไม่ให้ พยานอ่านข้ อความที่


เขียนมา เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากศาล หรือเป็ นพยานผู้เชี่ยวชาญ

มาตรา ๑๑๔ ห้ ามไม่ให้ พ ยานเบิกความต่อหน้ าพยานอื่น ที่จะเบิกความภายหลังและ


ศาลมีอานาจที่จะสัง่ พยานอื่นที่อยู่ในห้ องพิจารณาให้ ออกไปเสียได้
แต่ถ้าพยานคนใดเบิกความโดยได้ ฟังคาพยานคนก่อนเบิกความต่อหน้ าตนมาแล้ วและ
คู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ อ้ างว่าศาลไม่ควรฟั งคาเบิกความเช่นว่านี ้ เพราะเป็ นการผิดระเบียบถ้ าศาล
Jus_Highlight

เห็นว่าคาเบิกความเช่นว่านี ้เป็ นที่เชื่อฟั งได้ หรื อมิไ ด้ เปลี่ยนแปลงไปโดยได้ ฟังคาเบิกความของ


พยานคนก่อน หรือไม่สามารถทาให้ คาวินิจฉัยชี ้ขาดของศาลเปลีย่ นแปลงไปได้ ศาลจะไม่ฟังว่า
คาเบิกความเช่นว่านี ้เป็ นผิดระเบียบก็ได้
มาตรา ๑๑๕ พระมหากษั ตริ ย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์
หรือพระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา แม้ มาเป็ นพยานจะไม่ยอมเบิกความหรื อตอบคาถาม
ใดๆ ก็ได้ สาหรับบุคคลที่ได้ รับเอกสิทธิ์ หรื อความคุ้มกันตามกฎหมายจะไม่ยอมเบิกความหรื อ
ตอบคาถามใดๆ ภายใต้ เงื่อนไขที่กาหนดไว้ ตามกฎหมายนั ้นๆ ก็ได้

มาตรา ๑๑๖ ในเบื อ้ งต้ น ให้ พ ยานตอบคาถามเรื่ อ ง นาม อายุ ตาแหน่ ง หรื ออาชี พ
ภูมิลาเนาและความเกี่ยวพันกับคู่ความ
แล้ วศาลอาจปฏิบตั ิอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อไปนี ้
(๑) ศาลเป็ นผู้ถามพยานเอง กล่า วคื อ แจ้ ง ให้ พ ยานทราบประเด็ น และข้ อเท็ จ จริ ง ซึ่ง
ต้ องการสืบแล้ วให้ พยานเบิกความในข้ อนั ้น ๆ โดยวิธีเล่าเรื่องตามลาพังหรื อโดยวิธีตอบคาถาม
ของศาล หรือ
(๒) ให้ ค่คู วามซักถาม และถามค้ านพยานไปทีเดียว ดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๑๑๗ คู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานชอบที่จะตั ้งข้ อซักถามพยานได้ ในทันใดที่พยานได้


สาบานตนและแสดงตนตามมาตรา ๑๑๒ และ ๑๑๖ แล้ ว หรือถ้ าศาลเป็ นผู้ซักถามพยานก่อนก็
ให้ ค่คู วามซักถามได้ ต่อเมื่อศาลได้ ซกั ถามเสร็จแล้ ว
เมื่อคู่ความฝ่ ายที่ต้องอ้ างพยานได้ ซักถามพยานเสร็ จแล้ ว คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งชอบที่จ ะ
ถามค้ านพยานนั ้นได้
เมื่อได้ ถามค้ านพยานเสร็จแล้ ว คู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานชอบที่จะถามติงได้
Jus_Highlight

เมื่อได้ ถามติ งพยานเสร็ จ แล้ ว ห้ ามมิ ให้ ค่คู วามฝ่ ายใดซักถามพยานอี ก เว้ นแต่จ ะได้ รับ
อนุญาตจากศาล ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดได้ รับอนุญาตให้ ถามพยานได้ ดังกล่าวนี ้ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
ย่อมถามค้ านพยานได้ อีกในข้ อที่เกี่ยวกับคาถามนั ้น
คู่ความที่ระบุพยานคนใดไว้ จะไม่ติดใจสืบพยานคนนั ้นก็ได้ ในเมื่อพยานคนนั ้นยังมิได้
เบิ กความตามข้ อ ถามของศาล หรื อ ของคู่ความฝ่ ายที่ อ้า ง แต่ถ้าพยานได้ เ ริ่ ม เบิ กความแล้ ว
พยานอาจถูกถามค้ านหรือถามติงได้
ถ้ าพยานเบิกความเป็ นปรปั กษ์ แก่ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างตนมา คู่ความฝ่ ายนั ้นอาจขออนุญาต
ต่อศาลเพื่อซักถามพยานนั ้นเสมือนหนึง่ พยานนั ้นเป็ นพยานซึง่ คู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ อ้ างมา
การซักถามพยานก็ดี การซักค้ านพยานก็ ดี การถามติงพยานก็ดี ถ้ าคู่ความคนใดได้ ตัง้
ทนายความไว้ หลายคน ให้ ทนายความคนเดียวเป็ นผู้ถาม เว้ นแต่ศาลจะเห็นสมควรเป็ นอย่าง
อื่น

มาตรา ๑๑๘ ในการที่ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างพยานจะซักถามพยานก็ดี หรื อถามติงพยานก็ดี


ห้ ามมิให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นใช้ คาถามนา เว้ นแต่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งยินยอมหรื อได้ รับอนุญาตจาก
ศาล
ในการที่ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างพยานจะถามติงพยาน ห้ ามมิให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นใช้ คาถามอื่นใด
นอกจากคาถามที่เกี่ยวกับคาพยานเบิกความตอบคาถามค้ าน
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ ามไม่ให้ ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ถามพยานด้ วย
(๑) คาถามอันไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดี
(๒) คาถามที่อาจทาให้ พยาน หรือคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ หรือบุคคลภายนอกต้ องรับโทษทาง
อาญา หรือคาถามที่เป็ นหมิ่นประมาทพยาน เว้ นแต่คาถามเช่นว่านั ้นเป็ นข้ อสาระสาคัญในอัน
ที่จะชี ้ขาดข้ อพิพาท
Jus_Highlight

ถ้ าคู่ ค วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง ถามพยานฝ่ าฝื นต่ อ บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง มาตรานี ้ เมื่ อ ศาล
เห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ร้ องคัดค้ าน ศาลมีอานาจที่จะชี ้ขาดว่าควรให้ ใช้ คาถาม
นั ้นหรื อ ไม่ ในกรณีเ ช่ นนี ้ ถ้ า คู่ความฝ่ ายที่ เ กี่ ยวข้ องคัดค้ า นคาชี ้ขาดของศาล ก่ อนที่ ศาลจะ
ดาเนินคดีต่อ ไป ให้ ศาลจดไว้ ในรายงานซึ่งคาถามและข้ อคัดค้ าน ส่วนเหตุที่ ค่คู วามคัดค้ า น
ยกขึ ้นอ้ างนั ้นให้ ศาลใช้ ดุลพินิจจดลงไว้ ในรายงาน หรื อกาหนดให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นยื่นคาแถลง
เป็ นหนังสือเพื่อรวมไว้ ในสานวน

มาตรา ๑๑๙ ไม่ว่าเวลาใด ๆ ในระหว่างที่พยานเบิกความ หรื อภายหลังที่พยานได้ เบิก


ความแล้ ว แต่ก่อนมีคาพิพากษา ให้ ศาลมีอานาจที่จะถามพยานด้ วยคาถามใด ๆ ตามที่เห็นว่า
จาเป็ น เพื่อให้ คาเบิกความของพยานบริบรู ณ์ หรือชัดเจนยิ่งขึ ้น หรือเพื่อสอบสวนถึงพฤติการณ์
ที่ทาให้ พยานเบิกความเช่นนั ้น
ถ้ าพยานสองคนหรื อ กว่ า นั น้ เบิ ก ความขั ด กั น ในข้ อส าคั ญ แห่ ง ประเด็ น เมื่ อ ศาล
เห็ นสมควรหรื อ เมื่ อ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมี คาขอ ให้ ศาลมีอ านาจเรี ยกพยานเหล่า นั ้นมา
สอบถามปากคาพร้ อมกันได้

มาตรา ๑๒๐ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดอ้ างว่าคาเบิกความของพยานคนใดที่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่ง


อ้ าง หรือที่ศาลเรียกมาไม่ควรเชื่อฟั ง โดยเหตุผลซึง่ ศาลเห็นว่ามีมลู ศาลอาจยอมให้ ค่คู วามฝ่ าย
นั ้นนาพยานหลักฐานมาสืบสนับสนุนข้ ออ้ างของตนได้ แล้ วแต่จะเห็นควร

มาตรา ๑๒๐/๑ เมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาร้ องและคู่ความอีกฝ่ ายไม่คัดค้ าน และ


ศาลเห็น สมควรศาลอาจอนุญาตให้ ค่คู วามฝ่ ายที่มีคาร้ องเสนอบันทึกถ้ อยคาทั ้งหมดหรื อแต่
บางส่วนของผู้ที่ตนประสงค์จะอ้ างเป็ นพยานยืนยันข้ อเท็จจริงหรื อความเห็นของผู้ให้ ถ้อยคาต่อ
ศาลแทนการซักถามผู้ให้ ถ้อยคาเป็ นพยานต่อหน้ าศาลได้
Jus_Highlight

คู่ความที่ ประสงค์ จ ะเสนอบันทึกถ้ อ ยคาแทนการซักถามพยานดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง


จะต้ อ งยื่ น ค าร้ องแสดงความจ านงพร้ อมเหตุผ ลต่ อ ศาลก่ อ นวั น ชี ส้ องสถาน หรื อ ก่ อ นวั น
สืบพยาน ในกรณีที่ไม่มีการชี ้สองสถาน และให้ ศาลพิจารณากาหนดระยะเวลาที่ค่คู วามจะต้ อง
ยื่นบันทึกถ้ อยคาดังกล่าวต่อศาลและส่งสาเนาบัน ทึกถ้ อยคานั ้นให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งทราบ
ล่ว งหน้ า ไม่น้ อ ยกว่ า เจ็ ดวัน ก่ อ นวัน สืบ พยานคนนัน้ เมื่ อ มีการยื่น บันทึกถ้ อยคาต่ อ ศาลแล้ ว
คู่ความที่ยื่นไม่อาจขอถอนบันทึกถ้ อยคานั ้น บันทึกถ้ อยคานั ้นเมื่อพยานเบิกความรับรองแล้ วให้
ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของคาเบิกความตอบคาซักถาม
ให้ ผ้ ใู ห้ ถ้อยคามาศาลเพื่อเบิกความตอบคาซักถามเพิ่มเติม ตอบคาถามค้ าน และคาถาม
ติงของคู่ความหากผู้ให้ ถ้อยคาไม่มาศาล ให้ ศาลปฏิ เสธที่จะรับฟั งบันทึกถ้ อยคาของผู้นั น้ เป็ น
พยานหลัก ฐานในคดี แ ต่ ถ้ าศาลเห็ น ว่ า เป็ นกรณี จ าเป็ นหรื อ มี เ หตุสุด วิ สัยที่ ผ้ ูใ ห้ ถ้ อ ยคาไม่
สามารถมาศาลได้ และเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จะรับฟั งบันทึกถ้ อยคาที่ผ้ ใู ห้ ถ้อยคามิ
ได้ มาศาลนั ้นประกอบพยานหลักฐานอื่นก็ได้
ในกรณีที่ค่คู วามตกลงกันให้ ผ้ ใู ห้ ถ้อ ยคาไม่ต้ องมาศาล หรื อคู่ความอี กฝ่ ายหนึ่งยินยอม
หรือไม่ติดใจถามค้ าน ให้ ศาลรับฟั งบันทึกถ้ อยคาดังกล่าวเป็ นพยานหลักฐานในคดีได้

มาตรา ๑๒๐/๒ เมื่อ คู่ความมี คาร้ องร่ ว มกันและศาลเห็ นสมควร ศาลอาจอนุญาตให้


เสนอบันทึกถ้ อยคายืนยันข้ อเท็จจริ งหรื อความเห็นของผู้ให้ ถ้อยคาซึ่งมีถิ่น ที่อยู่ในต่างประเทศ
ต่อศาลแทนการนาพยานบุคคลมาเบิกความต่อหน้ าศาลได้ แต่ทั ้งนี ้ไม่ตัดสิทธิ ผ้ ใู ห้ ถ้อยคาที่จะ
มาศาลเพื่อให้ การเพิ่มเติม
สาหรับลายมือชื่อของผู้ให้ ถ้อยคาให้ นามาตรา ๔๗ วรรคสาม มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๐/๓ บันทึกถ้ อยคาตามมาตรา ๑๒๐/๑ และมาตรา ๑๒๐/๒ ให้ มี รายการ


ดังต่อไปนี ้
Jus_Highlight

(๑) ชื่อศาลและเลขคดี
(๒) วัน เดือน ปี และสถานที่ที่ทาบันทึกถ้ อยคา
(๓) ชื่อและสกุลของคู่ความ
(๔) ชื่อ สกุล อายุ ที่อยู่ และอาชีพ ของผู้ให้ ถ้อยคา และความเกี่ยวพันกับคู่ความ
(๕) รายละเอียดแห่งข้ อเท็จจริง หรือความเห็นของผู้ให้ ถ้อยคา
(๖) ลายมือชื่อของผู้ให้ ถ้อยคาและคู่ความฝ่ ายผู้เสนอบันทึกถ้ อยคา
ห้ ามมิ ใ ห้ แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม บั น ทึ ก ถ้ อยค าที่ ไ ด้ ยื่ น ไว้ แล้ ว ต่ อ ศาล เว้ นแต่ เ ป็ นการแก้ ไข
ข้ อผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กน้ อย

มาตรา ๑๒๐/๔ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจขอให้ ศาลทาการสืบพยานบุคคลที่อยู่นอก


ศาลโดยระบบการประชุมทางจอภาพได้ โดยคู่ความฝ่ ายที่อ้างพยานต้ องเป็ นผู้รับผิดชอบใน
เรื่องค่าใช้ จ่าย หากศาลเห็นว่า เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลจะอนุญาตตามคาร้ องนั ้นก็
ได้ โดยให้ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาไปตามข้ อกาหนดแนวทางการสืบ พยานของประธาน
ศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ป ระชุมใหญ่ ของศาลฎี กาที่ออกตามมาตรา ๑๐๓/๓ รวมทั ้ง
ระบุวิธีการสืบพยาน สถานที่ และสักขีพยานในการสืบพยานตามข้ อกาหนดของประธานศาล
ฎีกาดังกล่าว และไม่ถือว่าค่าใช้ จ่ายนั ้นเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมในการดาเนินคดี
การเบิกความตามวรรคหนึง่ ให้ ถือว่าพยานเบิกความในห้ องพิจารณาของศาล

มาตรา ๑๒๑ ในการนั่งพิจารณาทุกครัง้ เมื่อพยานคนใดเบิกความแล้ ว ให้ ศาลอ่านคา


เบิกความนั ้นให้ พยานฟั ง และให้ พยานลงลายมือชื่อไว้ ดงั ที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๔๙ และ ๕๐
ความในวรรคหนึ่ง ไม่ ใช้ บัง คับ กับกรณี ที่มี การใช้ บันทึกถ้ อยคาแทนการเบิกความของ
พยานตามมาตรา ๑๒๐/๑ หรื อ มาตรา ๑๒๐/๒ หรื อ กรณีที่ มี การสืบพยานโดยใช้ ระบบการ
ประชุมทางจอภาพตามมาตรา ๑๒๐/๔ หรื อกรณีที่มีการบันทึกการเบิกความของพยานโดยใช้
Jus_Highlight

วิธีการบันทึกลงในวัสดุซึ่งสามารถถ่ายทอดออกเป็ นภาพหรื อเสียงหรื อโดยใช้ วิ ธีการอื่นใดซึ่ง


คู่ค วามและพยานสามารถตรวจสอบถึงความถูกต้ องของบัน ทึกการเบิ กความนั ้นได้ แต่ ถ้า
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งหรื อพยานขอตรวจดูบันทึกการเบิกความของพยานนั ้น ให้ ศาลจัดให้ มี
การตรวจดูบนั ทึกการเบิกความนั ้น

หมวด ๓
การนาพยานเอกสารมาสอบ

มาตรา ๑๒๒ เมื่อคู่ความฝ่ ายใดอ้ างอิงเอกสารฉบับใดเป็ นพยานหลักฐานและคู่ความ


อีกฝ่ ายหนึง่ คัดค้ านเอกสารนั ้นตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๑๒๕ ถ้ าต้ นฉบับเอกสารอยู่ในความ
ครอบครองของคู่ความฝ่ ายที่อ้างเอกสาร ให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้นนาต้ นฉบับเอกสารมาแสดงต่อศาล
ในวันสืบพยาน
ไม่ ว่ า เวลาใด ๆ ก่ อนมี คาพิ พ ากษา ถ้ า ศาลได้ กาหนดให้ คู่ความฝ่ ายที่ อ้ า งเอกสารส่ง
ต้ นฉบับต่อศาล โดยที่ศาลเห็นสมควร หรือโดยที่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึง่ ยื่นคาขอ ให้ ค่คู วามฝ่ ายนั ้น
ส่งต้ นฉบับเอกสารต่อศาล เพื่อศาลหรื อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง จะตรวจดูได้ ตามเงื่อนไขซึ่งจะได้
กาหนดไว้ ในกฎกระทรวงว่าด้ วยการนั ้น หรือตามที่ศาลจะได้ กาหนด แต่
(๑) ถ้ าไม่สามารถจะนามาหรือยื่นต้ นฉบับเอกสารดังกล่าวข้ างต้ น คู่ความฝ่ ายนั ้นอาจยื่น
คาขอโดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาลในวันหรื อก่อนวันที่กาหนดให้ นามาหรื อให้ ยื่นต้ นฉบับเอกสาร
นั ้น แถลงให้ ทราบถึงความไม่สามารถที่จะปฏิบตั ิตามได้ พร้ อมทั ้งเหตุผล ถ้ าศาลเห็นว่าผู้ยื่นคา
ขอไม่ ส ามารถที่ จ ะน ามาหรื อ ยื่ น ต้ น ฉบั บ เอกสารได้ ศาลจะมี ค าสั่ง อนุญาตให้ น าต้ น ฉบั บ
เอกสารมาในวันต่อไป หรือจะสัง่ เป็ นอย่างอื่นตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชน์ แห่งความยุติธรรม
ก็ได้ ในกรณีที่ผ้ ยู ื่นคาขอมีความประสงค์เพียงให้ ศาลขยายระยะเวลาที่ตนจะต้ องนามาหรื อยื่น
ต้ นฉบับเอกสารนั ้น คาขอนั ้นจะทาเป็ นคาขอฝ่ ายเดียวก็ได้
Jus_Highlight

(๒) ถ้ าการที่จะนามาหรื อยื่นต้ นฉบับเอกสารต่อศาลนัน้ จะเป็ นเหตุให้ เกิดการสูญหาย


หรือบุบสลายหรื อมีข้อขัดข้ องโดยอุปสรรคสาคัญหรื อความลาบากยากยิ่งใด ๆ คู่ความฝ่ ายที่
อ้ างอิง เอกสารอาจยื่น คาขอฝ่ ายเดี ยวโดยทาเป็ นคาร้ อ งต่ อศาล ในวัน หรื อก่ อนวันสืบพยาน
แถลงให้ ท ราบถึง เหตุเ สียหาย อุป สรรค หรื อความลาบากเช่น ว่ านัน้ ถ้ า ศาลเห็ นว่ า ต้ น ฉบับ
เอกสารนั ้นไม่อาจนามาหรื อยื่นต่อศาลได้ ศาลจะมีคาสัง่ ให้ ยื่นต้ นฉบับเอกสารนั ้น ณ สถานที่
ใดต่อเจ้ าพนักงานคนใด และภายในเงื่อนไขใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ หรื อจะมีคาสัง่ ให้ คัด
สาเนาที่รับรองว่าถูกต้ องทั ้งฉบับหรือเฉพาะส่วนที่เกี่ยวแก่เรื่องมายื่นแทนต้ นฉบับก็ได้

มาตรา ๑๒๓ ถ้ าต้ นฉบับเอกสารซึ่งคู่ความฝ่ ายหนึ่งอ้ างอิงเป็ นพยานหลักฐานนั ้นอยู่ใน


ความครอบครองของคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง คู่ความฝ่ ายที่อ้างจะยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ องต่ อ
ศาลขอให้ สงั่ คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งส่งต้ นฉบับเอกสารแทนการที่ตนจะต้ องส่งสาเนาเอกสารนั ้นก็
ได้ ถ้าศาลเห็นว่าเอกสารนั ้นเป็ นพยานหลักฐานสาคัญ และคาร้ องนั ้นฟั งได้ ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้
คู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ยื่นต้ นฉบับเอกสารต่อศาลภายในเวลาอันสมควรแล้ วแต่ศาลจะกาหนด ถ้ า
คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งมีต้นฉบับเอกสารอยู่ในครอบครองไม่ปฏิ บัติตามคาสัง่ เช่นว่านั ้น ให้ ถือว่า
ข้ อเท็จจริงแห่งข้ ออ้ างที่ผ้ ขู อจะต้ องนาสืบโดยเอกสารนั ้น คู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ได้ ยอมรับแล้ ว
ถ้ าต้ นฉบับเอกสารอยู่ในความครอบครองของบุคคลภายนอก หรื อในครอบครองของทาง
ราชการ หรือของเจ้ าหน้ าที่ ซึ่งคู่ความที่อ้างไม่อาจร้ อ งขอโดยตรงให้ ส่งเอกสารนั ้นมาได้ ให้ นา
บทบัญญัติในวรรคก่อนว่าด้ วยการที่ค่คู วามฝ่ ายที่อ้างเอกสารยื่นคาขอ และการที่ศาลมีคาสัง่
มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม แต่ทั ้งนี ้ฝ่ ายที่อ้างต้ องส่งคาสัง่ ศาลแก่ผ้ คู รอบครองเอกสารนั ้นล่วงหน้ า
อย่างน้ อยเจ็ดวัน ถ้ าไม่ได้ เอกสารนั ้นมาสืบตามกาหนด เมื่อศาลเห็นสมควร ก็ให้ ศาลสืบพยาน
ต่อไปตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๙๓ (๒)
Jus_Highlight

มาตรา ๑๒๔ ถ้ าคู่ความฝ่ ายที่อ้างเอกสารไม่ยอมนามาหรื อยื่นต้ นฉบับเอกสาร หรื อถ้ า


คู่ค วามฝ่ ายนั ้นได้ ท าให้ เ สียหาย ทาลาย ปิ ดบัง หรื อ ทาด้ วยประการอื่ นใด ให้ เอกสารนั ้นไร้
ประโยชน์โดยมุ่งหมายที่จะกีดกันไม่ให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึง่ อ้ างอิงเอกสารนั ้นเป็ นพยานหลักฐาน
ให้ ถือว่าข้ อเท็จจริงแห่งข้ ออ้ างที่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งจะต้ องนาสืบโดยเอกสารนั ้น คู่ความฝ่ ายที่
ไม่นามาหรือยื่นเอกสารดังกล่าวข้ างต้ นนั ้นได้ ยอมรับแล้ ว

มาตรา ๑๒๕ คู่ความฝ่ ายที่ถูกอีกฝ่ ายหนึ่งอ้ างอิงเอกสารมาเป็ นพยานหลักฐานยันตน


อาจคัดค้ านการนาเอกสารนั ้นมาสืบโดยเหตุที่ว่าไม่มีต้นฉบับหรื อต้ นฉบับนั ้นปลอมทั ้งฉบับหรื อ
บางส่วน หรือสาเนานั ้นไม่ถกู ต้ องกับต้ นฉบับ โดยคัดค้ านต่อศาลก่อนการสืบพยานเอกสารนั ้น
เสร็จ
ถ้ าคู่ความซึ่งประสงค์ จะคัดค้ านมีเหตุผลอันสมควรที่ ไม่อ าจทราบได้ ก่อ นการสืบพยาน
เอกสารนั ้นเสร็จว่าต้ นฉบับเอกสารนั ้นไม่มี หรื อเอกสารนั ้นปลอม หรื อสาเนาไม่ถูกต้ องคู่ความ
นั ้นอาจยื่นคาร้ องขออนุญาตคัดค้ านการอ้ างเอกสารมาสืบดังกล่าวข้ างต้ นต่อศาล ไม่ว่าเวลาใด
ก่อนศาลพิพากษา ถ้ า ศาลเห็น ว่าคู่ความนั ้นไม่ อาจยกข้ อคัดค้ านได้ ก่อนนัน้ และคาขอนั ้นมี
เหตุผลฟั งได้ ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอ
ถ้ าคู่ความซึง่ ประสงค์จะคัดค้ านไม่คัดค้ านการอ้ างเอกสารเสียก่อนการสืบพยานเอกสาร
นั ้นเสร็ จ หรื อศาลไม่อนุญาตให้ คัดค้ านภายหลังนั ้น ห้ ามมิให้ ค่คู วามนั ้นคัดค้ านการมีอยู่และ
ความแท้ จริงของเอกสารนั ้น หรือความถูกต้ องแห่งสาเนาเอกสารนั ้น แต่ทั ้งนี ้ ไม่ตัดอานาจของ
ศาลในอันที่จะไต่สวนและชี ้ขาดในเรื่ องการมีอยู่ ความแท้ จริ ง หรื อความถูกต้ องเช่นว่านั ้น ใน
เมื่อศาลเห็นสมควร และไม่ตดั สิทธิของคู่ความนั ้นที่จะอ้ างว่าสัญญาหรื อหนี ้ที่ระบุไว้ ในเอกสาร
นั ้นไม่สมบูรณ์หรือคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ตีความหมายผิด
Jus_Highlight

มาตรา ๑๒๖ ภายใต้ บังคับแห่งบทบัญญัติมาตราต่อไปนี ้ ถ้ าคู่ความที่ถูกอีกฝ่ ายหนึ่ง


อ้ างอิงเอกสารมาเป็ นพยานหลักฐานยันแก่ตน ปฏิ เสธความแท้ จริ งของเอกสารนั ้น หรื อความ
ถูกต้ องแห่งสาเนาเอกสารนั ้น และคู่ความฝ่ ายที่อ้างยังคงยืนยันความแท้ จริ งหรื อความถูกต้ อง
แห่งสาเนาของเอกสาร ถ้ าศาลเห็นสมควร ให้ ศาลชี ้ขาดข้ อโต้ เถียงนั ้นได้ ทันทีในเมื่อเห็นว่าไม่
จาเป็ นต้ องสืบ พยานหลักฐานต่ อไป หรื อ มิฉะนัน้ ให้ ชี ข้ าดในเมื่ อได้ สืบพยานตามวิ ธีต่อไปนี ้
ทั ้งหมดหรือโดยวิธีใดวิธีหนึง่ คือ
(๑) ตรวจสอบบรรดาเอกสารที่มิได้ ถูก คัดค้ านแล้ วจดลงไว้ ซึ่งการมีอยู่หรื อข้ อความแห่ ง
เอกสารที่ถกู คัดค้ าน
(๒) ซักถามพยานที่ทราบการมีอยู่หรื อข้ อความแห่ งเอกสารที่ถูกคัดค้ าน หรื อพยานผู้ที่
สามารถเบิกความในข้ อความแท้ จริงแห่งเอกสาร หรือความถูกต้ องแห่งสาเนา
(๓) ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญตรวจสอบเอกสารที่ถกู คัดค้ านนั ้น
ในระหว่างที่ยังมิได้ ชี ข้ าดตัดสินคดี ให้ ศาลยึดเอกสารที่สงสัยว่า ปลอมหรื อไม่ถูกต้ องไว้
แต่ความข้ อนี ้ไม่บงั คับถึงเอกสารราชการซึง่ ทางราชการเรี ยกคืนไป

มาตรา ๑๒๗ เอกสารมหาชนซึ่งพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ ทาขึ ้นหรื อรับรอง หรื อสาเนาอัน
รับรองถูกต้ องแห่งเอกสารนั ้น และเอกสารเอกชนที่มีคาพิพากษาแสดงว่าเป็ นของแท้ จริ งและ
ถูกต้ องนั ้น ให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่าเป็ นของแท้ จริ งและถูกต้ อง เป็ นหน้ าที่ของคู่ความฝ่ ายที่ถูก
อ้ างเอกสารนั ้นมายัน ต้ องนาสืบความไม่บริสทุ ธิ์หรือความไม่ถกู ต้ องแห่งเอกสาร

มาตรา ๑๒๗ ทวิ ต้ นฉบับพยานเอกสารหรือพยานวัตถุอันสาคัญที่ค่คู วามได้ ยื่นต่อศาล


หรื อที่บุคคลภายนอกได้ ยื่นต่ อศาล หากผู้ที่ยื่น ต้ องใช้ เป็ นประจาหรื อตามความจาเป็ นหรื อ มี
ความสาคัญในการเก็บรักษา ศาลจะอนุญาตให้ ผ้ ทู ี่ยื่นรับคืนไป โดยให้ ค่คู วามตรวจดู และให้ ผ้ ู
ที่ยื่นส่งสาเนาหรือภาพถ่ายไว้ แทน หรือจะมีคาสัง่ อย่างใดตามที่เห็นสมควรก็ได้
Jus_Highlight

หมวด ๔
การตรวจและการแต่ งตัง้ ผู้เชี่ยวชาญโดยศาล

มาตรา ๑๒๘ ถ้ าพยานหลักฐานที่ศาลจะทาการตรวจนั ้นเป็ นบุคคลหรื อสังหาริ มทรัพย์


ซึง่ อาจนามาศาลได้ ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ได้ รับอนุญาตให้ นาสืบพยานหลักฐานเช่นว่านั ้นนาบุคคล
หรือทรัพย์นั ้นมาในวันสืบพยาน หรือวันอื่นใดที่ศาลจะได้ กาหนดให้ นามา
ถ้ าการตรวจไม่สามารถกระทาได้ ในศาล ให้ ศาลทาการตรวจ ณ สถานที่ เวลาและภายใน
เงื่อนไข ตามที่ศาลจะเห็นสมควร แล้ วแต่สภาพแห่งการตรวจนั ้น ๆ

มาตรา ๑๒๘/๑ ในกรณี ที่ จ าเป็ นต้ อ งใช้ พ ยานหลักฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ พิ สูจ น์
ข้ อเท็จจริงใดที่เป็ นประเด็นสาคัญแห่งคดี เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
ร้ องขอ ศาลมี อ านาจสั่ง ให้ ท าการตรวจพิ สูจ น์ บุคคล วัตถุห รื อ เอกสารใดๆ โดยวิ ธี การทาง
วิทยาศาสตร์ ได้
ในกรณีที่พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถพิสจู น์ ให้ เห็นถึงข้ อเท็จจริ งที่ทาให้
ศาลวินิจฉัยชี ้ขาดคดีได้ โดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานอื่นอีก เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อคู่ความ
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งร้ องขอ ศาลอาจสัง่ ให้ ทาการตรวจพิสจู น์ ตามวรรคหนึ่งโดยไม่ต้องรอให้ ถึงวัน
สืบพยานตามปกติก็ได้
ในกรณี ที่ การตรวจพิ สูจ น์ ตามวรรคหนึ่ง หรื อ วรรคสองจ าเป็ นต้ อ งเก็ บ ตั ว อย่ า ง เลือ ด
เนื ้อเยื่อ ผิวหนัง เส้ น ผมหรื อ ขน ปั สสาวะ อุจจาระ น ้าลายหรื อ สารคัดหลัง่ อื่น สารพันธุกรรม
หรือส่วนประกอบอื่นของร่ างกาย หรื อสิ่งที่อยู่ในร่ างกายจากคู่ความหรื อบุคคลใด ศาลอาจให้
คู่ความหรื อบุคคลใดรับการตรวจพิสจู น์ จากแพทย์ หรื อผู้เชี่ยวชาญอื่นได้ แต่ต้ องกระทาเพียง
เท่าที่จาเป็ นและสมควร ทั ้งนี ้ ถือเป็ นสิทธิของคู่ความหรือบุคคลนั ้นที่จะยินยอมหรือไม่ก็ได้
Jus_Highlight

ในกรณีที่ ค่คู วามฝ่ ายใดไม่ ยินยอมหรื อไม่ใ ห้ ความร่ วมมื อต่อ การตรวจพิสูจน์ ตามวรรค
หนึ่งหรื อ วรรคสอง หรื อ ไม่ใ ห้ ความยิ น ยอมหรื อ กระทาการขัดขวางมิใ ห้ บุคคลที่เ กี่ยวข้ อง ให้
ความยินยอมต่อการตรวจเก็บตัวอย่างส่วนประกอบของร่ างกายตามวรรคสาม ก็ให้ สนั นิษฐาน
ไว้ ก่อนว่าข้ อเท็จจริงเป็ นไปตามที่ค่คู วามฝ่ ายตรงข้ ามกล่าวอ้ าง
ค่า ใช้ จ่ ายในการตรวจพิ สูจ น์ ตามมาตรานี ้ ให้ คู่ความฝ่ ายที่ ร้องขอให้ ตรวจพิสูจ น์ เ ป็ น
ผู้รับ ผิด ชอบโดยให้ ถื อ ว่า เป็ นส่วนหนึ่ ง ของค่ าฤชาธรรมเนียม แต่ ถ้า ผู้ร้อ งขอไม่สามารถเสีย
ค่า ใช้ จ่ า ยได้ ห รื อ เป็ นกรณี ที่ศาลเป็ นผู้สั่ง ให้ ตรวจพิ สูจน์ ให้ ศาลสั่ง จ่ า ยตามระเบี ยบที่ คณะ
กรรมการบริ ห ารศาลยุติ ธ รรมกาหนด ส่ว นความรั บ ผิ ดในค่ า ใช้ จ่ า ยดัง กล่า วให้ เ ป็ นไปตาม
มาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๖๑

มาตรา ๑๒๙ ในการที่ศาลจะมีคาสัง่ ให้ แต่งตั ้งผู้เชี่ยวชาญดังกล่าวมาในมาตรา ๙๙ โดย


ที่ศาลเห็นสมควรหรือโดยที่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ร้ องขอนั ้น
(๑) การแต่งตั ้งผู้เชี่ยวชาญเช่นว่านั ้นให้ อยู่ในดุลพินิจของศาล แต่ศาลจะเรี ยกคู่ความมา
ให้ ตกลงกั น ก าหนดตั ว ผู้ เชี่ ย วชาญที่ จ ะแต่ ง ตัง้ นั น้ ก็ ไ ด้ แ ต่ ศ าลจะบั ง คั บ บุค คลใดให้ เป็ น
ผู้เชี่ยวชาญไม่ได้ นอกจากบุคคลนั ้นได้ ยินยอมลงชื่อเป็ นผู้เชี่ยวชาญไว้ ในทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ของศาลแล้ ว
(๒) ผู้เชี่ยวชาญที่ศาลแต่งตั ้งอาจถูกคัดค้ านได้ และต้ องสาบานหรื อปฏิ ญาณตน ทั ้งมีสิทธิ
ที่จะได้ รับค่าธรรมเนียมและรับชดใช้ ค่าใช้ จ่ายที่ ไ ด้ ออกไปตามที่กาหนดไว้ ใ นกฎกระทรวงว่ า
ด้ วยการนั ้น

มาตรา ๑๓๐ ผู้เชี่ยวชาญที่ศาลแต่งตั ้งอาจแสดงความเห็นด้ วยวาจาหรื อเป็ นหนังสือก็ได้


แล้ วแต่ศาลจะต้ องการ ถ้ าศาลยังไม่เป็ นที่พอใจในความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ทาเป็ นหนังสือนั ้น
Jus_Highlight

หรื อ เมื่ อ คู่ความฝ่ ายใดเรี ยกร้ อ งโดยทาเป็ นคาร้ อ ง ให้ ศาลเรี ยกให้ ผ้ ูเ ชี่ยวชาญท าความเห็ น
เพิ่มเติมเป็ นหนังสือ หรือเรียกให้ มาศาลเพื่ออธิบายด้ วยวาจา หรือให้ ตั ้งผู้เชี่ยวชาญคนอื่นอีก
ถ้ าผู้เชี่ยวชาญที่ศาลตั ้งจะต้ องแสดงความเห็นด้ วยวาจาหรื อต้ องมาศาลเพื่ออธิ บายด้ วย
วาจา ให้ นาบทบัญญัติในลักษณะนี ้ว่าด้ วยพยานบุคคลมาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

ลักษณะ ๖
คาพิพากษาและคาสั่ง
หมวด ๑
หลักทั่วไปว่ าด้ วยการชีข้ าดตัดสินคดี

มาตรา ๑๓๑ คดีที่ยื่นฟ้องต่อศาลนั ้น ให้ ศาลปฏิบตั ิดงั นี ้


(๑) ในเรื่ องคาขอซึ่งคู่ความยื่นในระหว่างการพิจารณาคดีนั ้น โดยทาเป็ นคาร้ องหรื อขอ
ด้ วยวาจาก็ดี ให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตหรื อยกเสียซึ่งคาขอเช่นว่านั ้น โดยทาเป็ นหนังสือหรื อด้ วย
วาจาก็ได้ แต่ถ้าศาลมีคาสัง่ ด้ วยวาจาให้ ศาลจดคาสัง่ นั ้นไว้ ในรายงานพิสดาร
(๒) ในเรื่องประเด็นแห่งคดี ให้ ศาลวินิจฉัยชี ้ขาดโดยทาเป็ นคาพิพากษาหรื อคาสัง่ หรื อให้
จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในลักษณะนี ้

มาตรา ๑๓๒ ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ จ าหน่ า ยคดีเ สียจากสารบบความได้ โดยไม่ต้อ งมี คา
วิ นิ จ ฉัย ชี ข้ าดในประเด็ น เรื่ อ งนัน้ และให้ ก าหนดเงื่ อ นไขในเรื่ อ งค่ า ฤชาธรรมเนี ย มตามที่
เห็นสมควร
(๑) เมื่อโจทก์ทิ ้งฟ้อง ถอนฟ้อง หรือไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา ดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา
๑๗๔ มาตรา ๑๗๕ และมาตรา ๑๙๓ ทวิ
Jus_Highlight

(๒) เมื่ อ โจทก์ ไ ม่ ห าประกัน มาให้ ดัง ที่ บัญญั ติไ ว้ ใ นมาตรา ๒๕๓ และ ๒๘๘หรื อ เมื่ อ
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อทัง้ สองฝ่ ายขาดนัดดัง ที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๙๘, ๒๐๐ และ
๒๐๑
(๓) ถ้ าความมรณะของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งยังให้ คดีนัน้ ไม่มีประโยชน์ ต่อไปหรื อถ้ าไม่
มีผ้ ใู ดเข้ ามาแทนที่ค่คู วามฝ่ ายที่มรณะดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๔๒
(๔) เมื่อศาลได้ มีคาสัง่ ให้ พิจารณาคดีรวมกันหรื อให้ แยกกัน ซึ่งเป็ นเหตุให้ ต้องโอนคดีไป
ยังอีกศาลหนึง่ ดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๘ และ ๒๙

มาตรา ๑๓๓ เมื่อ ศาลมิ ได้ จาหน่ ายคดีออกจากสารบบความดัง ที่บัญญัติไว้ ในมาตรา


ก่อน ให้ ศาลชี ้ขาดคดีนั ้นโดยทาเป็ นคาพิพากษาหรือคาสัง่ ในวันที่สิ ้นการพิจารณาแต่เพื่อการที่
จะพิเ คราะห์ คดีต่ อไป ศาลจะเลื่อนการพิพ ากษาหรื อการท าคาสั่งต่อไปในวันหลังก็ได้ ตามที่
เห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม

มาตรา ๑๓๔ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ห้ ามมิให้ ศาลที่รับฟ้องคดีไว้ ปฏิ เสธไม่ยอมพิพากษาหรื อมี


คาสัง่ ชี ้ขาดคดีโดยอ้ างว่า ไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จะใช้ บังคับแก่คดี หรื อว่าบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายที่จะใช้ บงั คับนั ้นเคลือบคลุมหรือไม่บริบูรณ์

มาตรา ๑๓๕ ในคดีที่เรียกร้ องให้ ชาระหนี ้เป็ นเงิน หรื อมีการเรี ยกร้ องให้ ชาระหนี ้เป็ นเงิน
รวมอยู่ด้ว ย ไม่ ว่ า เวลาใด ๆ ก่ อ นมี ค าพิ พ ากษา จ าเลยจะน าเงิ น มาวางศาลเต็ ม จ านวนที่
เรียกร้ อง หรือแต่บางส่วน หรือตามจานวนเท่าที่ตนคิดว่าพอแก่จานวนที่โจทก์ มีสิทธิ เรี ยกร้ องก็
ได้ ทั ้งนี ้ โดยยอมรับผิดหรือไม่ยอมรับผิดก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๑๓๖ ในกรณีที่จาเลยวางเงินต่อศาลโดยยอมรับผิด ถ้ าโจทก์ พอใจยอมรับเงินที่


จาเลยวางโดยไม่ติดใจเรี ยกร้ องมากกว่านั ้น และคดีไม่มีประเด็นที่จะต้ องวินิจฉัยต่อไปอีก ให้
ศาลพิพากษาคดีไปตามนั ้น คาพิพากษานั ้นเป็ นที่สดุ แต่ถ้าโจทก์ไม่พอใจในจานวนเงินที่จาเลย
วางและยังติดใจที่จะดาเนินคดีเพื่อให้ จาเลยต้ องรับผิดในจานวนเงินตามที่เรี ยกร้ องต่อไปอีก
จาเลยมีสทิ ธิถอนเงินที่วางไว้ นั ้นได้ โดยให้ ถือเสมือนว่ามิได้ มีการวางเงิน หรื อจาเลยจะยอมให้
โจทก์รับเงินนั ้นไปก็ได้ ในกรณีหลังนี ้ โจทก์จะรับเงินไปหรื อไม่ก็ตาม จาเลยไม่ต้องเสีย ดอกเบี ้ย
ในจานวนเงินที่วาง แม้ ว่าจาเลยมีความรับผิดตามกฎหมายจะต้ องเสีย ทั ้งนี ้ นับแต่วันที่จาเลย
ยอมให้ โจทก์รับเงินไป
ในกรณีที่ จาเลยวางเงิ นต่ อศาลโดยไม่ยอมรับ ผิด จ าเลยจะรับ เงิ นนัน้ คื นไปก่ อนที่มี คา
พิพากษาว่าจาเลยไม่ต้องรับผิดไม่ได้ การวางเงินเช่นว่านี ้ ไม่เป็ นเหตุระงับการเสียดอกเบี ้ยหาก
จาเลยมีความรับผิดตามกฎหมายจะต้ องเสีย

มาตรา ๑๓๗ ในคดีที่เรียกร้ องให้ ชาระหนี ้อย่างอื่นนอกจากให้ ชาระเงิน จาเลยชอบที่จะ


ทาการช าระหนี น้ ัน้ ได้ โ ดยแจ้ ง ให้ ศาลทราบในคาให้ การหรื อ แถลงโดยหนัง สือ เป็ นส่ว นหนึ่ง
ต่างหากก็ได้
ถ้ าโจทก์ยอมรับการชาระหนี ้นั ้นเป็ นการพอใจเต็มตามที่เรี ยกร้ องแล้ วให้ ศาลพิพากษาคดี
ไปตามนั ้น และคาพิพากษานั ้นให้ เป็ นที่สดุ
ถ้ าโจทก์ไม่พอใจในการชาระหนี ้เช่นว่านั ้น โจทก์ชอบที่จะดาเนินคดีนั ้นต่อไปได้

มาตรา ๑๓๘ ในคดีที่ค่คู วามตกลงกันหรื อประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่ง


คดีโดยมิได้ มีการถอนคาฟ้องนั ้น และข้ อตกลงหรื อการประนีประนอมยอมความกันนั ้นไม่เป็ น
การฝ่ าฝื นต่ อ กฎหมาย ให้ ศาลจดรายงานพิ ส ดารแสดงข้ อความแห่ ง ข้ อตกลงหรื อ การ
ประนีประนอมยอมความเหล่านั ้นไว้ แล้ วพิพากษาไปตามนั ้น
Jus_Highlight

ห้ ามมิให้ อทุ ธรณ์คาพิพากษาเช่นว่านี ้ เว้ นแต่ในเหตุต่อไปนี ้


(๑) เมื่อมีข้อกล่าวอ้ างว่าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ฉ้ อฉล
(๒) เมื่อคาพิพากษานั ้นถูกกล่าวอ้ างว่าเป็ นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่ง
กฎหมายอันเกี่ยวด้ วยความสงบเรียบร้ อยของประชาชน
(๓) เมื่อคาพิพากษานั ้นถูกกล่าวอ้ างว่ามิได้ เป็ นไปตามข้ อตกลงหรื อการประนีประนอม
ยอมความ
ถ้ า คู่ค วามตกลงกัน เพี ยงแต่ ใ ห้ เ สนอคดี ต่อ อนุ ญาโตตุ ลาการ ให้ น าบทบั ญญั ติแ ห่ ง
ประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยอนุญาโตตุลาการมาใช้ บังคับ

มาตรา ๑๓๙ เมื่อ คดีสองเรื่ องหรื อกว่านั ้นขึ ้นไปได้ พิจารณารวมกันเพื่อสะดวกแก่การ


พิจารณา ศาลจะพิพากษาคดีเหล่านั ้นเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งซึ่งเสร็ จการพิจารณาแล้ วจึงพิพากษา
เรื่องอื่น ๆ ต่อไปภายหลังก็ได้

หมวด ๒
ข้ อความและผลแห่ งคาพิพากษาและคาสั่ง

มาตรา ๑๔๐ การทาคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาล ให้ ดาเนินตามข้ อบังคับต่อไปนี ้


(๑) ศาลจะต้ องประกอบครบถ้ ว นตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายว่า ด้ วยเขตอานาจศาล
และอานาจผู้พิพากษา
(๒) ภายใต้ บัง คับ บทบัญ ญั ติ ม าตรา ๑๓ ถ้ าค าพิ พ ากษาหรื อ คาสั่ง จะต้ อ งท าโดยผู้
พิพ ากษาหลายคน ค าพิพ ากษาหรื อ คาสั่ง นั ้นจะต้ อ งบัง คับ ตามความเห็น ของฝ่ ายข้ างมาก
จานวนผู้พิพากษาฝ่ ายข้ างมากนั ้น ในศาลชั ้นต้ นหรื อศาลอุทธรณ์ ต้องไม่น้อยกว่าสองคน และ
ในศาลฎีกาไม่น้อยกว่าสามคน ในศาลชั ้นต้ นและศาลอุทธรณ์ ถ้ าผู้พิพากษาคนใดมีความเห็น
Jus_Highlight

แย้ ง ก็ให้ ผ้ พู ิพากษาคนนั ้นเขียนใจความแห่งความเห็นแย้ งของตนกลัดไว้ ในสานวน และจะ


แสดงเหตุผลแห่งข้ อแย้ งไว้ ด้วยก็ได้
ในศาลอุท ธรณ์ ห รื อ ศาลฎี กา ถ้ า อธิ บ ดี ผ้ ูพิ พากษาศาลอุทธรณ์ หรื อ ประธานศาลฎี กา
แล้ วแต่กรณี เห็นสมควร จะให้ มีการวินิจฉัยปั ญหาใดในคดีเรื่ องใด โดยที่ประชุมใหญ่ ก็ได้ หรื อ
ถ้ ามีกฎหมายกาหนดให้ วินิจฉัยปั ญหาใดหรื อคดีเรื่ องใด โดยที่ประชุมใหญ่ ก็ให้ วินิจฉัยโดยที่
ประชุมใหญ่
ภายใต้ บงั คับแห่งมาตรา ๑๓ ที่ประชุมใหญ่นั ้น สาหรับศาลอุทธรณ์ ให้ ประกอบด้ วยอย่าง
น้ อยผู้พิพากษาหัวหน้ าคณะไม่น้อยกว่า ๑๐ คน สาหรับศาลฎีกาให้ ประกอบด้ วยผู้พิพากษาทุก
คนซึ่ง อยู่ป ฏิ บัติ ห น้ า ที่ แต่ ต้อ งไม่ น้อ ยกว่ า กึ่ง จ านวนผู้พิ พากษาแห่ ง ศาลนั ้น และให้ อ ธิ บ ดี ผ้ ู
พิพากษาศาลอุทธรณ์ หรือประธานศาลฎีกา แล้ วแต่กรณี หรือผู้ทาการแทน เป็ นประธาน
คาวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ให้ เป็ นไปตามเสียงข้ างมาก และถ้ ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้
ประธานแห่งที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด
ในคดีซึ่งที่ป ระชุมใหญ่ ได้ วิ นิจ ฉัยปั ญหาแล้ ว คาพิ พากษาหรื อคาสัง่ ต้ องเป็ นไปตามคา
วินิจ ฉัย ของที่ ประชุมใหญ่ และต้ องระบุไ ว้ ด้วยว่า ปั ญหาข้ อ ใดได้ วิ นิจ ฉัยโดยที่ ประชุมใหญ่ ผ้ ู
พิพากษาที่เข้ าประชุมแม้ มิใช่เป็ นผู้นงั่ พิจารณา ก็ให้ มีอานาจพิพากษาหรื อทาคาสัง่ ในคดีนั ้นได้
และเฉพาะในศาลอุทธรณ์ให้ ทาความเห็นแย้ งได้ ด้วย
(๓) การอ่านคาพิพากษาหรือคาสัง่ ให้ อ่านข้ อความทั ้งหมดในศาลโดยเปิ ดเผย ตามเวลา
ที่กาหนดไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้ ต่อหน้ าคู่ความทั ้งสองฝ่ าย หรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในกรณีเช่น
ว่านี ้ ให้ ศาลจดลงไว้ ในคาพิพากษาหรือคาสัง่ หรือในรายงานซึง่ การอ่านนั ้น และให้ ค่คู วามที่มา
ศาลลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ
ถ้ าคู่ความไม่มาศาล ศาลจะงดการอ่านคาพิพากษาหรือคาสัง่ ก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ให้ ศาล
จดแจ้ งไว้ ในรายงาน และให้ ถือว่าคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้นได้ อ่านตามกฎหมายแล้ ว
Jus_Highlight

เมื่อศาลที่พิพากษาคดี หรือที่ได้ รับคาสัง่ จากศาลสูงให้ อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ได้ อ่าน


คาพิพากษาหรือคาสัง่ ตามบทบัญญัติในมาตรานี ้วันใด ให้ ถือว่าวันนั ้นเป็ นวันที่พิพากษาหรื อมี
คาสัง่ คดีนั ้น

มาตรา ๑๔๑ คาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลให้ ทาเป็ นหนังสือ และต้ องกล่าวหรือแสดง


(๑) ชื่อศาลที่พิพากษาคดีนั ้น
(๒) ชื่อคู่ความทุกฝ่ ายและผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทน ถ้ าหากมี
(๓) รายการแห่งคดี
(๔) เหตุผลแห่งคาวินิจฉัยทั ้งปวง
(๕) คาวินิจฉัยของศาลในประเด็นแห่งคดีตลอดทั ้งค่าฤชาธรรมเนียม
คาพิพากษาหรื อคาสัง่ นั ้นต้ องลงลายมือชื่อผู้พิพากษาที่พิพากษาหรื อทาคาสัง่ หรื อถ้ า ผู้
พิพากษาคนใดลงลายมือชื่อไม่ได้ ก็ให้ ผ้ พู ิพากษาอื่นที่พิพากษาหรือทาคาสัง่ คดีนั ้นหรื ออธิ บดีผ้ ู
พิพากษาแล้ วแต่กรณี จดแจ้ งเหตุที่ผ้ พู ิพากษาคนนั ้นมิได้ ลงลายมือชื่อและมีความเห็นพ้ องด้ วย
คาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น แล้ วกลัดไว้ ในสานวนความ
ในกรณีที่ศาลมีอานาจทาคาสัง่ หรือพิพากษาคดีได้ ด้วยวาจา การที่ศาลจะต้ องทารายงาน
เกี่ยวด้ วยคาสัง่ หรือคาพิพากษานั ้นไม่จาต้ องจดแจ้ งรายการแห่งคดีหรื อเหตุผลแห่งคาวินิจฉัย
แต่เมื่อคู่ความฝ่ ายใดแจ้ งความจานงที่จะอุทธรณ์ หรื อได้ ยื่นอุทธรณ์ ขึ ้นมา ให้ ศาลมีอานาจทา
คาชี ้แจงแสดงรายการข้ อสาคัญ หรื อเหตุผลแห่งคาวินิจฉัยกลัดไว้ กับบันทึกนั ้นภายในเวลาอัน
สมควร

มาตรา ๑๔๒ คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลที่ชี ้ขาดคดีต้องตัดสินตามข้ อหาในคาฟ้อง


ทุกข้ อ แต่ห้ามมิให้ พิพากษาหรือทาคาสัง่ ให้ สงิ่ ใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคาฟ้อง
เว้ นแต่
Jus_Highlight

(๑) ในคดีฟ้องเรียกอสังหาริ มทรัพย์ ให้ พึงเข้ าใจว่าเป็ นประเภทเดียวกับฟ้องขอให้ ขับไล่


จาเลย ถ้ าศาลพิพากษาให้ โจทก์ชนะคดี เมื่อศาลเห็นสมควรศาลจะมีคาสัง่ ให้ ขับไล่จาเลยก็ได้
ค าสั่ ง เช่ น ว่ า นี ใ้ ห้ ใช้ บั ง คั บ ตลอดถึ ง วงศ์ ญ าติ ทั ง้ หลายและบริ ว ารของจ าเลยที่ อ ยู่ บ น
อสังหาริมทรัพย์นั ้น ซึง่ ไม่สามารถแสดงอานาจพิเศษให้ ศาลเห็นได้
(๒) ในคดีที่โจทก์ ฟ้องเรี ยกทรัพย์ ใด ๆ เป็ นของตนทั ้งหมด แต่พิจารณาได้ ความว่าโจทก์
ควรได้ แต่สว่ นแบ่ง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาให้ โจทก์ได้ รับแต่ส่วนแบ่งนั ้นก็ได้
(๓) ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ ชาระเงินพร้ อมด้ วยดอกเบี ้ยจนถึงวันฟ้องเมื่อศาลเห็นสมควร
ศาลจะพิพากษาให้ จาเลยชาระดอกเบี ้ยจนถึงวันที่ได้ ชาระเสร็จตามคาพิพากษาก็ได้
(๔) ในคดีที่โจทก์ฟ้องเรี ยกค่าเช่าหรื อค่าเสียหายอันต่อเนื่องคานวณถึงวันฟ้อง เมื่อศาล
เห็นสมควร ศาลจะพิพากษาให้ ชาระค่าเช่าและค่าเสียหายเช่นว่านี ้จนถึงวันที่ได้ ชาระเสร็ จตาม
คาพิพากษาก็ได้
(๕) ในคดีที่อาจยกข้ อกฎหมายอันเกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชนขึ ้นอ้ างได้
นั ้น เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะยกข้ อเหล่านั ้นขึ ้นวินิจฉัยแล้ วพิพากษาคดีไปก็ได้
(๖) ในคดีที่โจทก์ ฟ้องขอให้ ชาระเงินพร้ อมด้ ว ยดอกเบี ้ยซึ่ง มิได้ มีข้ อตกลงกาหนดอัตรา
ดอกเบี ้ยกันไว้ เมื่อศาลเห็นสมควรโดยคานึงถึงเหตุสมควรและความสุจริ ตในการสู้ความหรื อ
การดาเนินคดี ศาลจะพิพากษาให้ จาเลยชาระดอกเบี ้ยในอัตราที่สงู ขึ ้นกว่าที่โจทก์ มีสิทธิ ได้ รับ
ตามกฎหมายแต่ไม่เกินร้ อยละสิบห้ าต่อปี นับตั ้งแต่วนั ฟ้องหรือวันอื่นหลังจากนั ้นก็ได้

มาตรา ๑๔๓ ถ้ า ในคาพิ พ ากษาหรื อ คาสั่ง ใด มี ข้ อ ผิ ดพลาดเล็กน้ อ ยหรื อ ข้ อ ผิ ดหลง


เล็กน้ อ ยอื่น ๆ และมิได้ มีการอุทธรณ์ หรื อ ฎี กาคัดค้ านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ นั ้นเมื่อศาลที่ไ ด้
พิพากษาหรือมีคาสัง่ นั ้นเห็นสมควร หรื อเมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้ องร้ องขอ ศาลจะมีคาสัง่ เพิ่มเติม
แก้ ไขข้ อผิดพลาด หรือข้ อผิดหลงเช่นว่านั ้นให้ ถกู ก็ได้ แต่ถ้าได้ มีการอุทธรณ์ หรื อฎี กาคัดค้ านคา
พิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น อานาจที่จะแก้ ไขข้ อผิดพลาดหรื อข้ อผิดหลงนั ้นย่อมอยู่แก่ศาลอุทธรณ์
Jus_Highlight

หรื อศาลฎี กาแล้ วแต่กรณี คาขอให้ แก้ ไขข้ อผิดพลาดหรื อข้ อผิ ดหลงนั ้นให้ ยื่นต่อศาลดังกล่า ว
แล้ ว โดยกล่าวไว้ ในฟ้องอุทธรณ์หรือฎีกา หรือโดยทาเป็ นคาร้ องส่วนหนึง่ ต่างหาก
การทาคาสัง่ เพิ่มเติมมาตรานี ้ จะต้ องไม่เป็ นการกลับหรือแก้ คาวินิจฉัยในคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ เดิม
เมื่อได้ ทาคาสัง่ เช่นว่านั ้นแล้ ว ห้ ามไม่ให้ คัดสาเนาคาพิพากษาหรื อคาสัง่ เดิมเว้ นแต่จะได้
คัดสาเนาคาสัง่ เพิ่มเติมนั ้นรวมไปด้ วย

มาตรา ๑๔๔ เมื่อศาลใดมีคาพิพากษา หรื อคาสัง่ วินิจฉัยชี ้ขาดคดีหรื อในประเด็นข้ อใด


แห่งคดีแล้ ว ห้ ามมิให้ ดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั ้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได้ วิ นิจฉัย
ชี ้ขาดแล้ วนั ้น เว้ นแต่กรณีจะอยู่ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วย
(๑) การแก้ ไขข้ อผิดพลาดเล็กน้ อยหรือข้ อผิดหลงเล็กน้ อยอื่น ๆ ตามมาตรา ๑๔๓
(๒) การพิ จ ารณาใหม่ แ ห่ง คดี ซึ่ง ได้ พิจ ารณาและชี ข้ าดตัดสินไปฝ่ ายเดี ยวตามมาตรา
๒๐๙ และคดีที่เอกสารได้ สญ
ู หายหรือบุบสลายตามมาตรา ๕๓
(๓) การยื่น การยอมรับ หรือไม่ยอมรับ ซึ่งอุทธรณ์ หรื อฎี กาตามมาตรา ๒๒๙ และ ๒๔๗
และการด าเนินวิ ธีบังคับชั่วคราวในระหว่า งการยื่น อุทธรณ์ หรื อ ฎี กาตามมาตรา ๒๕๔วรรค
สุดท้ าย
(๔) การที่ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณ์สง่ คดีคืนไปยังศาลล่างที่ได้ พิจารณาและชี ้ขาดตัดสิน
คดีนั ้น เพื่อให้ พิพากษาใหม่หรือพิจารณาและพิพากษาใหม่ตามมาตรา ๒๔๓
(๕) การบังคับคดีตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ตามมาตรา ๓๐๒
ทั ้งนี ้ ไม่ เป็ นการตัดสิทธิ ใ นอันที่จะบังคับตามบทบัญญัติแห่งมาตรา ๑๖ และ ๒๔๐ ว่ า
ด้ วยการดาเนินกระบวนพิจารณาโดยศาลอื่นแต่งตั ้ง
Jus_Highlight

มาตรา ๑๔๕ ภายใต้ บังคับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยการอุทธรณ์ ฎีกา


และการพิจารณาใหม่ คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ใด ๆ ให้ ถือว่าผูกพันคู่ความในกระบวนพิจารณา
ของศาลที่พิพากษาหรื อมีคาสัง่ นับตั ้งแต่วันที่ได้ พิพากษาหรื อมีคาสัง่ จนถึงวันที่คาพิพากษา
หรือคาสัง่ นั ้นได้ ถกู เปลีย่ นแปลง แก้ ไข กลับหรืองดเสีย ถ้ าหากมี
ถึงแม้ ศาลจะได้ กล่าวไว้ โดยทัว่ ไปว่าให้ ใช้ คาพิพากษาบังคับแก่บุคคลภายนอกซึ่งมิได้ เป็ น
คู่ ค วามในกระบวนพิ จ ารณาของศาลด้ วยก็ ดี ค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ง นั น้ ย่ อ มไม่ ผู ก พั น
บุคคลภายนอก เว้ นแต่ที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๑๔๒ (๑), ๒๔๕ และ ๒๗๔ และในข้ อต่อไปนี ้
(๑) คาพิพากษาเกี่ยวด้ วยฐานะหรื อความสามารถของบุคคล หรื อคาพิพากษาสัง่ ให้ เลิก
นิติ บุค คล หรื อ คาสัง่ เรื่ อ งล้ ม ละลายเหล่านี ้ บุคคลภายนอกจะยกขึน้ อ้ า งอิ งหรื อจะใช้ ยัน แก่
บุคคลภายนอกก็ได้
(๒) คาพิพากษาที่วินิจฉัยถึงกรรมสิทธิ์ แห่งทรัพย์ สินใด ๆ เป็ นคุณแก่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึง่ อาจใช้ ยนั แก่บคุ คลภายนอกได้ เว้ นแต่บคุ คลภายนอกนั ้นจะพิสจู น์ได้ ว่าตนมีสทิ ธิดีกว่า

มาตรา ๑๔๖ เมื่อ มีคาพิ พากษาหรื อ คาสัง่ อัน เป็ นที่ สดุ ของสองศาลซึ่งต่ างชั ้นกัน ต่า ง
กล่าวถึงการปฏิบตั ิชาระหนี ้อันแบ่งแยกจากกันไม่ได้ และคาพิพากษาหรื อคาสั่งนั ้นขัดกันให้ ถือ
ตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลที่สงู กว่า
ถ้ าศาลชั ้นต้ นศาลเดียวกัน หรือศาลชั ้นต้ นสองศาลในลาดับชั ้นเดียวกัน หรื อศาลอุทธรณ์
ได้ พิพ ากษาหรื อ มีคาสั่งดัง กล่าวมาแล้ ว คู่ความในกระบวนพิจารณาแห่งคดีที่มี คาพิพ ากษา
หรือคาสัง่ นั ้น ชอบที่จะยื่นคาร้ องขอต่อศาลที่อยู่ในลาดับสูงขึ ้นไปให้ มีคาสัง่ กาหนดว่าจะให้ ถือ
ตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ใด คาสัง่ เช่นว่านี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๑๔๗ คาพิพากษาหรื อ คาสัง่ ใด ซึ่งตามกฎหมายจะอุทธรณ์ ห รื อฎี กาหรื อมีคา


ขอให้ พิจารณาใหม่ไม่ได้ นั ้น ให้ ถือว่าเป็ นที่สดุ ตั ้งแต่วนั ที่ได้ อ่านเป็ นต้ นไป
Jus_Highlight

คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ใด ซึ่งอาจอุทธรณ์ ฎีกา หรื อมีคาขอให้ พิจารณาใหม่ได้ นั ้นถ้ ามิได้


อุท ธรณ์ ฎี กาหรื อ ร้ องขอให้ พิ จ ารณาใหม่ ภ ายในเวลาที่ กาหนดไว้ ให้ ถือ ว่ า เป็ นที่ สุดตัง้ แต่
ระยะเวลาเช่น ว่านัน้ ได้ สิ ้นสุดลง ถ้ าได้ มีอุท ธรณ์ ฎี กา หรื อมีคาขอให้ พิจ ารณาใหม่ และศาล
อุทธรณ์หรือศาลฎีกาหรือศาลชั ้นต้ นซึง่ พิจารณาคดีเรื่ องนั ้นใหม่ มีคาสัง่ ให้ จาหน่ายคดีเสียจาก
สารบบความตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๑๓๒ คาพิพากษาหรือคาสัง่ เช่นว่านั ้นให้ ถือว่าเป็ นที่สดุ
ตั ้งแต่วนั ที่มีคาสัง่ ให้ จาหน่ายคดีจากสารบบความ
คู่ความฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดอาจยื่นคาขอต่อศาลชั ้นต้ นซึ่งพิจารณาคดีนั ้น ให้ ออกใบสาคัญ
แสดงว่าคาพิพากษาหรือคาสัง่ ในคดีนั ้นได้ ถึงที่สดุ แล้ ว

มาตรา ๑๔๘ คดีที่ได้ มีคาพิพากษาหรือคาสัง่ ถึงที่สดุ แล้ วห้ ามมิให้ ค่คู วามเดียวกันรื อ้ ร้ อง
ฟ้องกันอีก ในประเด็นที่ได้ วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน เว้ นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
(๑) เมื่อเป็ นกระบวนพิจารณาชั ้นบังคับคดีตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาล
(๒) เมื่อ คาพิ พากษาหรื อคาสั่งได้ กาหนดวิ ธี การชั่วคราวให้ อยู่ภ ายในบัง คับที่ จะแก้ ไ ข
เปลีย่ นแปลงหรือยกเลิกเสียได้ ตามพฤติการณ์
(๓) เมื่อคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้นให้ ยกฟ้องเสียโดยไม่ตัดสิทธิ โจทก์ ที่จ ะนาคาฟ้องมายื่น
ใหม่ ในศาลเดียวกันหรือในศาลอื่น ภายใต้ บงั คับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้ วยอายุความ
Jus_Highlight

หมวด ๓
ค่ าฤชาธรรมเนียม

ส่ วนที่ ๑
การกาหนดและการชาระค่ าฤชาธรรมเนียม และการยกเว้ นค่ าธรรมเนียมศาล

มาตรา ๑๔๙ ค่าฤชาธรรมเนียม ได้ แก่ ค่าธรรมเนียมศาล ค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล


ค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่าที่พักของพยาน ผู้เชี่ยวชาญ ล่าม และเจ้ าพนักงาน
ศาล ค่ าทนายความ ค่าใช้ จ่ ายในการดาเนิน คดี ตลอดจนค่า ธรรมเนียมหรื อ ค่า ใช้ จ่า ยอื่ น ๆ
บรรดาที่กฎหมายบังคับให้ ชาระ
ภายใต้ บังคับ บทบัญญัติแ ห่ ง ประมวลกฎหมายนี ห้ รื อ กฎหมายอื่ น ว่ า ด้ ว ยการยกเว้ น
ค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมศาลที่เป็ นค่าขึ ้นศาล ให้ ค่คู วามผู้ยื่นคาฟ้องเป็ นผู้ชาระเมื่อยื่น
คาฟ้อง
ค่าธรรมเนียมศาลนั ้น ให้ ชาระหรือนามาวางศาลเป็ นเงินสดหรื อเช็คซึ่งธนาคารรับรองโดย
เจ้ าพนักงานศาลออกใบรับให้ หรือตามวิธีการที่กาหนดไว้ ในข้ อกาหนดของประธานศาลฎีกา
คาฟ้อง คาฟ้องอุทธรณ์ คาฟ้องฎี กา คาร้ องสอด คาให้ การ หรื อคาร้ องคาขออื่นซึ่งได้ ยื่น
ต่อศาลพร้ อมคาร้ องขอยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๑๕๖ ตลอดจนการดาเนินกระบวน
พิจารณาในชั ้นไต่สวนคาร้ องดังกล่าว ไม่ต้องนาเงินค่าธรรมเนียมศาลและเงินวางศาลมาชาระ
เว้ นแต่ศาลจะได้ ยกคาร้ องนั ้นเสีย

มาตรา ๑๕๐ ในคดีที่คาขอให้ ปลดเปลื ้องทุกข์ นั ้นอาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ ให้ โจทก์


เสียค่าขึ ้นศาลในศาลชั ้นต้ นตามจานวนทุนทรัพย์ที่เรี ยกร้ องหรือราคาทรัพย์สนิ ที่พิพาท
ค่าขึ ้นศาลในชั ้นอุทธรณ์ หรื อฎี กานั ้น ถ้ าจานวนทุนทรัพย์ ที่เรี ยกร้ องหรื อราคาทรัพย์ สินที่
พิพาทกันในชั ้นอุทธรณ์หรือฎีกาเป็ นอย่างเดียวกับในศาลชั ้นต้ น ให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์ หรื อผู้ฎีกาเสียตาม
Jus_Highlight

จานวนทุนทรัพย์หรือราคาเช่นเดียวกับในศาลชั ้นต้ น แต่ถ้าผู้อทุ ธรณ์หรือผู้ฎีกาได้ รับความพอใจ


แต่บางส่วนตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลล่างแล้ ว และจานวนทุนทรัพย์ หรื อราคาทรัพย์ ที่
พิพาทในชั ้นอุท ธรณ์ หรื อฎี กาต่ากว่า ในศาลชั ้นต้ น ให้ ผ้ อู ุทธรณ์ ห รื อผู้ฎี กาเสียค่าขึ ้นศาลตาม
จานวนทุนทรัพย์หรือราคาต่านั ้น
เมื่อได้ ชาระค่าขึ ้นศาลแล้ ว ถ้ าทุนทรัพย์แห่งคาฟ้องหรือคาฟ้องอุทธรณ์หรื อคาฟ้องฎี กาทวี
ขึ ้นโดยการยื่นคาฟ้องเพิ่มเติมหรือโดยประการอื่น ให้ เรี ยกค่าขึ ้นศาลเพิ่มขึ ้นตามที่บัญญัติไว้ ใน
ตารางท้ ายประมวลกฎหมายนี ้เมื่อยื่นคาฟ้องเพิ่มเติมหรื อภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควร
แล้ วแต่กรณี
ถ้ าเนื่องจากศาลได้ มีคาสัง่ ให้ พิจารณาคดีรวมกันหรื อให้ แยกคดีกัน คาฟ้องใดหรื อข้ อหา
อันมีอยู่ในคาฟ้องใดจะต้ องโอนไปยังศาลอื่น หรือจะต้ องกลับยื่นต่อศาลนั ้นใหม่ หรื อต่อศาลอื่น
เป็ นคดีเรื่องหนึง่ ต่างหาก ให้ โจทก์ได้ รับผ่อนผันไม่ต้องเสียค่าขึ ้นศาลในการยื่น หรื อกลับยื่นคา
ฟ้องหรือข้ อหาเช่นว่านั ้น เว้ นแต่จานวนทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์แห่งคาฟ้อง หรื อข้ อหานั ้นจะได้
ทวีขึ ้น ในกรณีเช่นนี ้ ค่าขึ ้นศาลเฉพาะที่ทวีขึ ้นให้ คานวณและชาระตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในวรรคก่อน
ในกรณีที่ บุคคลซึ่งเป็ นคู่ความร่ วมในคดีที่ มูลความแห่ง คดีเ ป็ นการชาระหนี อ้ ันไม่อ าจ
แบ่งแยกได้ ต่างยื่ นอุทธรณ์ หรื อฎี กาแยกกัน โดยต่างได้ เสียค่าขึ ้นศาลในชั ้นอุทธรณ์ หรื อฎี กา
ตามความในวรรคสอง หากค่า ขึน้ ศาลดังกล่าวเมื่ อ รวมกัน แล้ วมี จ านวนสูงกว่ าค่ าขึน้ ศาลที่
คู่ความเหล่า นั ้นต้ องช าระในกรณีที่ ยื่นอุทธรณ์ ห รื อฎี การ่ วมกัน ให้ ศาลอุท ธรณ์ หรื อ ศาลฎี กา
แล้ ว แต่ กรณี มี ค าสั่ง คื น ค่ า ขึน้ ศาลส่ว นที่ เ กิ น แก่ คู่ ความเหล่ า นัน้ ตามส่ว นของค่ า ขึน้ ศาลที่
คู่ความแต่ละคนได้ ชาระไปในเวลาที่ศาลนั ้นมีคาพิพากษาหรือคาสัง่

มาตรา ๑๕๑ ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ไม่รับคาฟ้องหรือในกรณีที่มีการอุทธรณ์ หรื อฎี กาหรื อ


มีค าขอให้ พิจ ารณาใหม่ ถ้ าศาลไม่รับ อุท ธรณ์ หรื อ ฎี กาหรื อคาขอให้ พิ จารณาใหม่ หรื อศาล
Jus_Highlight

อุทธรณ์หรือศาลฎีกามีคาสัง่ ให้ ยกอุทธรณ์หรื อฎี กาโดยยังมิได้ วินิจฉัยประเด็นแห่งอุทธรณ์ หรื อ


ฎีกานั ้น ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ คืนค่าขึ ้นศาลทั ้งหมด
เมื่อได้ มีการถอนคาฟ้อง หรือเมื่อศาลได้ ตัดสินให้ ยกคาฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิ โจทก์ ที่จะฟ้อง
คดีใหม่หรือเมื่อคดีนั ้นได้ เสร็จเด็ดขาดลงโดยสัญญาหรื อการประนีประนอมยอมความหรื อการ
พิพากษาตามคาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ คืนค่าขึ ้นศาลทั ้งหมด หรื อ
บางส่วนแก่ค่คู วามซึง่ ได้ เสียไว้ ได้ ตามที่เห็นสมควร
ในกรณีที่มีการทิ ้งฟ้องหรือศาลสัง่ จาหน่ายคดีในกรณีอื่น ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ คืนค่าขึ ้น
ศาลบางส่วนได้ ตามที่เห็นสมควร
ถ้ าศาลอุท ธรณ์ หรื อ ศาลฎี กามี คาสัง่ ให้ ส่งสานวนความคืน ไปยังศาลล่างเพื่อ ตัดสินใหม่
หรื อ เพื่อ พิจารณาใหม่ทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วนตามที่บัญญัติไ ว้ ในมาตรา ๒๔๓ ศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกามีอานาจที่จะยกเว้ นมิให้ ค่คู วามต้ องเสียค่าธรรมเนียมศาลในการดาเนินกระบวน
พิจารณาใหม่ หรือในการที่จะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาคัดค้ านคาพิพากษาใหม่ของศาลล่างได้ ตามที่
เห็นสมควร

มาตรา ๑๕๒ ค่ า ฤชาธรรมเนียมอื่ น นอกจากค่ า ขึน้ ศาล ให้ ค่คู วามผู้ดาเนิ นกระบวน
พิจารณาเป็ นผู้ชาระเมื่อมีการดาเนินกระบวนพิจารณานั ้นหรื อภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด
หรื อที่ ศาลมีคาสัง่ ถ้ าศาลเป็ นผู้สั่งให้ ดาเนิ นกระบวนพิ จารณาใด ให้ ศาลกาหนดผู้ซึ่งจะต้ อ ง
ชาระค่าฤชาธรรมเนียมในการดาเนินกระบวนพิจารณานั ้น รวมทั ้งระยะเวลาที่ต้องชาระไว้ ด้วย
ถ้ าผู้ซงึ่ จะต้ องชาระค่าฤชาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งไม่ชาระ ศาลจะสัง่ ให้ งดหรื อเพิกถอน
กระบวนพิจารณานั ้น หรือจะสัง่ ให้ ค่คู วามฝ่ ายอื่นเป็ นผู้ชาระค่าฤชาธรรมเนียมดังกล่าวก็ได้ หาก
คู่ความฝ่ ายนั ้นยินยอม
Jus_Highlight

มาตรา ๑๕๓ ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี ได้ แก่ ค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี ค่า


ป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่าที่พกั ของเจ้ าพนักงานบังคับคดีตลอดจนค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ
ในการบังคับคดีบรรดาที่กฎหมายบังคับให้ ชาระ
ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี ให้ เจ้ าหนี ้ผู้ขอบังคับคดีนั ้นเป็ นผู้ชาระ
การชาระค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีออกใบรับให้
ในกรณี ที่มี การเข้ า ดาเนิ นการบัง คับ คดี ต่อ ไปตามมาตรา ๒๙๐ วรรคแปด หรื อ มาตรา
๒๙๑ (๒) ให้ เจ้ าหนี ้ผู้เข้ าดาเนินการบังคับคดีต่อไปเป็ นผู้ชาระค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับ
คดีเฉพาะทรัพย์สนิ ในส่วนที่ดาเนินการบังคับคดีต่อไป

มาตรา ๑๕๓/๑ ค่าฤชาธรรมเนียมตามมาตรา ๑๔๙ และค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับ


คดีตามมาตรา ๑๕๓ ให้ ชาระตามวิธีการและอัตราที่บัญญัติไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้หรื อตาม
วิธีการและอัตราที่มีกฎหมายอื่นบังคับไว้
มาตรา ๑๕๔ เจ้ า พนักงานบัง คับคดี มี อานาจที่ จ ะสั่ง ให้ เ จ้ า หนี ผ้ ้ ูข อบัง คับคดี ว างเงิ น
ค่า ใช้ จ่ า ยเพื่ อ ปฏิ บัติ ตามวิ ธีการเพื่ อ คุ้ม ครองสิทธิ ข องคู่ความในระหว่า งการพิ จารณา หรื อ
วางเงินค่าใช้ จ่ายเพื่อบังคับให้ เป็ นไปตามคาพิพากษาหรื อคาสั่งได้ ตามจานวนที่เห็นจาเป็ นถ้ า
เจ้ าพนักงานบังคับ คดีเห็นว่าจานวนเงินที่วางไว้ นั ้นจะไม่พอ ก็ให้ แจ้ งให้ เ จ้ าหนี ้ผู้ขอบังคับคดี
วางเงินเพิ่มขึ ้นอีกได้
ถ้ าเจ้ าหนี ้ผู้ขอบังคับคดีเห็นว่าการวางเงินตามวรรคหนึ่งไม่จาเป็ นหรื อมากเกินไป ก็อาจ
ยื่นคาร้ องต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้ รับแจ้ งเพื่อขอให้ ศาลมีคาสัง่ ได้ คาสัง่ ดังกล่าวให้
เป็ นที่สดุ
ถ้ าเจ้ าหนี ้ผู้ขอบังคับคดีไม่ปฏิบตั ิตามวรรคหนึง่ หรือไม่ปฏิ บัติตามคาสัง่ ศาลตามวรรคสอง
ให้ เ จ้ าพนักงานบังคับคดีงดการบัง คับคดีไว้ จนกว่า เจ้ า หนี ผ้ ้ ขู อบังคับคดีนั ้นจะได้ ป ฏิ บัติตาม
คาสัง่ ของเจ้ าพนักงานบังคับคดีหรือศาล แล้ วแต่กรณี
Jus_Highlight

บทบัญญั ติ ม าตรานี ใ้ ห้ ใช้ บัง คับ แก่เ จ้ า หนี ผ้ ้ ูเข้ า ดาเนิ นการบัง คับคดี ต่อ ไปตามมาตรา
๒๙๐ วรรคแปด และมาตรา ๒๙๑ (๒) โดยอนุโลม

มาตรา ๑๕๕ คู่ความซึ่ง ไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลอาจยื่ นคาร้ องต่ อศาลขอให้


ยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องหรือต่อสู้คดีในศาลชั ้นต้ นหรื อชั ้นอุทธรณ์ หรื อชั ้นฎี กาตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๖/๑

มาตรา ๑๕๖ ผู้ใดมีความจานงจะขอยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องหรื อต่อสู้คดี ให้


ยื่นคาร้ องต่อศาลชั ้นต้ นที่จะฟ้องหรื อได้ ฟ้องคดีไว้ นั ้นพร้ อมกับคาฟ้อง คาฟ้องอุทธรณ์ คาฟ้อง
ฎี ก า ค าร้ องสอด หรื อ ค าให้ การ แล้ ว แต่ ก รณี แต่ ถ้ าบุ ค คลนั น้ ตกเป็ นผู้ ไม่ ส ามารถเสี ย
ค่าธรรมเนียมศาลในภายหลัง จะยื่นคาร้ องในเวลาใด ๆ ก็ได้
การยื่นคาร้ องตามวรรคหนึง่ ผู้ร้องอาจเสนอพยานหลักฐานไปพร้ อมคาร้ องและหากศาล
เห็นสมควรไต่สวนพยานหลักฐานเพิ่มเติมก็ให้ ดาเนินการไต่สวนโดยเร็ วเท่าที่จาเป็ น ทั ้งนี ้ ศาล
จะมีคาสัง่ ให้ งดการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีนั ้นไว้ ทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วนเป็ นการชั่วคราว
จนกว่าการพิจารณาสัง่ คาร้ องขอยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลจะถึงที่สดุ ก็ได้ ตามที่ศาลเห็นสมควร

มาตรา ๑๕๖/๑ เมื่อศาลพิจารณาคาร้ องขอยกเว้ นค่ าธรรมเนียมศาลเสร็ จแล้ วให้ ศาลมี


คาสัง่ โดยเร็ว โดยศาลจะมีคาสัง่ อนุญาตทั ้งหมดหรื อแต่เฉพาะบางส่วน หรื อยกคาร้ องนั ้นเสียก็
ได้
ห้ ามมิให้ ศาลอนุญาตตามคาร้ องเช่นว่านั ้น เว้ นแต่จะเป็ นที่เชื่อได้ ว่าผู้ร้องไม่มีทรัพย์ สิน
พอที่จ ะเสียค่า ธรรมเนี ยมศาลหรื อหากผู้ร้องไม่ได้ รับยกเว้ น ค่าธรรมเนียมศาลจะได้ รับ ความ
เดือดร้ อนเกินสมควรเมื่อพิจารณาถึงสถานะของผู้ร้อง และในกรณีผ้ รู ้ องเป็ นโจทก์ หรื อผู้อุทธรณ์
หรือฎีกา การฟ้องร้ องหรืออุทธรณ์หรือฎีกานั ้นมีเหตุผลอันสมควรด้ วย
Jus_Highlight

เมื่อคู่ความคนใดได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องหรื อต่อสู้คดีในศาลชั น้ ต้ นแล้ ว


ยื่น ค าร้ องเช่ น ว่ า นัน้ ในชัน้ อุท ธรณ์ ห รื อ ฎี กา แล้ ว แต่ กรณี อี ก ให้ ถือ ว่ า คู่ความนัน้ ยัง คงไม่ มี
ทรัพย์ สินพอจะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรื อหากไม่ได้ รับยกเว้ นค่า ธรรมเนียมศาลแล้ วจะได้ รับ
ความเดือดร้ อนเกินสมควรอยู่ เว้ นแต่จะปรากฏต่อศาลเป็ นอย่างอื่น
ในกรณีที่ ศาลมี คาสัง่ อนุญาตให้ ยกเว้ น ค่า ธรรมเนียมศาลให้ แต่ เฉพาะบางส่ว น หรื อ มี
คาสัง่ ให้ ยกคาร้ อง ผู้ขออาจอุทธรณ์ คาสัง่ นั ้นต่อศาลได้ ภายในกาหนดเจ็ดวันนับแต่วันมีคาสัง่
คาสัง่ ของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๑๕๗ เมื่ อ ศาลอนุญาตให้ บุคคลใดได้ รับ ยกเว้ นค่ า ธรรมเนียมศาลในศาลใด


บุคคลนั ้นไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในการดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั ้น ค่าธรรมเนียม
เช่ นว่ านี ใ้ ห้ รวมถึงเงิน วางศาลในการยื่ นฟ้ องอุท ธรณ์ ห รื อ ฎี กา ถ้ า เป็ นกรณี ที่ศาลอนุญาตใน
ระหว่ า งการพิ จ ารณา การยกเว้ นไม่ ต้อ งเสี ยค่ า ธรรมเนี ย มศาลนั น้ ให้ ใ ช้ บัง คับ แต่ เ ฉพาะ
ค่าธรรมเนียมศาลและเงิน วางศาลที่จะต้ องเสีย หรื อวางภายหลังคาสัง่ อนุญาตเท่ านั ้น ส่ว น
ค่าธรรมเนียมศาลหรือเงินวางศาลที่เสียหรือวางไว้ ก่อนคาสัง่ เช่นว่านั ้นเป็ นอันไม่ต้องคืน

มาตรา ๑๕๘ ถ้ าศาลเห็นว่าคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ จะต้ องเป็ นผู้รับผิดเสียค่าฤชาธรรมเนียม


ทั ้งหมดหรือแต่บางส่วนของคู่ความทั ้งสองฝ่ าย ให้ ศาลพิพากษาในเรื่ องค่าฤชาธรรมเนียม โดย
สั่ง ให้ คู่ความอี กฝ่ ายหนึ่ง นัน้ ช าระต่ อ ศาลในนามของผู้ที่ ไ ด้ รับ ยกเว้ น ค่ า ธรรมเนี ยมศาลซึ่ ง
ค่าธรรมเนียมศาลที่ผ้ นู ั ้นได้ รับยกเว้ นทั ้งหมดหรือแต่บางส่วนตามที่ศาลเห็นสมควร

มาตรา ๑๕๙ ถ้ าปรากฏต่อ ศาลว่า ผู้ที่ ได้ รับ ยกเว้ นค่ าธรรมเนี ยมศาลนัน้ สามารถเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลได้ ตั ้งแต่เวลาที่ยื่นคาร้ องตามมาตรา ๑๕๖ หรือในภายหลังก่อนศาลวินิจฉัยชี ้
ขาดคดี ให้ ศาลมี ค าสั่ง ให้ บุค คลนั น้ ช าระค่ า ธรรมเนี ยมศาลที่ ไ ด้ รั บ ยกเว้ นต่ อ ศาลภายใน
Jus_Highlight

ระยะเวลาที่ ศ าลเห็ น สมควรกาหนดก็ ไ ด้ หากไม่ ป ฏิ บัติต าม ให้ ศาลมี คาสั่ง ยึ ดหรื อ อายั ด
ทรัพย์สนิ ของผู้ได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลนั ้นทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วนไว้ รอคาวินิจฉัยชี ้ขาด
ในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
ในกรณีตามวรรคหนึง่ ถ้ าศาลเห็นว่า
(๑) ค่ า ฤชาธรรมเนี ยมจะเป็ นพั บ แก่ คู่ ความทัง้ สองฝ่ าย ให้ ศ าลมี ค าสั่ง ให้ เ อาช าระ
ค่าธรรมเนียมศาลที่ผ้ นู ั ้นได้ รับยกเว้ น จากทรัพย์สนิ ที่ยดึ หรืออายัดดังที่กล่าวไว้ ในวรรคหนึ่งตาม
จานวนที่ศาลเห็นสมควร
(๒) คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะต้ อ งชาระค่ าฤชาธรรมเนี ยมทัง้ หมดหรื อ แต่บ างส่วนแทนผู้ที่
ได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาล ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งนั น้ ชาระค่าธรรมเนียมศาล
ต่อศาลในนามของผู้ที่ได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาล แต่ถ้าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งนั ้นไม่ปฏิ บัติตาม
คาสัง่ ให้ ศาลเอาชาระค่าธรรมเนียมศาลนั ้นจากทรัพย์ สินที่ยึดหรื ออายัดดังที่กล่าวไว้ ในวรรค
หนึง่ ตามจานวนที่ศาลเห็นสมควร หรือ
(๓) ผู้ที่ ไ ด้ รับ ยกเว้ น ค่า ธรรมเนี ยมศาลจะต้ อ งช าระค่ า ฤชาธรรมเนี ยมทัง้ หมดหรื อ แต่
บางส่วนแทนคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ เอาชาระค่าฤชาธรรมเนียมนั ้นจากทรัพย์ สิน
ที่ยดึ หรืออายัดดังที่กล่าวไว้ ในวรรคหนึง่ ส่วนค่าธรรมเนียมศาลที่ผ้ นู ั ้นได้ รับยกเว้ น ให้ เอาชาระ
จากทรัพย์สนิ ที่เหลือ ถ้ าหากมี ตามจานวนที่ศาลเห็นสมควร

มาตรา ๑๖๐ ถ้ าผู้ที่ได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาลประพฤติตนไม่เรี ยบร้ อย เช่น ดาเนิน


กระบวนพิจารณาในทางก่อความราคาญถึงขนาด หรื อกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาล
หรือจงใจประวิงความเรื่องนั ้น ศาลจะถอนการอนุญาตเสียในเวลาใด ๆ ก็ได้ และบุคคลเช่ นว่า
นั ้นจ าต้ อ งรับ ผิ ดเสียค่า ฤชาธรรมเนี ยมสาหรั บ กระบวนพิ จารณาภายหลัง ที่ศาลได้ ถอนการ
อนุญาตนั ้นแล้ ว
Jus_Highlight

ส่ วนที่ ๒
ความรั บผิดชัน้ ที่สุดในค่ าฤชาธรรมเนียม

มาตรา ๑๖๑ ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติห้ามาตราต่อไปนี ้ ให้ ค่คู วามฝ่ ายที่แพ้ คดีเป็ นผู้รับ
ผิดในชั ้นที่สดุ สาหรับค่าฤชาธรรมเนียมทั ้งปวง แต่ไม่ว่าคู่ความฝ่ ายใดจะชนะคดีเต็มตามข้ อหา
หรื อแต่บางส่วน ศาลมีอานาจที่จะพิพากษาให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ช นะคดีนั ้นรับผิดในค่าฤชาธรรม
เนียมทั ้งปวง หรือให้ ค่คู วามแต่ละฝ่ ายรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมส่วนของตนหรื อตามส่วนแห่ง
ค่าฤชาธรรมเนียมซึง่ คู่ความทุกฝ่ ายได้ เสียไปก่อนได้ ตามที่ศาลจะใช้ ดุลพินิจ โดยคานึงถึงเหตุ
สมควรและความสุจริตในการดาเนินคดี
คดีที่ไม่มีข้อพิพาทให้ ฝ่ายเริ่มคดีเป็ นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียม

มาตรา ๑๖๒ บุคคลที่เป็ นโจทก์ร่วมกันหรื อจาเลยร่ วมกันนั ้น หาต้ องรับผิดร่ วมกันในค่า


ฤชาธรรมเนียมไม่ หากต้ องรับผิดเป็ นส่วนเท่า ๆ กัน เว้ นแต่จะได้ เป็ นเจ้ าหนี ้ร่ วมหรื อลูกหนี ้ร่ วม
หรือศาลได้ มีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น

มาตรา ๑๖๓ ถ้ าคดีได้ เสร็ จเด็ดขาดลงโดยการตกลง หรื อการประนีประนอมยอมความ


หรื ออนุญาโตตุลาการ คู่ความแต่ ละฝ่ ายย่ อมรั บผิ ดในค่า ฤชาธรรมเนี ยมในส่วนการดาเนิ น
กระบวนพิจารณาของตน เว้ นแต่ค่คู วามจะได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น

มาตรา ๑๖๔ ในกรณีที่วางเงินต่อศาลตามมาตรา ๑๓๕, ๑๓๖ นั ้น จาเลยไม่ต้องรับผิด


ในค่าฤชาธรรมเนียมแห่งจานวนเงินที่วางนั ้นอันเกิดขึ ้นภายหลัง
ถ้ าโจทก์ยอมรับเงินที่วางต่อศาลเป็ นการพอใจเต็มตามที่เรียกร้ องแล้ ว จาเลยต้ องเป็ นผู้รับ
ผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
Jus_Highlight

ถ้ าโจทก์ยอมรับเงินที่วางต่อศาลนั ้นเป็ นการพอใจเพียงส่วนหนึง่ แห่งจานวนเงินที่เรี ยกร้ อง


และดาเนินคดีต่อไป จาเลยต้ องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเว้ นแต่ศาลจะได้ พิพากษาให้ โจทก์
แพ้ คดี ในกรณีเ ช่ นนี โ้ จทก์ ต้องเป็ นผู้รับ ผิดในค่ าฤชาธรรมเนี ยมทั ้งสิ ้นอันเกิ ดแต่การที่ ตนไม่
ยอมรับเงินที่วางต่อศาลเป็ นการพอใจตามที่เรียกร้ อง

มาตรา ๑๖๕ ในกรณีที่มีการชาระหนี ้ ดังบัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๓๗ ถ้ าโจทก์ ยอมรับการ


ชาระหนี ้นั ้นเป็ นการพอใจเต็มตามที่เรี ยกร้ องแล้ ว จาเลยต้ องเป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
เว้ นแต่ศาลจะเห็นสมควรมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น
ถ้ าโจทก์ไม่พอใจในการชาระหนี ้เช่นว่านั ้น และดาเนินคดีต่อไป ค่าฤชาธรรมเนียมให้ อยู่
ในดุลพินิจของศาล แต่ถ้าศาลเห็นว่าการชาระหนี ้นั ้นเป็ นการพอใจเต็มตามที่โจทก์ เรี ยกร้ องแล้ ว
ค่าฤชาธรรมเนียมทั ้งสิ ้นอันเกิดแต่การที่โจทก์ ปฏิ เสธไม่ยอมรับชาระหนี ้นั ้นโจทก์ ต้องเป็ นผู้รับ
ผิด

มาตรา ๑๖๖ คู่ความฝ่ ายใดทาให้ ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมในกระบวนพิจารณาใด ๆ ที่


ได้ ดาเนินไปโดยไม่จาเป็ น หรื อ มีลกั ษณะประวิง คดี หรื อที่ต้องดาเนิน ไปเพราะความผิ ดหรื อ
ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง คู่ความฝ่ ายนั ้นต้ องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมนั ้น โดยมิพัก
คานึงว่าคู่ความฝ่ ายนั ้นจักได้ ชนะคดีหรือไม่

มาตรา ๑๖๗ คาสัง่ ในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนั ้น ไม่ว่าคู่ความทั ้งปวงหรื อแต่ฝ่ายใดฝ่ าย


หนึ่ง จักมี ค าขอหรื อ ไม่ ก็ดี ให้ ศาลสั่ง ลงไว้ ใ นคาพิ พ ากษาหรื อ คาสั่ง ชี ข้ าดคดี ห รื อ ในคาสั่ง
จาหน่ายคดีออกสารบบความแล้ วแต่กรณี แต่ถ้าเพื่อชี ้ขาดตัดสินคดีใด ศาลได้ มีคาสัง่ อย่างใด
ในระหว่างการพิจารณา ศาลจะมีคาสัง่ เรื่ องค่าฤชาธรรมเนียมสาหรับกระบวนพิจารณาที่เสร็ จ
ไปในคาสัง่ ฉบับนั ้น หรือในคาพิพากษาหรือคาสัง่ ชี ้ขาดคดีก็ได้ แล้ วแต่จะเลือก
Jus_Highlight

ในกรณี ที่มีข้ อพิ พาทในเรื่ อ งที่ ไ ม่เ ป็ นประเด็ นในคดี ให้ ศาลมีคาสั่งในเรื่ องค่ าฤชาธรรม
เนียมสาหรับข้ อพิพาทเช่นว่านี ้ในคาสัง่ ชี ้ขาดข้ อพิพาทนั ้น
ในกรณีที่มีการพิจ ารณาใหม่ ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ เรื่ องค่าฤชาธรรมเนียมสาหรับการ
พิจารณาครั ้งแรก และการพิจารณาใหม่ในคาพิพากษาหรือคาสัง่ ได้

มาตรา ๑๖๘ ในกรณีค่คู วามอาจอุทธรณ์ หรือฎีกาคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลได้ นั ้น


ห้ ามมิให้ ค่คู วามอุทธรณ์หรือฎีกาในปั ญหาเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมแต่อย่างเดียว เว้ นแต่อุทธรณ์
หรื อ ฎี ก านัน้ จะได้ ยกเหตุว่ า ค่ า ฤชาธรรมเนี ยมนัน้ มิ ไ ด้ กาหนดหรื อ คานวณให้ ถูกต้ อ งตาม
กฎหมาย

มาตรา ๑๖๙ เมื่อมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดในเรื่ องค่าฤชาธรรมเนียมแล้ ว ให้ หัวหน้ าสานักงาน


ประจาศาลยุติธรรมชั ้นต้ นทาบัญชีแสดงค่าฤชาธรรมเนียมที่ค่คู วามทุกฝ่ ายได้ เสียไปโดยลาดับ
และจานวนที่ค่คู วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ หรือทั ้งสองฝ่ ายจะต้ องรับผิดตามคาวินิจฉัยชี ้ขาดของศาล
คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้ องอาจขอสาเนาบัญชีเช่นว่านั ้นได้

มาตรา ๑๖๙/๑ ถ้ าบุคคลซึ่งต้ องชาระค่าฤชาธรรมเนียมค้ างชาระค่าฤชาธรรมเนียมต่อ


ศาลก็ดีหรือต่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีก็ดี หรือต่อบุคคลอื่นที่มิใช่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาก็ดี ศาล
เจ้ าพนักงานบังคับคดี หรือบุคคลเช่นว่านั ้นอาจบังคับเอาแก่ทรัพย์ สินของบุคคลนั ้นเสมือนหนึ่ง
เป็ นลูก หนี ต้ ามค าพิ พ ากษาเพื่ อ ช าระค่ า ฤชาธรรมเนี ยมดัง กล่า วได้ ในกรณี เ ช่ นนี ้ ให้ ถือ ว่ า
หัวหน้ าสานักงานประจาศาลยุติธรรมชั ้นต้ น เจ้ าพนักงานบังคับคดี หรื อบุคคลที่มีสิทธิ ได้ รับค่า
ฤชาธรรมเนียมนั ้น แล้ วแต่กรณีเป็ นเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา
Jus_Highlight

การบังคับคดีตามวรรคหนึง่ ให้ ได้ รับยกเว้ นค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีทั ้งปวง แต่


หากยังมีเงินที่ได้ จากการบังคับคดีคงเหลือภายหลังชาระให้ แก่ผ้ มู ีสิทธิ ได้ รับ ให้ หักค่าฤชาธรรม
เนียมที่ได้ รับยกเว้ นดังกล่าวไว้ จากเงินนั ้น

มาตรา ๑๖๙/๒ ภายใต้ บงั คับแห่งบทบัญญัติมาตรา ๑๖๙/๓ ให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษา
เป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี โดยให้ หักออกจากเงินที่ได้ จากการยึด อายัด
ขาย หรือจาหน่ายทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อจากเงินที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้
วางไว้
ในกรณีที่มีการบังคับคดีแก่ผ้ คู ้าประกันในศาล ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีในส่วน
นั ้นให้ หกั ออกจากเงินที่ได้ จากการบังคับคดีตามสัญญาประกัน
ในกรณีที่มีการบังคับคดีตามคาพิพากษาให้ แบ่งกรรมสิทธิ์ รวมหรื อมรดกให้ เจ้ าของรวม
หรื อทายาทผู้ได้ รับส่วนแบ่งทุกคนเป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีโดยให้ หัก
ออกจากเงินที่ได้ จากการขายหรือจาหน่ายทรัพย์สนิ อันเป็ นกรรมสิทธิ์รวมหรือทรัพย์ มรดกนั ้น
ในกรณีที่มีการถอนการบังคับคดีนอกจากกรณีตามมาตรา ๒๙๕ (๑) ให้ เจ้ าหนี ้ตามคา
พิพากษาผู้ขอยึดหรืออายัดทรัพย์สนิ เป็ นผู้รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี

มาตรา ๑๖๙/๓ บุคคลใดทาให้ ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีส่วนใดโดยไม่


จ าเป็ นหรื อ มี ลักษณะประวิ ง การบั ง คับ คดี หรื อ ที่ ต้ องดาเนิ น ไปเพราะความผิ ดหรื อ ความ
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง หรือเพราะบังคับคดีไปโดยไม่สจุ ริ ตก่อนการบังคับคดีได้ เสร็ จลง
ผู้ที่ได้ รับความเสียหาย หรือลูกหนี ้ตามคาพิพ ากษา แล้ วแต่กรณี อาจยื่นคาร้ องต่อศาลภายใน
เจ็ดวันนับแต่วันทราบพฤติการณ์ อันเป็ นมูลแห่งข้ ออ้ างนั ้น เพื่อให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ บุคคลเช่นว่า
นั ้นรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมดังกล่าว
Jus_Highlight

คาสัง่ ของศาลตามมาตรานี ใ้ ห้ อุทธรณ์ ไปยังศาลอุทธรณ์ ได้ และคาพิพ ากษาหรื อ คาสั่ง


ของศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ
Jus_Highlight

ภาค ๒
วิธีพิจารณาในศาลชัน้ ต้ น

ลักษณะ ๑
วิธีพิจารณาสามัญในศาลชัน้ ต้ น

มาตรา ๑๗๐ ห้ ามมิให้ ฟ้อง พิจ ารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีเ ป็ นครัง้ แรกในศาลหรื อโดย
ศาลอื่นนอกจากศาลชั ้นต้ น เว้ นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้ ชดั แจ้ งเป็ นอย่างอื่น
ภายใต้ บังคับแห่ งบทบัญญัติในภาคนี ้ว่า ด้ วยคดีไ ม่มีข้อพิ พาท คดีมโนสาเร่ คดีขาดนัด
และคดี ที่ม อบให้ อ นุญาโตตุลาการชี ข้ าด การฟ้ อง การพิจ ารณาและชี ข้ าดตัดสิน คดี ใ นศาล
ชั ้นต้ น นอกจากจะต้ องบังคับตามบทบัญญัติทวั่ ไปแห่งภาค ๑ แล้ ว ให้ บังคับตามบทบัญญัติใน
ลักษณะนี ้ด้ วย

มาตรา ๑๗๑ คดี ที่ป ระมวลกฎหมายนี ้บัญญัติว่ าจะฟ้ องยังศาลชัน้ ต้ น หรื อ จะเสนอ
ปั ญหาต่ อ ศาลชัน้ ต้ นเพื่ อ ชี ข้ าดตัดสิน โดยท าเป็ นคาร้ องขอก็ ไ ด้ นัน้ ให้ น าบทบัญญั ติแ ห่ ง
ประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยสิทธิ และหน้ าที่ของโจทก์ และจาเลย และวิธีพิจารณาที่ต่อจากการ
ยื่นคาฟ้องมาใช้ บงั คับแก่ผ้ ยู ื่นคาขอและคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ถ้ าหากมี และบังคับแก่วิธีพิจารณา
ที่ต่อจากการยื่นคาร้ องขอด้ วยโดยอนุโลม

มาตรา ๑๗๒ ภายใต้ บัง คับบทบัญญัติมาตรา ๕๗ ให้ โจทก์ เสนอข้ อ หาของตนโดยท า


เป็ นคาฟ้องเป็ นหนังสือยื่นต่อศาลชั ้นต้ น
คาฟ้ องต้ องแสดงโดยแจ้ งชัดซึ่ง สภาพแห่ง ข้ อหาของโจทก์ และคาขอบัง คับ ทั ้งข้ ออ้ างที่
อาศัยเป็ นหลักแห่งข้ อหาเช่นว่านั ้น
Jus_Highlight

ให้ ศาลตรวจคาฟ้องนั ้นแล้ วสั่งให้ รับไว้ หรื อให้ ยกเสีย หรื อให้ คืนไป ตามที่บัญญัติไว้ ใ น
มาตรา ๑๘

มาตรา ๑๗๓ เมื่อศาลได้ รับคาฟ้องแล้ ว ให้ ศาลออกหมายส่งสาเนาคาฟ้อง


ให้ แก่จาเลยเพื่อแก้ คดี และภายในกาหนดเจ็ ดวันนับแต่วันยื่นคาฟ้อง ให้ โจทก์ ร้องขอต่อ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่เพื่อให้ สง่ หมายนั ้น
นับแต่เวลาที่ได้ ยื่นคาฟ้องแล้ ว คดีนั ้นอยู่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่งการนี ้
(๑) ห้ ามไม่ให้ โจทก์ยื่นคาฟ้องเรื่องเดียวกันนั ้นต่อศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอื่นและ
(๒) ถ้ ามีเหตุเปลีย่ นแปลงเกิดขึ ้นในพฤติการณ์อันเกี่ยวด้ วยการยื่นฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขต
ศาลเหนื อคดีนั ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงภูมิ ลาเนาของจาเลย การเปลี่ยนแปลงเช่นว่ านี ้หาตัด
อานาจศาลที่รับฟ้องคดีไว้ ในอันที่จะพิจารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีนั ้นไม่

มาตรา ๑๗๔ ในกรณีต่อไปนี ้ให้ ถือว่าโจทก์ได้ ทิ ้งฟ้อง คือ


(๑) ภายหลังที่ได้ เสนอคาฟ้องแล้ ว โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่เพื่อให้ ส่ง
หมายเรี ยกให้ แก้ คดีแ ก่จาเลย และไม่แจ้ ง ให้ ศาลทราบเหตุแห่ง การเพิ กเฉยเช่นว่านัน้ ภายใน
กาหนดเจ็ดวันนับแต่วนั ยื่นคาฟ้อง
(๒) โจทก์ เพิกเฉยไม่ ดาเนิน คดีภายในเวลาตามที่ ศาลเห็ นสมควรกาหนดไว้ เพื่ อการนัน้
โดยได้ สง่ คาสัง่ ให้ แก่โจทก์โดยชอบแล้ ว

มาตรา ๑๗๕ ก่อนจาเลยยื่นคาให้ การ โจทก์อาจถอนคาฟ้องได้ โดยยื่นคาบอกกล่าวเป็ น


หนังสือต่อศาล
Jus_Highlight

ภายหลังจาเลยยื่นคาให้ การแล้ ว โจทก์ อาจยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาลชั ้นต้ นเพื่อ


อนุญาตให้ โ จทก์ ถอนค าฟ้ องได้ ศาลจะอนุญาตหรื อไม่อ นุญาตหรื อ อนุญาตภายในเงื่ อนไข
ตามที่เห็นสมควรก็ได้ แต่
(๑) ห้ ามไม่ให้ ศาลให้ อนุญาต โดยมิได้ ฟังจาเลยหรือผู้ร้องสอด ถ้ าหากมีก่อน
(๒) ในกรณีที่ โจทก์ ถอนคาฟ้ อง เนื่ องจากมีข้ อ ตกลงหรื อ ประนีป ระนอมยอมความกับ
จาเลย ให้ ศาลอนุญาตไปตามคาขอนั ้น

มาตรา ๑๗๖ การทิ ง้ คาฟ้ องหรื อ ถอนคาฟ้ องย่ อ มลบล้ า งผลแห่ ง การยื่ น คาฟ้ องนั น้
รวมทั ้งกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาต่อภายหลังยื่นคาฟ้อง และกระทาให้ ค่คู วามกลับคืนเข้ า
สู่ฐานะเดิมเสมือนหนึ่งมิ ได้ มีการยื่นฟ้องเลย แต่ว่าคาฟ้องใด ๆ ที่ได้ ทิ ้งหรื อถอนแล้ ว อาจยื่ น
ใหม่ได้ ภายใต้ บงั คับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้ วยอายุความ

มาตรา ๑๗๗ เมื่อได้ สง่ หมายเรียกและคาฟ้องให้ จาเลยแล้ ว ให้ จาเลยทาคาให้ การเป็ น


หนังสือยื่นต่อศาลภายในสิบห้ าวัน
ให้ จ าเลยแสดงโดยชัดแจ้ ง ในคาให้ การว่ า จ าเลยยอมรั บหรื อปฏิ เสธข้ ออ้ า งของโจทก์
ทั ้งสิ ้นหรือแต่บางส่วน รวมทั ้งเหตุแห่งการนั ้น
จาเลยจะฟ้องแย้ งมาในคาให้ การก็ได้ แต่ถ้าฟ้องแย้ งนั ้นเป็ นเรื่ องอื่นไม่เกี่ ยวกับคาฟ้อง
เดิมแล้ ว ให้ ศาลสัง่ ให้ จาเลยฟ้องเป็ นคดีต่างหาก
ให้ ศาลตรวจดูคาให้ การนั ้นแล้ วสัง่ ให้ รับไว้ หรื อให้ คืนไปหรื อสัง่ ไม่รับตามที่บัญญัติไว้ ใน
มาตรา ๑๘
บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ ให้ ใช้ บงั คับแก่บคุ คลภายนอกที่ถกู เรียกเข้ ามาเป็ นผู้ร้องสอดตาม
มาตรา ๕๗ (๓) โดยอนุโลม
Jus_Highlight

มาตรา ๑๗๘ ถ้ าจาเลยฟ้องแย้ งรวมมาในคาให้ การ ให้ โจทก์ ทาคาให้ การแก้ ฟ้องแย้ งยื่น
ต่อศาลภายในสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ได้ สง่ คาให้ การถึงโจทก์
บทบัญญัติแห่งมาตราก่อน ให้ ใช้ บงั คับแก่คาให้ การแก้ ฟ้องแย้ งนี ้โดยอนุโลม

มาตรา ๑๗๙ โจทก์หรือจาเลยจะแก้ ไขข้ อหา ข้ อต่อสู้ ข้ ออ้ าง หรื อข้ อเถียงอันกล่าวไว้ ใน
คาฟ้องหรือคาให้ การที่เสนอต่อศาลแต่แรกก็ได้
การแก้ ไขนั ้น โดยเฉพาะอาจเป็ นการแก้ ไขในข้ อต่อไปนี ้
(๑) เพิ่ม หรือลด จานวนทุนทรัพย์ หรือราคาทรัพย์ สนิ ที่พิพาทในฟ้องเดิม หรือ
(๒) สละข้ อหาในฟ้องเดิมเสียบางข้ อ หรือเพิ่มเติมฟ้องเดิมให้ บริ บูรณ์ โดยวิธีเสนอคาฟ้อง
เพิ่มเติม หรือเสนอคาฟ้องเพื่อคุ้มครองสิทธิของตนในระหว่างการพิจารณา หรื อเพื่อบังคับตาม
คาพิพากษาหรือคาสัง่ หรือ
(๓) ยกข้ อต่อสู้ขึน้ ใหม่ เป็ นข้ อแก้ ข้อ หาเดิม หรื อที่ยื่นภายหลัง หรื อเปลี่ยนแปลง แก้ ไ ข
ข้ ออ้ าง หรือข้ อเถียงเพื่อสนับสนุนข้ อหา หรือเพื่อหักล้ างข้ อหาของคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง
แต่ห้ามมิให้ ค่คู วามฝ่ ายใดเสนอคาฟ้องใดต่อศาล ไม่ว่าโดยวิธีฟ้องเพิ่มเติมหรื อฟ้องแย้ ง
ภายหลังที่ได้ ยื่นคาฟ้องเดิมต่อศาลแล้ ว เว้ นแต่คาฟ้องเดิมและคาฟ้องภายหลังนี ้จะเกี่ยวข้ อง
กันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี ้ขาดตัดสินเข้ าด้ วยกันได้

มาตรา ๑๘๐ การแก้ ไขคาฟ้องหรื อคาให้ การที่ค่คู วามเสนอต่อศาลไว้ แล้ วให้ ทาเป็ นคา
ร้ องยื่นต่อศาลก่อนวันชี ้สองสถาน หรื อก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ในกรณีที่ไม่มี การชี ้
สองสถาน เว้ นแต่มีเหตุอันสมควรที่ไม่อาจยื่นคาร้ องได้ ก่อนนั ้น หรื อเป็ นการขอแก้ ไขในเรื่ องที่
เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน หรื อเป็ นการแก้ ไขข้ อผิดพลาดเล็กน้ อยหรื อข้ อผิ ด
หลงเล็กน้ อย
Jus_Highlight

มาตรา ๑๘๑ เว้ นแต่ในกรณีที่คาร้ องนั ้นอาจทาได้ แต่ฝ่ายเดียว


(๑) ห้ ามไม่ให้ มีคาสัง่ ยอมรับการแก้ ไข เว้ นแต่จะได้ ส่งสาเนาคาร้ องให้ แก่ค่คู วามอีกฝ่ าย
หนึง่ ทราบล่วงหน้ าอย่างน้ อยสามวัน ก่อนกาหนดนัดพิจารณาคาร้ องนั ้น
(๒) ห้ า มมิ ให้ ศาลพิ พ ากษาหรื อ มีคาสัง่ ชี ข้ าดในประเด็ น ที่ ค่คู วามได้ แก้ ไ ขคาฟ้ องหรื อ
คาให้ การ เว้ นแต่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้ มี โ อกาสบริ บูรณ์ ในอันที่จะตรวจโต้ แย้ งและหักล้ า ง
ข้ อหาหรือข้ อต่อสู้ใหม่ หรือข้ ออ้ าง หรือข้ อเถียงใหม่ที่กล่าวไว้ ในคาร้ องขอแก้ ไขนั ้น

มาตรา ๑๘๒ เมื่อได้ ยื่นคาฟ้อง คาให้ การ และคาให้ การแก้ ฟ้องแย้ งถ้ าหากมีแล้ วให้ ศาล
ทาการชี ้สองสถานโดยแจ้ งกาหนดวันชี ้สองสถานให้ ค่คู วามทราบล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าสิบห้ าวัน
เว้ นแต่ในกรณีดงั ต่อไปนี ้
(๑) จาเลยคนใดคนหนึง่ ขาดนัดยื่นคาให้ การ
(๒) คาให้ การของจาเลยเป็ นการยอมรับโดยชัดแจ้ งตามคาฟ้องโจทก์ทั ้งสิ ้น
(๓) คาให้ การของจาเลยเป็ นคาให้ การปฏิเสธข้ ออ้ างของโจทก์ทั ้งสิ ้น โดยไม่มีเหตุแห่งการ
ปฏิเสธ ซึง่ ศาลเห็นว่าไม่จาเป็ นต้ องมีการชี ้สองสถาน
(๔) ศาลเห็นสมควรวินิจฉัยชี ้ขาดคดีให้ เสร็จไปทั ้งเรื่องโดยไม่ต้องสืบพยาน
(๕) คดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ หรือคดีไม่มีข้อยุ่งยากตามมาตรา ๑๙๖
(๖) คดีที่ศาลเห็นว่ามีประเด็นข้ อพิพาทไม่ย่งุ ยากหรือไม่จาเป็ นที่จะต้ องชี ้สองสถาน
ในกรณี ที่ ไ ม่ ต้ องมี การชี ส้ องสถาน ให้ ศาลมี ค าสั่ง งดการชี ส้ องสถานและก าหนดวั น
สืบพยาน ถ้ าหากมี แล้ วให้ ส่งคาสัง่ ดังกล่าวให้ ค่คู วามทราบตามมาตรา ๑๘๔ เว้ นแต่ค่คู วาม
ฝ่ ายใดจะได้ ทราบหรือถือว่าได้ ทราบคาสัง่ ดังกล่าวแล้ ว
คู่ความอาจตกลงกันกะประเด็นข้ อพิพาทโดยยื่นคาแถลงร่ วมกั นต่อศาลในกรณีเช่นว่านี ้
ให้ ก าหนดประเด็น ข้ อ พิ พาทไปตามนัน้ แต่ ถ้า ศาลเห็ น ว่ าคาแถลงนัน้ ไม่ ถูกต้ อ ง ก็ใ ห้ ศาลมี
อานาจที่จะมีคาสัง่ ยกคาแถลงนั ้น แล้ วดาเนินการชี ้สองสถานไปตามมาตรา ๑๘๓
Jus_Highlight

มาตรา ๑๘๒ ทวิ (ยกเลิก)

มาตรา ๑๘๓ ในวันชี ้สองสถาน ให้ ค่คู วามมาศาล และให้ ศาลตรวจคาคู่ความและคา


แถลงของคู่ความ แล้ วนาข้ ออ้ าง ข้ อเถียง ที่ปรากฏในคาคู่ความและคาแถลงของคู่ความเทียบ
กันดู และสอบถามคู่ความทุกฝ่ ายถึงข้ ออ้ าง ข้ อเถียง และพยานหลักฐานที่จะยื่นต่อศาลว่าฝ่ าย
ใดยอมรับหรือโต้ แย้ งข้ ออ้ าง ข้ อเถียงนั ้นอย่างไร ข้ อเท็จจริ งใดที่ค่คู วามยอมรับกั นก็เป็ นอันยุติ
ไปตามนั ้น ส่วนข้ อกฎหมายหรือข้ อเท็จจริงที่ค่คู วามฝ่ ายหนึ่งยกขึ ้นอ้ างแต่คาคู่ความฝ่ ายอื่นไม่
รับและเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับประเด็นข้ อพิพาทตามคาคู่ความให้ ศาลกาหนดไว้ เป็ นประเด็นข้ อ
พิพาท และกาหนดให้ ค่คู วามฝ่ ายใดนาพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้ อใดก่อนหรือ หลังก็ได้
ในการสอบถามคู่ความตามวรรคหนึ่ง คู่ความแต่ละฝ่ ายต้ องตอบคาถามที่ศาลถามเอง
หรือถามตามคาขอของคู่ความฝ่ ายอื่น เกี่ยวกับข้ อเท็จจริงที่ค่คู วามฝ่ ายอื่นยกขึ ้นเป็ นข้ ออ้ างข้ อ
เถี ย ง และพยานหลักฐานต่ า ง ๆ ที่ คู่ความจะยื่ น ต่ อ ศาล ถ้ า คู่ ความฝ่ ายใดไม่ ต อบคาถาม
เกี่ ย วกับ ข้ อเท็ จจริ ง ใด หรื อ ปฏิ เ สธข้ อ เท็จ จริ งใดโดยไม่มี เ หตุผลอัน สมควร ให้ ถือ ว่ า ยอมรั บ
ข้ อเท็จจริงนั ้นแล้ ว เว้ นแต่ค่คู วามฝ่ ายนั ้นไม่อยู่ในวิสยั ที่จะตอบหรือแสดงเหตุผลแห่งการปฏิ เสธ
ได้ ในขณะนั ้น
คู่ความมีสทิ ธิคดั ค้ านว่าประเด็นข้ อพิพาทหรื อหน้ าที่นาสืบที่ศาลกาหนดไว้ นั ้นไม่ ถูกต้ อง
โดยแถลงด้ ว ยวาจาต่อศาลในขณะนั ้นหรื อยื่นคาร้ องต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ศาลสั่ง
กาหนดประเด็นข้ อพิพ าทหรื อ หน้ า ที่นาสืบ ให้ ศาลชี ข้ าดคาคัดค้ านนัน้ ก่อ นวัน สืบพยานคาชี ้
ขาดคาคัดค้ านดังกล่าวให้ อยู่ภายใต้ บงั คับมาตรา ๒๒๖

มาตรา ๑๘๓ ทวิ ในกรณี ที่คู่ความทุก ฝ่ ายหรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ไม่ มาศาลในวันชี ส้ อง
สถาน ให้ ศาลทาการชี ้สองสถานโดยให้ ถือว่าคู่ความที่ไม่มาศาลได้ ทราบกระบวนพิจารณาใน
วันนั ้นแล้ ว
Jus_Highlight

คู่ความที่ไม่มาศาลนั ้นไม่มีสทิ ธิคดั ค้ านว่าประเด็นข้ อพิพาทและหน้ าที่นาสืบที่ศาลกาหนด


ไว้ นั ้นไม่ถกู ต้ อง เว้ นแต่เป็ นกรณีที่ไม่สามารถมาศาลได้ ในวันชี ้สองสถาน เพราะเหตุจาเป็ นอัน
ไม่อาจก้ าวล่วงได้ หรื อเป็ นการคัดค้ านในเรื่ องที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน ใน
กรณีเช่นนี ้ให้ นามาตรา ๑๘๓ วรรคสาม มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๘๓ ตรี (ยกเลิก)

มาตรา ๑๘๓ จัตวา (ยกเลิก)

มาตรา ๑๘๔ ในกรณีที่มีการชี ้สองสถาน ให้ ศาลกาหนดวันสืบพยานซึ่งมีระยะเวลาไม่


น้ อยกว่าสิบวันนับแต่วนั ชี ้สองสถาน
ในกรณีที่ไม่มีการชี ้สองสถาน ให้ ศาลออกหมายกาหนดวันสืบพยานส่งให้ แก่ค่คู วามทราบ
ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าสิบวัน

มาตรา ๑๘๕ ในวันนัดสืบพยาน เมื่อศาลเห็นสมควร หรื อเมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมี


คาขอ ศาลจะอ่านให้ ค่คู วามฟั งซึ่งคาฟ้อง คาให้ การ และคาให้ การแก้ ฟ้องแย้ ง ถ้ าหากมีหรื อ
รายงานพิสดารแห่งการชี ้สองสถาน แล้ วแต่กรณี และคาร้ องขอแก้ ไขเพิ่มเติม (ที่ได้ ยื่นต่อศาล
และส่งไปให้ แก่ค่คู วามแล้ วโดยชอบ) ก็ได้
ภายใต้ บัง คับ แห่ ง บทบัญญั ติสามมาตราต่ อ ไปนี ้ ให้ ศาลสืบ พยานตามประเด็ น ในข้ อ
พิพาทตามบทบัญญั ติแห่ งประมวลกฎหมายนี ้ว่ าด้ วยพยานหลักฐาน และฟั งคาแถลงการณ์
ด้ วยวาจาของคู่ความทั ้งปวง
Jus_Highlight

มาตรา ๑๘๖ เมื่อสืบพยานเสร็จแล้ ว ให้ ศาลอนุญาตให้ โจทก์ แถลงการณ์ ด้วยวาจาก่อน


แล้ วจึงให้ จาเลยแถลงการณ์ด้วยวาจาทบทวนข้ อเถียง แสดงผลแห่งพยานหลักฐานในประเด็นที่
พิพาท ต่อจากนี ้ให้ ศาลอนุญาตให้ โ จทก์ แถลงตอบจาเลยได้ อีกครัง้ หนึ่งนอกจากนี ้ห้ า มไม่ใ ห้
คู่ความแถลงการณ์ด้วยวาจาอย่างใดอีก เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากศาล
ก่อนพิพากษาคดี ไม่ว่าคู่ความฝ่ ายใดจะได้ แถลงการณ์ ด้วยวาจาแล้ วหรื อไม่ค่คู วามฝ่ าย
นั ้นจะยื่นคาแถลงการณ์เป็ นหนังสือต่อศาลก็ได้ แต่ต้องส่งสาเนานั ้น ๆ ไปยังคู่ความอื่น ๆ

มาตรา ๑๘๗ เมื่อได้ สบื พยานตามที่จาเป็ นและคู่ความได้ แถลงการณ์ ถ้ าหากมีเสร็ จแล้ ว


ให้ ถือว่าการพิจารณาเป็ นอันสิ ้นสุด แต่ตราบใดที่ยงั มิได้ มีคาพิพากษาศาลอาจทาการพิจารณา
ต่อไปอีกได้ ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม

มาตรา ๑๘๘ ในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท ให้ ใช้ ข้อบังคับต่อไปนี ้


(๑) ให้ เริ่มคดีโดยยื่นคาร้ องขอต่อศาล
(๒) ศาลอาจเรียกพยานมาสืบได้ เองตามที่เห็นจาเป็ น และวินิจฉัยชี ้ขาดตามที่เห็นสมควร
และยุติธรรม
(๓) ทางแก้ แห่งคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลนั ้นให้ ใช้ ได้ แต่โดยวิธียื่นอุทธรณ์ หรื อฎี กา
เท่านั ้น และให้ อทุ ธรณ์ฎีกาได้ แต่เฉพาะในสองกรณีต่อไปนี ้
(ก) ถ้ าศาลได้ ยกคาร้ องขอของคู่ความฝ่ ายที่เริ่มคดีเสียทั ้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือ
(ข) ในเหตุที่มิได้ ปฏิ บัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่ าด้ วยการพิจารณาหรื อ
พิพากษาหรือคาสัง่
(๔) ถ้ าบุคคลอื่นใดนอกจากคู่ความที่ได้ ยื่นฟ้องคดีอันไม่มีข้อพิพาทได้ เข้ ามาเกี่ยวข้ องใน
คดี โ ดยตรงหรื อ โดยอ้ อมให้ ถื อ ว่ า บุค คลเช่ น ว่ า มานี เ้ ป็ นคู่ค วาม และให้ ด าเนิ น คดี ไ ปตาม
บทบัญญัติแ ห่งประมวลกฎหมายนี ว้ ่าด้ วยคดีอันมี ข้อพิ พาท แต่ ในคดีที่ยื่นคาร้ องขอต่ อศาล
Jus_Highlight

เพื่อให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ให้ คาอนุญาตที่ผ้ แู ทนโดยชอบธรรมได้ ปฏิ เสธเสียหรื อให้


ศาลมีค าพิพากษาหรื อ คาสัง่ ถอนคืน คาอนุญาตอันได้ ให้ ไว้ แก่ผ้ ไู ร้ ความสามารถนั ้น ให้ ถือว่ า
เป็ นคดีไม่มีข้อพิพาท แม้ ถงึ ว่าผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อผู้ไร้ ความสามารถนั ้นจะได้ มาศาล และ
แสดงข้ อคัดค้ านในการให้ คาอนุญาต หรือถอนคืนคาอนุญาตเช่นว่านั ้น

ลักษณะ ๒
วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน้ ต้ น

หมวด ๑
วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่

มาตรา ๑๘๙ คดีมโนสาเร่ คือ


(๑) คดี ที่ มีค าขอให้ ป ลดเปลื ้องทุกข์ อัน อาจคานวณเป็ นราคาเงิน ได้ ไ ม่ เกิ น สี่ห มื่ นบาท
หรือไม่เกินจานวนที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
(๒) คดี ฟ้ องขับ ไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ อัน มี ค่า เช่ า หรื อ อาจให้ เ ช่ า ได้
ในขณะยื่นคาฟ้องไม่เกินเดือนละสีพ่ นั บาทหรือไม่เกินจานวนที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๑๙๐ จานวนทุนทรัพย์หรือราคาอันพิพาทกันในคดีนั ้น ให้ คานวณดังนี ้


(๑) จานวนทุนทรัพย์หรือราคานั ้นให้ คานวณตามคาเรี ยกร้ องของโจทก์ ส่วนดอกผลอันมิ
ถึง กาหนดเกิ ดขึน้ ในเวลายื่ นคาฟ้องหรื อค่ าธรรมเนี ยมศาลซึ่งอาจเป็ นอุป กรณ์ รวมอยู่ในคา
เรียกร้ อง ห้ ามไม่ให้ คานวณรวมเข้ าด้ วย
(๒) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีข้อโต้ แย้ ง จานวนทุนทรัพ ย์ หรื อราคานั ้น ให้ ศาลกะประมาณ
ตามที่เป็ นอยู่ในเวลายื่นฟ้องคดี
Jus_Highlight

(๓) คดีอนั เกี่ยวด้ วยทรัพย์ สินที่มีข้อหาหลายข้ อ อันมีจานวนทุนทรัพย์ หรื อราคาไม่เกินสี่


หมื่นบาทหรื อไม่เ กินจานวนที่ กาหนดในพระราชกฤษฎี กา ให้ รวมจานวนทุนทรัพ ย์ หรื อ ราคา
เหล่านั ้นเข้ าด้ วยกัน แต่ถ้าข้ อหาเหล่านั ้นจะต้ องเรียกร้ องเอาแก่จาเลยหลายคน ถึงแม้ ว่าถ้ ารวม
ความรั บ ผิ ดของจ าเลยหลายคนนัน้ เข้ า ด้ ว ยกัน แล้ ว จะไม่ เ ป็ นคดี ม โนสาเร่ ก็ตาม ให้ ถือ เอา
จานวนที่เรี ยกร้ องเอาจากจาเลยคนหนึ่ง ๆ นั ้น เป็ นประมาณแก่ การที่จ ะถือว่ าคดีนั ้นเป็ นคดี
มโนสาเร่หรือไม่

มาตรา ๑๙๐ ทวิ ในคดีมโนสาเร่ ให้ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาไปตามบทบัญญัติใน


หมวดนี ้

มาตรา ๑๙๐ ตรี ในคดีมโนสาเร่ ให้ ศาลมีอานาจที่จะออกคาสัง่ ขยายหรื อย่นระยะเวลา


ตามที่กาหนดไว้ ในประมวลกฎหมายนี ้หรือตามที่ศาลได้ กาหนดไว้ หรือระยะเวลาที่เกี่ยวด้ วยวิธี
พิ จ ารณาความแพ่ ง อั น ก าหนดไว้ ในกฎหมายอื่ น เพื่ อ ให้ ดาเนิ น หรื อ มิ ใ ห้ ด าเนิ น กระบวน
พิจารณาใด ๆ ก่อนสิ ้นระยะเวลานั ้นได้ เมื่อมีความจาเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม

มาตรา ๑๙๐ จัตวา ในคดีมโนสาเร่ ให้ โจทก์ เสียค่าขึ ้นศาลตามตาราง ๑ ท้ ายประมวล


กฎหมายนี ้ แต่ค่าขึ ้นศาลรวมกันแล้ วไม่เกินหนึง่ พันบาท
ค่าขึ ้นศาลในชั ้นอุทธรณ์หรือฎีกานั ้น ให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์หรือผู้ฎีกาเสียตามจานวนทุนทรัพย์ หรื อ
ราคาทรัพย์สนิ ที่พิพาทกันในชั ้นอุทธรณ์หรือฎีกา แล้ วแต่กรณี

มาตรา ๑๙๑ วิธีฟ้องคดีมโนสาเร่นั ้น โจทก์อาจยื่นคาฟ้องเป็ นหนังสือหรื อมาแถลงข้ อหา


ด้ วยวาจาต่อศาลก็ได้
Jus_Highlight

ในกรณีที่โจทก์ยื่นคาฟ้องเป็ นหนังสือ หากศาลเห็นว่าคาฟ้องดังกล่าวไม่ถูกต้ องหรื อขาด


สาระสาคัญบางเรื่อง ศาลอาจมีคาสัง่ ให้ โจทก์แก้ ไขคาฟ้องในส่วนนั ้นให้ ถูกต้ องหรื อชัดเจนขึ ้นก็
ได้
ถ้ าโจทก์มาแถลงข้ อหาด้ วยวาจาดังกล่าวแล้ ว ให้ ศาลบันทึกรายการแห่งข้ อหาเหล่านั ้นไว้
อ่านให้ โจทก์ฟัง แล้ วให้ โจทก์ลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ

มาตรา ๑๙๒ เมื่อศาลเห็นว่าคดีที่ฟ้องไม่ ใช่คดีมโนสาเร่ และศาลนั ้นมีเขตอานาจที่จ ะ


พิจารณาคดีนั ้นอย่างคดีสามัญได้ ถ้ าคดีนั ้นได้ ฟ้องโดยคาแถลงด้ วยวาจา ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้
โจทก์ยื่นคาฟ้องเป็ นหนังสืออย่างคดีสามัญ แต่ถ้าคดีนั ้นได้ ยื่นคาฟ้องเป็ นหนังสืออยู่แล้ ว ห้ ามมิ
ให้ ศาลออกหมายเรียกอย่างอื่นนอกจากที่บญ
ั ญัติไว้ สาหรับคดีสามัญ
ถ้ าคดีนั ้นไม่เป็ นคดีมโนสาเร่ ต่อไป เนื่องจากได้ มีคาฟ้องเพิ่มเติมยื่นเข้ ามาภายหลังและ
ศาลนั ้นมี เขตอานาจที่จ ะพิจ ารณาคดีนั ้นอย่า งคดีสามัญได้ ก็ให้ ศาลดาเนิน การพิจ ารณาไป
อย่างคดีสามัญ
ในกรณี ใ ดกรณี ห นึ่ง ดัง กล่า วมาแล้ ว ถ้ า ศาลไม่ มี เ ขตอ านาจพิ จ ารณาคดี นัน้ อย่ า งคดี
สามัญ ให้ ศาลมีคาสัง่ คืนคาฟ้องนั ้นไปเพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอานาจ
ในกรณีที่ จาเลยฟ้ องแย้ งเข้ ามาในคดีม โนสาเร่ และฟ้องแย้ ง นั ้นมิ ใช่คดีมโนสาเร่ ห รื อใน
กรณี ที่ศาลมี คาสัง่ ให้ พิ จารณาคดี สามัญรวมกับคดีมโนสาเร่ ให้ ศาลดาเนินการพิจารณาคดี
มโนสาเร่ ไปอย่างคดีสามัญ แต่เมื่อศาลพิจารณาถึงจานวนทุนทรัพย์ ลักษณะคดี สถานะของ
คู่ความหรือเหตุสมควรประการอื่นแล้ วเห็นว่า การนาบทบัญญัติในหมวดนี ้ไปใช้ บังคับแก่คดีใน
ส่วนของฟ้องแย้ งหรื อคดีสามัญเช่นว่านั ้นจะทาให้ การดาเนินคดีเป็ นไปด้ วยความรวดเร็ วและ
เป็ นธรรมแก่ค่คู วามทุกฝ่ าย ก็ให้ ศาลมีอานาจพิจารณาคดีในส่วนของฟ้องแย้ งหรื อคดีสามัญนั ้น
อย่างคดีมโนสาเร่ได้
Jus_Highlight

คาสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งของศาลตามวรรคสี่ ไม่กระทบถึงค่าขึ ้นศาลที่ค่คู วามแต่ละฝ่ าย


ต้ องชาระอยู่ก่อนที่ศาลจะมีคาสัง่ เช่นว่านั ้น

มาตรา ๑๙๓ ในคดีมโนสาเร่ ให้ ศาลกาหนดวันนัดพิจารณาโดยเร็ วและออกหมายเรี ยก


ไปยังจ าเลย ในหมายนั ้นให้ จดแจ้ ง ประเด็ นแห่งคดีและจ านวนทุนทรัพย์ หรื อราคาที่เรี ยกร้ อ ง
และข้ อความว่าให้ จาเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย ให้ การ และสืบพยานในวันเดียวกัน และให้
ศาลสัง่ ให้ โจทก์มาศาลในวันนัดพิจารณานั ้นด้ วย
ในวันนัดพิจารณา เมื่อโจทก์และจาเลยมาพร้ อมกันแล้ ว ให้ ศาลไกล่เกลี่ยให้ ค่คู วามได้ ตก
ลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในข้ อที่พิพาทนั ้นก่อน
ถ้ าคู่ความไม่อาจตกลงกันหรื อไม่อาจประนีประนอมยอมความกันได้ และจาเลยยังไม่ได้
ยื่นคาให้ การให้ ศาลสอบถามคาให้ การของจาเลย โดยจาเลยจะยื่นคาให้ การเป็ นหนังสือหรื อจะ
ให้ การด้ วยวาจาก็ได้ ในกรณียื่นคาให้ การเป็ นหนังสือให้ นามาตรา ๑๙๑ วรรคสอง มาใช้ บังคับ
โดยอนุโ ลม ในกรณี ให้ การด้ วยวาจา ให้ ศาลบันทึกคาให้ การรวมทั ้งเหตุการณ์ นัน้ ไว้ อ่า นให้
จาเลยฟั งแล้ วให้ จาเลยลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ
ถ้ าจาเลยไม่ให้ การตามวรรคสาม ให้ ศาลมีอานาจใช้ ดุลพินิจมีคาสัง่ ไม่ยอมเลื่อนเวลาให้
จาเลยยื่นคาให้ การ โดยให้ ถือว่าจาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การ และให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่
ชี ้ขาดโดยนามาตรา ๑๙๘ ทวิ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม แต่ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ให้ สืบพยาน ก็ให้
ศาลดาเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๙๓ ตรี มาตรา ๑๙๓ จัตวา และมาตรา ๑๙๓ เบญจ[๑๒๔]

มาตรา ๑๙๓ ทวิ ในคดี มโนสาเร่ เมื่อโจทก์ ได้ ทราบคาสัง่ ให้ มาศาลตามมาตรา ๑๙๓
แล้ ว ไม่มาในวันนัดพิจารณาโดยไม่ได้ รับอนุญาตจากศาลให้ เลื่อนคดีให้ ถือว่าโจทก์ ไม่ประสงค์
จะดาเนินคดีต่อไป ให้ ศาลมีคาสัง่ จาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ
Jus_Highlight

เมื่อจาเลยได้ รับหมายเรี ยกให้ มาศาลตามมาตรา ๑๙๓ แล้ วไม่มาในวันนัดพิจารณาโดย


ไม่ได้ รับอนุญาตจากศาลให้ เลื่อนคดี ถ้ าจาเลยไม่ได้ ยื่นคาให้ การไว้ ให้ ถือว่าจาเลยขาดนัดยื่น
คาให้ การและให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ โดยนามาตรา ๑๙๘ ทวิ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
แต่ถ้าจาเลยได้ ยื่นคาให้ การไว้ ก่อนหรือในวันนัดดังกล่าว ให้ ถือว่าจาเลยขาดนัดพิจารณา และ
ให้ บงั คับตามมาตรา ๒๐๔ มาตรา ๒๐๕ มาตรา ๒๐๖ และมาตรา ๒๐๗ และไม่ว่าจะเป็ นกรณี
ใด ถ้ าศาลมีคาสั่ง ให้ สืบพยานก็ ให้ ศาลดาเนินการต่อ ไปตามมาตรา ๑๙๓ ตรี มาตรา ๑๙๓
จัตวา และมาตรา ๑๙๓ เบญจ

มาตรา ๑๙๓ ตรี เมื่อศาลได้ รับคาให้ การของจาเลยตามมาตรา ๑๙๓ วรรคสาม หรื อ


ศาลมี ค าสั่งให้ สืบ พยานตามมาตรา ๑๙๓ วรรคสี่ หรื อ มาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคสอง ให้ ศาล
ดาเนินการพิจารณาคดีต่อไปโดยเร็ว และให้ ศาลสอบถามคู่ความฝ่ ายที่จะต้ องนาพยานเข้ าสื บ
ว่าประสงค์จะอ้ างอิงพยานหลักฐานใดแล้ วบันทึกไว้ หรื อสัง่ ให้ ค่คู วามจัดทาบัญชีระบุพยานยื่น
ต่อศาลภายในระยะเวลาตามที่เห็นสมควร โดยในกรณีที่มิใช่การพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ศาลจะ
กาหนดให้ ค่คู วามฝ่ ายใดนาพยานหลักฐานมาสืบก่อนหรือหลังก็ได้

มาตรา ๑๙๓ จัตวา ในคดีมโนสาเร่ เพื่อ ประโยชน์ แ ห่งความยุติธรรมให้ ศาลมีอานาจ


เรียกพยานหลักฐานมาสืบได้ เองตามที่เห็นสมควร
ในการสืบพยานไม่ว่าจะเป็ นพยานที่ค่คู วามฝ่ ายใดอ้ างหรือที่ศาลเรี ยกมาเองให้ ศาลเป็ นผู้
ซักถามพยานก่อน เสร็จแล้ วจึงให้ ตวั ความหรือทนายความซักถามเพิ่มเติมได้
ให้ ศาลมี อ านาจซักถามพยานเกี่ ยวกับ ข้ อ เท็ จ จริ ง ใดๆ ที่ เ กี่ ยวเนื่ อ งกับ คดี แม้ จ ะไม่ มี
คู่ความฝ่ ายใดยกขึ ้นอ้ างก็ตาม
ในการบันทึกคาเบิกความของพยาน เมื่อศาลเห็นสมควร จะบันทึกข้ อความแต่โดยย่อก็ได้
แล้ วให้ พยานลงลายมือชื่อไว้
Jus_Highlight

มาตรา ๑๙๓ เบญจ ในคดีมโนสาเร่ ให้ ศาลนัง่ พิจารณาคดีติดต่อกันไปโดยไม่ต้องเลื่อน


เว้ นแต่มีเหตุจาเป็ น ศาลจะมีคาสัง่ เลือ่ นได้ ครั ้งละไม่เกินเจ็ดวัน

มาตรา ๑๙๔ คดีมโนสาเร่นั ้น ให้ ศาลมีอานาจออกคาสัง่ หรื อคาพิพากษาด้ วยวาจาดังที่


บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๔๑

มาตรา ๑๙๕ นอกจากที่บญ


ั ญัติมาแล้ ว ให้ นาบทบัญญัติอื่นในประมวลกฎหมายนี ้มาใช้
บังคับแก่การพิจารณาและการชี ้ขาดตัดสินคดีมโนสาเร่ด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๑๙๖ ในคดีสามัญซึง่ โจทก์ฟ้องเพียงขอให้ ชาระเงินจานวนแน่นอนตามตั๋วเงินซึ่ง


การรับรองหรือการชาระเงินตามตั๋วเงินนั ้นได้ ถูกปฏิ เสธ หรื อตามสัญญาเป็ นหนังสือซึ่งปรากฏ
ในเบื ้องต้ นว่าเป็ นสัญญาอันแท้ จริ ง มีความสมบูรณ์ และบังคับได้ ตามกฎหมาย โจทก์ จะยื่นคา
ขอโดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาลพร้ อมกับคาฟ้องขอให้ ศาลพิจารณาคดีนั ้นโดยรวบรัดก็ได้
ถ้ าศาลเห็นว่าคดีตามวรรคหนึง่ นั ้นปรากฏในเบื ้องต้ นว่าเป็ นคดีไม่มีข้อยุ่งยาก ไม่ว่าโจทก์
จะได้ ยื่ น ค าขอตามวรรคหนึ่ง หรื อ ไม่ ให้ ศาลมี คาสั่ง ให้ น าบทบั ญญั ติใ นหมวดนี ว้ ่ า ด้ ว ยวิ ธี
พิจารณาคดีมโนสาเร่ เว้ นแต่มาตรา ๑๙๐ จัตวา มาใช้ บงั คับแก่คดีเช่นว่านั ้นได้
ถ้ าในระหว่างการพิจารณาปรากฏว่าคดีไม่ตกอยู่ภายใต้ บังคับ แห่งมาตรานี ้ ศาลอาจมี
คาสัง่ เพิกถอนคาสัง่ เดิมแล้ วดาเนินการพิจารณาต่อไปตามข้ อบังคับแห่งคดีสามัญได้
Jus_Highlight

หมวด ๒
การพิจารณาโดยขาดนัด

ส่ วนที่ ๑
การขาดนัดยอ่นคาให้ การ

มาตรา ๑๙๗ เมื่อจาเลยได้ รับหมายเรี ยกให้ ยื่นคาให้ การแล้ ว จาเลยมิได้ ยื่นคาให้ การ
ภายในระยะเวลาที่ ก าหนดไว้ ตามกฎหมายหรื อ ตามคาสั่ง ศาล ให้ ถือ ว่ า จ าเลยขาดนัดยื่ น
คาให้ การ

มาตรา ๑๙๘ ถ้ าจาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การ ให้ โจทก์ มีคาขอต่อศาลภายในสิบห้ าวันนับ


แต่ระยะเวลาที่กาหนดให้ จาเลยยื่นคาให้ การได้ สิ ้นสุดลง เพื่อให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้
ขาดให้ ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัด
ถ้ าโจทก์ไม่ยื่นคาขอต่อศาลภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ ว ให้ ศาลมีคาสัง่ จาหน่าย
คดีนั ้นเสียจากสารบบความ
ถ้ าโจทก์ยื่นคาขอต่อศาลภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ ว ให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ ชี ้ขาดคดีโดยขาดนัดไปตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ แต่ถ้าศาลมีเหตุสงสัยว่าจาเลยจะไม่ทราบ
หมายเรียกให้ ยื่นคาให้ การ ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ มีการส่งหมายเรี ยกใหม่ โดยวิธีส่งหมายธรรมดา
หรื อ โดยวิ ธี อื่ น แทนและจะกาหนดเงื่ อ นไขอย่ างใดตามที่ เ ห็ นสมควรเพื่ อ ให้ จ าเลยได้ ท ราบ
หมายเรียกนั ้นก็ได้

มาตรา ๑๙๘ ทวิ ศาลจะมีคาพิ พากษาหรื อคาสั่งชี ข้ าดให้ โ จทก์ เ ป็ นฝ่ ายชนะคดี โดย
จาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การมิได้ เว้ นแต่ศาลเห็นว่าคาฟ้องของโจทก์ มีมูลและไม่ขัดต่อกฎหมาย
Jus_Highlight

ในการนี ศ้ าลจะยกขึ น้ อ้ า งโดยลาพั ง ซึ่ ง ข้ อกฎหมายอัน เกี่ ย วด้ วยความสงบเรี ย บร้ อยของ
ประชาชนก็ได้
เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการพิ พากษาหรื อ มีคาสั่ง ชี ข้ าดคดี ตามวรรคหนึ่ง ศาลอาจสืบ พยาน
เกี่ยวกับข้ ออ้ างของโจทก์ หรื อพยานหลักฐานอื่นไปฝ่ ายเดียวตามที่เห็นว่าจาเป็ นก็ได้ แต่ในคดี
เกี่ ย วด้ วยสิ ท ธิ แ ห่ ง สภาพบุ ค คล สิ ท ธิ ใ นครอบครั ว หรื อ คดี พิ พ าทเกี่ ย วด้ วยกรรมสิ ท ธิ์ ใ น
อสังหาริมทรัพย์ ให้ ศาลสืบพยานหลักฐานโจทก์ ไปฝ่ ายเดียว และศาลอาจเรี ยกพยานหลักฐาน
อื่นมาสืบได้ เองตามที่เห็นว่าจาเป็ น เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ในการกาหนดจานวนเงินตามคาขอบังคับของโจทก์ ให้ ศาลปฏิบตั ิดงั นี ้
(๑) ในกรณีที่โจทก์มีคาขอบังคับให้ จาเลยชาระหนี ้เป็ นเงินจานวนแน่นอนให้ ศาลมีคาสัง่
ให้ โจทก์สง่ พยานเอกสารตามที่ศาลเห็นว่าจาเป็ นแทนการสืบพยาน
(๒) ในกรณีที่โจทก์ มี คาขอบัง คับให้ จาเลยชาระหนี ้เป็ นเงิ นอันไม่อ าจกาหนดจานวนได้
โดยแน่นอน ให้ ศาลสืบพยานหลักฐานโจทก์ ไปฝ่ ายเดียว และศาลอาจเรี ยกพยานหลักฐานอื่น
มาสืบได้ เองตามที่เห็นว่าจาเป็ น
ถ้ าจาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การไม่มาศาลในวันสืบพยานตามมาตรานี ้ มิให้ ถือว่าจาเลย
นั ้นขาดนัดพิจารณา
ถ้ าโจทก์ไม่นาพยานหลักฐานมาสืบตามความในมาตรานี ้ภายในระยะเวลาที่ศาลกาหนด
ให้ ถือว่าคดีของโจทก์ไม่มีมลู และให้ ศาลยกฟ้องของโจทก์

มาตรา ๑๙๘ ตรี ในคดีที่จาเลยบางคนขาดนัดยื่นคาให้ การ ให้ ศาลมีคาพิพากษาหรื อ


คาสัง่ ชี ้ขาดคดีโดยขาดนัดยื่นคาให้ การระหว่างโจทก์กบั จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การนั ้นไปก่อน
และดาเนินการพิจารณาคดีระหว่างโจทก์ กับจาเลยที่ยื่นคาให้ การต่อไปแต่ถ้ามูลความแห่งคดี
นั ้นเป็ นการชาระหนี ้ซึ่ง แบ่งแยกจากกัน มิได้ ให้ ศาลรอการพิ พากษาหรื อมีคาสัง่ ชี ้ขาดคดีโดย
Jus_Highlight

ขาดนัดยื่นคาให้ การไว้ ก่อน เมื่อศาลดาเนินการพิจารณาสาหรับจาเลยที่ยื่นคาให้ การเสร็ จสิ ้น


แล้ ว ก็ให้ ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสัง่ ชี ้ขาดคดีไปตามรูปคดีสาหรับจาเลยทุกคน
ในกรณีที่จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การไม่มาศาลในวันสืบพยานของคู่ความอื่นมิให้ ถือว่า
จาเลยนั ้นขาดนัดพิจารณา

มาตรา ๑๙๙ ถ้ าจาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การมาศาลก่อนศาลวินิจฉัยชี ้ขาดคดีและแจ้ ง


ต่อศาลในโอกาสแรกว่าตนประสงค์ จะต่อสู้คดี เมื่อศาลเห็นว่าการขาดนั ดยื่นคาให้ การนั ้นมิได้
เป็ นไปโดยจงใจหรื อ มี เ หตุอัน สมควร ให้ ศาลมี คาสั่ง อนุญาตให้ จ าเลยยื่น คาให้ การภายใน
กาหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควรและดาเนินกระบวนพิจารณาใหม่ตั ้งแต่เวลาที่จาเลยขาดนัด
ยื่นคาให้ การ
ในกรณีตามวรรคหนึง่ ถ้ าจาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การมิได้ แจ้ งต่อศาลก็ดี หรื อศาลเห็นว่า
การขาดนัดยื่นคาให้ การนั ้นเป็ นไปโดยจงใจหรื อไม่มีเหตุอันสมควรก็ดี ให้ ศาลดาเนินกระบวน
พิจารณาต่อไป ในกรณีเช่นนี ้ จาเลยอาจถามค้ านพยานโจทก์ ที่อยู่ระหว่างการสืบได้ แต่จะนา
สืบพยานหลักฐานของตนไม่ได้
ในกรณีที่จาเลยมิได้ ยื่นคาให้ การภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง หรื อศาลไม่อนุญาต
ให้ จาเลยยื่ นคาให้ การตามวรรคสอง หรื อศาลเคยมีคาสั่งให้ พิ จารณาคดีใ หม่ ตามคาขอของ
จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การตามมาตรา ๑๙๙ ตรี มาก่อน จ าเลยนั ้นจะขอยื่นคาให้ การตาม
มาตรานี ้อีกหรือจะร้ องขอให้ พิจารณาคดีใหม่ไม่ได้

มาตรา ๑๙๙ ทวิ เมื่ อศาลพิ พากษาให้ จ าเลยที่ข าดนัดยื่ น คาให้ การแพ้ คดี ศาลอาจ
กาหนดการอย่างใด ตามที่เห็นสมควรเพื่อส่งคาบังคับตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ให้ แก่จาเลยที่
ขาดนัดยื่นคาให้ การ โดยวิธีสง่ หมายธรรมดาหรื อโดยวิธีอื่นแทน หรื อศาลจะให้ เลื่อนการบังคับ
ตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ เช่นว่านั ้นไปภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรก็ได้
Jus_Highlight

การบัง คับ ตามคาพิพ ากษาหรื อ คาสัง่ แก่จ าเลยที่ขาดนัดยื่ นคาให้ การนัน้ ให้ บัง คับ ตาม
มาตรา ๒๗๓ มาตรา ๒๙๒ และมาตรา ๓๑๗

มาตรา ๑๙๙ ตรี จาเลยซึ่งศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดให้ แพ้ คดีโดยขาดนัดยื่น


คาให้ การ ถ้ ามิ ได้ ยื่นอุทธรณ์ คาพิพากษาหรื อ คาสั่งนั ้น จาเลยนั ้นอาจมีคาขอให้ พิจ ารณาคดี
ใหม่ได้ เว้ นแต่
(๑) ศาลเคยมีคาสัง่ ให้ พิจารณาคดีนั ้นใหม่มาครั ้งหนึ่งแล้ ว
(๒) คาขอให้ พิจารณาคดีใหม่นั ้นต้ องห้ ามตามกฎหมาย

มาตรา ๑๙๙ จัตวา คาขอให้ พิจารณาคดีใหม่นั ้น ให้ ยื่นต่อศาลภายในสิบห้ าวันนับจาก


วันที่ได้ สง่ คาบังคับตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ให้ แก่จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การ แต่ถ้าศาลได้
กาหนดการอย่ างใด ๆ เพื่ อ ส่งคาบัง คับ เช่ น ว่า นี โ้ ดยวิ ธีส่ง หมายธรรมดาหรื อ โดยวิ ธี อื่น แทน
จะต้ องได้ มีการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดนั ้นแล้ ว ในกรณีที่จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้ การไม่สามารถ
ยื่นคาขอภายในระยะเวลาที่กาหนดโดยพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ จาเลยนั ้นอาจยื่น
คาขอให้ พิจารณาคดีใหม่ได้ ภายในกาหนดสิบห้ าวันนับแต่วันที่พฤติการณ์ นั ้นได้ สิ ้นสุดลง แต่
กรณีจะเป็ นอย่างไรก็ตาม ห้ ามมิให้ ยื่นคาขอเช่นว่านี ้เมื่อพ้ นกาหนดหกเดือนนับแต่วันที่ได้ ยึด
ทรัพย์หรือได้ มีการบังคับตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ โดยวิธีอื่น
คาขอตามวรรคหนึ่งให้ กล่าวโดยชัดแจ้ งซึ่งเหตุที่ จาเลยได้ ข าดนัดยื่ นคาให้ การและข้ อ
คัดค้ า นคาตัดสิน ชี ้ขาดของศาลที่แสดงให้ เห็น ว่าหากศาลได้ พิจารณาคดีนั ้นใหม่ตนอาจเป็ น
ฝ่ ายชนะ และในกรณีที่ยื่นคาขอล่าช้ า ให้ แสดงเหตุแห่งการที่ลา่ ช้ านั ้นด้ วย
Jus_Highlight

มาตรา ๑๙๙ เบญจ เมื่อศาลได้ รับคาขอให้ พิจารณาคดีใหม่แล้ ว หากเห็นสมควรศาล


จะมีคาสัง่ ให้ งดการบังคับคดีไว้ ก่อนก็ได้ ในกรณีเช่นนี ้ ให้ ศาลแจ้ งคาสัง่ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับ
คดีทราบ
ในการพิจารณาคาขอให้ พิจารณาคดีใหม่ ถ้ ามีเหตุควรเชื่อว่าการขาดนัดยื่นคาให้ การนั ้น
มิได้ เป็ นไปโดยจงใจหรือมีเหตุอนั สมควร และศาลเห็นว่าเหตุผลที่อ้างมาในคาขอนั ้นผู้ขออาจมี
ทางชนะคดีไ ด้ ทัง้ ในกรณี ที่ยื่น คาขอล่า ช้ านัน้ ผู้ข อได้ ยื่นภายในระยะเวลาที่กาหนดให้ ศาลมี
คาสั่งอนุญาตตามค าขอ ในกรณีเ ช่นนี ้ ถ้ ามีการอุทธรณ์ ห รื อ ฎี กาคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ที่ใ ห้
คู่ความฝ่ ายที่ขาดนัดยื่นคาให้ การแพ้ คดี ให้ ศาลแจ้ งคาสัง่ ดังกล่าวให้ ศาลอุทธรณ์ หรื อศาลฎี กา
แล้ วแต่กรณี ทราบด้ วย
เมื่อศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอให้ พิจารณาคดีใหม่ตามวรรคสองคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ ของศาลโดยจาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การและคาพิพากษาหรื อคาสัง่ อื่น ๆของศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกาในคดีเดียวกันนั ้น และวิธีการบังคับคดีที่ได้ ดาเนินไปแล้ ว ให้ ถือว่าเป็ นอันเพิกถอน
ไปในตัว และให้ ศาลแจ้ งให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทราบ แต่ถ้าเป็ นการพ้ นวิสยั ที่จะให้ ค่คู วาม
กลับคืนสูฐ่ านะเดิมดังเช่นก่อนบังคับคดีได้ หรือเมื่อศาลเห็นว่าไม่จาเป็ นที่จะบังคับเช่ นนั ้น เพื่อ
ประโยชน์แก่ค่คู วามหรื อบุคคลภายนอก ให้ ศาลมีอานาจสัง่ อย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควร แล้ ว
ให้ ศาลพิจารณาคดีนั ้นใหม่ตั ้งแต่เวลาที่จาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การ โดยให้ จาเลยยื่นคาให้ การ
ภายในกาหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร
คาสัง่ ศาลที่อนุญาตให้ พิจารณาคดีใหม่ให้ เป็ นที่ สดุ แต่ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ไม่อนุญาตผู้
ขออาจอุทธรณ์คาสัง่ ดังกล่าวได้ คาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ
ถ้ าจาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การโดยจงใจหรื อไม่มีเหตุอันสมควรเป็ นเหตุให้ ค่คู วามอีกฝ่ าย
หนึง่ ต้ องเสียค่าฤชาธรรมเนียมมากกว่าที่ควรจะต้ องเสีย ค่าฤชาธรรมที่เพิ่มขึ น้ นั ้นให้ ถือว่าเป็ น
ค่าฤชาธรรมเนียมอันไม่จาเป็ นตามความหมายแห่งมาตรา ๑๖๖
Jus_Highlight

มาตรา ๑๙๙ ฉ ในกรณี ที่โจทก์ มิ ได้ ใ ห้ การแก้ ฟ้องแย้ ง ของจาเลยภายในระยะเวลาที่


กาหนดไว้ ให้ นาบทบัญญัติในส่วนที่ ๑ นี ้มาใช้ บงั คับเพียงเท่าที่เกี่ยวกับฟ้องแย้ งเช่นว่านั ้นโดย
อนุโลม

ส่ วนที่ ๒
การขาดนัดพิจารณา

มาตรา ๒๐๐ ภายใต้ บงั คับมาตรา ๑๙๘ ทวิ และมาตรา ๑๙๘ ตรี ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึง่ ไม่มาศาลในวันสืบพยาน และไม่ได้ รับอนุญาตจากศาลให้ เลือ่ นคดี ให้ ถือว่าคู่ความฝ่ ายนั ้น
ขาดนัดพิจารณา
ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาลในวันนัดอื่นที่มิ ใช่วันสืบ พยาน ให้ ถือว่ าคู่ความฝ่ ายนั ้นสละ
สิทธิการดาเนินกระบวนพิจารณาของตนในนัดนั ้น และทราบกระบวนพิจารณาที่ศาลได้ ดาเนิน
ไปในนัดนั ้นด้ วยแล้ ว

มาตรา ๒๐๑ ถ้ าคู่ความทั ้งสองฝ่ ายขาดนัดพิจารณา ให้ ศาลมีคาสัง่ จาหน่ายคดีนั ้นเสีย


จากสารบบความ

มาตรา ๒๐๒ ถ้ าโจทก์ ขาดนัดพิ จารณา ให้ ศาลมีคาสั่งจาหน่ายคดีนั ้นเสียจากสารบบ


ความ เว้ นแต่จาเลยจะได้ แจ้ งต่อศาลในวันสืบพยานขอให้ ดาเนินการพิจารณาคดีต่อไปก็ให้ ศาล
พิจารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีนั ้นไปฝ่ ายเดียว

มาตรา ๒๐๓ ห้ ามมิใ ห้ โ จทก์ อุทธรณ์ คาสั่งจ าหน่า ยคดีตามมาตรา ๒๐๑ และมาตรา
๒๐๒ แต่ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยอายุความ คาสัง่ เช่นว่านี ้ไม่ตัดสิทธิ โจทก์
ที่จะเสนอคาฟ้องของตนใหม่
Jus_Highlight

มาตรา ๒๐๔ ถ้ าจาเลยขาดนัดพิจารณา ให้ ศาลพิจารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีนั ้นไปฝ่ าย


เดียว

มาตรา ๒๐๕ ในกรณีดงั กล่าวมาในมาตรา ๒๐๒ และมาตรา ๒๐๔ ถ้ ายังไม่เป็ นที่พอใจ


ของศาลว่าได้ สง่ หมายกาหนดวันนัดสืบพยานไปให้ ค่คู วามฝ่ ายที่ขาดนัดทราบโดยชอบแล้ วให้
ศาลมีคาสัง่ เลือ่ นวันสืบพยานไป และกาหนดวิธีการอย่างใดตามที่เห็นสมควร เพื่อให้ มีการส่ง
หมายกาหนดวันนัดสืบพยานใหม่แก่ค่คู วามฝ่ ายที่ขาดนัดพิจารณาโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรื อ
โดยวิธีอื่นแทน ถ้ าได้ กระทาดังเช่นว่ามาแล้ ว คู่ความฝ่ ายนั ้นยังไม่มาศาลก่อนเริ่ มสืบพยานใน
วันที่กาหนดไว้ ในหมายนั ้น ก็ให้ ศาลดาเนินคดีนั ้นไปดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๐๒ หรื อมาตรา
๒๐๔ แล้ วแต่กรณี

มาตรา ๒๐๖ คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง จะร้ องต่ อศาลให้ วินิจฉัยชี ้ขาดคดีให้ ตนเป็ นฝ่ าย
ชนะโดยอาศัยเหตุแต่เพียงว่าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งขาดนัดพิจารณานั ้นหาได้ ไม่ ให้ ศาลวินิจฉัยชี ้
ขาดคดีให้ ค่คู วามที่มาศาลเป็ นฝ่ ายชนะต่อเมื่อศาลเห็นว่าข้ ออ้ างของคู่ความเช่นว่านี ้มีมูลและ
ไม่ขดั ต่อกฎหมาย ในการนี ้ ศาลจะยกขึ ้นอ้ างโดยลาพัง ซึ่งข้ อกฎหมายอันเกี่ยวด้ วยความสงบ
เรียบร้ อยของประชาชนก็ได้
เพื่อประโยชน์ ในการวิ นิจฉัยชี ้ขาดคดีตามวรรคหนึ่ง ให้ น าบทบัญญั ติมาตรา ๑๙๘ ทวิ
วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้ บงั คับแก่คดีของคู่ความฝ่ ายที่มาศาลโดยอนุโลม
ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้ าคู่ความฝ่ ายที่ขาดนัดพิจารณามาศาลภายหลังที่
เริ่มต้ นสืบพยานไปบ้ างแล้ ว และแจ้ ง ต่อศาลในโอกาสแรกว่าตนประสงค์ จะดาเนินคดีเมื่อศาล
เห็นว่าการขาดนัดพิจารณานั ้นมิได้ เป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุอันสมควรและศาลไม่เคยมีคาสัง่
ให้ พิจารณาคดีใหม่ตามคาขอของคู่ความฝ่ ายนั ้นมาก่อนตามมาตรา ๑๙๙ ตรี ซึ่งให้ นามาใช้
Jus_Highlight

บังคับกับการขาดนัดพิจารณาตามมาตรา ๒๐๗ ด้ วย ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ พิจารณาคดีนั ้นใหม่ใน


กรณีเช่นนี ้ หากคู่ความนั ้นขาดนัดพิจารณาอีก จะขอให้ พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรานี ้ไม่ได้
ในกรณีตามวรรคสาม ถ้ าคู่ความฝ่ ายที่ขาดนัดพิจารณามิได้ แจ้ งต่อศาลก็ดีหรื อศาลเห็น
ว่าการขาดนัดพิจารณานั ้นเป็ นไปโดยจงใจหรือไม่มีเหตุอนั สมควรก็ดี หรื อคาขอให้ พิจารณาคดี
ใหม่นั ้นต้ องห้ ามตามกฎหมายก็ดี ให้ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แต่
(๑) ห้ ามไม่ให้ ศาลอนุญาตให้ ค่คู วามที่ขาดนัดพิจารณานาพยานเข้ าสืบถ้ าคู่ความนั ้นมา
ศาลเมื่อพ้ นเวลาที่จะนาพยานของตนเข้ าสืบแล้ ว
(๒) ถ้ าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณามาศาลเมื่อคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งได้ นาพยานหลักฐานเข้ า
สืบไปแล้ ว ห้ ามไม่ ให้ ศาลยอมให้ ค่คู วามที่ ขาดนัดพิจารณาคัดค้ านพยานหลักฐานเช่ นว่านัน้
โดยวิธีถามค้ านพยานของคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ที่ได้ สบื ไปแล้ วหรื อโดยวิธีคัดค้ านการระบุเอกสาร
หรือคัดค้ านคาขอที่ให้ ศาลไปทาการตรวจหรื อให้ ตั ้งผู้เชี่ยวชาญของศาล แต่ถ้าคู่ความอีกฝ่ าย
หนึง่ นาพยานหลักฐานเข้ าสืบยังไม่บริบรู ณ์ ให้ ศาลอนุญาตให้ ค่คู วามที่ขาดนัดพิจารณาหักล้ าง
ได้ แต่เฉพาะพยานหลักฐานที่นาสืบภายหลังที่ตนมาศาล
(๓) ในกรณีเช่นนี ้ คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาไม่มีสทิ ธิที่จะร้ องขอให้ พิจารณาคดีใหม่

มาตรา ๒๐๗ เมื่ อ ศาลพิ พ ากษาให้ คู่ ค วามฝ่ ายที่ ข าดนั ด พิ จ ารณาแพ้ คดี ให้ น า
บทบัญ ญั ติ ม าตรา ๑๙๙ ทวิ มาใช้ บั ง คั บ โดยอนุ โ ลม และคู่ ค วามฝ่ ายนั น้ อาจมี ค าขอให้
พิจารณาคดีใหม่ ได้ ทั ้งนี ้ ให้ น าบทบัญญัติมาตรา ๑๙๙ ตรี มาตรา ๑๙๙ จัตวา และมาตรา
๑๙๙ เบญจ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๐๘ (ยกเลิก)

มาตรา ๒๐๙ (ยกเลิก)


Jus_Highlight

หมวด ๓
อนุญาโตตุลาการ

มาตรา ๒๑๐ บรรดาคดีทั ้งปวงซึง่ อยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลชั ้นต้ น คู่ความจะตกลง


กันเสนอข้ อพิพาทอันเกี่ยวกับประเด็นทั ้งปวงหรือแต่ข้อใดข้ อหนึ่ง ให้ อนุญาโตตุลาการคนเดียว
หรือหลายคนเป็ นผู้ชี ้ขาดก็ได้ โดยยื่นคาขอร่ วมกั นกล่าวถึงข้ อความแห่งข้ อตกลงเช่นว่านั ้นต่อ
ศาล
ถ้ าศาลเห็นว่าข้ อตกลงนั ้นไม่ผิดกฎหมาย ให้ ศาลอนุญาตตามคาขอนั ้น

มาต รา ๒๑๑ ถ้ าในข้ อ ตกลงมิ ไ ด้ ก าห นดข้ อความไว้ เ ป็ นอ ย่ า งอื่ น การตั ง้


อนุญาโตตุลาการให้ ใช้ ข้อบังคับดังต่อไปนี ้
(๑) คู่ความชอบที่จะตั ้งอนุญาโตตุลาการได้ ฝ่ายละคน แต่ ถ้าคดีมีโ จทก์ ร่วมหรื อจาเลย
ร่วมหลายคน ให้ ตั ้งอนุญาโตตุลาการเพียงคนหนึง่ แทนโจทก์ร่วมทั ้งหมดและคนหนึ่งแทนจาเลย
ร่วมทั ้งหมด
(๒) ถ้ าคู่ความจะตั ้งอนุญาโตตุลาการคนเดียวหรื อหลายคน ด้ วยความเห็นชอบพร้ อมกัน
การตั ้งเช่นว่านี ้ให้ ทาเป็ นหนังสือลงวัน เดือน ปี และให้ ค่คู วามลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ
(๓) ถ้ าตกลงกันให้ ค่คู วามฝ่ ายหนึง่ หรือบุคคลภายนอกเป็ นผู้ตั ้งอนุญาโตตุลาการ การตั ้ง
เช่นว่านี ้ ให้ ทาเป็ นหนังสือลงวัน เดือน ปี และลงลายมือชื่อของคู่ความหรื อบุคคลภายนอกนั ้น
แล้ วส่งไปให้ ค่คู วามอื่น ๆ
(๔) ถ้ าศาลไม่เห็นชอบด้ วยบุคคลที่ค่คู วามตั ้งหรื อที่เสนอตั ้งเป็ นอนุญาโตตุลาการให้ ศาล
สัง่ ให้ ค่คู วามตั ้งบุคคลอื่นหรื อเสนอบุคคลอื่น ตั ้งเป็ นอนุญาโตตุลาการ ถ้ าคู่ความมิได้ ตัง้ หรื อ
เสนอให้ ตั ้งบุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการ ให้ ศาลมีอานาจตั ้งบุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการได้
ตามที่เห็ นสมควร แล้ ว ให้ ศาลส่ง คาสัง่ เช่ นว่า นี ้ไปยัง อนุญาโตตุลาการที่ ตั ้งขึน้ และคู่ความที่
เกี่ยวข้ องโดยทางเจ้ าพนักงานศาล
Jus_Highlight

มาตรา ๒๑๒ ข้ อความใน หมวดนี ม้ ิ ไ ด้ ให้ อ าน าจศาลที่ จ ะตั ง้ บุ ค คลใดเป็ น


อนุญาโตตุลาการโดยมิได้ รับความยินยอมจากบุคคลนั ้น

มาตรา ๒๑๓ เมื่ อบุคคลหรื อ คู่ความที่ มีสิทธิ ได้ ตั ้งอนุ ญาโตตุลาการขึ ้นแล้ วห้ ามมิใ ห้
บุคคลหรือคู่ความนั ้นถอนการตั ้งเสีย เว้ นแต่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึง่ จะได้ ยินยอมด้ วย
อนุญาโตตุลาการที่ตัง้ ขึน้ โดยชอบนัน้ ถ้ า เป็ นกรณี ที่ ศาลหรื อบุคคลภายนอกเป็ นผู้ตัง้
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะคัดค้ านก็ได้ หรื อถ้ าเป็ นกรณีที่ค่คู วามฝ่ ายหนึ่ งเป็ นผู้ตั ้ง คู่ความอีก
ฝ่ ายหนึง่ จะคัดค้ านก็ได้ โดยอาศัยเหตุดงั ที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๑๑ หรื อเหตุที่อนุญาโตตุลาการ
นั ้นเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ หรือไม่สามารถทาหน้ าที่อนุญาโตตุลาการได้ ในกรณีที่มีการคัดค้ าน
อนุญาโตตุลาการดังว่านี ้ ให้ นาบทบัญญัติว่าด้ วยการคัดค้ านผู้พิพากษามาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
ถ้ าการคัดค้ านอนุญาโตตุลาการนั ้นฟั งขึ ้น ให้ ตั ้งอนุญาโตตุลาการขึ ้นใหม่

มาตรา ๒๑๔ ถ้ าในข้ อตกลงมิ ไ ด้ ก าหนดค่ า ธรรมเนี ย มอนุ ญ าโตตุ ล าการไว้


อนุญาโตตุลาการชอบที่ จะเสนอความข้ อนี ต้ ่อ ศาลโดยทาเป็ นคาร้ อง และให้ ศาลมี อานาจมี
คาสัง่ ให้ ชาระค่าธรรมเนียมตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๒๑๕ เมื่อได้ ตั ้งอนุญาโตตุลาการขึ ้นแล้ ว ถ้ าในข้ อตกลงหรื อในคาสัง่ ศาลแล้ วแต่
กรณี มิได้ กาหนดประเด็นข้ อพิพาทไว้ ให้ อนุญาโตตุลาการกาหนดประเด็นข้ อพิพาทเหล่านั ้น
แล้ วจดลงในรายงานพิสดารกลัดไว้ ในสานวนคดีอนุญาโตตุลาการ

มาตรา ๒๑๖ ก่อนที่จะทาคาชี ข้ าด ให้ อนุญาโตตุลาการฟั งคู่ความทั ้งปวงและอาจท า


การไต่สวนตามที่เห็นสมควรในข้ อพิพาทอันเสนอมาให้ พิจารณานั ้น
Jus_Highlight

อนุญาโตตุลาการ อาจตรวจเอกสารทั ้งปวงที่ยื่นขึ ้นมาและฟั งพยาน หรื อผู้เชี่ยวชาญซึ่ง


เต็ ม ใจมาให้ การ ถ้ า อนุญาโตตุลาการขอให้ ศาลส่ง คาคู่ความ หรื อ บรรดา เอกสารอื่น ๆ ใน
สานวนเช่นว่านี ้มาให้ ตรวจดู ให้ ศาลจัดการให้ ตามคาร้ องขอนั ้น
ถ้ าอนุญาโตตุลาการเห็นว่าจาต้ องดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างใด ที่ต้องดาเนินทางศาล
(เช่นหมายเรียกพยาน หรือให้ พยานสาบานตน หรือให้ ส่งเอกสาร) อนุญาโตตุลาการอาจยื่นคา
ขอโดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาล ให้ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาเช่นว่านั ้น ถ้ าศาลเห็นว่ากระบวน
พิจารณานั ้นอยู่ในอานาจศาลและพึงรับทาให้ ได้ แล้ ว ให้ ศาลจัดการให้ ตามคาขอเช่นว่านี ้โดย
เรี ยกค่าธรรมเนียมศาลตามอัตราที่กาหนดไว้ สาหรับกระบวนพิจารณาที่ข อให้ จัดการนั ้นจาก
อนุญาโตตุลาการ
ภายใต้ บัง คับ บทบัญญั ติม าตรา ๒๑๕ และมาตรานี ้ อนุญาโตตุลาการมี อ านาจที่ จ ะ
ดาเนินตามวิธีพิจารณาใดๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ เว้ นแต่ในข้ อตกลงจะกาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น

มาตรา ๒๑๗ ถ้ าในข้ อตกลงมิได้ กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่นคาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการ


นั ้นให้ อยู่ภายในบังคับต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีที่มีอนุญาโตตุลาการหลายคน ให้ ชี ้ขาดตามคะแนนเสียงฝ่ ายข้ างมาก
(๒) ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ อนุญาโตตุลาการตั ้งบุคคลภายนอกเป็ นประธานขึ ้นคนหนึ่ง
เพื่อออกคะแนนเสียงชี ้ขาด ถ้ าอนุญาโตตุลาการไม่ตกลงกันในการตั ้งประธาน ให้ ยื่นคาขอโดย
ทาเป็ นคาร้ องต่อศาลให้ มีคาสัง่ ตั ้งประธาน

มาตรา ๒๑๘ ให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐, ๑๔๑ และ ๑๔๒ ว่าด้ วยคาพิพากษาและ
คาสัง่ ของศาลมาใช้ บงั คับแก่คาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการโดยอนุโลม
ให้ อนุญาโตตุลาการยื่นคาชี ้ขาดของตนต่อศาล และให้ ศาลพิพากษาตามคาชี ้ขาดนั ้น
Jus_Highlight

แต่ถ้าศาลเห็นว่า คาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการขัดต่อกฎหมายประการใดประการหนึ่ง


ให้ ศาลมีอานาจทาคาสัง่ ปฏิ เสธไม่ยอมพิพากษาตามคาชี ้ขาดนั ้น แต่ถ้าคาชี ้ขาดนั ้นอาจแก้ ไข
ให้ ถกู ต้ องได้ ศาลอาจให้ อนุญาโตตุลาการหรือคู่ความที่เกี่ยวข้ องแก้ ไขเสียก่อนภายในเวลาอัน
สมควรที่ศาลจะกาหนดไว้

มาตรา ๒๑๙ ถ้ าในข้ อตกลงมิได้ กาหนดข้ อความไว้ เป็ นอย่างอื่น ในกรณีที่ไม่อาจดาเนิน


ตามข้ อตกลง เสนอข้ อพิพาทให้ อนุญาโตตุลาการชี ้ขาด เพราะบุคคลภายนอกซึ่งรับมอบหมาย
ให้ เป็ นผู้ตั ้งอนุญาโตตุลาการมิได้ ตั ้งอนุญาโตตุลาการขึ ้น หรืออนุญาโตตุลาการที่ตั ้งขึ ้นคนเดียว
หรือหลายคนนั ้นปฏิ เสธไม่ยอมรับหน้ าที่ หรื อตายเสียก่อน หรื อตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถหรื อ
ด้ วยเหตุประการอื่นไม่อาจที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนได้ ก่อนให้ คาชี ้ขาด หรื อปฏิ เสธหรื อเพิกเฉย
ไม่กระทาตามหน้ าที่ของตนภายในเวลาอันสมควร ถ้ าคู่ความไม่สามารถทาความตกลงกันเป็ น
อย่างอื่น ให้ ถือว่าข้ อตกลงนั ้นเป็ นอันสิ ้นสุด

มาตรา ๒๒๐ ถ้ ามีข้อพิพาทเกิดขึ ้นเนื่องจากการดาเนินตามข้ อตกลงเสนอข้ อพิพาทให้


อนุญาโตตุลาการชี ้ขาด หรือมีข้อพิพาทกันว่า ข้ อตกลงนั ้นได้ สิ ้นสุดลงตามมาตราก่อนแล้ วหรื อ
หาไม่ ข้ อพิพาทนั ้นให้ เสนอต่อศาลที่เห็นชอบด้ วยข้ อตกลงดังกล่าวแล้ ว

มาตรา ๒๒๑ การเสนอข้ อ พิ พาทให้ อ นุญาโตตุลาการชี ข้ าดนอกศาล ให้ เ ป็ นไปตาม


กฎหมายว่าด้ วยอนุญาโตตุลาการ

มาตรา ๒๒๒ ห้ ามมิให้ อทุ ธรณ์คาสัง่ ศาลซึง่ ปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาตามคาสัง่ ชี ้ขาดของ


อนุญาโตตุลาการ หรื อคาพิพากษาของศาลตามคาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการ เว้ นแต่ในเหตุ
ต่อไปนี ้
Jus_Highlight

(๑) เมื่อ มีข้ ออ้ างแสดงว่า อนุญาโตตุลาการหรื อประธานมิ ได้ กระท าการโดยสุจริ ตหรื อ
คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ใช้ กลฉ้ อฉล
(๒) เมื่อคาสัง่ หรือคาพิพากษานั ้นฝ่ าฝื นต่อบทกฎหมายอันเกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อย
ของประชาชน
(๓) เมื่อคาพิพากษานั ้นไม่ตรงกับคาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
Jus_Highlight

ภาค ๓
อุทธรณ์ และฎีกา

ลักษณะ ๑
อุทธรณ์

มาตรา ๒๒๓ ภายใต้ บังคับบทบัญญั ติมาตรา ๑๓๘, ๑๖๘, ๑๘๘ และ ๒๒๒และใน
ลักษณะนี ้ คาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลชั ้นต้ นนั ้น ให้ ยื่นอุท ธรณ์ ต่อศาลอุทธรณ์ เว้ นแต่คา
พิพากษาหรือคาสัง่ นั ้นประมวลกฎหมายนี ้หรือกฎหมายอื่นจะได้ บัญญัติว่าให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๒๓ ทวิ ในกรณี ที่มีการอุท ธรณ์ เฉพาะปั ญหาข้ อกฎหมาย ผู้อุทธรณ์ อ าจขอ
อนุญาตยื่นอุท ธรณ์ โดยตรงต่อศาลฎี กา โดยท าเป็ นคาร้ องมาพร้ อ มคาฟ้ องอุทธรณ์ เมื่อศาล
ชั ้นต้ นซึ่งมีคาพิพ ากษาหรื อคาสั่งได้ สงั่ รับอุทธรณ์ และส่งสาเนาคาฟ้องอุทธรณ์ และคาร้ องแก่
จาเลยอุทธรณ์แล้ ว หากไม่มีค่คู วามอื่นยื่นอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒๒๓ และจาเลย
อุทธรณ์มิได้ คดั ค้ านคาร้ องดังกล่าวต่อศาลภายในกาหนดเวลายื่นคาแก้ อุทธรณ์ และศาลชั ้นต้ น
เห็นว่าเป็ นการอุทธรณ์เฉพาะปั ญหาข้ อกฎหมาย ให้ สงั่ อนุญาตให้ ผ้ อู ุทธรณ์ ยื่นอุทธรณ์ โดยตรง
ต่อศาลฎีกาได้ มิฉะนั ้นให้ สงั่ ยกคาร้ อง ในกรณีที่ศาลชั ้นต้ นสัง่ ยกคาร้ อง ให้ ถือว่าอุทธรณ์ เช่นว่า
นั ้นได้ ยื่นต่อศาลอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๒๓ คาสัง่ ของศาลชั ้นต้ นที่อนุญาตหรื อยกคาร้ องในกรณี
นี ้ให้ เป็ นที่สดุ เว้ นแต่ใ นกรณีที่ศาลชั ้นต้ นสัง่ ยกคาร้ องเพราะเห็นว่าเป็ นการอุทธรณ์ ในปั ญหา
ข้ อเท็จจริงผู้อทุ ธรณ์อาจอุทธรณ์ คาสัง่ ศาลชั ้นต้ นไปยังศาลฎี กาภายในกาหนดสิบห้ าวันนับแต่
วันที่ศาลชั ้นต้ นได้ มีคาสัง่
ถ้ าศาลฎีกาเห็นว่าอุทธรณ์ตามวิธีการในวรรคหนึง่ เป็ นอุทธรณ์ในปั ญหาข้ อเท็จจริ งให้ ศาล
ฎีกาส่งสานวนไปให้ ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยชี ้ขาดต่อไป
Jus_Highlight

มาตรา ๒๒๔ ในคดีที่ราคาทรัพย์สนิ หรือจานวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั ้นอุทธรณ์ ไม่เกิน


ห้ า หมื่ น บาทหรื อ ไม่ เ กิ น จ านวนที่ กาหนดในพระราชกฤษฎี กา ห้ ามมิ ใ ห้ คู่ความอุท ธรณ์ ใ น
ข้ อเท็จจริ ง เว้ น แต่ผ้ พู ิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีนั ้นในศาลชั ้นต้ นได้ ท าความเห็นแย้ งไว้ หรื อได้
รับรองว่ามี เหตุอัน ควรอุท ธรณ์ ได้ หรื อถ้ าไม่มี ความเห็นแย้ ง หรื อ คารับรองเช่น ว่า นี ้ต้ อ งได้ รับ
อนุญาตให้ อทุ ธรณ์เป็ นหนังสือจากอธิบดีผ้ พู ิพากษาชั ้นต้ นหรืออธิ บดีผ้ พู ิพากษาภาคผู้มีอานาจ
แล้ วแต่กรณี
บทบัญญั ติใ นวรรคหนึ่ง มิไ ด้ ใ ห้ บังคับในคดีเกี่ ยวด้ ว ยสิทธิ แห่ งสภาพบุคคลหรื อ สิท ธิ ใ น
ครอบครัวและคดีฟ้องขอให้ ปลดเปลื ้องทุกข์อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ เว้ นแต่ในคดีฟ้อง
ขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสัง หาริ มทรัพย์ อันมีค่าเช่าหรื ออาจให้ เช่าได้ ในขณะยื่นคาฟ้องไม่
เกินเดือนละสีพ่ นั บาทหรือไม่เกินจานวนที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
การขอให้ ผ้ พู ิพ ากษาที่นั่งพิจารณาในคดีในศาลชั ้นต้ นรับรองว่ามีเหตุอัน ควรอุทธรณ์ ไ ด้
ให้ ผ้ ูอุท ธรณ์ ยื่น ค าร้ องถึง ผู้พิ พ ากษานัน้ พร้ อ มกับ คาฟ้ องอุท ธรณ์ ต่อ ศาลชั ้นต้ น เมื่อ ศาลได้
รับ ค าร้ องเช่ น ว่ านัน้ ให้ ศาลส่ง คาร้ องพร้ อมด้ ว ยสานวนความไปยังผู้พิ พ ากษาดัง กล่าวเพื่ อ
พิจารณารับรอง

มาตรา ๒๒๕ ข้ อ เท็จ จริ ง หรื อ ข้ อกฎหมายที่ จะยกขึ ้นอ้ างในการยื่ นอุท ธรณ์ นั ้นคู่ความ
จะต้ องกล่า วไว้ โดยชัดแจ้ งในอุทธรณ์ และต้ องเป็ นข้ อที่ได้ ยกขึ ้นว่ากัน มาแล้ วโดยชอบในศาล
ชั ้นต้ น ทั ้งจะต้ องเป็ นสาระแก่คดีอนั ควรได้ รับการวินิจฉัยด้ วย
ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดมิได้ ยกปั ญหาข้ อใดอันเกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชนขึน้
กล่าวในศาลชั ้นต้ นหรื อคู่ความฝ่ ายใดไม่ สามารถยกปั ญหาข้ อกฎหมายใด ๆ ขึ ้นกล่าวในศาล
ชัน้ ต้ นเพราะพฤติ การณ์ ไ ม่ เ ปิ ดช่ อ งให้ กระท าได้ หรื อ เพราะเหตุเ ป็ นเรื่ อ งที่ ไ ม่ ป ฏิ บัติ ตาม
บทบัญญัติว่าด้ วยกระบวนพิจารณาชั ้นอุทธรณ์ คู่ความที่เกี่ยวข้ องย่อมมีสิทธิ ที่จะยกขึ ้นอ้ างซึ่ง
ปั ญหาเช่นว่านั ้นได้
Jus_Highlight

มาตรา ๒๒๖ ก่อนศาลชั ้นต้ นได้ มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดี ถ้ าศาลนั ้นได้ มี
คาสัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ นอกจากที่ระบุไว้ ในมาตรา ๒๒๗ และ ๒๒๘
(๑) ห้ ามมิให้ อทุ ธรณ์คาสัง่ นั ้นในระหว่างพิจารณา
(๒) ถ้ า คู่ความฝ่ ายใดโต้ แ ย้ ง คาสั่งใด ให้ ศาลจดข้ อโต้ แย้ งนั ้นลงไว้ ใ นรายงานคู่ความที่
โต้ แย้ งชอบที่จะอุทธรณ์ คาสัง่ นัน้ ได้ ภายในกาหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ศาลได้ มีคาพิพากษา
หรือคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดีนั ้นเป็ นต้ นไป
เพื่อประโยชน์ แห่ง มาตรานี ้ ไม่ ว่าศาลจะได้ มีคาสัง่ ให้ รับ คาฟ้ องไว้ แล้ วหรื อไม่ ให้ ถือว่ า
คาสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งของศาลนับตั ้งแต่มีการยื่นคาฟ้องต่อ ศาลนอกจากที่ระบุไว้ ในมาตรา
๒๒๗ และ ๒๒๘ เป็ นคาสัง่ ระหว่างพิจารณา

มาตรา ๒๒๗ คาสัง่ ของศาลชั ้นต้ นที่ไม่รับหรือให้ คืนคาคู่ความตามมาตรา ๑๘หรื อคาสัง่


วินิจฉัย ชี ้ขาดเบื ้องต้ นตามมาตรา ๒๔ ซึ่งทาให้ คดีเสร็ จไปทัง้ เรื่ องนั ้น มิใ ห้ ถือว่ าเป็ นคาสัง่ ใน
ระหว่างพิจารณา และให้ อยู่ภายในข้ อบังคับของการอุทธรณ์คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสิน
คดี

มาตรา ๒๒๘ ก่อนศาลชี ้ขาดตัดสินคดี ถ้ าศาลมีคาสัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้คือ


(๑) ให้ กกั ขัง หรือปรับไหม หรือจาขัง ผู้ใด ตามประมวลกฎหมายนี ้
(๒) มีคาสัง่ อันเกี่ยวด้ วยคาขอเพื่อคุ้มครองประโยชน์ ของคู่ความในระหว่างการพิจารณา
หรือมีคาสัง่ อันเกี่ยวด้ วยคาขอเพื่อจะบังคับคดีตามคาพิพากษาต่อไป หรือ
(๓) ไม่รับหรือคืนคาคู่ความตามมาตรา ๑๘ หรือวินิจฉัยชี ้ขาดเบื ้องต้ นตามมาตรา ๒๔ ซึ่ง
มิได้ ทาให้ คดีเสร็จไปทั ้งเรื่อง หากเสร็จไปเฉพาะแต่ประเด็นบางข้ อ
คาสัง่ เช่นว่านี ้ คู่ความย่อมอุทธรณ์ได้ ภายในกาหนดหนึง่ เดือน นับแต่วนั มีคาสัง่ เป็ นต้ นไป
Jus_Highlight

แม้ ถงึ ว่าจะมีอทุ ธรณ์ในระหว่างพิจารณา ให้ ศาลดาเนินคดีต่อไป และมีคาพิพากษาหรื อ


ค าสั่ง ชี ข้ าดตัดสิน คดี นัน้ แต่ ถ้ าในระหว่ า งพิ จ ารณา คู่ความอุท ธรณ์ ค าสั่ง ชนิ ดที่ ระบุไ ว้ ใ น
อนุมาตรา (๓) ถ้ าศาลอุทธรณ์ เห็นว่า การกลับหรื อแก้ ไขคาสัง่ ที่ค่คู วามอุทธรณ์ นั ้นจะเป็ นการ
วินิ จฉัยชี ข้ าดคดี หรื อวิ นิ จฉัยชี ข้ าดประเด็ นข้ อ ใดที่ศาลล่างมิ ได้ วินิ จ ฉัยไว้ ให้ ศาลอุท ธรณ์ มี
อานาจท าค าสั่ง ให้ ศาลล่า งงดการพิ จ ารณาไว้ ใ นระหว่ า งอุทธรณ์ หรื อ งดการวิ นิ จ ฉัยคดี ไ ว้
จนกว่าศาลอุทธรณ์จะได้ วินิจฉัยชี ้ขาดอุทธรณ์นั ้น
ถ้ าคู่ความมิได้ อทุ ธรณ์คาสัง่ ในระหว่างพิจารณาตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรานี ้ ก็ให้ อุทธรณ์
ได้ ในเมื่อศาลพิพากษาคดีแล้ วตามความในมาตรา ๒๒๓

มาตรา ๒๒๙ การอุทธรณ์ นั ้นให้ ทาเป็ นหนังสือ ยื่นต่อ ศาลชัน้ ต้ นซึ่งมีคาพิพากษาหรื อ


คาสัง่ ภายในกาหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้ อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ นั ้น และผู้อุทธรณ์ ต้อง
นาเงินค่าธรรมเนียมซึ่งจะต้ องใช้ แก่ค่คู วามอีกฝ่ ายหนึ่งตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ มาวางศาล
พร้ อมกับอุทธรณ์นั ้นด้ วย ให้ ผ้ อู ทุ ธรณ์ยื่นสาเนาอุทธรณ์ต่อศาล เพื่อส่งให้ แก่จาเลยอุทธรณ์ (คือ
ฝ่ ายโจทก์ หรื อจาเลยความเดิมซึ่งเป็ นฝ่ ายที่มิได้ อุทธรณ์ ความนั ้น) ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา
๒๓๕ และ ๒๓๖

มาตรา ๒๓๐ คดีตามมาตรา ๒๒๔ ถ้ าคู่ความอุทธรณ์ ในข้ อเท็จจริ ง ให้ ศาลชั ้นต้ นตรวจ
เสียก่อนว่าฟ้องอุทธรณ์นั ้นจะรับไว้ พิจารณาได้ หรือไม่
ถ้ าผู้พิพากษาที่ได้ พิจารณาคดีนั ้นมีความเห็นแย้ ง หรือได้ รับรองไว้ แล้ ว หรื อรับรองในเวลา
ที่ตรวจอุทธรณ์นั ้นว่ามีเหตุอนั ควรอุทธรณ์ในปั ญหาข้ อเท็จจริงนั ้นได้ ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ รับอุทธรณ์
นั ้นไว้ พิจารณาในปั ญหาข้ อเท็จจริงดังกล่าวแล้ ว
ถ้ า ไม่ มี ความเห็ น แย้ ง หรื อ คารั บ รองเช่ น ว่ า นัน้ ให้ ศาลมี คาสั่ง ไม่ รับ อุท ธรณ์ ใ นปั ญหา
ข้ อเท็จ จริ งที่ กล่าวแล้ ว ในกรณีเช่น นี ้ ถ้ า อธิ บดีผ้ ูพิพากษาหรื ออธิ บ ดีผ้ พู ิพ ากษาภาคมิ ได้ เป็ น
Jus_Highlight

คณะในคาสัง่ นั ้น ผู้อทุ ธรณ์ชอบที่จะยื่นคาร้ องต่อศาลถึงอธิบดีผ้ พู ิพากษาหรื ออธิ บดีผ้ พู ิพากษา


ภาคภายในเจ็ดวัน เมื่อศาลได้ รับคาร้ องเช่นว่านั ้น ให้ ศาลส่งคาร้ องนั ้นพร้ อมด้ วยสานวนความ
ไปยังอธิบดีผ้ พู ิพากษาหรืออธิบดีผ้ พู ิพากษาภาค เพื่อมีคาสัง่ ยืนตามหรื อกลับคาสัง่ ของศาลนั ้น
คาสัง่ ของอธิบดีผ้ พู ิพากษา หรืออธิบดีผ้ พู ิพากษาภาค เช่นว่านี ้ ให้ เป็ นที่สดุ
บทบัญญั ติแ ห่ง มาตรานี ้ ไม่ห้ ามศาลในอัน ที่จ ะมี คาสัง่ ตามมาตรา ๒๓๒ ปฏิ เสธไม่ส่ง
อุท ธรณ์ ใ นเหตุอื่ น หรื อ ในอัน ที่ ศาลจะมี คาสั่ง ให้ ส่ง อุ ท ธรณ์ นัน้ ไปเท่ า ที่ เ ป็ นอุท ธรณ์ ใ นข้ อ
กฎหมาย

มาตรา ๒๓๑ การยื่นอุทธรณ์ ย่อมไม่เป็ นการทุเลาการบังคับตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่


ของศาลชัน้ ต้ น แต่ คู่ค วามที่ ยื่ น อุท ธรณ์ อ าจยื่ น คาขอต่ อ ศาลอุท ธรณ์ ไ ม่ ว่ า เวลาใด ๆก่ อ น
พิพากษา โดยทาเป็ นคาร้ องชี ้แจงเหตุผลอันสมควรแห่งการขอ ให้ ศาลอุทธรณ์ ทุเลาการบังคับ
ไว้
ค าขอเช่ น ว่ า นัน้ ให้ ผ้ ูอุท ธรณ์ ยื่น ต่ อ ศาลชัน้ ต้ น ได้ จ นถึง เวลาที่ ศาลมี คาสั่ง อนุญาตให้
อุทธรณ์ ถ้ า ภายหลังศาลได้ มี คาสัง่ เช่นว่ านี ้แล้ ว ให้ ยื่นตรงต่อศาลอุท ธรณ์ ถ้ าได้ ยื่นคาขอต่ อ
ศาลชั ้นต้ นก็ ให้ ศาลรี บส่ งคาขอนั ้นไปยังศาลอุท ธรณ์ ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินอย่างยิ่ ง เมื่อศาล
ชั ้นต้ น ได้ รับ ค าขอไว้ ก็ใ ห้ มีอ านาจทาคาสั่งให้ ทุเลาการบังคับไว้ รอคาวินิ จฉัยชี ้ขาดของศาล
อุทธรณ์ในคาขอเช่นว่านั ้น
ถ้ าผู้อทุ ธรณ์วางเงินต่อศาลชั ้นต้ นเป็ นจานวนพอชาระหนี ้ตามคาพิพากษารวมทั ้งค่าฤชา
ธรรมเนียมในการฟ้องร้ องและการบังคับคดี หรื อได้ หาประกันมาให้ สาหรับเงินจานวนเช่นว่านี ้
จนเป็ นที่พอใจของศาล ให้ ศาลที่กล่าวมาแล้ วงดการบังคับคดีไว้ ดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๙๕
(๑)
เมื่ อ ได้ รับ ค าขอเช่ น ว่ า นี ้ ศาลอุท ธรณ์ จ ะอนุญาตให้ ทุเ ลาการบัง คับ ไว้ ใ นกรณี ที่ มี เ หตุ
ฉุก เฉิ น ก็ ไ ด้ โดยมิ ต้อ งฟั ง คู่ความอี ก ฝ่ ายหนึ่ง แต่ ใ นกรณี เ ช่ น ว่ า นี ้ ให้ ถือ ว่ า คาสั่ง นี เ้ ป็ นการ
Jus_Highlight

ชัว่ คราวจนกว่าศาลจะได้ ฟังคู่ความอีกฝ่ ายหนึง่ ในภายหลัง ถ้ าศาลมีคาสัง่ ให้ ทุเลาการบังคับไว้


ตามที่ขอ คาสัง่ นี ้อาจอยู่ภายใต้ บังคับเงื่อนไขใด ๆ หรื อไม่ก็ได้ ศาลจะมีคาสัง่ ให้ ผ้ อู ุทธรณ์ ทา
ทัณฑ์บนว่าจะไม่ยักย้ ายจาหน่ายทรัพย์ สินของตนในระหว่างอุทธรณ์ หรื อให้ หาประกันมาให้
ศาลให้ พอกับเงินที่ต้องใช้ ตามคาพิพากษาหรือจะให้ วางเงินจานวนนั ้นต่อศาลก็ได้ ถ้ าผู้อุทธรณ์
ไม่ ป ฏิ บัติ ต ามค าสั่ง นั น้ ศาลจะสั่ง ให้ ยึดหรื อ อายัดทรั พ ย์ สิ น ของผู้อุท ธรณ์ นัน้ ก็ ไ ด้ และถ้ า
ทรั พย์ สินเช่ นว่ านัน้ หรื อ ส่ว นใดส่ว นหนึ่งเป็ นสัง หาริ มทรัพ ย์ ศาลอาจมี คาสั่งให้ เ อาออกขาย
ทอดตลาดก็ได้ ถ้ าปรากฏว่าการขายนั ้นเป็ นการจาเป็ นและสมควร เพราะทรัพย์ สินนั ้นมีสภาพ
เป็ นของเสียได้ ง่ ายหรื อ ว่า การเก็ บรักษาไว้ ในระหว่า งอุท ธรณ์ น่า จะนาไปสู่ความยุ่งยากหรื อ
จะต้ องเสียค่าใช้ จ่ายเป็ นจานวนมาก

มาตรา ๒๓๒ เมื่อ ได้ รับ อุทธรณ์ แล้ ว ให้ ศาลชั ้นต้ นตรวจอุท ธรณ์ แ ละมี คาสัง่ ให้ ส่งหรื อ
ปฏิ เ สธไม่ ส่ง อุท ธรณ์ นัน้ ไปยังศาลอุท ธรณ์ ตามบทบัญญั ติแ ห่ง ประมวลกฎหมายนี ้ ถ้ า ศาล
ปฏิ เสธไม่ ส่ง ให้ ศาลแสดงเหตุที่ ไม่ ส่งนัน้ ไว้ ใ นคาสั่ง ทุกเรื่ อ งไป ถ้ า คู่ความทัง้ สองฝ่ ายได้ ยื่น
อุทธรณ์ศาลจะวินิจฉัยอุทธรณ์ทั ้งสองฉบับนั ้นในคาสัง่ ฉบับเดียวกันก็ได้

มาตรา ๒๓๓ ถ้ า ศาลยอมรับอุทธรณ์ และมี ความเห็ นว่ าการอุทธรณ์ นั ้นคู่ความที่ ศาล


พิพากษาให้ ชนะจะต้ องเสียค่าฤชาธรรมเนียมเพิ่มขึ ้น ให้ ศาลมีอานาจกาหนดไว้ ในคาสัง่ ให้ ผ้ ู
อุทธรณ์นาเงินมาวางศาลอีกให้ พอกับจานวนค่าฤชาธรรมเนียมซึ่งจะต้ องเสียดังกล่าวแล้ ว ตาม
อัตราที่ใช้ บังคับอยู่ในเวลานั ้น ก่อนสิ ้นระยะเวลาอุทธรณ์ หรื อภายในระยะเวลาตามที่ศาลจะ
เห็น สมควรอนุญาต หรื อ ตามแต่ ผ้ อู ุทธรณ์ จ ะมี คาขอขึน้ มาไม่เกิ นสิบวันนับ แต่ สิ ้นระยะเวลา
อุท ธรณ์ นั น้ ถ้ า ผู้อุท ธรณ์ ไ ม่ น าเงิ น จ านวนที่ กล่ า วข้ างต้ นมาวางศาลภายในก าหนดเวลาที่
อนุญาตไว้ ก็ให้ ศาลยกอุทธรณ์นั ้นเสีย
Jus_Highlight

มาตรา ๒๓๔ ถ้ าศาลชั ้นต้ นไม่รับอุทธรณ์ ผู้อุทธรณ์ อาจอุทธรณ์ คาสัง่ ศาลนั ้นไปยังศาล
อุทธรณ์โดยยื่นคาขอเป็ นคาร้ องต่อศาลชั ้นต้ น และนาค่าฤชาธรรมเนียมทั ้งปวงมาวางศาลและ
นาเงินมาชาระตามคาพิพากษาหรือหาประกันให้ ไว้ ต่อศาลภายในกาหนดสิบห้ าวันนับแต่วันที่
ศาลได้ มีคาสัง่

มาตรา ๒๓๕ เมื่ อ ศาลชัน้ ต้ น ได้ รับ อุท ธรณ์ แ ล้ ว ให้ ส่ง สาเนาอุท ธรณ์ นัน้ ให้ แ ก่ จ าเลย
อุทธรณ์ภายในกาหนดเจ็ดวัน นับแต่วนั ที่จาเลยอุทธรณ์ยื่นคาแก้ อทุ ธรณ์ หรื อถ้ าจาเลยอุทธรณ์
ไม่ยื่นคาแก้ อทุ ธรณ์ ภายในกาหนดเจ็ดวันนับแต่ระยะเวลาที่กาหนดไว้ ในมาตรา ๒๓๗สาหรับ
การยื่นคาแก้ อทุ ธรณ์ได้ สิ ้นสุดลง ให้ ศาลส่งอุทธรณ์และคาแก้ อทุ ธรณ์ ถ้าหากมี พร้ อมทั ้งสานวน
และหลักฐานต่าง ๆ ไปยังศาลอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์ ได้ รับฟ้องอุทธรณ์ และสานวนความไว้
แล้ ว ให้ นาคดีลงสารบบความของศาลอุทธรณ์โดยพลัน

มาตรา ๒๓๖ เมื่อคู่ความยื่นคาร้ องอุทธรณ์ คาสัง่ ศาลที่ปฏิ เสธไม่ยอมรับอุทธรณ์ ให้ ศาล


ส่งคาร้ องเช่นว่านั ้นไปยังศาลอุทธรณ์โดยไม่ชกั ช้ าพร้ อมด้ วยคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดคดีของ
ศาลชั ้นต้ นและฟ้องอุทธรณ์ ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นเป็ นการจาเป็ นที่ จะต้ องตรวจสานวน ให้ มีคาสัง่
ให้ ศาลชั ้นต้ นส่งสานวนไปยังศาลอุทธรณ์ ในกรณีเช่นนี ้ให้ ศาลอุทธรณ์ พิจารณาคาร้ อง แล้ วมี
คาสัง่ ยืนตามคาปฏิเสธของศาลชั ้นต้ นหรื อมีคาสัง่ ให้ รับอุทธรณ์ คาสัง่ นี ้ให้ เป็ นที่สดุ แล้ วส่งไป
ให้ ศาลชั ้นต้ นอ่าน
เมื่อได้ อ่านคาสัง่ ศาลอุทธรณ์ ให้ รับอุทธรณ์ แล้ ว ให้ ศาลชั ้นต้ นส่งสาเนาอุทธรณ์ แก่จาเลย
อุท ธรณ์ และภายในก าหนดเจ็ ดวัน นับ แต่ วัน ที่ จ าเลยอุท ธรณ์ ยื่น คาแก้ อุท ธรณ์ หรื อ นับ แต่
ระยะเวลาที่กาหนดไว้ ในมาตรา ๒๓๗ สาหรับการยื่นคาแก้ อุทธรณ์ ได้ สิ ้นสุดลง ให้ ศาลส่งคาแก้
อุทธรณ์ ไ ปยังศาลอุทธรณ์ หรื อแจ้ ง ให้ ทราบว่าไม่มี คาแก้ อุท ธรณ์ เมื่ อศาลอุทธรณ์ ได้ รับคาแก้
อุทธรณ์หรือแจ้ งความเช่นว่าแล้ ว ให้ นาคดีลงสารบบความของศาลอุทธรณ์โดยพลัน
Jus_Highlight

มาตรา ๒๓๗ จาเลยอุทธรณ์อาจยื่นคาแก้ อทุ ธรณ์ต่อศาลชั ้นต้ นได้ ภายในกาหนดสิบห้ า


วันนับแต่วนั ส่งสาเนาอุทธรณ์
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ ามมิให้ ศาลแสดงว่า จาเลยอุทธรณ์ขาดนัดเพราะไม่ยื่นคาแก้ อทุ ธรณ์

มาตรา ๒๓๘ ภายใต้ บังคับมาตรา ๒๔๓ (๓) ในคดีที่อุทธรณ์ ได้ แต่เฉพาะในปั ญหาข้ อ
กฎหมายนั ้น การวินิจฉัยปั ญหาเช่นว่านี ้ ศาลอุทธรณ์ จาต้ องถือตามข้ อเท็จจริ งที่ศาลชั ้นต้ นได้
วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสานวน

มาตรา ๒๓๙ อุทธรณ์ คาสัง่ นั ้นจะต้ องพิจารณาก่อนอุทธรณ์ คาพิพากษาเท่าที่สามารถ


จะท าได้ แม้ ถึง ว่ า อุท ธรณ์ คาพิพ ากษานัน้ จะได้ ลงไว้ ใ นสารบบความของศาลอุท ธรณ์ ก่อ น
อุทธรณ์คาสัง่ นั ้นก็ดี

มาตรา ๒๔๐ ศาลอุทธรณ์มีอานาจที่จะวินิจฉัยคดีโดยเพียงแต่พิจารณาฟ้องอุทธรณ์ คา


แก้ อทุ ธรณ์ เอกสารและหลักฐานทั ้งปวง ในสานวนความซึง่ ศาลชั ้นต้ นส่งขึ ้นมาเว้ นแต่
(๑) ศาลอุทธรณ์ได้ นดั ฟั งคาแถลงการณ์ด้วยวาจาตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๔๑ แต่ถ้า
คู่ความฝ่ ายใดหรือทั ้งสองฝ่ ายไม่มาศาลในวันกาหนดนัด ศาลอุทธรณ์ อาจดาเนินคดีไปได้ และ
คาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์นั ้น ไม่ให้ ถือเป็ นคาพิพากษาโดยขาดนัด
(๒) ถ้ า ศาลอุท ธรณ์ ยัง ไม่เ ป็ นที่ พ อใจในการพิ จ ารณาฟ้ องอุทธรณ์ คาแก้ อุท ธรณ์ แ ละ
พยานหลักฐาน ที่ ปรากฏในสานวน ภายใต้ บัง คับแห่ง มาตรา ๒๓๘ และเฉพาะในปั ญหาที่
อุทธรณ์ให้ ศาลมีอานาจที่จะกาหนดประเด็นทาการสืบพยานที่สืบมาแล้ ว หรื อพยานที่เห็นควร
สืบ ต่ อ ไป และพิ จ ารณาคดี โ ดยทั่ว ๆ ไป ดัง ที่ บัญญั ติไ ว้ ใ นประมวลกฎหมายนี ส้ าหรั บ การ
พิจารณาในศาลชั ้นต้ น และให้ นาบทบัญญั ติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่า ด้ วยการพิจารณาใน
ศาลชั ้นต้ น มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
Jus_Highlight

(๓) ในคดีที่ค่คู วามอุทธรณ์ในปั ญหาข้ อกฎหมาย ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นว่าศาลชั ้นต้ นยังมิได้


พิจารณาหรือวินิจฉัยปั ญหาข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในประเด็น ให้ ศาลอุทธรณ์ มีอานาจ
ทาคาสัง่ ให้ ศาลชั ้นต้ นพิจารณาปั ญหาข้ อเท็จจริงเช่นว่านั ้น แล้ วพิพากษาไปตามรูปความ

มาตรา ๒๔๑ ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดประสงค์ จะมาแถลงการณ์ ด้วยวาจาในชั ้นศาลอุทธรณ์


ให้ ขอมาในตอนท้ ายคาฟ้องอุทธรณ์ หรื อคาแก้ อทุ ธรณ์ แล้ วแต่กรณี และให้ ศาลอุทธรณ์ กาหนด
นัดฟั งคาแถลงการณ์ ด้วยวาจานั ้น เว้ นแต่ศาลอุทธรณ์ จะพิจารณาเห็นว่าการแถลงการณ์ ด้วย
วาจาไม่ จ าเป็ นแก่ คดี จะสั่ง งดฟั ง คาแถลงการณ์ เ สี ยก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ ศ าลอุ ท ธรณ์ นัด ฟั ง ค า
แถลงการณ์ด้วยวาจา คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งชอบที่จะไปแถลงการณ์ ด้วยวาจาในชั ้นศาลอุทธรณ์
ได้ ด้วย ถึงแม้ ว่าตนจะมิได้ แสดงความประสงค์ไว้
การแถลงการณ์ด้วยวาจา ผู้ขอแถลง เป็ นผู้แถลงก่อน แล้ วอีกฝ่ ายหนึ่งแถลงแก้ แล้ วผู้ขอ
แถลง แถลงได้ อี กครั ง้ หนึ่ง ถ้ า ขอแถลงทัง้ สองฝ่ าย ให้ ผู้อุท ธรณ์ แ ถลงก่ อ น ถ้ า ทัง้ สองฝ่ าย
อุทธรณ์และต่างขอแถลง ให้ ศาลอุทธรณ์พิจารณาสัง่

มาตรา ๒๔๒ เมื่อศาลอุทธรณ์ได้ ตรวจสานวนความและฟั งคู่ความทั ้งปวง หรื อสืบพยาน


ต่อไปดังบัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๔๐ เสร็จแล้ ว ให้ ศาลอุทธรณ์ชี ้ขาดตัดสินอุทธรณ์ โดยประการใด
ประการหนึง่ ในสีป่ ระการนี ้
(๑) ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นว่า อุทธรณ์ นั ้นต้ องห้ ามตามกฎหมาย ก็ให้ ยกอุทธรณ์ นั ้นเสียโดย
ไม่ต้องวินิจฉัยในประเด็นแห่งอุทธรณ์
(๒) ถ้ าศาลอุทธรณ์ เห็ นว่า คาวินิ จฉัยของศาลชั ้นต้ นถูกต้ อง ไม่ว่ าโดยเหตุเ ดียวกันหรื อ
เหตุอื่น ก็ให้ พิพากษายืนตามศาลชั ้นต้ นนั ้น
(๓) ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นว่า คาชี ้ขาดของศาลชั ้นต้ นไม่ถกู ต้ อง ให้ กลับคาพิพากษาของศาล
ชั ้นต้ นเสีย และพิพากษาในปั ญหาเหล่านั ้นใหม่
Jus_Highlight

(๔) ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นว่า คาวินิจฉัยของศาลชั ้นต้ นถูกแต่บางส่วน และผิดบางส่วน ก็ให้


แก้ ค าพิ พ ากษาศาลชั น้ ต้ นไปตามนั น้ โดยพิ พ ากษายื น บางส่ ว น กลับ บางส่ ว น และมี ค า
พิพากษาใหม่แทนส่วนที่กลับนั ้น

มาตรา ๒๔๓ ให้ ศาลอุทธรณ์มีอานาจดังต่อไปนี ้ด้ วย คือ


(๑) เมื่อ คดี ปรากฏเหตุที่ มิไ ด้ ป ฏิ บัติตามบทบัญญั ติแห่ งประมวลกฎหมายนี ้ว่ าด้ วยคา
พิพ ากษาและคาสัง่ และศาลอุทธรณ์ เห็ น ว่า มีเ หตุอันสมควร ก็ใ ห้ ศาลอุทธรณ์ มีคาสัง่ ยกคา
พิพากษาหรือคาสัง่ ศาลชั ้นต้ นนั ้นเสีย แล้ วส่งสานวนคืนไปยังศาลชั น้ ต้ นเพื่อให้ พิพากษาหรื อมี
คาสัง่ ใหม่ ในกรณีเช่นนี ้ศาลชั ้นต้ นอาจประกอบด้ วยผู้พิพากษาอื่นนอกจากที่ได้ พิพากษาหรื อมี
คาสัง่ มาแล้ ว และคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ใหม่นี ้ อาจวินิจฉัยชี ้ขาดคดีเป็ นอย่างอื่นนอกจากคา
พิพากษาหรือคาสัง่ ที่ถกู ยกได้
(๒) เมื่ อคดีปรากฏเหตุที่มิไ ด้ ปฏิ บัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยการ
พิจารณาหรือมีเหตุที่ศาลได้ ปฏิเสธไม่สบื พยานตามที่ผ้ อู ทุ ธรณ์ร้องขอ และศาลอุทธรณ์ เห็นว่ามี
เหตุอนั สมควร ก็ให้ ศาลอุทธรณ์ มีคาสัง่ ยกคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ศาลชั ้นต้ นนั ้นแล้ วกาหนดให้
ศาลชั ้นต้ นซึง่ ประกอบด้ วยผู้พิพากษาคณะเดิ มหรื อผู้พิพากษาอื่น หรื อศาลชั ้นต้ นอื่นใดตามที่
ศาลอุทธรณ์จะเห็นสมควร พิจารณาคดีนั ้นใหม่ทั ้งหมดหรื อบางส่วน และพิพากษาหรื อมีคาสัง่
ใหม่
(๓) ในกรณีที่ศาลอุทธรณ์จาต้ องถือตามข้ อเท็จจริ งของศาลชั ้นต้ น ถ้ าปรากฏว่า
(ก) การที่ศาลชั ้นต้ นวินิจฉัยข้ อเท็จจริ งนั ้นผิดต่อกฎหมาย ศาลอุทธรณ์ อาจฟั งข้ อเท็จจริ ง
ใหม่แทนข้ อเท็จจริงของศาลชั ้นต้ น แล้ วมีคาพิพากษาหรือคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดีไปตามนั ้น หรือ
(ข) ข้ อเท็จ จริ ง ที่ศาลชั ้นต้ น ฟั งมาไม่พ อแก่ การวิ นิจฉัยข้ อกฎหมาย ศาลอุท ธรณ์ อ าจท า
คาสัง่ ให้ ยกคาพิพากษาหรือคาสัง่ ศาลชั ้นต้ นนั ้นเสีย แล้ วกาหนดให้ ศาลชั ้นต้ นซึ่งประกอบด้ วยผู้
พิพ ากษาคณะเดิม หรื อผู้พิพ ากษาอื่ น หรื อ ศาลชั ้นต้ นอื่ นใด ตามที่ ศาลอุท ธรณ์ เ ห็ นสมควร
Jus_Highlight

พิจารณาคดีนัน้ ใหม่ทั ้งหมดหรื อ บางส่วน โดยดาเนิ นตามคาชี ้ขาดของศาลอุท ธรณ์ แล้ ว มีคา
พิพ ากษาหรื อ ค าสั่ง วิ นิ จ ฉัยชี ข้ าดคดี ไ ปตามรู ป ความ ทัง้ นี ไ้ ม่ ว่ า จะปรากฏจากการอุท ธรณ์
หรือไม่
ในคดีทั ้งปวงที่ศาลชั ้นต้ นได้ มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ใหม่ตามมาตรานี ้ คู่ความชอบที่จ ะ
อุทธรณ์คาพิพากษาหรือคาสัง่ ใหม่เช่นว่านี ้ไปยังศาลอุทธรณ์ได้ ตามบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้

มาตรา ๒๔๔ ศาลอุทธรณ์จะอ่านคาพิพากษานั ้นเองหรื อจะส่งไปให้ ศาลชั ้นต้ นอ่านก็ ได้


ในกรณีเหล่านี ้ให้ ศาลที่อ่านคาพิพากษามีคาสัง่ กาหนดนัดวันอ่านส่งให้ แก่ค่คู วามอุทธรณ์ ทุก
ฝ่ าย

มาตรา ๒๔๕ คาพิพากษาหรือคาสัง่ ชั ้นอุทธรณ์ให้ มีผลเฉพาะระหว่างคู่ความชั ้นอุทธรณ์


เว้ นแต่ในกรณีต่อไปนี ้
(๑) ถ้ าคาพิ พากษาหรื อ คาสัง่ ที่อุทธรณ์ นั ้นเกี่ยวด้ วยการช าระหนี อ้ ันไม่อาจแบ่งแยกได้
และคู่ความแต่บางฝ่ ายเป็ นผู้อุทธรณ์ ซึ่งทาให้ คาพิพากษาหรื อคาสัง่ นั ้นมีผลเป็ นที่สดุ ระหว่าง
คู่ความอื่น ๆ ถ้ าศาลอุทธรณ์เห็นว่าควรกลับคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ที่อุทธรณ์ ให้ ศาลอุทธรณ์ มี
อานาจชี ้ขาดว่าคาพิพากษาหรือคาสัง่ ศาลอุทธรณ์ ให้ มีผลระหว่างคู่ ความทุกฝ่ ายในคดีในศาล
ชั ้นต้ นด้ วย
(๒) ถ้ าได้ มีการอนุญาตให้ ผ้ รู ้ องสอดเข้ า มาในคดี แทนคู่ความฝ่ ายใด คาพิพากษาศาล
อุทธรณ์ย่อมมีผลบังคับแก่ค่คู วามฝ่ ายนั ้นด้ วย

มาตรา ๒๔๖ เว้ นแต่ที่ได้ บญ


ั ญัติไว้ ดงั กล่าวมาข้ างต้ นบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
นี ้ว่าด้ วยการพิจารณาและการชี ้ขาดตัดสินคดีในศาลชั ้นต้ นนั ้น ให้ ใช้ บังคับแก่การพิจารณาและ
การชี ้ขาดตัดสินคดีในชั ้นอุทธรณ์ได้ โดยอนุโลม
Jus_Highlight

ลักษณะ ๒
ฎีกา

มาตรา ๒๔๗ ในกรณีที่ศาลอุทธรณ์ได้ พิพากษาหรื อมีคาสัง่ ในชั ้นอุทธรณ์ แล้ วนั ้น ให้ ยื่น
ฎี กาได้ ภายในกาหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้ อ่านคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ศาลอุทธรณ์ นั ้นและ
ภายใต้ บังคับบทบัญญัติสี่มาตราต่อไปนี ้กับกฎหมายอื่นว่าด้ ว ยการฎี กา ให้ นาบทบัญญัติใ น
ลักษณะ ๑ ว่าด้ วยอุทธรณ์มาใช้ บงั คับด้ วยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๔๘ ในคดีที่ราคาทรัพย์ สินหรื อ จานวนทุนทรัพย์ ที่พิพาทกันในชั ้นฎี กาไม่เกิ น


สองแสนบาทหรื อ ไม่ เ กิ น จ านวนที่ ก าหนดในพระราชกฤษฎี ก า ห้ ามมิ ใ ห้ คู่ ค วามฎี ก าใน
ข้ อเท็ จจริ ง เว้ นแต่ ผ้ พู ิพ ากษาที่ไ ด้ นั่งพิ จารณาคดีนั ้นในศาลอุท ธรณ์ ได้ มี ความเห็น แย้ ง หรื อ ผู้
พิพากษาที่ได้ นั่งพิจารณาคดีในศาลชั ้นต้ นก็ดี ศาลอุทธรณ์ ก็ดี ได้ รับรองไว้ หรื อรับรองในเวลา
ตรวจฎี กาว่ามีเ หตุสมควรที่จะฎี กาได้ ถ้ าไม่มีความเห็ นแย้ งหรื อคารับ รองเช่น ว่านี ้ ต้ องได้ รับ
อนุญาตให้ ฎีกาเป็ นหนังสือจากอธิบดีผ้ พู ิพากษาศาลอุทธรณ์
บทบัญญัติ ในวรรคหนึ่งมิ ให้ ใช้ บัง คับ ในคดี เกี่ ยวด้ ว ยสิทธิ แห่ งสภาพบุคคลหรื อ สิท ธิ ใ น
ครอบครัว และคดีฟ้องขอให้ ปลดเปลื ้องทุกข์ อันไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ เว้ นแต่ในคดี
ฟ้องขับไล่บคุ คลใด ๆ ออกจากอสังหาริ มทรัพย์ อันมีค่าเช่าหรื ออาจให้ เช่าได้ ในขณะยื่นคาฟ้อง
ไม่เกินเดือนละหนึง่ หมื่นบาทหรือไม่เกินจานวนที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
คดี เ กี่ ย วกั บ การบั ง คั บ วงศ์ ญ าติ ทั ง้ หลายและบริ ว ารของผู้ ถู ก ฟ้ องขั บ ไล่ ซึ่ ง อยู่ บ น
อสังหาริ มทรัพย์ ซึ่งคู่ความในคดีฟ้องขับไล่นั ้นต้ องห้ า มฎี กาข้ อเท็ จจริ ง ตามวรรคสอง ถ้ าศาล
อุทธรณ์ พิพากษายืนตามคาพิพากษาหรื อ คาสัง่ ศาลชั ้นต้ น หรื อเพียงแต่แ ก้ ไขเล็กน้ อย ไม่ว่ า
ศาลจะฟั งว่าบุคคลดังกล่าวสามารถแสดงอานาจพิเศษให้ ศาลเห็นได้ หรื อไม่ ห้ ามมิให้ ฎีกาใน
ข้ อเท็จจริง เว้ นแต่จะได้ มีความเห็นแย้ งหรือคารับรอง หรือหนังสืออนุญาตให้ ฎีกาตามที่บัญญัติ
ไว้ ในวรรคหนึง่
Jus_Highlight

การขอให้ ผ้ ูพิ พ ากษาที่ นั่ง พิ จ ารณาคดี ใ นศาลชัน้ ต้ น หรื อ ศาลอุท ธรณ์ รับ รองว่ า มี เ หตุ
สมควรที่จะฎีกาได้ ให้ ผ้ ฎู ีกายื่นคาร้ องถึงผู้พิพากษานั ้นพร้ อมกับคาฟ้องฎี กาต่อศาลชั ้นต้ นเมื่อ
ศาลได้ รับคาร้ องเช่นว่านั ้น ให้ ส่งคาร้ องพร้ อมด้ วยสานวนความไปยังผู้พิพ ากษาดังกล่าวเพื่ อ
พิจารณารับรอง

มาตรา ๒๔๙ ข้ อเท็จจริงหรือข้ อกฎหมายที่จะยกขึ ้นอ้ างในการยื่นฎี กานั ้นคู่ความจะต้ อง


กล่าวไว้ โดยชัดแจ้ งในฎี กา และต้ องเป็ นข้ อที่ได้ ยกขึ ้นว่ากันมาแล้ วโดยชอบในศาลชั ้นต้ นและ
ศาลอุทธรณ์ ทั ้งจะเป็ นสาระแก่คดีอนั ควรได้ รับการวินิจฉัยด้ วย การวินิจฉัยว่าข้ อเท็จจริ งหรื อข้ อ
กฎหมายที่ เ ป็ นสาระแก่ คดี ข้ อใดไม่ควรได้ รับ การวิ นิ จ ฉัยจากศาลฎี กา ให้ กระท าโดยความ
เห็นชอบของรองประธานศาลฎี กาซึ่งประธานศาลฎี กามอบหมาย แต่ทั ้งนี ้ไม่กระทบถึงอานาจ
ของประธานศาลฎีกาตามมาตรา ๑๔๐ วรรคสอง
ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดมิได้ ยกปั ญหาข้ อใดอันเกี่ยวด้ วยความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชนขึน้
กล่าวในศาลชั ้นต้ นหรื อศาลอุทธรณ์ หรื อคู่ความฝ่ ายใดไม่สามารถยกปั ญหาข้ อกฎหมายใด ๆ
ขึ ้นกล่าวในศาลชั ้นต้ นหรือศาลอุทธรณ์ เพราะพฤติการณ์ไม่เปิ ดช่องให้ กระทาได้ หรื อเพราะเหตุ
เป็ นเรื่องที่ไม่ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติว่าด้ วยกระบวนพิจารณาชั ้นฎี กา คู่ความที่เกี่ยวข้ องย่อมมี
สิทธิที่จะยกขึ ้นอ้ างซึง่ ปั ญหาเช่นว่านั ้น

มาตรา ๒๕๐ (ยกเลิก)


มาตรา ๒๕๑ ถ้ าคู่ความซึ่งแพ้ คดีในศาลชั ้นต้ นได้ อุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์ ได้ พิพากษา
กลับให้ ตนชนะในข้ อสาระสาคัญอย่างใดอย่างหนึง่ คู่ความฝ่ ายนั ้นจะยื่นคาขอต่อศาลชั ้นต้ นให้
ถอนการยึดหรืออายัดทรัพย์สนิ หรือคืนเงินจานวนที่วางไว้ ต่อศาลในข้ อนั ้น ๆ ก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๒๕๒ ถ้ าคู่ความยื่นคาร้ องอุทธรณ์คาสัง่ ที่ไม่ยอมรับฎี กา ให้ ศาลชั ้นต้ นส่งคาร้ อง


เช่นว่านั ้นไปยังศาลฎี กาพร้ อมกับฎี กาและคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ชี ้ขาดคดีของศาลชั ้นต้ นและ
ศาลอุทธรณ์ ถ้ าศาลฎีกาเห็นจาเป็ นจะต้ องตรวจสานวน ให้ มีคาสัง่ ให้ ศาลล่างส่งสานวนนั ้นไป
ยังศาลฎีกา
Jus_Highlight

ภาค ๔
วิธีการชั่วคราวก่ อนพิพากษา และการบังคับตามคาพิพากษาหรอ อคาสั่ง

ลักษณะ ๑
วิธีการชั่วคราวก่ อนพิพากษา

หมวด ๑
หลักทั่วไป

มาตรา ๒๕๓ ถ้ าโจทก์มิได้ มีภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานอยู่ในราชอาณาจักรและไม่มี


ทรัพย์สนิ ที่อาจถูกบังคับคดีได้ อยู่ในราชอาณาจักร หรื อถ้ าเป็ นที่เชื่อได้ ว่าเมื่อโจทก์ แพ้ คดีแล้ ว
จะหลีกเลีย่ งไม่ชาระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้ จ่าย จาเลยอาจยื่นคาร้ องต่อศาลไม่ว่าเวลาใด
ๆ ก่อนพิพากษาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ โจทก์ วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมาให้ เพื่อการชาระค่า
ฤชาธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายดังกล่าวได้
ถ้ าศาลไต่สวนแล้ วเห็นว่า มีเหตุอันสมควรหรื อมีเหตุเป็ นที่เชื่อได้ แล้ วแต่กรณีก็ให้ ศาลมี
คาสัง่ ให้ โจทก์ วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมาให้ ตามจานวนและภายในระยะเวลาที่กาหนด
โดยจะกาหนดเงื่อนไขใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
ถ้ าโจทก์ มิได้ ปฏิ บัติตามคาสัง่ ศาลตามวรรคสอง ให้ ศาลมี คาสัง่ จาหน่ายคดีออกจากสา
รบบความ เว้ นแต่จาเลยจะขอให้ ดาเนินการพิจารณาต่อไป หรื อมีการอุทธรณ์ คาสัง่ ศาลตาม
วรรคสอง

มาตรา ๒๕๓ ทวิ ในกรณีที่โจทก์ ได้ ยื่นอุทธรณ์ หรื อฎี กาคัดค้ านคาพิพากษาถ้ ามีเหตุใด
เหตุหนึง่ ตามมาตรา ๒๕๓ วรรคหนึง่ จาเลยอาจยื่นคาร้ องต่อศาลอุทธรณ์ หรื อศาลฎี กาแล้ วแต่
Jus_Highlight

กรณีไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนพิพากษา ขอให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ โจทก์ วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมา


ให้ เพื่อการชาระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายดังกล่าวได้
ในระหว่างที่ศาลชั ้นต้ นยังมิได้ สง่ สานวนความไปยังศาลอุทธรณ์ หรื อศาลฎี กาคาร้ องตาม
วรรคหนึ่ง ให้ ยื่น ต่ อศาลชัน้ ต้ น และให้ ศาลชั ้นต้ นท าการไต่สวน แล้ ว ส่ง คาร้ องนั ้นพร้ อ มด้ ว ย
สานวนความไปให้ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาสัง่
ให้ นาความในมาตรา ๒๕๓ วรรคสองและวรรคสาม มาใช้ บังคับแก่การพิจารณาในชัน้
อุทธรณ์และฎีกาโดยอนุโลม

มาตรา ๒๕๔ ในคดีอื่ นๆ นอกจากคดีม โนสาเร่ โจทก์ ช อบที่จ ะยื่นต่ อศาลพร้ อมกับคา
ฟ้องหรือในเวลาใด ๆ ก่อนพิพากษา ซึง่ คาขอฝ่ ายเดียว ร้ องขอให้ ศาลมีคาสัง่ ภายในบังคับแห่ง
เงื่อนไขซึง่ จะกล่าวต่อไป เพื่อจัดให้ มีวิธีค้ มุ ครองใด ๆ ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ ยดึ หรืออายัดทรัพย์สนิ ที่พิพาทหรือทรัพย์สนิ ของจาเลยทั ้งหมดหรื อบางส่วนไว้ ก่อน
พิพากษา รวมทั ้งจานวนเงินหรือทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอกซึง่ ถึงกาหนดชาระแก่จาเลย
(๒) ให้ ศาลมีคาสัง่ ห้ ามชัว่ คราวมิให้ จาเลยกระทาซ ้าหรื อกระทาต่อไป ซึ่งการละเมิดหรื อ
การผิดสัญญาหรือการกระทาที่ถกู ฟ้องร้ อง หรือมีคาสัง่ อื่นใดในอันที่จะบรรเทาความเดือดร้ อน
เสีย หายที่โ จทก์ อาจได้ รับ ต่อไปเนื่ องจากการกระท าของจ าเลยหรื อมี คาสั่งห้ ามชั่วคราวมิใ ห้
จาเลยโอน ขาย ยักย้ ายหรือจาหน่ายซึ่งทรัพย์ สินที่ พิพาทหรื อทรัพย์ สินของจาเลย หรื อมีคาสัง่
ให้ หยุดหรือป้องกันการเปลืองไปเปล่าหรือการบุบสลายซึง่ ทรัพย์ สินดังกล่าว ทั ้งนี ้ จนกว่าคดีจะ
ถึงที่สดุ หรือศาลจะมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น
(๓) ให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ นายทะเบียน พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตาม
กฎหมาย ระงับ การจดทะเบียน การแก้ ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน หรื อการเพิกถอนการจด
ทะเบี ยนที่เ กี่ ยวกับ ทรั พย์ สินที่ พิพ าทหรื อ ทรั พย์ สิน ของจาเลยหรื อ ที่ เกี่ ยวกับ การกระท าที่ ถูก
Jus_Highlight

ฟ้องร้ องไว้ ชั่วคราวจนกว่าคดีจะถึงที่สดุ หรื อศาลจะมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น ทั ้งนี ้ เท่าที่ไม่ขัดหรื อ


แย้ งต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
(๔) ให้ จบั กุมและกักขังจาเลยไว้ ชวั่ คราว
ในระหว่างระยะเวลานับแต่ ศาลชั ้นต้ นหรื อ ศาลอุทธรณ์ ได้ อ่านคาพิพากษา หรื อคาสัง่ ชี ้
ขาดคดีหรือชี ้ขาดอุทธรณ์ไปจนถึงเวลาที่ศาลชั ้นต้ นได้ ส่งสานวนความที่อุทธรณ์ หรื อฎี กาไปยัง
ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา แล้ วแต่กรณี คาขอตามมาตรานี ้ให้ ยื่นต่อศาลชั ้นต้ น ให้ ศาลชั ้นต้ นมี
อานาจที่จะสัง่ อนุญาตหรือยกคาขอเช่นว่านี ้

มาตรา ๒๕๕ ในการพิจารณาอนุญาตตามคาขอที่ยื่นไว้ ตามมาตรา ๒๕๔ ต้ องให้ เป็ นที่


พอใจของศาลว่า คาฟ้องมีมูลและมีเหตุเพียงพอที่จะนาวิธีค้ มุ ครองตามที่ขอนั ้นมาใช้ ได้ ตาม
หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีที่ยื่นคาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ตามมาตรา ๒๕๔ (๑) ต้ องให้ เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) จาเลยตั ้งใจจะยักย้ ายทรัพย์ สินที่พิพาทหรื อทรัพย์ สินของตนทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วน
ไปให้ พ้ นจากอ านาจศาล หรื อ จะโอน ขายหรื อ จ าหน่ า ยทรั พ ย์ สิน ดัง กล่า วเพื่ อประวิ ง หรื อ
ขัดขวางต่อ การบังคับตามคาบังคับ ใด ๆ ซึ่งอาจจะออกบังคับเอาแก่ จาเลยหรื อ เพื่อจะทาให้
โจทก์เสียเปรียบ หรือ
(ข) มีเหตุจาเป็ นอื่นใดตามที่ศาลจะพิเคราะห์เห็นเป็ นการยุติธรรมและสมควร
(๒) ในกรณีที่ยื่นคาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ต้ องให้ เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) จ าเลยตัง้ ใจจะกระท าซ า้ หรื อ กระท าต่อ ไปซึ่ง การละเมิ ด การผิ ดสัญญา หรื อ การ
กระทาที่ถกู ฟ้องร้ อง
(ข) โจทก์จะได้ รับความเดือดร้ อนเสียหายต่อไปเนื่องจากการกระทาของจาเลย
(ค) ทรัพย์สนิ ที่พิพาทหรือทรัพย์สนิ ของจาเลยนั ้นมีพฤติการณ์ ว่าจะมีการกระทาให้ เปลือง
ไปเปล่าหรือบุบสลายหรือโอนไปยังผู้อื่น หรือ
Jus_Highlight

(ง) มีเหตุตาม (๑) (ก) หรือ (ข)


(๓) ในกรณีที่ยื่นคาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ต้ องให้ เป็ นที่พอใจของศาลว่า
(ก) เป็ นที่เกรงว่าจาเลยจะดาเนินการให้ มีการจดทะเบียน แก้ ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน
หรือเพิกถอนการจดทะเบียนเกี่ยวกับทรัพย์ สินที่พิพาทหรื อทรัพย์ สินของจาเลยหรื อที่เกี่ยวกับ
การกระทาที่ถกู ฟ้องร้ อง ซึง่ การดาเนินการดังกล่าวจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่โจทก์หรือ
(ข) มีเหตุตาม (๑) (ข)
(๔) ในกรณีที่ยื่นคาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ตามมาตรา ๒๕๔ (๔) ต้ องให้ เป็ นที่พอใจของศาลว่า
เพื่อที่จะประวิงหรือขัดขวางต่อการพิจารณาคดีหรื อการบังคับตามคาบังคับใด ซึ่งอาจจะออก
บังคับเอาแก่จาเลย หรือเพื่อจะทาให้ โจทก์เสียเปรียบ
(ก) จาเลยซ่อนตัวเพื่อจะไม่รับหมายเรียกหรือคาสัง่ ของศาล
(ข) จาเลยได้ ยกั ย้ ายไปให้ พ้นอานาจศาลหรือซุกซ่อนเอกสารใด ๆ ซึ่งพอจะเห็นได้ ว่าจะใช้
เป็ นพยานหลักฐานยันจาเลยในคดีที่อยู่ในระหว่างพิจารณาหรื อทรัพย์ สินที่พิพาทหรื อทรัพย์ สิน
ของจาเลยทั ้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเป็ นที่เกรงว่าจาเลยจะจาหน่ายหรื อทาลายเอกสารหรื อ
ทรัพย์สนิ เช่นว่านั ้น หรือ
(ค) ปรากฏตามกิริยาหรือตามวิธีที่จาเลยประกอบการงานหรื อการค้ าของตนว่าจาเลยจะ
หลีกหนีหรือพอเห็นได้ ว่าจะหลีกหนีไปให้ พ้นอานาจศาล

มาตรา ๒๕๖ ในกรณีที่ยื่นคาขอให้ ศาลมีคาสัง่ ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) หรื อ (๓) ถ้ าศาล
เห็ น ว่ า หากให้ โ อกาสจาเลยคัดค้ านก่ อ นจะไม่เ สียหายแก่ โ จทก์ ก็ ให้ ศาลแจ้ ง กาหนดวัน นั่ง
พิจ ารณาพร้ อ มทั ้งส่ง สาเนาคาขอให้ แ ก่ จ าเลยโดยทางเจ้ าพนักงานศาล จ าเลยจะเสนอข้ อ
คัดค้ านของตนในการที่ศาลนัง่ พิจารณาคาขอนั ้นก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๒๕๗ ให้ ศาลมีอ านาจที่ จะสัง่ อนุญาตตามคาขอที่ไ ด้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ ได้
ภายในขอบเขตหรือโดยมีเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แล้ วแต่จะเห็นสมควร
ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ให้ ศาลแจ้ งคาสั่ง
นั ้นให้ จาเลยทราบ
ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ห้ ามชัว่ คราวมิให้ จาเลยโอน ขาย ยักย้ าย หรื อจาหน่ายซึ่งทรัพย์ สินที่
พิพาทหรือทรัพย์สนิ ของจาเลย ศาลจะกาหนดวิธีการโฆษณาตามที่เห็นสมควรเพื่อป้องกันการ
ฉ้ อฉลก็ได้
ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ห้ ามชัว่ คราวมิให้ จาเลยโอน ขาย ยักย้ าย หรื อจาหน่ายซึ่งทรัพย์ สินที่
พิพาทหรือทรัพย์สนิ ของจาเลยที่กฎหมายกาหนดไว้ ให้ จดทะเบียน หรื อมีคาสัง่ ให้ นายทะเบียน
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมาย ระงับการจดทะเบียนการแก้ ไข
เปลีย่ นแปลงทางทะเบียน หรื อการเพิกถอนการจดทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์ สินดังกล่าวหรื อที่
เกี่ยวกับการกระทาที่ถูกฟ้องร้ อง ให้ ศาลแจ้ ง คาสัง่ นั ้นให้ นายทะเบียนพนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อ
บุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมายทราบ และให้ บุคคลดังกล่าวบันทึกคาสัง่ ของศาลไว้ ใน
ทะเบียน
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ก่อนที่ศาลจะออกหมายยึด หมายอายัด หมายห้ ามชั่วคราวหมายจับ
หรือคาสัง่ ใด ๆ ศาลจะสัง่ ให้ ผ้ ขู อนาเงินหรื อหาประกันตามจานวนที่เห็นสมควรมาวางศาลเพื่อ
การชาระค่าสินไหมทดแทนซึง่ จาเลยอาจได้ รับตามมาตรา ๒๖๓ ก็ได้

มาตรา ๒๕๘ คาสัง่ ศาลซึง่ อนุญาตตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๑) นั ้นให้ บังคับ
จาเลยได้ ทันทีแล้ วแจ้ งคาสัง่ นั ้นให้ จาเลยทราบโดยไม่ชักช้ าแต่จะใช้ บังคับบุคคลภายนอก ซึ่ง
พิสจู น์ได้ ว่าได้ รับโอนสุจริตและเสียค่าตอบแทนก่อนการแจ้ งคาสัง่ ให้ จาเลยทราบมิได้
Jus_Highlight

คาสัง่ ศาลซึง่ อนุญาตตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๒) นั ้น ให้ บังคับจาเลยได้ ทันที


ถึงแม้ วา่ จาเลยจะยังมิได้ รับแจ้ งคาสัง่ เช่นว่านั ้นก็ตาม เว้ นแต่ศาลจะได้ พิเคราะห์ พฤติการณ์ แห่ง
คดีแล้ ว เห็นสมควรให้ คาสัง่ มีผลบังคับเมื่อจาเลยได้ รับแจ้ งคาสัง่ เช่นว่านั ้นแล้ ว
คาสัง่ ศาลซึง่ อนุญาตตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่เกี่ยวกับทรัพย์ สินที่พิพาท
หรือทรัพย์สนิ ของจาเลย นั ้น ให้ มีผลใช้ บงั คับได้ ทนั ที ถึงแม้ ว่านายทะเบียน พนักงานเจ้ าหน้ าที่
หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมายจะยังมิได้ รับแจ้ งคาสัง่ เช่นว่านั ้นก็ตามเว้ นแต่ศาล
จะได้ พิเคราะห์ พฤติการณ์ แห่งคดีแล้ วเห็นสมควรให้ คาสัง่ มีผลบังคับเมื่อบุคคลดังกล่าวได้ รับ
แจ้ งคาสัง่ เช่นว่านั ้นแล้ ว
คาสัง่ ศาลซึง่ อนุญาตตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่เกี่ยวกับการกระทาที่ถูก
ฟ้องร้ องให้ มีผลใช้ บังคับแก่น ายทะเบียน พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรื อบุคคลอื่ นผู้มีอ านาจหน้ า ที่
ตามกฎหมายต่อเมื่อบุคคลดังกล่าวได้ รับแจ้ งคาสัง่ เช่นว่านั ้นแล้ ว
หมายจับ จ าเลยที่ ศาลได้ อ อกตามคาขอที่ ไ ด้ ยื่น ตามมาตรา ๒๕๔ (๔) ให้ บัง คับได้ ทั่ว
ราชอาณาจักร การกักขังตามหมายจับเช่นว่านี ้ ห้ ามมิให้ กระทาเกินหกเดือนนับแต่วนั จับ

มาตรา ๒๕๘ ทวิ การที่จาเลยได้ ก่อให้ เกิด โอน หรื อเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิ ในทรัพย์ สินที่
พิพาท หรือทรัพย์สนิ ของจาเลยภายหลังที่คาสัง่ ของศาลที่ห้ามโอน ขาย ยักย้ าย หรื อจาหน่าย
ซึง่ ออกตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา ๒๕๔ (๒) มีผลใช้ บงั คับแล้ วนั ้น หาอาจใช้ ยันแก่โจทก์ หรื อ
เจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ ไ ม่ ถึงแม้ ว่าราคาแห่งทรั พย์ สินนั ้นจะเกิน กว่าจานวนหนี ้และค่าฤชา
ธรรมเนียมในการฟ้องร้ องและการบัง คับคดี และจาเลยได้ จาหน่ ายทรัพย์ สินเพียงส่วนที่เกิ น
จานวนนั ้นก็ตาม
การที่นายทะเบียน พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมายรับจด
ทะเบียนหรือแก้ ไขเปลีย่ นแปลงทางทะเบียน หรือเพิกถอนการจดทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์ สินที่
พิพาทหรื อทรั พย์ สินของจาเลยภายหลัง ที่คาสัง่ ของศาลซึ่งออกตามคาขอที่ได้ ยื่นตามมาตรา
Jus_Highlight

๒๕๔ (๓) มีผลใช้ บังคับแล้ วนั ้นหาอาจใช้ ยันแก่โจทก์ หรื อเจ้ า พนักงานบังคับคดีได้ ไม่ เว้ นแต่
ผู้รับโอนจะพิสจู น์ ได้ ว่าได้ รับโอนโดยสุจริ ต และเสียค่าตอบแทนก่อนที่นายทะเบียน พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมายจะได้ รับแจ้ งคาสัง่
การที่นายทะเบียน พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอานาจหน้ าที่ตามกฎหมายรับจด
ทะเบียน หรือแก้ ไขเปลีย่ นแปลงทางทะเบียน หรือเพิกถอนการจดทะเบียนที่เกี่ยวกับการกระทา
ที่ถูกฟ้องร้ องภายหลังที่บุคคลดังกล่าวได้ รับแจ้ งคาสั่งของศาลซึ่ง ออกตามคาขอที่ได้ ยื่นตาม
มาตรา ๒๕๔ (๓) แล้ วนั ้น ยังไม่มีผลใช้ บังคับตามกฎหมายในระหว่างใช้ วิธีการชั่วคราวก่อ น
พิพากษา

มาตรา ๒๕๙ ให้ นาบทบัญญั ติใ นลักษณะ ๒ แห่ งภาคนี ้ว่ าด้ วยการบัง คับ คดี ตามคา
พิพากษาหรือคาสัง่ มาใช้ บงั คับแก่วิธีการชัว่ คราวก่อนพิพากษาด้ วยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๖๐ ในกรณีที่คาพิพากษาหรือคาสัง่ ชี ้ขาดตัดสินคดีมิได้ กล่าวถึงวิธีการชั่วคราว


ก่อนพิพากษาที่ศาลได้ สงั่ ไว้ ในระหว่างการพิจารณา
(๑) ถ้ าคดีนั ้นศาลตัดสินให้ จาเลยเป็ นฝ่ ายชนะคดีเต็มตามข้ อหาหรื อบางส่วนคาสัง่ ของ
ศาลเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวในส่วนที่ จาเลยชนะคดีนั ้น ให้ ถือว่าเป็ นอันยกเลิกเมื่อพ้ นกาหนด
เจ็ด วัน นับแต่วันที่ ศาลมีคาพิพ ากษาหรื อ คาสัง่ เว้ นแต่โจทก์ จะได้ ยื่นคาขอฝ่ ายเดียวต่อ ศาล
ชั ้นต้ นภายในกาหนดเวลาดังกล่าว แสดงว่าตนประสงค์จะยื่นอุทธรณ์ หรื อฎี กาคาพิพากษาหรื อ
คาสัง่ นัน้ และมี เหตุอัน สมควรที่ศาลจะมีคาสั่งให้ วิ ธีการชั่วคราวเช่นว่า นั ้นยังคงมีผลใช้ บังคับ
ต่อไปในกรณีเช่นว่านี ้ ถ้ าศาลชั ้นต้ นมีคาสัง่ ให้ ยกคาขอของโจทก์ คาสัง่ ของศาลให้ เป็ นที่สดุ ถ้ า
ศาลชัน้ ต้ น มีคาสั่งให้ วิธีการชั่ว คราวยังคงมีผลใช้ บังคับต่ อไป คาสั่งของศาลชั ้นต้ นให้ มี ผลใช้
บังคับต่อไปจนกว่าจะครบกาหนดยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาหรือศาลมีคาสัง่ ถึงที่สดุ ไม่รับอุทธรณ์ หรื อ
Jus_Highlight

ฎี กาแล้ วแต่กรณี เมื่ อมีการอุท ธรณ์ ห รื อฎี กาแล้ ว คาสัง่ ของศาลชัน้ ต้ นให้ มีผลใช้ บังคับ ต่อไป
จนกว่าศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาจะมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น
(๒) ถ้ าคดีนั ้นศาลตัดสินให้ โจทก์ เป็ นฝ่ ายชนะคดี คาสัง่ ของศาลเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราว
ยังคงมีผลใช้ บงั คับต่อไปเท่าที่จาเป็ นเพื่อปฏิบตั ิตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาล

มาตรา ๒๖๑ จาเลยหรื อบุคคลภายนอกซึ่งได้ รับหมายยึด หมายอายัดหรื อคาสัง่ ตาม


มาตรา ๒๕๔ (๑) (๒) หรื อ (๓) หรื อจะต้ อ งเสียหายเพราะหมายยึด หมายอายัด หรื อคาสั่ง
ดังกล่าวอาจมีคาขอต่อศาลให้ ถอนหมาย เพิกถอนคาสัง่ หรือแก้ ไขเปลี่ยนแปลงคาสัง่ หมายยึด
หรื อ หมายอายัด ซึ่ง ออกตามคาสั่งดัง กล่าวได้ แต่ ถ้า บุคคลภายนอกเช่ น ว่ านัน้ ขอให้ ป ล่อ ย
ทรัพย์สนิ ที่ยดึ หรือคัดค้ านคาสัง่ อายัดให้ นามาตรา ๒๘๘ หรื อมาตรา ๓๑๒ แล้ วแต่กรณี มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
จาเลยซึ่งถูกศาลออกคาสัง่ จับกุมตามมาตรา ๒๕๔ (๔) อาจมีคาขอต่อศาลให้ เพิกถอน
ค าสั่ง ถอนหมาย หรื อ ให้ ปล่ อ ยตั ว ไปโดยไม่ มี เ งื่ อ นไขหรื อ ให้ ปล่ อ ยตั ว ไปชั่ ว คราวโดยมี
หลักประกันตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรหรือไม่ก็ได้
ถ้ า ปรากฏว่ า วิ ธี การที่ กาหนดไว้ ตามมาตรา ๒๕๔ นัน้ ไม่ มีเ หตุเ พี ยงพอหรื อมี เ หตุอัน
สมควรประการอื่น ศาลจะมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอหรื อมีคาสัง่ อื่นใดตามที่เห็นสมควร เพื่ อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรมก็ได้ ทั ้งนี ้ ศาลจะกาหนดให้ ผ้ ขู อวางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมา
ให้ ตามจานวนและภายในระยะเวลาที่เห็นสมควรหรือจะกาหนดเงื่อนไขใด ๆ ตามที่เห็นสมควร
ก็ไ ด้ แ ต่ใ นกรณี ที่เ ป็ นการฟ้ องเรี ยกเงิ น ห้ า มไม่ใ ห้ ศาลเรี ยกประกันเกิน กว่ าจ านวนเงิ นที่ ฟ้อง
รวมทั ้งค่าฤชาธรรมเนียม

มาตรา ๒๖๒ ถ้ าข้ อเท็จจริ งหรื อพฤติการณ์ ที่ศาลอาศัยเป็ นหลักในการมีคาสัง่ อนุญาต


ตามคาขอในวิธีการชัว่ คราวอย่างใดอย่างหนึง่ นั ้นเปลี่ยนแปลงไป เมื่อศาลเห็นสมควร หรื อเมื่อ
Jus_Highlight

จาเลยหรือบุคคลภายนอกตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๖๑ มีคาขอศาลที่คดีนั ้นอยู่ในระหว่าง


พิจารณาจะมีคาสัง่ แก้ ไขหรือยกเลิกวิธีการเช่นว่านั ้นเสียก็ได้
ในระหว่า งระยะเวลานับแต่ ศาลชั ้นต้ นหรื อศาลอุทธรณ์ ไ ด้ อ่า นคาพิ พากษาหรื อคาสัง่ ชี ้
ขาดคดีหรือชี ้ขาดอุทธรณ์ไปจนถึงเวลาที่ศาลชั ้นต้ นได้ ส่งสานวนความที่อุทธรณ์ หรื อฎี กาไปยัง
ศาลอุท ธรณ์ ห รื อ ศาลฎี กา แล้ ว แต่ กรณี คาขอตามมาตรานี ใ้ ห้ ยื่น ต่ อ ศาลชัน้ ต้ น และให้ เ ป็ น
อานาจของศาลชั ้นต้ นที่จะมีคาสัง่ คาขอเช่นว่านั ้น

มาตรา ๒๖๓ ในกรณีที่ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอในวิธีการชั่วคราวตามลักษณะนี ้


จาเลยซึง่ ต้ องถูกบังคับโดยวิธีการนั ้นอาจยื่นคาขอต่อศาลชั ้นต้ นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มี
คาพิพ ากษาของศาลที่มี คาสั่งตามวิธี การชั่วคราวนั ้น ขอให้ มี คาสัง่ ให้ โ จทก์ ช ดใช้ ค่าสินไหม
ทดแทนแก่ตนได้ ในกรณีดงั ต่อไปนี ้
(๑) คดีนั ้นศาลตัดสินใจให้ โจทก์ เ ป็ นฝ่ ายแพ้ และปรากฏว่าศาลมี คาสัง่ โดยมีความเห็ น
หลงไปว่าสิทธิเรียกร้ องของผู้ขอมีมูล โดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอ
(๒) ไม่ว่าคดีนั ้นศาลจะชี ้ขาดตัดสินให้ โจทก์ชนะหรือแพ้ คดี ถ้ าปรากฏว่าศาลมีคาสัง่ โดยมี
ความเห็นหลงไปว่าวิธีการเช่นว่านี ้มีเหตุผลเพียงพอ โดยความผิดหรือเลินเล่อของผู้ขอ
เมื่อได้ รับคาขอตามวรรคหนึ่ง ศาลมีอานาจสัง่ ให้ แยกการพิจารณาเป็ นสานวนต่างหาก
จากคดีเดิม และเมื่อศาลทาการไต่สวนแล้ วเห็นว่าคาขอนั ้นรับฟั งได้ ก็ให้ มีคาสัง่ ให้ โจทก์ ชดใช้ ค่า
สิน ไหมทดแทนให้ แก่ จ าเลยได้ ตามจ านวนที่ ศาลเห็ น สมควร ถ้ า ศาลที่ มี คาสั่ง ตามวิ ธี การ
ชั่วคราวเป็ นศาลอุทธรณ์ หรื อศาลฎี กา เมื่อศาลชั ้นต้ นทาการไต่สวนแล้ ว ให้ ส่งสานวนให้ ศาล
อุทธรณ์ หรื อศาลฎี กา แล้ ว แต่กรณี เป็ นผู้สงั่ คาขอนั ้นถ้ าโจทก์ ไม่ป ฏิ บัติตามคาสั่งศาล ศาลมี
อานาจบังคับโจทก์เสมือนหนึง่ ว่าเป็ นลูกหนี ้ตามคาพิพากษา แต่ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ให้ โจทก์
ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนตาม (๑) ให้ งดการบังคับคดีไว้ จนกว่าศาลจะมีคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้
โจทก์แพ้ คดี
Jus_Highlight

คาสัง่ ของศาลชั ้นต้ นหรือศาลอุทธรณ์ตามวรรคสอง ให้ อทุ ธรณ์หรือฎี กาได้ ตามบทบัญญัติ


ว่าด้ วยการอุทธรณ์หรือฎีกา

มาตรา ๒๖๔ นอกจากกรณีที่บญ


ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๕๓ และมาตรา ๒๕๔คู่ความชอบที่
จะยื่นคาขอต่อศาล เพื่อให้ มีคาสัง่ กาหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ ของผู้ขอในระหว่างการ
พิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคาพิพากษา เช่น ให้ นาทรัพย์สนิ หรือเงินที่พิพาทมาวางต่อศาลหรื อ
ต่อบุคคลภายนอก หรือให้ ตั ้งผู้จดั การหรือผู้รักษาทรัพย์สนิ ของห้ างร้ านที่ทาการค้ าที่ พิพาท หรื อ
ให้ จดั ให้ บคุ คลผู้ไร้ ความสามารถอยู่ในความปกครองของบุคคลภายนอก
คาขอตามวรรคหนึ่งให้ บังคับตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๒๗ มาตรา ๒๒๘
มาตรา ๒๖๐ และมาตรา ๒๖๒

มาตรา ๒๖๕ ในกรณีที่ ศาลยอมรั บเอาบุคคลเป็ นประกันตามที่ บัญญั ติไว้ ใ นประมวล


กฎหมายนี ้ และบุคคลนัน้ แสดงกิ ริยาซึ่ง พอจะเห็ น ได้ ว่ า จะท าให้ โจทก์ เ สียเปรี ยบ หรื อ จะ
หลีกเลีย่ ง ขัดขวาง หรือกระทาให้ เนิ่นช้ าซึ่งการปฏิ บัติตามหน้ าที่ของตน ให้ นาบทบัญญัติแห่ง
หมวดนี ้มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

หมวด ๒
คาขอในเหตุฉุกเฉิน

มาตรา ๒๖๖ ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินเมื่อโจทก์ ยื่นคาขอตามมาตรา ๒๕๔โจทก์ จะยื่นคา


ร้ องรวมไปด้ วยเพื่อให้ ศาลมีคาสัง่ หรือออกหมายตามที่ขอโดยไม่ชกั ช้ าก็ได้
เมื่ อ ได้ ยื่ น ค าร้ องเช่ น ว่ า มานี ้ วิ ธี พิ จ ารณาและชี ข้ าดค าขอนั น้ ให้ อยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ
บทบัญญัติมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ และมาตรา ๒๖๙
Jus_Highlight

มาตรา ๒๖๗ ให้ ศาลพิจารณาคาขอเป็ นการด่วน ถ้ าเป็ นที่พอใจจากคาแถลงของโจทก์


หรื อ พยานหลักฐานที่ โ จทก์ ไ ด้ นามาสืบ หรื อ ที่ศาลได้ เ รี ยกมาสืบ เองว่ า คดีนัน้ เป็ นคดี มี เ หตุ
ฉุกเฉินและคาขอนั ้นมีเหตุผลสมควรอันแท้ จริ ง ให้ ศาลมีคาสัง่ หรื อออกหมายตามที่ขอภายใน
ขอบเขตและเงื่อนไขไปตามที่เห็นจาเป็ นทันที ถ้ าศาลมีคาสัง่ ให้ ยกคาขอ คาสัง่ เช่นว่านี ้ให้ เป็ น
ที่สดุ
จาเลยอาจยื่นคาขอโดยพลัน ให้ ศาลยกเลิกคาสัง่ หรื อหมายนั ้นเสีย และให้ นาบทบัญญัติ
แห่ ง วรรคก่ อ นมาใช้ บัง คับ โดยอนุโ ลม คาขอเช่ น ว่ า นี อ้ าจท าเป็ นคาขอฝ่ ายเดี ยวโดยได้ รั บ
อนุญาตจากศาล ถ้ าศาลมีคาสัง่ ยกเลิกคาสัง่ เดิมตามคาขอคาสัง่ เช่นว่านี ้ให้ เป็ นที่ สดุ
การที่ ศาลยกค าขอในเหตุฉุกเฉิ นหรื อยกเลิกคาสัง่ ที่ได้ ออกตามคาขอในเหตุฉุกเฉินนัน้
ย่อมไม่ตดั สิทธิโจทก์ที่จะเสนอคาขอตามมาตรา ๒๕๔ นั ้นใหม่

มาตรา ๒๖๘ ในกรณีที่มีคาขอในเหตุฉุกเฉิน ให้ ศาลมีอานาจที่จะใช้ ดุลพินิจวินิจฉัยว่า


คดีนั ้นมีเหตุฉกุ เฉินหรือไม่ ส่วนวิธีการที่ศาลจะกาหนดนั ้น หากจาเป็ นต้ องเสื่อมเสียแก่สิทธิ ของ
คู่ความในประเด็นแห่งคดี ก็ให้ เสือ่ มเสียเท่าที่จาเป็ นแก่กรณี

มาตรา ๒๖๙ ค าสั่ง ศาลซึ่งอนุญาตตามคาขอในเหตุฉุกเฉิ นนัน้ ให้ มีผลบัง คับตามที่


บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๕๘ และมาตรา ๒๕๘ ทวิ อนึง่ ศาลจะสัง่ ให้ โจทก์ รอการบังคับไว้ จนกว่า
ศาลจะได้ วินิจฉัยชี ้ขาดคาขอให้ ยกเลิกคาสัง่ หรือจนกว่าโจทก์จะได้ วางประกันก็ได้

มาตรา ๒๗๐ บทบัญญั ติใ นหมวดนี ้ ให้ ใ ช้ บัง คับ แก่ คาขออื่ น ๆ นอกจากคาขอตาม
มาตรา ๒๕๔ ได้ ต่อเมื่อประมวลกฎหมายนี ้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติไว้ โดยชัดแจ้ ง
Jus_Highlight

ลักษณะ ๒
การบังคับคดีตามคาพิพากษาหรอ อคาสั่ง

หมวด ๑
หลักทั่วไป

มาตรา ๒๗๑ ถ้ า คู่ความหรื อบุคคลซึ่ง เป็ นฝ่ ายแพ้ คดี (ลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษา)มิ ไ ด้
ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลทั ้งหมดหรื อบางส่วน คู่ความหรื อบุคคลซึ่งเป็ นฝ่ าย
ชนะ (เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา) ชอบที่จะร้ องขอให้ บังคับคดี ตามคาพิพากษา หรื อคาสัง่ นั ้นได้
ภายในสิบ ปี นับ แต่ วัน มี คาพิ พ ากษาหรื อ คาสั่ง โดยอาศั ยและตามคาบัง คับ ที่ อ อกตามค า
พิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น

มาตรา ๒๗๒ ถ้ าศาลได้ พิพากษาหรือมีคาสัง่ อย่างใดซึง่ จะต้ องมีการบังคับคดีก็ให้ ศาลมี


คาบังคับ ก าหนดวิธี ที่ จ ะปฏิ บัติตามคาบังคับ ในวัน ที่ ไ ด้ อ่ านคาพิพ ากษาหรื อ คาสัง่ และเจ้ า
พนักงานศาลส่งคาบังคับนั ้นไปยังลูกหนี ้ตามคาพิพากษา เว้ นแต่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้ อยู่
ในศาลในเวลาที่ศาลมีคาบังคับนั ้น และศาลได้ สงั่ ให้ ลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ

มาตรา ๒๗๓ ถ้ าในคาบังคับได้ กาหนดให้ ใช้ เงิน หรื อให้ ส่งทรัพย์ สิน หรื อให้ กระทาการ
หรื อ งดเว้ นกระท าการอย่ างใด ๆ ให้ ศาลระบุไว้ ใ นคาบังคับนั ้นโดยชัดแจ้ ง ซึ่งระยะเวลาและ
เงื่อนไขอื่น ๆ อันจะต้ องใช้ เงิน ส่งทรัพย์สนิ กระทาการหรืองดเว้ นกระทาการใด ๆ นั ้นแต่ถ้าเป็ น
คดีมโนสาเร่ ศาลไม่จาต้ องให้ เวลาแก่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาเกินกว่าสิบห้ าวันในอันที่จะปฏิ บัติ
ตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น
ถ้ าศาลได้ พิพากษาหรือมีคาสัง่ โดยขาดนัด ให้ ศาลให้ เวลาไม่ต่ากว่าเจ็ดวันแก่ค่คู วามฝ่ าย
ที่ขาดนัดในอันที่จะปฏิบตั ิตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น
Jus_Highlight

ระยะเวลาที่ระบุไว้ นั ้นให้ เริ่ มนับแต่วัน ที่ลกู หนี ้ตามคาพิ พากษาได้ ลงลายมือชื่อ ไว้ ในคา
บัง คับ หรื อ วัน ที่ ไ ด้ ส่ง ค าบัง คับให้ แ ก่ลูกหนี ้ตามคาพิ พ ากษา แล้ ว แต่ กรณี เว้ นแต่ ศาลจะได้
กาหนดไว้ โดยชัดแจ้ งว่า ให้ นับตั ้งแต่วัน ใดวันหนึ่ง ในภายหลังต่อมาตามที่ศาลจะเห็นสมควร
กาหนดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
นอกจากนี ้ให้ ศาลระบุไว้ โดยชัดแจ้ งในคาบังคับว่าในกรณีที่มิได้ มีการปฏิ บัติตามคาบังคับ
เช่นว่านี ้ภายในระยะเวลาหรื อภายในเงื่อนไขที่ได้ กาหนดไว้ ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาจะต้ องถูก
ยึดทรัพย์ หรือถูกจับและจาขังดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในหมวดนี ้

มาตรา ๒๗๔ ถ้ าบุคคลใด ๆ ได้ เข้ าเป็ นผู้ค ้าประกันในศาลโดยทาเป็ นหนังสือประกันหรื อ


โดยวิ ธี อื่ น ๆ เพื่ อ การช าระหนี ต้ ามคาพิ พ ากษา หรื อ คาสั่ง หรื อ แต่ ส่ว นใดส่ว นหนึ่ง แห่ ง ค า
พิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น คาพิพากษาหรื อคาสัง่ เช่นว่านั ้นย่อมใช้ บังคับแก่การประกันนั ้นได้ โดย
ไม่ต้องฟ้องผู้ค ้าประกันขึ ้นใหม่

มาตรา ๒๗๕ ถ้ าเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาจะขอให้ บงั คับคดี ให้ ยื่นคาขอฝ่ ายเดียวต่อศาล
เพื่อให้ ออกหมายบังคับคดี
คาขอนั ้นให้ ระบุโดยชัดแจ้ ง
(๑) คาพิพากษาหรือคาสัง่ ซึง่ จะขอให้ มีการบังคับคดีตามนั ้น
(๒) จานวนที่ยงั มิได้ รับชาระตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น
(๓) วิธีการบังคับคดีซงึ่ ขอให้ ออกหมายนั ้น

มาตรา ๒๗๖ ถ้ าศาลเห็นว่าคาบังคับที่ขอให้ บงั คับนั ้นได้ สง่ ให้ แก่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษา
หรือลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ ลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญแล้ ว และระยะเวลาที่ศาลได้ กาหนดไว้
เพื่อให้ ปฏิบตั ิตามคาบังคับนั ้นได้ ลว่ งพ้ นไปแล้ ว และคาขอนั ้นมีข้อความระบุไว้ ครบถ้ วนให้ ศาล
Jus_Highlight

ออกหมายบังคับคดีให้ ทันที หมายเช่นว่านี ้ ให้ ศาลแจ้ งให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทราบ เว้ นแต่
เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษานั ้นจะได้ นาหมายไปให้ แก่เจ้ าพนักงานเอง ส่วนลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
นั ้นให้ สง่ สาเนาหมายให้ ต่อเมื่อศาลได้ มีคาสัง่ ให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาเป็ นผู้จัดการส่งแต่ถ้า
มิได้ มีการส่งหมายดังกล่าวแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีหน้ าที่ต้องแสดงหมายนั ้น
ในกรณีออกหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์ สินอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ถ้ าศาลสงสัยว่าไม่
สมควรยึดทรัพย์สนิ นั ้น ศาลจะมีคาสัง่ ให้ ผ้ ขู อยึดวางเงินต่อศาลหรือหาประกันมาให้ ตามจานวน
ที่ศาลเห็นสมควรในเวลาที่ออกหมายก็ได้ เพื่อป้องกันการบุบสลายหรือสูญหายอันจะพึงเกิดขึน้
เนื่องจากการยึดทรัพย์ผิด
ในกรณีที่ออกหมายบังคับคดีให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาส่งมอบทรัพย์ สิน กระทาการ หรื อ
งดเว้ นกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรื อให้ ขับไล่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษา ให้ ศาลระบุเงื่อนไข
แห่งการบังคับคดีลงในหมายนั ้นตามมาตรา ๒๑๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้
ศาลกาหนดการบังคับคดีเ พียงเท่าที่สภาพแห่งการบังคับคดีจะเปิ ดช่องให้ ทาได้ โดยทางศาล
หรือโดยทางเจ้ าพนักงานบังคับคดี

มาตรา ๒๗๗ ถ้ าเจ้ า หนี ้ตามคาพิ พากษาเชื่ อว่ า ลูกหนี ต้ ามคาพิพ ากษามี ท รัพ ย์ สิน ที่
จะต้ องถูกบังคับมากกว่าที่ตนทราบแล้ ว เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาอาจยื่นคาขอฝ่ ายเดียวโดยทา
เป็ นคาร้ องต่อ ศาล ขอให้ ศาลท าการไต่สวนและออกหมายเรี ยกลูกหนี ้ตามคาพิ พากษาหรื อ
บุคคลอื่นที่เชื่อว่าอยู่ในฐานะที่จะให้ ถ้อยคาอันเป็ นประโยชน์มาในการไต่สวนเช่นว่านั ้น
เมื่อมีคาขอเช่นว่านี ้ ให้ ศาลทาการไต่สวนตามกาหนดและเงื่อนไขใด ๆ ที่เห็นสมควร
ในคดี ม โนสาเร่ หากศาลเห็ น เป็ นการสมควร ศาลจะออกหมายเรี ย กลูกหนี ต้ ามค า
พิพากษาหรือบุคคลอื่นมาไต่สวนเกี่ยวกับทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาก่อนออกหมาย
บังคับคดี แล้ วจดแจ้ งผลการไต่สวนไว้ ในหมายบังคับคดีด้วยก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๒๗๘ ภายใต้ บัง คับ บทบั ญญั ติแ ห่ ง ภาคนี ว้ ่ า ด้ ว ยอ านาจและหน้ า ที่ ข องเจ้ า
พนักงานบังคับคดี นับแต่วนั ที่ได้ สง่ หมายบังคับคดีให้ แก่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษา หรื อถ้ าหมาย
นั ้นมิได้ สง่ นับแต่วนั ออกหมายนั ้นเป็ นต้ นไป ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจในฐานเป็ นผู้แทน
เจ้ าหนี ้ตามคาพิ พากษาในอันที่ จะรั บชาระหนี ห้ รื อ ทรัพย์ สินที่ ลกู หนี น้ ามาวางและออกใบรั บ
ให้ กับ มี อ านาจที่ จ ะยึดหรื อ อายัดและยึดถื อ ทรั พ ย์ สิน ของลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษาไว้ และมี
อานาจที่จะเอาทรัพย์สนิ เช่นว่านี ้ออกขายทอดตลาด ทั ้งมีอานาจที่จะจาหน่ายทรัพย์ สินหรื อเงิน
รายได้ จากการนั ้นและดาเนินวิธีการบังคับทั่ว ๆ ไปตามที่ศาลได้ กาหนดไว้ ในหมายบังคับคดี
รวมทั ้งให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการบังคับคดีได้ โดยให้
ถือเสมือนเป็ นเจ้ าพนักงานศาล
ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นผู้รับผิดในการรักษาไว้ โดยปลอดภัย ซึ่งเงินหรื อทรัพย์ สินหรื อ
เอกสารทั ้งปวงที่ยดึ มาหรือที่ได้ ชาระหรือส่งมอบให้ แก่เจ้ าพนักงานตามหมายบังคับคดี
ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาบันทึกแล้ วรักษาไว้ ในที่ปลอดภัย ซึง่ วิธีการบังคับทั ้งหลายที่ได้
จัดทาไป และรายงานต่อศาลเป็ นระยะ ๆ ไป
ในการปฏิ บัติ หน้ าที่ ของเจ้ า พนักงานบัง คับ คดี เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี จะมอบหมายใ ห้
บุคคลอื่นปฏิบตั ิการแทนก็ได้ ทั ้งนี ้ ตามคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
ให้ หกั ค่าธรรมเนียมเจ้ าพนักงานบังคับคดีตามตาราง ๕ ท้ ายประมวลกฎหมายนี ้ เพื่อให้
กรมบังคับคดีพิจารณาจ่ายเป็ นค่าตอบแทนแก่ผ้ ทู ี่ได้ รับมอบหมายตามวรรคสี่โดยไม่ต้องนาส่ง
กระทรวงการคลัง ทั ้งนี ้ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมกาหนดโดยได้ รับความเห็นชอบ
จากกระทรวงการคลัง

มาตรา ๒๗๘/๑ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจส่งเอกสารเกี่ยวกับการบังคับคดีตาม


คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ตามลักษณะ ๒ แห่งภาคนี ้ และให้ รายงานการส่งเอกสารนั ้นรวมไว้ ใ น
Jus_Highlight

สานวนการบังคับ คดีด้ว ย ทั ้งนี ้ ให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๗๓ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๖ มาตรา


๗๗ มาตรา ๗๘ และมาตรา ๘๐ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
นอกจากการส่งเอกสารตามวรรคหนึ่ง ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจสัง่ ให้ ส่งโดยทาง
ไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ โดยให้ ผ้ มู ีหน้ าที่นาส่งเป็ นผู้ เสียค่าธรรมเนียมไปรษณียากร กรณี
เช่นนี ้ ให้ ถือว่าเอกสารที่สง่ โดยเจ้ าพนักงานไปรษณีย์มีผลเสมือนเจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นผู้ส่ง
และให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๗๔ มาตรา ๗๖ และมาตรา ๗๗ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
ถ้ า การส่งเอกสารไม่ สามารถจะท าได้ ดัง ที่ บัญญัติไ ว้ ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง เจ้ า
พนักงานบังคับคดีมีอานาจสัง่ ให้ สง่ เอกสารโดยวิธีอื่นแทนได้ กล่าวคือ ปิ ดเอกสารไว้ ในที่แลเห็น
ได้ ง่ าย ณ ภูมิ ลาเนาหรื อสานักทาการงานของบุคคลผู้มีชื่ อระบุไ ว้ ใ นเอกสารหรื อมอบหมาย
เอกสารไว้ แก่เจ้ าพนักงานฝ่ ายปกครองในท้ องถิ่นหรือเจ้ าพนักงานตารวจ แล้ วปิ ดประกาศแสดง
การที่ได้ มอบหมายดังกล่าวแล้ ว หรือลงโฆษณา หรือทาวิธีอื่นใดตามที่เห็นสมควร ทั ้งนี ้ ให้ มีผล
ใช้ ไ ด้ ต่ อ เมื่ อ ก าหนดเวลาสิบ ห้ า วัน หรื อ ระยะเวลานานกว่ า นัน้ ตามที่ เ จ้ า พนักงานบัง คับ คดี
เห็นสมควรกาหนดได้ ลว่ งพ้ นไปแล้ ว นับตั ้งแต่เวลาที่เอกสารหรื อประกาศแสดงการมอบหมาย
นั ้นได้ ปิดไว้ หรือการโฆษณาหรื อวิธีอื่นใดตามที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีสงั่ นั ้นได้ ทาหรื อได้ ตั ้งต้ น
แล้ ว

มาตรา ๒๗๙ เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี จ ะต้ อ งดาเนิ น การบัง คับคดี แ ต่ ใ นระหว่ า งพระ
อาทิ ต ย์ ขึน้ และพระอาทิตย์ ตกในวัน ท าการงานปกติ เว้ น แต่ ใ นกรณีมี เ หตุฉุกเฉิ น โดยได้ รับ
อนุญาตจากศาล
ในการที่จะดาเนินการบังคับคดี เจ้ าพนักงานบังคับคดีย่อมมีอานาจเท่าที่มีความจาเป็ น
เพื่อที่จ ะค้ นสถานที่ใ ด ๆ อันเป็ นของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อ ที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้
ปกครองอยู่ เช่น บ้ านที่อยู่ คลังสินค้ า โรงงาน และร้ านค้ าขาย ทัง้ มีอานาจที่จ ะยึดและตรวจ
Jus_Highlight

สมุดบัญชี หรือแผ่นกระดาษ และกระทาการใด ๆ ตามสมควร เพื่อเปิ ดสถานที่ หรื อบ้ านที่อยู่


หรือโรงเรือนดังกล่าวแล้ วรวมทั ้งตู้นิรภัย ตู้หรือที่เก็บของอื่น ๆ
ถ้ ามีผ้ ูขัดขวาง เจ้ าพนักงานบัง คับคดีชอบที่จะร้ องขอความช่วยเหลือจากเจ้ าพนักงาน
ตารวจเพื่อดาเนินการบังคับคดีจนได้

มาตรา ๒๘๐ เพื่อประโยชน์แห่งบทบัญญัติในภาคนี ้ บุคคลต่อไปนี ้ให้ ถือว่ามีส่วนได้ เสีย


ในวิธี บังคับคดี อันเกี่ ยวด้ วยทรัพย์ สินอย่ างใดอย่า งหนึ่ง หรื อสิท ธิ เรี ยกร้ องของลูกหนี ้ตามคา
พิพากษา
(๑) เจ้ าหนี ต้ ามค าพิ พ ากษา ลูก หนี ต้ ามคาพิ พ ากษา และในกรณี ที่ มี ก ารอายัดสิท ธิ
เรียกร้ อง ลูกหนี ้แห่งสิทธิเรียกร้ องนั ้น
(๒) บุคคลอื่น ใดซึ่งชอบที่จ ะใช้ สิท ธิ อันได้ จ ดทะเบี ยนไว้ โดยชอบหรื อ ที่ได้ ยื่น คาร้ อ งขอ
ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๘๘, ๒๘๙ และ ๒๙๐ อันเกี่ยวกับทรัพย์ สิน หรื อสิทธิ เรี ยกร้ องเช่น
ว่ามานั ้น เว้ นแต่คาร้ องขอเช่นว่านี ้จะได้ ถกู ยกเสียในชั ้นที่สดุ

มาตรา ๒๘๑ บุคคลผู้มีสว่ นได้ เสียในวิธีการบังคับคดีอาจมาอยู่ด้วยในเวลาบังคับคดีนั ้น


แต่ต้องไม่ทาการป้องกันหรือขัดขวางแก่การบังคับคดี บุคคลที่กล่าวนั ้นอาจร้ องขอสาเนาบันทึก
ที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาขึ ้นทัง้ สิ ้นหรื อแต่บางฉบับอันเกี่ยวด้ วยวิธีการบังคับคดีนั ้นโดยเสีย
ค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดไว้

มาตรา ๒๘๒ ถ้ าคาพิพากษาหรือคาสัง่ ใดกาหนดให้ ชาระเงินจานวนหนึ่ง ภายใต้ บังคับ


แห่งบทบัญญัติ ห้ามาตราต่อ ไปนี ้ เจ้ าพนักงานบังคับ คดีย่อมมีอานาจที่จ ะรวบรวมเงิ นให้ พ อ
ชาระตามค าพิ พ ากษาหรื อ คาสั่ง โดยวิ ธี ยึดหรื อ อายัด และขายทรั พ ย์ สิน ของลู กหนี ต้ ามคา
พิพากษาตามบทบัญญัติในลักษณะนี ้ คือ
Jus_Highlight

(๑) โดยวิธียดึ และขายทอดตลาดสังหาริมทรัพย์อนั มีรูปร่างและอสังหาริมทรัพย์


(๒) โดยวิธีอายัดสังหาริมทรัพย์อนั มีรูปร่างและอสังหาริมทรัพย์ รวมทั ้งสิทธิ ทั ้งปวงอันมีอยู่
ในทรัพย์ เหล่านั ้น ซึ่งบุคคลภายนอกจะต้ องส่งมอบหรื อโอนมายัง ลูกหนี ้ตามคาพิพ ากษาใน
ภายหลัง และเมื่ อ ได้ ส่ง มอบหรื อ โอนมาแล้ ว เอาทรั พ ย์ สิน หรื อ สิ ท ธิ เ หล่ า นัน้ ออกขายหรื อ
จาหน่าย ในกรณีเช่นว่านี ้เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจจะยึดบรรดาเอกสารทั ้งปวงที่ให้ สิทธิ
แก่ลกู หนี ้ในอันที่จะได้ รับส่งมอบหรือรับโอนทรัพย์ สนิ หรือสิทธิเช่นว่ ามานั ้น
(๓) โดยวิ ธี อ ายัด เงิ น ที่ บุ คคลภายนอกจะต้ องช าระให้ แ ก่ ลูก หนี ต้ ามคาพิ พ ากษาใน
ภายหลัง แล้ วเรียกเก็บตามนั ้น ในกรณีเช่นว่านี ้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจที่จะยึดบรรดา
เอกสารทั ้งปวงที่ให้ สทิ ธิแก่ลกู นี ้ตามคาพิพากษาในอันที่จะได้ รับชาระเงินเช่นว่านั ้น
(๔) โดยวิ ธี ยึดเอกสารอื่น ๆ ทัง้ ปวง เช่น สัญญากระท าการงานต่ าง ๆ ซึ่งได้ ชาระเงิ น
ทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วนแล้ ว ซึ่งการบัง คับตามสัญญาเช่นว่านี ้อาจทวีจานวนหรื อราคาทรัพ ย์
ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา และเพื่อที่จะนาบทบัญญัติแห่งมาตรา ๓๑๐ (๔) มาใช้ บงั คับ
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี ้ ทรัพย์สนิ ที่เป็ นของภรรยาหรื อที่เป็ นของบุตรผู้เยาว์ ของลูกหนี ้
ตามคาพิพ ากษา ซึ่ง ตามกฎหมายอาจถือ ได้ ว่าเป็ นทรัพย์ สิน ของลูกหนี ต้ ามคาพิพ ากษาหรื อ
เป็ นทรัพย์สนิ ที่อาจบังคับเอาชาระหนี ้ตามคาพิพากษาได้ นั ้น เจ้ าพนักงานบังคับคดีอาจยึดหรื อ
อายัดและเอาออกขายได้ ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ข้างบนนี ้

มาตรา ๒๘๓ ถ้ าจะต้ องยึดหรืออายัดและขายทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาตาม


ความในมาตราก่ อน เจ้ าพนักงานบังคับคดีชอบที่ จะยึดหรื ออายัดหรื อขายบรรดาทรัพย์ สิน ที่
เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาอ้ างว่าเป็ นของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาภายใต้ บังคับบทบัญญัติมาตรา
๒๘๔ และ ๒๘๘
ถ้ า เจ้ าพนั ก งานบั ง คั บ คดี ไ ม่ ยึ ด ทรั พ ย์ อัน จะต้ อ งยึ ดภายในเวลาอั น ควรต้ องท าโดย
ปราศจากความระมัดระวังหรื อโดยสมรู้ เป็ นใจกับลูกหนี ้ตามคาพิพากษา หรื อบุคคลใดซึ่งเป็ น
Jus_Highlight

เจ้ าของทรั พ ย์ ที่ จ ะต้ อ งยึ ด หรื อ เพิ กเฉยไม่ ก ระท าการโดยเร็ ว ตามสมควร เจ้ าหนี ต้ ามค า
พิพากษาผู้ต้องเสียหายเพราะการนั ้น อาจยื่น คาร้ องต่อศาลขอให้ ปลดเปลื ้องทุกข์ ถ้ าศาลไต่
สวนเป็ นที่พอใจว่าข้ ออ้ างนั ้นเป็ นความจริง ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ ว่าเจ้ าพนักงานผู้นั ้นตกอยู่ในความ
รับผิด จาต้ องชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนให้ แก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาไม่เกินกว่าจานวนตามคา
พิพากษา ถ้ าเจ้ าพนักงานไม่ ชาระค่ าสิน ไหมทดแทนตามคาสัง่ ของศาล ศาลอาจออกหมาย
บังคับเอาแก่ทรัพย์ สินของเจ้ าพนักงานผู้นั ้นได้ แต่ถ้าเจ้ าพนักงานมีความสงสัยในการยึดหรื อ
อายัดทรัพย์สนิ ที่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ นาชี ้ดังกล่าวแล้ ว ซึ่งบุคคลอื่นนอกจากเจ้ าหนี ้ตาม
คาพิพากษาหรือบุคคลซึ่งเป็ นเจ้ าของทรัพย์ ที่ ยึดนั ้นมีชื่อเป็ นเจ้ าของในทะเบียน เจ้ าพนักงาน
นั ้นชอบที่จะงดเว้ นยึดหรืออายัดทรัพย์สนิ นั ้น และร้ องต่อศาลให้ กาหนดการอย่างใด ๆ เพื่อมิให้
ตนต้ องรับผิดในค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวมาแล้ ว

มาตรา ๒๘๔ เว้ นแต่จะได้ มีกฎหมายบัญญัติไว้ หรื อศาลจะได้ มีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่นห้ าม
ไม่ให้ ยึดหรื ออายัดทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาเกินกว่าที่พอจะชาระหนี ้ให้ แก่เจ้ าหนี ้
ตามคาพิพากษาพร้ อมทั ้งค่าฤชาธรรมเนียมในคดีและค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี อนึ่งถ้ าได้
เงินมาพอจานวนที่จะชาระหนี ้แล้ ว ห้ ามไม่ให้ เอาทรัพย์ สินที่ยึดหรื ออายัดออกขายทอดตลาด
หรือจาหน่ายด้ วยวิธีอื่น
ความรับผิดต่อลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อต่อบุคคลภายนอกเพื่อความเสียหายถ้ าหากมี
อันเกิดจากการยึดและขายทรัพย์ สินโดยมิชอบหรื อยึดทรัพย์ สินเกินกว่าที่จาเป็ นแก่การบังคับ
คดีนั ้น ย่อมไม่ตกแก่เจ้ าพนักงานบังคับคดี แต่ตกอยู่แก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา เว้ นแต่ในกรณี
เจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ กระทาการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้

มาตรา ๒๘๕ ทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาต่อไปนี ้ ย่อมไม่อยู่ในความรับผิดแห่ง


การบังคับคดี
Jus_Highlight

(๑) เครื่องนุ่งห่มหลับนอนหรือเครื่องใช้ ในครัวเรือนหรือเครื่องใช้ สอยส่วนตัวโดยประมาณ


รวมกันราคาไม่เกินห้ าหมื่นบาท ในกรณีที่ศาลเห็นสมควร ศาลจะกาหนดทรัพย์ สินดังกล่าวที่มี
ราคาเกิ นห้ าหมื่น บาท ให้ เป็ นทรั พย์ สินที่ไ ม่ต้องอยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีก็ได้ ทั ้งนี ้
โดยคานึงถึงความจาเป็ นตามฐานะของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
(๒) เครื่ องมื อหรื อเครื่ อ งใช้ ที่ จาเป็ นในการเลี ้ยงชี พ หรื อ ประกอบวิช าชีพ โดยประมาณ
รวมกันราคาไม่ เกินหนึ่งแสนบาท แต่ ถ้าลูกหนี ้ตามคาพิพากษามี คาขอโดยท าเป็ นคาร้ องต่ อ
ศาลขออนุญาตยึดหน่วงและใช้ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ อนั จาเป็ นเพื่อดาเนินการเลี ้ยงชีพหรื อการ
ประกอบวิชาชีพ อันมีราคาเกินกว่าจานวนราคาดังกล่าวแล้ ว ให้ ศาลมีอานาจที่จะใช้ ดุลพินิจ
อนุญาตหรือไม่อนุญาตภายในบังคับแห่งเงื่อนไขตามที่ศาลเห็นสมควร
(๓) วัตถุ เครื่ องใช้ และอุปกรณ์ ที่จาเป็ นต้ องใช้ ทาหน้ าที่แทนหรื อช่วยอวัยวะของลูกหนี ้
ตามคาพิพากษา
(๔) ทรัพย์สนิ อย่างใดที่โอนกันไม่ได้ ตามกฎหมาย หรื อตามกฎหมายย่อ มไม่อยู่ในความ
รับผิดแห่งการบังคับคดี
ทรั พย์ สิน ของลูกหนี ้ตามคาพิ พากษาอันมี ลักษณะเป็ นของส่ว นตัว โดยแท้ เช่ นหนัง สือ
สาหรั บ วงศ์ ต ระกู ล โดยเฉพาะ จดหมายหรื อ สมุ ดบั ญ ชี ต่ า ง ๆ นั น้ อาจยึด มาตรวจดูเ พื่ อ
ประโยชน์แห่งการบังคับคดีได้ ถ้ าจาเป็ น แต่ห้ามมิให้ เอาออกขายทอดตลาด
ประโยชน์แห่งข้ อยกเว้ นที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานี ้ ให้ ขยายไปถึงทรัพย์ สินตามวรรคหนึ่ง อัน
เป็ นของภริยาหรือของบุตรผู้เยาว์ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา ซึง่ ทรัพย์สินเช่นว่านี ้ตามกฎหมาย
อาจถือได้ ว่าเป็ นทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรือเป็ นทรัพย์สนิ ที่อาจบังคับเอาชาระหนี ้
ตามคาพิพากษาได้
ค าสั่ง ของศาลตามวรรคหนึ่ ง (๑) และ (๒) ให้ อุท ธรณ์ ไ ปยัง ศาลอุท ธรณ์ ไ ด้ และค า
พิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ
Jus_Highlight

มาตรา ๒๘๖ ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น เงินหรือสิทธิเรียกร้ องเป็ นเงินของ


ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาต่อไปนี ้ ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
(๑) เบี ้ยเลี ้ยงชีพซึง่ กฎหมายกาหนดไว้ และเงินรายได้ เป็ นคราว ๆ อันบุคคลภายนอกได้ ยก
ให้ เพื่ อ เลี ย้ งชี พ เป็ นจ านวนรวมกั น ไม่ เ กิ น เดื อ นละหนึ่ ง หมื่ น บาทหรื อ ตามจ านวนที่ ศ าล
เห็นสมควร
(๒) เงินเดือน ค่าจ้ าง บานาญ บาเหน็จ เบี ้ยหวัด หรื อรายได้ อื่นในลักษณะเดียวกันของ
ข้ าราชการ เจ้ าหน้ าที่ หรือลูกจ้ างในหน่วยราชการ และเงินสงเคราะห์ บานาญ หรื อบาเหน็จที่
หน่วยราชการได้ จ่ายให้ แก่ค่สู มรสหรือญาติที่ยงั มีชีวิตของบุคคลเหล่านั ้น
(๓) เงินเดือน ค่าจ้ าง บานาญ ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์ หรื อรายได้ อื่นในลักษณะเดียวกัน
ของพนักงาน ลูกจ้ าง หรือคนงาน นอกจากที่กล่าวไว้ ใน (๒) ที่นายจ้ างจ่ายให้ แก่บุคคลเหล่านั ้น
หรือคู่สมรส หรือญาติที่ยงั มีชีวิตของบุคคลเหล่านั ้น เป็ นจานวนรวมกันไม่เกินเดือนละหนึ่งหมื่น
บาท หรือตามจานวนที่ศาลเห็นสมควร
(๔) เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ ที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้ รับอันเนื่องมาแต่ความตายของ
บุคคลอื่ นเป็ นจานวนตามที่ จาเป็ นในการดาเนินการฌาปนกิจศพตามฐานะของผู้ตายที่ศาล
เห็นสมควร
ในกรณีที่ ศาลเป็ นผู้กาหนดจานวนเงินตาม (๑) และ (๓) ให้ ศาลกาหนดให้ ไม่ น้อยกว่ า
อัตราเงินเดือนขั ้นต่าสุดของข้ าราชการพลเรื อนในขณะนั ้นและไม่เกินอัตราเงินเดือนขั น้ สูงสุด
ของข้ า ราชการพลเรื อ นในขณะนั น้ โดยคานึ ง ถึง ฐานะในทางครอบครั ว ของลูกหนี ต้ ามค า
พิ พ ากษาและจ านวนบุ พ การี แ ละผู้สื บ สัน ดานซึ่ง อยู่ ใ นความอุ ป การ ะของลูก หนี ต้ ามค า
พิพากษาด้ วย
ในกรณีที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจออกคาสัง่ อายัดตามมาตรา ๓๑๑ วรรคสอง ให้
เจ้ าพนักงานบัง คับคดีมี อานาจกาหนดจานวนเงินตาม (๑) (๓) และ (๔) และให้ นาความใน
วรรคสองมาใช้ บงั คับแก่การกาหนดจานวนเงินตาม (๑) และ (๓) โดยอนุโลม แต่ถ้าเจ้ าหนี ้ตาม
Jus_Highlight

คาพิพากษา ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา หรื อบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้ เสียในการบังคับคดีไม่เห็น


ด้ วยกับจานวนเงินที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีกาหนด บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคาร้ องต่อศาลภายใน
สิบห้ าวัน นับแต่วนั ที่ได้ ทราบถึงการกาหนดจานวนเงินเช่นว่านั ้น เพื่อขอให้ ศาลกาหนดจานวน
เงินใหม่ได้
ในกรณี ที่ พ ฤติ การณ์ แ ห่ ง การดารงชี พ ของลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษาได้ เ ปลี่ย นแปลงไป
บุคคลตามวรรคสามจะยื่นคาร้ องให้ ศาลหรือเจ้ าพนักงานบังคับคดี แล้ วแต่กรณี กาหนดจานวน
เงินตาม (๑) และ (๓) ใหม่ก็ได้
คาสัง่ ของศาลที่เกี่ยวกับการกาหนดจานวนเงินตามมาตรานี ้ให้ อุทธรณ์ ไปยังศาลอุทธรณ์
ได้ และคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๘๗ ภายใต้ บังคับแห่ง บทบัญญั ติม าตรา ๒๘๘ และ ๒๘๙ บทบัญญัติแห่ ง
ประมวลกฎหมายนี ้ว่ าด้ วยการบังคับคดี แก่ ทรัพ ย์ สินของลูกหนี ต้ ามคาพิพากษานั ้น ย่อ มไม่
กระทบกระทัง่ ถึงบุริมสิทธิหรือสิทธิอื่น ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้ องขอให้ บังคับเหนือทรัพย์ สิน
นั ้นได้ ตามกฎหมาย

มาตรา ๒๘๘ ภายใต้ บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๕๕ ถ้ าบุคคลใดกล่าวอ้ างว่าจาเลย


หรือลูกหนี ้ตามคาพิพากษาไม่ใช่เจ้ าของทรัพย์สนิ ที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ ยึดไว้ ก่อนที่ได้ เอา
ทรัพย์ สินเช่ นว่านี อ้ อกขายทอดตลาด หรื อจาหน่ายโดยวิ ธีอื่น บุคคลนั ้นอาจยื่นคาร้ องขอต่ อ
ศาลที่อ อกหมายบังคับ คดีให้ ป ล่อยทรัพย์ สิน เช่นว่า นั ้น ในกรณีเ ช่นนี ้ ให้ ผ้ กู ล่า วอ้ างนัน้ นาส่ง
สาเนาคาร้ องขอแก่โจทก์ หรื อ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา และจ าเลยหรื อลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
และเจ้ าพนักงานบังคับคดีโดยลาดับ เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ รับคาร้ องขอเช่นว่านี ้ ให้ งด
การขายทอดตลาด หรือจาหน่ายทรัพย์ สินที่พิพาทนั ้นไว้ ในระหว่างรอคาวินิ จฉัยชี ้ขาดของศาล
ดังที่บญ
ั ญัติไว้ ต่อไปนี ้
Jus_Highlight

เมื่อได้ ยื่นคาร้ องขอต่อศาลแล้ ว ให้ ศาลพิจารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีนั ้นเหมือนอย่างคดี


ธรรมดา เว้ นแต่
(๑) เมื่อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ ยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ อ ง ไม่ ว่าเวลาใด ๆ ก่ อนวัน
กาหนดชี ้สองสถานหรือก่อนวันสืบพยาน หากมีพยานหลักฐานเบื ้องต้ นแสดงว่าคาร้ องขอนั ้นไม่
มีมลู และยื่นเข้ ามาเพื่อประวิงให้ ชักช้ า ศาลมีอานาจที่จะมีคาสัง่ ให้ ผ้ กู ล่าวอ้ างวางเงินต่อศาล
ภายในระยะเวลาที่ศาลจะกาหนดไว้ ในคาสัง่ ตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรเพื่อเป็ นประกันการ
ชาระค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาสาหรับความเสียหายที่อาจได้ รับ เนื่องจาก
เหตุเนิ่นช้ าในการบังคับคดีอนั เกิดแต่การยื่นคาร้ องขอนั ้น ถ้ าผู้กล่าวอ้ างไม่ปฏิ บัติตามคาสัง่ ของ
ศาล ให้ ศาลมีคาสัง่ จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ
(๒) ถ้ าทรัพย์สนิ ที่พิพาทนั ้นเป็ นสังหาริ มทรัพย์ และมีพยานหลักฐานเบื ้องต้ นแสดงว่าคา
ร้ องขอนั ้นไม่มีเหตุอนั ควรฟั ง หรือถ้ าปรากฏว่าทรัพย์สนิ ที่ยดึ นั ้นเป็ นสังหาริ มทรัพย์ ที่เก็บไว้ นาน
ไม่ได้ ศาลมีอานาจที่จะมีคาสัง่ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดหรื อจาหน่ายทรัพย์ สิน
เช่นว่านี ้โดยไม่ชกั ช้ า
คาสัง่ ของศาลตามวรรคสอง (๑) และ (๒) ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๘๙ ถ้ าบุคคลใดชอบที่จะบังคับการชาระหนี ้เอาจากทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตาม


คาพิพากษาที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ ยึดไว้ หรื อชอบที่จะได้ เงินที่ขายหรื อจาหน่ายทรัพย์ สิน
เหล่านั ้นได้ โดยอาศัยอานาจแห่งการจานองที่อาจบังคับได้ ก็ดี หรื ออาศัยอานาจแห่งบุริมสิทธิ ก็
ดี บุคคลนั ้นอาจยื่นคาร้ องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้ เอาเงินที่ได้ มานั ้นชาระหนี ้ตนก่อน
เจ้ าหนี ้อื่น ๆ ตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ในกรณีที่อาจบังคับเอา
ทรัพย์สนิ ซึง่ จานองหลุด ผู้รับจานองจะมีคาขอดังกล่าวข้ างต้ นให้ เอาทรัพย์ สินซึ่งจานองนั ้นหลุด
ก็ได้
Jus_Highlight

ในกรณีจานองอสังหาริมทรัพย์ หรือบุริมสิทธิเหนืออสังหาริ มทรัพย์ อันได้ ไปจดทะเบียนไว้


นั ้น ให้ ยื่นคาร้ องขอก่อนเอาทรัพย์สนิ นั ้นออกขายทอดตลาด ส่วนในกรณีอื่น ๆ ให้ ยื่นคาร้ องขอ
เสียก่อนส่งคาบอกกล่าวตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๑๙
ถ้ าศาลมีคาสัง่ อนุญาตให้ เอาทรัพย์ ที่ จานองหลุด การยึดทรั พย์ ที่ จานองนั ้นเป็ นอันเพิ ก
ถอนไปในตัว ในกรณีอื่น ๆ ที่ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาร้ องขอ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาชอบที่
จะได้ รับแต่เงินที่เหลือ ถ้ าหากมี ภายหลังที่หกั ชาระค่าธรรมเนียมการบังคับจานองและชาระหนี ้
ผู้รับจานอง หรือเจ้ าหนี ้บุริมสิทธิแล้ ว

มาตรา ๒๙๐ เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ ยดึ หรืออายัดทรัพย์สนิ อย่างใดของลูกหนี ้ตาม


คาพิพากษาไว้ แทนเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาแล้ ว ห้ ามไม่ให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาอื่นยึดหรื อ
อายัดทรัพย์สนิ นั ้นซ ้าอีก แต่ให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาเช่นว่านี ้มีอานาจยื่นคาขอโดยทาเป็ นคา
ร้ องต่อศาลที่ออกหมายบังคับให้ ยดึ หรืออายัดทรัพย์สนิ นั ้น เพื่อให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ ตนเข้ าเฉลี่ยใน
ทรัพย์สนิ หรื อเงินที่ขายหรื อจาหน่ายทรัพย์ สินนั ้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ ในประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์
ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ห้ ามมิให้ ศาลอนุญาตตามคาขอเช่นว่ามานี ้ เว้ นแต่ศาลเห็นว่าผู้ยื่นคา
ขอไม่สามารถเอาชาระได้ จากทรัพย์ สนิ อื่น ๆ ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
เจ้ าพนัก งานผู้มี อ านาจตามกฎหมายว่ า ด้ วยภาษี อ ากรในอัน ที่ จ ะสั่ง ยึ ด หรื อ อายั ด
ทรัพย์สนิ ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาเพื่อชาระค่าภาษี อากรค้ างให้ มีสิทธิ ขอเฉลี่ยในทรัพย์ สินที่
เจ้ าพนักงานดังกล่าวได้ ยดึ หรืออายัดไว้ ก่อนแล้ วเช่นเดียวกับเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาตามความ
ในวรรคหนึง่ แต่ถ้าเจ้ าพนักงานมิได้ ยดึ หรืออายัดไว้ ก่อน ให้ ขอเฉลี่ยได้ ภายในบังคับบทบัญญัติ
วรรคสอง
Jus_Highlight

ในกรณีที่ยดึ ทรัพย์สนิ เพื่อขายทอดตลาดหรือจาหน่ายโดยวิธีอื่น คาขอเช่นว่านี ้ให้ ยื่นก่อน


สิ ้นระยะเวลาสิบสี่วันนับแต่วัน ที่มีการขายทอดตลาดหรื อจาหน่ายทรัพ ย์ สินที่ขายทอดตลาด
หรือจาหน่ายได้ ในครั ้งนั ้น ๆ
ในกรณีที่อายัดทรัพย์สนิ ให้ ยื่นคาขอเสียก่อนสิ ้นระยะเวลาสิบสี่วันนับแต่วันชาระเงินหรื อ
ส่งทรัพย์สนิ ตามที่อายัดไว้
ในกรณียดึ เงิน ให้ ยื่นคาขอเสียก่อนสิ ้นระยะเวลาสิบสี่วนั นับแต่วนั ยึด
เมื่ อ ได้ ส่ง สาเนาค าขอให้ เ จ้ าพนักงานบัง คับ คดี แ ล้ ว ให้ เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี ง ดการ
จ่ายเงินหรื อทรัพย์ สินตามคาบังคับ ไว้ จ นกว่ าศาลจะได้ มีคาวินิจ ฉัยชี ข้ าด เมื่อ ศาลได้ มี คาสั่ง
ประการใดและส่งให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทราบแล้ ว ก็ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีปฏิ บัติไปตาม
คาสัง่ เช่นว่านั ้น
ในกรณีที่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาผู้ยดึ สละสิทธิในการบังคับคดี หรื อเพิกเฉยไม่ดาเนินการ
บังคับคดีภ ายในเวลาที่เ จ้ า พนักงานบังคับคดีกาหนด ผู้ขอเฉลี่ยหรื อผู้ยื่นคาร้ องตามมาตรา
๒๘๗ หรือตามมาตรา ๒๘๙ มีสทิ ธิขอให้ ดาเนินการบังคับคดีต่อไป
คาสัง่ อนุญาตของศาลตามวรรคแปดให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๙๑ เมื่อศาลได้ ยกคาร้ องขอเฉลีย่ เสียโดยเหตุที่ยื่นไม่ทันกาหนดผู้ขออาจยื่นคา


ร้ องต่อศาลได้ อี กครัง้ หนึ่ง ก่อ นที่จะได้ มีการส่งคาบอกกล่าวตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๑๙
เพื่อขอให้ ศาลมีคาสัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ ผ้ ยู ื่นคาขอมีสทิ ธิได้ รับชาระจากเงินที่เหลือภายหลังที่ได้ ชาระให้ แก่เจ้ าหนี ้ผู้ยดึ แล้ ว
(๒) ในกรณีที่ศาลมีคาสัง่ ให้ ถอนการยึด หรือเจ้ าหนี ้ผู้ยดึ สละสิทธิ ในการบังคับคดีให้ ถือว่า
ผู้ขอเป็ นเจ้ าหนี ้ผู้ยดึ ต่อไปตั ้งแต่วนั ที่ได้ ยื่นคาร้ อง และให้ ดาเนินการบังคับคดีไปตามนั ้น
คาสัง่ อนุญาตของศาลตามมาตรานี ้ให้ เป็ นสุด
Jus_Highlight

มาตรา ๒๙๒ เจ้ าพนักงานบังคับคดีต้องงดการบังคับคดีไว้ ในกรณีต่อไปนี ้


(๑) ถ้ าคาพิพากษาหรือคาสัง่ ใดได้ กระทาไปโดยขาดนัดและได้ มีการขอให้ บังคับคดีตาม
คาพิพากษาหรือคาสัง่ นั ้น หากลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ ยื่นคาขอให้ พิจารณาใหม่ เมื่อศาลได้
ส่งคาสัง่ ให้ งดการบังคับคดีไปยังเจ้ าพนักงานบังคับคดีตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๐๙ แต่ทั ้งนี ้
ไม่ตัดสิทธิ เจ้ าหนี ้ตามคาพิ พากษาในอัน ที่จะขอต่อศาลให้ มี คาสัง่ กาหนดวิธีการชั่วคราวเพื่ อ
คุ้มครองอย่างใด ๆ ตามที่เห็นสมควร
(๒) ถ้ าศาลได้ มี ค าสัง่ ให้ ง ดการบัง คับ คดีไ ว้ เมื่ อ ศาลได้ ส่งคาสั่ง นั ้นไปให้ เ จ้ า พนักงาน
บังคับคดีทราบ ในกรณีเช่นนี ้ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดีไว้ ภายในระยะเวลาหรื อ
เงื่อนไขตามที่ศาลจะได้ กาหนดไว้
(๓) ถ้ าเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ แจ้ งเป็ นหนังสือไปยังเจ้ าพนักงานบังคับคดีว่าตนตกลง
งดการบัง คับ คดี ไว้ ชั่วระยะเวลาที่กาหนดไว้ ห รื อภายในเงื่อ นไขอย่ างใดอย่า งหนึ่ง โดยได้ รับ
ความยินยอมเป็ นหนังสือจากลูกหนี ้ตามคาพิพากษาและบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้ เสียในการ
บังคับคดี
(๔) เมื่อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาไม่ปฏิบตั ิตามข้ อความแห่งมาตรา ๑๕๔
ให้ เจ้ า พนั กงานบัง คั บ คดี ส่ ง ค าบอกกล่า วงดการบัง คั บ คดี นั น้ ให้ แก่ เ จ้ า หนี ต้ ามค า
พิพากษาและบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้ เสีย เว้ นแต่จะได้ งดการบังคับคดีตามคาขอของบุคคล
เหล่านั ้นเอง

มาตรา ๒๙๓ ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาอาจยื่นคาขอทาเป็ นคาร้ องต่อศาลให้ งดการบังคับ


คดีไว้ โดยเหตุที่ตนได้ ยื่นฟ้องเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาเป็ นคดีเรื่ องอื่นในศาลเดียวกันนั ้นซึ่งศาล
ยังมิได้ วินิจฉัยชี ้ขาด และถ้ าหากตนเป็ นฝ่ ายชนะ จะไม่ต้องมีการขายทอดตลาดหรื อจาหน่าย
ทรัพย์สนิ ของตนโดยวิธีอื่น เพราะสามารถจะหักกลบลบหนี ้กันได้
Jus_Highlight

ถ้ าศาลเห็นว่าข้ ออ้ างของลูกหนี ้ตามคาพิพากษามีเหตุฟังได้ และถ้ างดการบังคับคดีไว้ ไม่


น่า จะเป็ นที่เ สียหายแก่เ จ้ า หนี ต้ ามคาพิ พ ากษา ศาลอาจมี คาสั่ง งดการบัง คับ คดี ไ ว้ ภ ายใน
ระยะเวลาและเงื่อนไขตามที่เห็นสมควร
คาสัง่ ของศาลตามมาตรานี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๒๙๔ ถ้ า ได้ งดการบัง คั บ คดี ไ ว้ ตามที่ บั ญญั ติใ นประมวลกฎหมายนี ใ้ ห้ เจ้ า
พนัก งานบังคับ คดีด าเนิน การบัง คับคดี ต่อไป เมื่ อ ศาลได้ ส่ง คาสั่ง ให้ ดาเนิน คดี ต่อ ไปยัง เจ้ า
พนักงานบังคับคดีแล้ ว โดยศาลเป็ นผู้ออกคาสัง่ นั ้นเอง หรื อโดยเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษายื่นคา
ขอให้ ดาเนินการบังคับคดีต่อไป เนื่องจากระยะเวลาที่ได้ งดการบังคับคดีนั ้นได้ ล่วงพ้ นไปแล้ ว
หรื อเนื่อ งจากมิ ได้ ปฏิ บัติตามเงื่ อนไขที่ ศาลหรื อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ กาหนดไว้ แล้ วแต่
กรณีหรื อเนื่อ งจากศาลที่คดีนั ้นอยู่ในระหว่างพิจารณาในชั ้นอุทธรณ์ หรื อฎี กาได้ พิพากษายื น
ตามคาพิพากษาที่อยู่ในระหว่างบังคับคดี แต่ถ้าคาพิพากษาที่อยู่ในระหว่างบังคับคดีนั ้น ศาล
อุทธรณ์ หรื อศาลฎี กาพิพ ากษายืนแต่ บ างส่ว นเจ้ าพนักงานบังคับ คดี จะดาเนิน การบังคับคดี
ต่อไปยังหาได้ ไม่ ถ้ าปรากฏว่าเงินที่รวบรวมได้ ก่อนงดการบังคับคดีนั ้น พอที่จะชาระเจ้ าหนี ้ตาม
คาพิพากษาได้ แล้ ว
ถ้ าได้ งดการบั ง คั บ คดี ต ามที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ในมาตรา ๑๕๔ ให้ เจ้ าพนั ก งานบั ง คั บ คดี
ดาเนินการบังคับคดีต่อไปโดยพลัน เมื่อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ ปฏิ บัติตามข้ อความที่กล่าว
ไว้ ในมาตรานั ้นแล้ ว

มาตรา ๒๙๕ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดีในกรณีต่อไปนี ้


(๑) เจ้ าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดีนั ้นเอง หรื อถอนโดยคาสัง่ ศาลแล้ วแต่กรณี
เมื่อลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ วางเงินต่อศาลหรื อต่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นจานวนพอชาระ
Jus_Highlight

หนี ้ตามคาพิพากษา พร้ อมทั ้งค่าฤชาธรรมเนียมแห่งคดี หรือค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี หรื อ


ได้ หาประกันมาให้ จนเป็ นที่พอใจของศาล สาหรับจานวนเงินเช่นว่านี ้
(๒) ถ้ าเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาได้ แจ้ งไปยังเจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นหนังสื อว่าตนสละ
สิทธิในการบังคับคดีนั ้น
(๓) ถ้ าคาพิพากษาในระหว่างบังคับคดีได้ ถูกกลับในชั ้นที่สดุ หรื อหมายบังคับคดีได้ ถูก
ยกเลิก เสีย เมื่อ ศาลที่ อ อกหมายบัง คับ คดี ได้ ส่งคาสั่งให้ แ ก่เ จ้ าพนักงานบังคับ คดี แต่ถ้า คา
พิพากษาในระหว่า งบังคับคดีนั ้น ได้ ถูกกลับแต่เพียงบางส่วน การบังคับคดีอาจดาเนินต่อไป
จนกว่าเงินที่รวบรวมได้ นั ้นจะพอชาระแก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา

มาตรา ๒๙๕ ทวิ ถ้ า เจ้ า หนี ต้ ามคาพิ พ ากษาเพิกเฉยไม่ ดาเนิ น การบังคับ คดี ภ ายใน
ระยะเวลาที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีกาหนด ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีขอให้ ศาลสัง่ ถอนการบังคับ
คดีนั ้นเสีย

มาตรา ๒๙๕ ตรี ในกรณีที่มีการยึดทรัพย์สนิ ซึง่ มิใช่ตวั เงิน หรือในกรณียึดหรื ออายัดเงิน


หรื อ อายัดทรัพ ย์ สินแล้ ว ไม่ มี การขายหรื อ จาหน่ ายเนื่ องจากเจ้ า พนักงานบัง คับ คดี ถอนการ
บังคับคดี นั ้นเอง หรื อถอนโดยคาสั่งศาล และผู้ข อให้ ยึดหรื ออายัดไม่ช าระค่า ธรรมเนียมเจ้ า
พนักงานบังคับคดี ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีขอหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์ สินของผู้นั ้นเพื่อชาระ
ค่าธรรมเนียม ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ ถือว่าเจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาใน
ส่วนที่เกี่ยวกับค่าธรรมเนียมนั ้น และให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีบังคับคดีได้ เองโดยได้ รับยกเว้ น
ค่าธรรมเนียมทั ้งปวงเพื่อประโยชน์ในการบังคับคดีนั ้น
มาตรา ๒๙๖ ในกรณีที่คาบังคับ หมายบังคับคดี หรือคาสัง่ ศาลในชั ้นบังคับคดีฝ่าฝื นต่อ
บทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้ เมื่อศาลเห็นสมควรไม่ว่าในเวลาใดก่อนการบังคับคดีได้ เสร็ จลงหรื อ
เมื่ อ เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี รายงานต่ อ ศาล หรื อ เมื่ อ เจ้ าหนี ้ตามคาพิ พ ากษา ลูกหนี ต้ ามคา
Jus_Highlight

พิพากษาหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้ เสียในการบังคับคดีซึ่งต้ องเสียหายเพราะเหตุดังกล่าว


ยื่นคาร้ องต่อศาล ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ เพิกถอนหรือแก้ ไขคาบังคับ หมายบังคับคดี หรื อคาสัง่
ดังกล่าวทั ้งหมดหรือบางส่วนหรือมีคาสัง่ อย่างใดตามที่ศาลเห็นสมควร
ภายใต้ บงั คับมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสอง ถ้ าเจ้ าพนักงานบังคับคดีดาเนินการบังคับคดีฝ่า
ฝื นต่อบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้ เมื่อศาลเห็นสมควรไม่ว่าเวลาใดก่อนการบังคับคดีได้ เสร็ จลง
หรือเมื่อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา หรื อบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้ เสียใน
การบังคับคดีซึ่งต้ องเสียหายเพราะเหตุดังกล่าวยื่นคาร้ องต่อศาล ให้ ศาลมีอานาจที่จะสัง่ เพิก
ถอนหรือแก้ ไขกระบวนวิธีการบังคับคดีทั ้งปวง หรื อวิธีการบังคับใด ๆ โดยเฉพาะ หรื อมีคาสัง่
กาหนดวิธีการอย่างใดตามที่ศาลเห็นสมควร
การยื่นคาร้ องตามมาตรานี ้อาจกระทาได้ ไม่ว่าในเวลาใดก่อนการบังคับคดีได้ เสร็ จลง แต่
ต้ องไม่ช้ากว่าสิบห้ าวันนับแต่วนั ที่ที่ทราบข้ อความหรื อพฤติการณ์ อันเป็ นมูลแห่งข้ ออ้ างนั ้น แต่
ทั ้งนี ้ผู้ยื่นคาร้ องต้ องมิได้ ดาเนินการอันใดขึ ้นใหม่หลังจากได้ ทราบเรื่ องฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่ง
ลักษณะนี ้แล้ วหรือต้ องมิได้ ให้ สตั ยาบันแก่การกระทานั ้น และในกรณีเช่นว่านี ้ผู้ยื่นคาร้ องจะขอ
ต่อศาลในขณะเดียวกันนั ้นให้ มีคาสัง่ งดการบังคับคดีไว้ ในระหว่างวินิจฉัยชี ้ขาดก็ได้
เพื่ อ ประโยชน์ แ ห่ ง มาตรานี ใ้ ห้ ถือ ว่ า การบัง คับ คดี ไ ด้ เ สร็ จ ลง เมื่ อ ได้ มี การดาเนิ น การ
ดังต่อไปนี ้
(๑) ในกรณีที่คาบังคับหรือหมายบังคับคดีกาหนดให้ ส่งมอบทรัพย์ สิน กระทาการหรื องด
เว้ น กระท าการอย่ า งใด เมื่ อ ได้ มี การปฏิ บัติตามคาบั ง คับ หรื อ หมายบัง คับ คดี ที่ ใ ห้ ส่ง มอบ
ทรั พย์ สิน กระท าการหรื อ งดเว้ น กระท าการอย่า งนัน้ แล้ ว แต่ ถ้า การปฏิ บัติตามคาบังคับหรื อ
หมายบัง คับ คดี ดัง กล่าว อาจแยกได้ เ ป็ นส่ว น ๆ เมื่ อได้ มี การปฏิ บัติตามคาบัง คับ หรื อหมาย
บังคับคดีในส่วนใดแล้ ว ให้ ถือว่าการบังคับคดีได้ เสร็จลงเฉพาะในส่วนนั ้น
(๒) ในกรณีที่คาบังคับหรือหมายบังคับคดีกาหนดให้ ใช้ เงิน เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีได้
จ่ายเงินตามมาตรา ๓๑๘ มาตรา ๓๑๙ มาตรา ๓๒๐ มาตรา ๓๒๑ หรื อมาตรา ๓๒๒ แล้ วแต่
Jus_Highlight

กรณีแล้ ว แต่ถ้าทรัพย์สนิ ที่ถูกบังคับคดีมีหลายรายการ เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ จ่ายเงินที่


ได้ จ ากการขายทอดตลาดทรั พ ย์ สิน รายการใดแล้ ว ให้ ถือ ว่ า การบังคับ คดีไ ด้ เ สร็ จ ลงเฉพาะ
ทรัพย์สนิ รายการนั ้น
ในการยื่นคาร้ องต่อศาลตามมาตรานี ้ หากมีพยานหลักฐานเบื ้องต้ นแสดงว่าคาร้ องนั ้นไม่
มีมลู และยื่นเข้ ามาเพื่อประวิงให้ ชกั ช้ า เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อ
บุคคลอื่นที่อาจได้ รับความเสียหายเนื่องจากการยื่นคาร้ องดังกล่าวร้ องขอ ศาลมีอานาจที่จะสัง่
ให้ ผ้ ยู ื่นคาร้ องวางเงินหรือหาประกันต่อศาลตามจานวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควร
กาหนดเพื่อเป็ นประกันการชาระค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อบุคคลนั ้นได้
ถ้ าผู้ยื่ นคาร้ องไม่ปฏิ บัติตามคาสัง่ ศาล ให้ ศาลมีคาสัง่ ยกคาร้ องนั ้นเสีย คาสั่งของศาลที่ออก
ตามความในวรรคนี ้ให้ เป็ นที่สดุ
ในกรณีที่ศาลได้ มีคาสัง่ ยกคาร้ องที่ยื่นไว้ ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ถ้ าเจ้ า หนี ้ตามคา
พิพากษาหรือบุคคลอื่นที่ได้ รับความเสียหายเนื่องจากการยื่นคาร้ องดังกล่าวเห็นคาร้ องนั ้นไม่มี
มูลและยื่นเข้ ามาเพื่อประวิงให้ ชกั ช้ า บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคาร้ องต่อศาลภายในสามสิบวันนับ
แต่วนั ที่มีคาสัง่ ยกคาร้ องเพื่อขอให้ ศาลมีคาสัง่ ให้ ผ้ ยู ื่ นคาร้ องนั ้นชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่ตน
ได้ ในกรณีเช่ นว่ านี ้ ให้ ศาลมี อานาจสัง่ ให้ แ ยกการพิจ ารณาเป็ นสานวนต่า งหากจากคดี เดิ ม
และเมื่อ ศาลไต่ สวนแล้ ว เห็น ว่า คาร้ อ งนั ้นรับ ฟั ง ได้ ให้ ศาลมี คาสั่งให้ ผ้ ูยื่น คาร้ องนั ้นชดใช้ ค่า
สิน ไหมทดแทนให้ แ ก่เ จ้ าหนี ต้ ามคาพิ พ ากษาหรื อ บุคคลที่ ไ ด้ รับ ความเสียหายดังกล่าวตาม
จานวนที่ศาลเห็นสมควรถ้ าผู้ยื่นคาร้ องนั ้นไม่ปฏิ บัติตามคาสัง่ ศาล ศาลมีอานาจบังคับผู้ยื่นคา
ร้ องนั ้นได้ เสมือนหนึง่ เป็ นลูกหนี ้ตามคาพิพากษา

มาตรา ๒๙๖ ทวิ ในกรณีที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาถูกพิพากษาให้ ขบั ไล่ หรื อต้ องออกไป
หรือต้ องรื ้อถอนสิง่ ปลูกสร้ างออกไปจากอสังหาริ มทรัพย์ ที่อยู่อาศัยหรื อทรัพย์ ที่ครอบครองถ้ า
ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาไม่ปฏิ บัติตามคาบังคับ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาชอบที่จะยื่นคาขอฝ่ าย
Jus_Highlight

เดียวโดยทาเป็ นค าร้ องต่อศาลให้ มีคาสัง่ ตั ้งเจ้ าพนักงานบังคับคดีให้ จัดการให้ เจ้ าหนี ้ตามคา
พิพากษาเข้ าครอบครองทรัพย์ดงั กล่าว
เมื่อศาลมีคาสั่งตั ้งเจ้ าพนักงานบังคับคดี ตามวรรคหนึ่งแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบัง คับคดี มี
อานาจดาเนินการตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในห้ ามาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๒๙๖ ตรี ถ้ า ทรั พย์ ที่ต้องจัดการตามคาสัง่ ศาลนัน้ ไม่มี บุคคลใดอยู่อาศัยเจ้ า


พนักงานบังคับคดีมีอานาจมอบทรั พย์ นั ้นทั ้งหมดหรื อบางส่วนให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาเข้ า
ครอบครองได้ ทนั ที และถ้ ามีความจาเป็ น ให้ มีอานาจทาลายสิ่งกีดขวางอันเป็ นอุปสรรคในการ
ที่จะจัดการให้ เข้ าครอบครองได้ ตามสมควร
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้ ายังมีสิ่งของของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อของบุคคลใดอยู่ใน
ทรัพย์ดงั กล่าวนั ้น เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจจัดการมอบให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษารักษา
ไว้ ห รื อ จั ดการขนย้ า ยไปเก็ บ รั กษา ณ สถานที่ ใ ดโดยให้ ลูกหนี ต้ ามค าพิ พ ากษาเป็ นผู้ เสี ย
ค่าใช้ จ่ายก็ได้ ในการนี ้ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาบัญชีสงิ่ ของไว้ และแจ้ งหรื อประกาศให้ ลกู หนี ้
ตามค าพิ พ ากษารั บ คื น ไปภายในเวลาที่ เ จ้ าพนัก งานบัง คับ คดี ก าหนด ถ้ า ลูก หนี ต้ ามค า
พิพากษาไม่รับสิง่ ของนั ้นคืนภายในเวลาที่กาหนด เจ้ าพนักงานบังคับคดี โดยได้ รับอนุญาตจาก
ศาลมี อ านาจขายทอดตลาดสิ่งของนัน้ แล้ ว เก็บ รั กษาเงิ น สุทธิ ห ลัง จากหักค่า ใช้ จ่ ายไว้ แ ทน
สิง่ ของนั ้น
ในกรณีที่สงิ่ ของของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อของบุคคลใดที่อยู่ในทรัพย์ ตามวรรคสอง
มีสภาพเป็ นของสดของเสียได้ ให้ เ จ้ าพนักงานบังคับคดี มีอานาจที่จะขายได้ ทันทีโดยวิธีขาย
ทอดตลาดหรือวิธีอื่นที่สมควร
ในกรณีที่สงิ่ ของนั ้นถูกยึดหรื ออายัดในการบังคับคดี เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจย้ าย
สถานที่เก็บรักษาตามที่เห็นสมควร ค่าใช้ จ่ายในการนี ้ให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาผู้ถูกบังคับคดี
เป็ นผู้เสีย
Jus_Highlight

มาตรา ๒๙๖ จัตวา ถ้ าเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาแจ้ งต่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีว่าลูกหนี ้


ตามคาพิพากษาหรือบริวารยังไม่ออกไปตามคาบังคับของศาล ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีปฏิ บัติ
ดังต่อไปนี ้
(๑) รายงานต่ อ ศาลเพื่ อ มี คาสั่ง จับ กุม และกั กขั ง ลูกหนี ต้ ามค าพิ พ ากษาหรื อ บริ ว าร
ดังกล่าวนั ้น และศาลมีอานาจสัง่ จับกุมและกักขังได้ ทันที ในกรณีนี ้ ให้ นามาตรา ๓๐๐ มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
(๒) เมื่อศาลมีคาสัง่ ให้ จับกุม และกักขัง ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อบริ วารตาม(๑) แล้ ว
หรือลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรือบริวารหลบหนี ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีดาเนินการตามมาตรา
๒๙๖ ตรี โดยอนุโลม
(๓) ปิ ดประกาศกาหนดเวลาให้ ผ้ ทู ี่อ้างว่าไม่ใช่บริ วารของลูกหนี ้ตามคาพิพากษายื่นคา
ร้ องแสดงอานาจพิเศษต่อศาลภายในกาหนดเวลาแปดวันนับแต่วนั ปิ ดประกาศ ถ้ าไม่ยื่นภายใน
กาหนดเวลาดังกล่าว ให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่าเป็ นบริวารของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
บุคคลที่เข้ ามาอยู่อาศัยในทรัพย์ นั ้นในระหว่างที่เจ้ า พนักงานบังคับคดี จัดการให้ เจ้ าหนี ้
ตามคาพิพากษาเข้ าครอบครอง ให้ ถือว่าเป็ นบริวารของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา

มาตรา ๒๙๖ เบญจ ในกรณีที่ลกู หนี ต้ ามคาพิพากษาต้ องรื อ้ ถอนสิ่งปลูกสร้ างออกไป


จากทรั พย์ นัน้ ด้ วย เจ้ าพนักงานบัง คับคดี มี อ านาจจัดการรื อ้ ถอนสิ่งปลูกสร้ า งนัน้ และให้ มี
อานาจขนย้ ายสิง่ ของออกจากสิง่ ปลูกสร้ างที่มีการรื อ้ ถอนนั ้นด้ วย ค่าใช้ จ่ายในการรื อ้ ถอนและ
ขนย้ ายสิง่ ของ ให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาเป็ นผู้เสีย
ในการรื ้อถอน ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีปิดประกาศกาหนดการรื ้อถอนไว้ ณ บริ เวณนั ้นไม่
น้ อยกว่าเจ็ดวัน และให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีใช้ ความระมัดระวังตามสมควรแก่พฤติการณ์ ใน
การรื ้อถอนนั ้น
Jus_Highlight

เจ้ าพนักงานบังคับคดีไม่ต้องรับผิดในการปฏิ บัติหน้ าที่ตามมาตรานี ้ เว้ นแต่จะได้ ก ระทา


โดยมีเจตนาร้ ายหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง
วัสดุก่อ สร้ างที่ ถูกรื อ้ ถอนรวมทั ้งสิ่งของที่ขนย้ ายออกจากสิ่งปลูกสร้ าง ถ้ าเจ้ าของหรื อ ผู้
ครอบครองมิได้ รับคืนไป เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจเก็บรักษาไว้ หรื อขายแล้ วเก็บเงินสุทธิ
ไว้ แ ทนตัว ทรั พ ย์ นัน้ ถ้ า เจ้ า ของมิ ไ ด้ เรี ยกเอาทรั พ ย์ ห รื อ เงิ น นัน้ ภายในกาหนดห้ า ปี นับ แต่ มี
ประกาศกาหนดการรื ้อถอนให้ ทรัพย์หรือเงินดังกล่าวตกเป็ นของแผ่นดิน
ในกรณี ที่ สิ่ง ปลูกสร้ างนัน้ ถูกยึดในการบัง คับ คดี เจ้ า พนักงานบัง คับ คดี มี อ านาจขาย
ทอดตลาดสิง่ ปลูกสร้ างนั ้น แล้ วเก็บเงินสุทธิที่เหลือจากหักค่าใช้ จ่ายและค่าธรรมเนียมไว้ แทน

มาตรา ๒๙๖ ฉ เจ้ า หนี ต้ ามคาพิ พ ากษามี ห น้ า ที่ ช่ ว ยเจ้ า พนั กงานบัง คั บ คดี ใ นการ
ดาเนินการบังคับคดีดงั กล่าวและทดรองค่าใช้ จ่ายในการนั ้น

มาตรา ๒๙๖ สัตต ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานบังคับคดีตามมาตรา ๒๙๖ ตรี


มาตรา ๒๙๖ จัตวา (๓) และมาตรา ๒๙๖ เบญจ เจ้ าพนักงานบังคับ คดี อ าจร้ อ งขอความ
ช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจเพื่อให้ สามารถดาเนินการตามมาตรา ๒๙๖ ตรี
มาตรา ๒๙๖ จัตวา (๓) และมาตรา ๒๙๖ เบญจ และในการนี ้ ให้ พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อ
ตารวจมี อ านาจจับ กุม และควบคุม ตัว ผู้ขัดขวางไว้ เ ท่ า ที่ จ าเป็ นในการปฏิ บัติห น้ า ที่ ข องเจ้ า
พนักงานบังคับคดี

มาตรา ๒๙๗ ภายใต้ บงั คับมาตรา ๒๙๖ ทวิ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาชอบที่จะยื่นคาขอ
ฝ่ ายเดียว โดยทาเป็ นคาร้ องต่อศาลไม่ว่าเวลาใด ๆ นับแต่ระยะเวลาที่กาหนดไว้ เพื่อการปฏิ บัติ
ตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ที่ขอให้ มีการบังคับได้ ลว่ งพ้ นไปจนถึงเวลาที่การบังคับคดีได้ เสร็ จสิ ้น
Jus_Highlight

ลงขอให้ ศาลมีคาสัง่ จับกุมและกักขังลูกหนี ้ตามคาพิพากษาซึ่งจงใจไม่ปฏิ บัติตามหมายบังคับ


คดี
ห้ ามไม่ ให้ ศาลอนุญาตตามคาขอนัน้ เว้ นแต่จะเป็ นที่ พอใจจากพยานหลักฐานซึ่งผู้ร้อ ง
นามาสืบหรือที่ศาลเรียกมาสืบว่า
(๑) ลูกหนี ต้ ามคาพิพ ากษาสามารถที่ จ ะปฏิ บัติตามคาพิพากษาหรื อ คาสั่งนัน้ ได้ ถ้าได้
กระทาการโดยสุจริต และ
(๒) ไม่มีวิธีบงั คับอื่นใดที่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาจะใช้ บงั คับได้

มาตรา ๒๙๘ เมื่อมีคาขอให้ จับตัวลูกหนี ้ตามคาพิพากษาโดยเหตุจงใจขัดขืนไม่ปฏิ บัติ


ตามคาบังคับ ให้ ศาลออกหมายเรียกลูกหนี ้ตามคาพิพากษามาศาล
ถ้ าได้ ออกหมายเรียกตามวรรคหนึ่งแล้ ว ลูกหนี ้นั ้นไม่มาศาล และมิได้ แจ้ งเหตุอันสมควร
ในการที่ไม่มาให้ ศาลทราบ หากศาลเห็นว่าลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ รับหมายเรี ยกแล้ ว ศาลจะ
ออกหมายจับลูกหนี ้ตามคาพิพากษาก็ได้ หรื อถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษามาศาลแต่แสดงเหตุ
อันสมควรในการปฏิบตั ิตามคาบังคับมิได้ ศาลมีอานาจสัง่ กักขังลูกหนี ้ตามคาพิพากษานั ้นทันที
หรือ ตั ้งแต่วนั ใดวันหนึง่ ที่ศาลเห็นสมควรกาหนดก็ได้ ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษายังคงขัดขืนอยู่
จนถึงวันนั ้น
ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษาไม่ได้ รับหมายเรียกหรือได้ แจ้ งเหตุอันสมควรต่อศาลในการที่ไม่
มานัน้ ให้ ศาลเลื่อ นการนั่ง พิ จ ารณาคาขอนัน้ ไป แต่ ถ้า ศาลเห็ น ว่ า ลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษา
หลีกเลีย่ งไม่รับหมายศาลจะออกหมายจับตามที่ขอทันทีก็ได้
ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษามาศาลและแสดงเหตุอันสมควรได้ ศาลจะมีคาสัง่ ให้ ยกคาขอ
หรือมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่นก็ได้
ในกรณี เ หล่า นี ้ ศาลมี อ านาจที่ จ ะท าการไต่ สวนตามที่ เ ห็ น สมควรและลูกหนี ต้ ามค า
พิพากษาย่อมนาพยานมาสืบแก้ ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๒๙๙ การจับและกักขังลูกหนี ต้ ามคาพิพ ากษาตามมาตรา ๒๙๖ จัตวา และ


มาตรา ๒๙๘ และการจับกุมและควบคุมตัวผู้ขัดขวางตามมาตรา ๒๙๖ สัตต ไม่ตัดสิทธิ ที่จ ะ
ดาเนินคดีในความผิดอาญา

มาตรา ๓๐๐ ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาที่ถูกจับกุมโดยเหตุจงใจขัดขืนคาบังคับจะต้ องถูก


กักขังไว้ จนกว่าจะมีประกัน หรือประกันและหลักประกันตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรกาหนดว่า
ตนยินยอมที่จะปฏิบตั ิตามคาบังคับทุกประการ แต่ทั ้งนี ้ ห้ ามไม่ให้ กักขังลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
แต่ละครั ้ง เกินกว่าหกเดือนนับแต่วนั จับหรือกักขัง แล้ วแต่กรณี
ในกรณีที่ผิดสัญญาประกัน ศาลมีอานาจสัง่ บังคับตามสัญญาประกันหรื อตามจานวนเงิน
ที่ศาลเห็นสมควรโดยมิต้องฟ้องผู้ทาสัญญาประกัน

มาตรา ๓๐๑ ในกรณีที่ศาลยอมรับบุคคลเป็ นประกัน และบุคคลนัน้ จงใจขัดขวางการ


บังคับคดีหรือร่วมกับลูกหนี ้ตามคาพิพากษาขัดขืนไม่ปฏิบตั ิตามคาบังคับ ให้ นาบทบัญญัติแห่ง
มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๒๙๘ มาตรา ๒๙๙ และมาตรา ๓๐๐ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๓๐๒ ศาลมีอานาจออกหมายบังคับคดีหรือหมายจับลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อ


มีอานาจทาคาวินิจฉัยชี ้ขาดในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวด้ วยการบังคั บคดีตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่
ซึง่ ได้ เสนอต่อศาลตามบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้ คือ ศาลที่ได้ พิจารณาและชี ้ขาดตัดสินคดีใน
ชั ้นต้ น
ถ้ าศาลอุทธรณ์ ได้ ส่งคดีไปยังศาลชั ้นต้ นแห่งอื่นที่มิได้ มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ที่อุทธรณ์
นั ้นเพื่อการพิจารณาและพิพากษาใหม่ตามมาตรา ๒๔๓ (๒) และ (๓) ให้ ศาลที่มีคาพิพากษา
หรื อคาสัง่ ใหม่นั ้นเป็ นศาลที่มีอานาจในการบัง คับคดี เว้ นแต่ศาลอุทธรณ์ จะได้ กาหนดไว้ เป็ น
อย่างอื่น
Jus_Highlight

ในกรณีที่ศาลได้ ออกหมายบังคับคดีสง่ ไปให้ อีกศาลหนึง่ บังคับคดีแทนให้ ส่งทรัพย์ ที่ยึดได้


หรื อเงินที่ได้ จากการขายทรัพย์ นั ้น แล้ วแต่กรณี ไปยังศาลที่ อ อกหมายเพื่อดาเนินการไปตาม
กฎหมาย

หมวด ๒
วิธียึดทรั พย์ อายัดทรั พย์ และการจ่ ายเงิน

มาตรา ๓๐๓ การยึดเอกสารและสังหาริ มทรัพย์ มีรูปร่ างของลูกหนี ้ตามคาพิพากษานั ้น


ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจดั ทาโดย
(๑) นาเอาเอกสารหรื อ ทรัพย์ สินนั ้นมาและฝากไว้ ณ สถานที่ ใดหรื อแก่บุ คคลใดตามที่
เห็นสมควร และแจ้ งการยึดนั ้นให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาทราบ หรือ
(๒) มอบไว้ ในความอารักขาของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาโดยความยินยอมของเจ้ าหนี ้ตาม
คาพิพากษา หรือมอบไว้ ในอารักขาของบุคคลอื่นใดซึ่งครอบครองทรัพย์ สินนั ้นอยู่และแจ้ งการ
ยึดให้ ลกู หนี ห้ รื อบุคคลเช่นว่านัน้ ทราบ กับต้ องกระทาให้ การยึดนั ้นเห็ นประจักษ์ แ จ้ งโดยการ
ประทับตราหรือกระทาโดยวิธีอื่นใดที่สมควร
การยึดสังหาริมทรัพย์มีรูปร่างนั ้น ครอบไปถึงดอกผลแห่งทรัพย์นั ้นด้ วย

มาตรา ๓๐๔ การยึดอสัง หาริ มทรัพ ย์ ข องลูกหนี ้ตามคาพิ พากษานั ้น ให้ เจ้ าพนักงาน
บังคับคดีจดั ทาโดยนาเอาหนังสือสาคัญสาหรับทรัพย์ สินนั ้นมาและฝากไว้ ณ สถานที่ใด หรื อ
แก่บุคคลใดตามที่เห็นสมควร และแจ้ ง การยึดนั ้นให้ ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาและเจ้ าพนักงาน
ที่ดินผู้มีหน้ าที่ทราบ ให้ เจ้ าพนักงานที่ดินบันทึกการยึดไว้ ในทะเบียน ถ้ าหนังสือสาคัญยังไม่ได้
ออก หรือนามาแสดงไม่ได้ หรือหาไม่พบ ให้ ถือว่าการที่ได้ แจ้ งการยึดต่อลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
และเจ้ าพนักงานที่ดินนั ้น เป็ นการยึดตามกฎหมายแล้ ว
Jus_Highlight

การยึ ด อสั ง หาริ มทรั พ ย์ นั น้ ครอบไปถึ ง เครื่ องอุ ป กรณ์ และดอกผลนิ ติ นั ย ของ
อสังหาริมทรัพย์นั ้นด้ วย เว้ นแต่จะได้ มีกฎหมายบัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น ดอกผลธรรมดาที่ลกู หนี ้
ตามค าพิ พ ากษาจะต้ อ งเป็ นผู้เ ก็ บ เกี่ ยว หรื อ บุคคลอื่ น เก็ บ เกี่ ย วในนามลูกหนี น้ ัน้ เมื่ อ เจ้ า
พนักงานบังคับคดีได้ แจ้ งเป็ นหนังสือให้ ทราบในขณะทาการยึดว่า จะทาการเก็บเกี่ยวเองแล้ ว
เจ้ าพนั ก งานบั ง คั บ คดี อ าจจั ด ให้ เก็ บ เกี่ ย วดอกผลนั น้ ได้ เมื่ อ ถึ ง ก าหนด และท าการขาย
ทอดตลาดตามบทบัญญัติในลักษณะนี ้

มาตรา ๓๐๕ การยึดทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา ดังบัญญัติไว้ ใ นสองมาตรา


ก่อนนี ้ มีผลดังต่อไปนี ้
(๑) การที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้ ก่อให้ เกิด โอน หรื อเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิ ในทรัพย์ สินที่
ถูก ยึด ภายหลัง ที่ ไ ด้ ท าการยึด ไว้ แ ล้ ว นัน้ หาอาจใช้ ยัน แก่ เ จ้ า หนี ต้ ามคาพิ พ ากษาหรื อ เจ้ า
พนักงานบังคับคดีได้ ไม่ ถึงแม้ ว่าราคาแห่งทรัพย์ สินนั ้นจะเกินกว่าจานวนหนี ้ตามคาพิพากษา
และค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้องร้ องและการบังคับคดี และลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ จาหน่าย
ทรัพย์สนิ เพียงส่วนที่เกินจานวนนั ้นก็ตาม
(๒) ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้ รับมอบให้ เป็ นผู้อารักขาสังหาริ มทรัพย์ มีรูปร่ างที่ถูกยึด
หรื อเป็ นผู้ครอบครองอสัง หาริ ม ทรั พย์ ที่ ถูกยึด ลูกหนี ช้ อบที่ จ ะใช้ ทรั พ ย์ สินเช่ นว่ า นั ้นได้ ตาม
สมควร แต่ถ้าเจ้ าพนักงานบังคับคดีเห็นว่าลูกหนี ้ตามคาพิพากษาจะทาให้ ทรัพย์ ที่ได้ รับมอบไว้
ในอารักขา หรือทรัพย์ที่อยู่ในครอบครองเสียหาย หรือเกลือกจะเสียหาย โดยเจ้ าพนักงานบังคับ
คดี เ ห็ น เอง หรื อ เมื่ อ เจ้ า หนี ต้ ามคาพิ พ ากษาหรื อ บุ คคลผู้มี ส่ว นได้ เ สียในการบัง คับ คดี แ ก่
ทรัพย์สนิ นั ้นร้ องขอ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจะระวังรักษาทรัพย์ สินนั ้นเสียเอง หรื อตั ้งให้ ผ้ ใู ดเป็ น
ผู้จดั การทรัพย์สนิ นั ้นก็ได้
Jus_Highlight

มาตรา ๓๐๖ เมื่อได้ ยดึ สังหาริมทรัพย์ มีรูปร่ างหรื ออสังหาริ มทรัพย์ ทั ้งหมดหรื อบางส่วน
ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดียื่นคาขอต่อศาลขอให้ สงั่ อนุญาตให้
ขายทอดตลาดทรัพย์สนิ นั ้น ถ้ าไม่มีผ้ คู ัดค้ านในการขายทรัพย์ ภายใต้ บังคับบทบั ญญัติมาตรา
๓๐๗ ให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาขอ แล้ วให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีแจ้ งให้ ทราบซึ่งคาสัง่ ของ
ศาลและวันขายทอดตลาดแก่บรรดาบุคคลผู้มีส่วนได้ เสียในการบังคับคดีแก่ทรัพย์ สินที่จะขาย
ทอดตลาดซึง่ ทราบได้ ตามทะเบียน หรือโดยประการอื่น
คาสัง่ อนุญาตของศาลตามมาตรานี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๓๐๗ ถ้ า รายได้ ป ระจ าปี จากอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ห รื อการประกอบอุตสาหกรรม


พาณิ ช ยกรรม หรื อ กสิกรรมของลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษา อาจเพี ยงพอที่ จ ะช าระหนี ต้ ามคา
พิพากษาพร้ อมด้ วยค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้ องร้ องและการบัง คับคดี เมื่อศาลเห็นสมควร
หรื อ เมื่ อลูกหนี ้ตามคาพิ พากษาร้ องขอ ศาลอาจมีคาสั่งตัง้ ผู้จัดการอสังหาริ มทรัพ ย์ ห รื อ การ
ประกอบกิจการเหล่านั ้นได้ และบังคับให้ มอบเงินรายได้ ทั ้งหมดหรือแต่บางส่วนต่อเจ้ าพนักงาน
บังคับคดีภ ายในเวลาและกาหนดตามที่ศาลเห็นสมควร แทนการสัง่ ขายทอดตลาดทรัพย์ สิน
ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
คาสัง่ ของศาลตามมาตรานี ใ้ ห้ อุทธรณ์ ไปยังศาลอุทธรณ์ ได้ และคาพิพ ากษาหรื อ คาสั่ ง
ของศาลอุทธรณ์ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๓๐๘ เมื่อ ศาลได้ มี คาสั่ง อนุญาตให้ ข ายแล้ ว เจ้ า พนักงานบังคับ คดี อ าจขาย
ทอดตลาดทรั พย์ สิน ที่ ยึดได้ เมื่ อ พ้ น ระยะเวลาอย่า งน้ อ ยห้ าวัน นับ แต่ วัน ที่ ยึด การขายนั ้นให้
ดาเนินตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎกระทรวงว่าด้ วยการนั ้น
และตามข้ อกาหนดของศาล ซึง่ ระบุไว้ ในคาสัง่ อนุญาตให้ ขายทรัพย์ สนิ นั ้น ถ้ าหากมี
Jus_Highlight

บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้ ไม่ให้ ใช้ บังคับแก่ทรัพย์ อันมีสภาพเป็ นของสดของเสียได้ ซึ่งเจ้ า


พนักงานบังคับคดีย่อมมีอานาจที่จะขายได้ ทนั ที โดยวิธีขายทอดตลาด หรือวิธีอื่นที่สมควร

มาตรา ๓๐๙ ในการขายทอดตลาดทรั พ ย์ สิน ของลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษานัน้ ให้ เ จ้ า


พนักงานบังคับคดีปฏิบตั ิตามข้ อบังคับต่อไปนี ้
(๑) ในการขายทรัพย์สนิ ที่มีหลายสิง่ ด้ วยกัน ให้ แยกขายทีละสิง่ ต่อเนื่องกันไป แต่
(ก) เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจจัดสังหาริมทรัพย์ซงึ่ มีราคาเล็กน้ อยรวมขายเป็ นกอง ๆ
ได้ เสมอ และ
(ข) เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจจัดสังหาริ มทรัพย์ หรื ออสังหาริ มทรัพย์ สองสิ่งหรื อกว่า
นั ้นขึ ้นไป รวมขายไปด้ วยกันได้ ในเมื่ อเป็ นที่ คาดหมายได้ ว่า เงินรายได้ ใ นการขายจะเพิ่มขึน้
เพราะเหตุนั ้น
(๒) ในการขายอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ และทรัพย์สนิ นั ้นอาจแบ่งแยกออกได้ เป็ นตอน ๆ
เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจขายทรัพย์สนิ นั ้นเป็ นตอน ๆ ได้ ในเมื่อเป็ นที่คาดหมายได้ ว่าเงิน
รายได้ ในการขายทรัพย์ สินบางตอนจะเพียงพอแก่การบังคับคดี หรื อว่าเงิ นรายได้ ทั ้งหมดจะ
เพิ่มขึ ้นเพราะเหตุนั ้น
(๓) ในการขายทรัพย์สนิ หลายสิ่งด้ วยกัน เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจกาหนดลาดับที่
จะขายทรัพย์สนิ นั ้น
บุคคลผู้มีสว่ นได้ เสียในการบังคับคดีแก่ทรัพย์สนิ ซึง่ จะต้ องขาย อาจร้ องขอให้ เจ้ าพนักงาน
บังคับคดีรวมหรื อแยกทรัพย์ สิน หรื อขอให้ ขายทรัพย์ สินนั ้นตามลาดับ ที่กาหนดไว้ หรื อจะร้ อ ง
คัด ค้ า นค าสั่ง ของเจ้ า พนักงานบัง คับ คดี ที่ สั่ง ตามสามอนุม าตราก่ อ นนัน้ ก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ เ จ้ า
พนักงานบังคับคดีไม่ยอมปฏิ บัติตามคาร้ องขอหรื อคาคัดค้ านเช่นว่านั ้น ผู้ร้องจะยื่นคาขอต่อ
ศาลโดยทาเป็ นคาร้ อง ภายในสองวันนับตั ้งแต่วนั ปฏิเสธ เพื่อขอให้ มี คาสัง่ ชี ้ขาดในเรื่ องนั ้นก็ได้
Jus_Highlight

คาสั่งของศาลให้ เ ป็ นที่สุด และให้ เ จ้ า พนักงานบังคับ คดี เลื่อ นการขายไปจนกว่า ศาลจะได้ มี


คาสัง่ หรือจนกว่าจะได้ พ้นระยะเวลาซึง่ ให้ นาเรื่องขึ ้นสูศ่ าลได้

มาตรา ๓๐๙ ทวิ ในการขายทอดตลาดทรัพย์ สินของลูกหนี ้ตามคาพิพากษานั ้น ก่อนที่


เจ้ าพนักงานบังคับคดีจะเคาะไม้ ขายให้ แก่ผ้ เู สนอราคาสูงสุดที่เจ้ าพนักงานบังคับคดีเห็นว่าเป็ น
ราคาที่สมควรขายได้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา หรื อบุคคลผู้มีสวนได้ เสีย
ในการบัง คับคดีอาจคัดค้ านว่ าราคาดังกล่าวมี จานวนต่า เกิน สมควร ในกรณีเช่ นว่า นี ้ ให้ เจ้ า
พนักงานบังคับคดีเลือ่ นการขายทอดตลาดทรัพย์ สินไป เพื่อให้ เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา ลูกหนี ้
ตามคาพิพากษา หรือบุคคลผู้มีสว่ นได้ เสียในการบังคับคดี ไม่ว่าจะเป็ นบุคคลที่คัดค้ านหรื อไม่ก็
ตาม หาผู้ซื ้อที่จะเสนอซื ้อในราคาที่บุคคลดังกล่าวต้ องการมาเสนอซื ้อในการขายทอดตลาด
ทรั พ ย์ สิ น ครั ง้ ต่ อ ไป โดยให้ ผู้ เสนอราคาสูง สุดต้ องผูก พั น กั บ การเสนอราคาดัง กล่ า วเป็ น
ระยะเวลาสามสิบวันนับแต่วัน ที่เสนอราคานั ้น และในการขายทอดตลาดทรัพย์ สินครัง้ ต่อไป
หากมี ผ้ เู สนอราคาสูงสุดในจานวนไม่ สงู กว่า จานวนที่ผ้ ูเสนอราคาสูง สุดได้ เ สนอในการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สนิ ครั ้งก่อน หรือไม่มีผ้ ใู ดเสนอราคาเลย ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีเคาะไม้ ขาย
ให้ แก่ผ้ เู สนอราคาสูงสุดในการขายทอดตลาดทรัพย์ สินครัง้ ก่อน แต่หากมีผ้ เู สนอราคาสูงสุดใน
การขายทอดตลาดทรัพย์ สินครัง้ ต่อไปในจานวนสูงกว่าจานวนที่ผ้ เู สนอราคาสูงสุดได้ เสนอใน
การขายทอดตลาดทรัพย์ สินครัง้ ก่อน ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีเคาะไม้ ขายให้ แก่ผ้ เู สนอราคา
สูงสุดในการขายทอดตลาดทรัพย์ สนิ นั ้น
ในกรณีที่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา หรื อบุคคลผู้มีส่วนได้ เสียในการ
บังคับคดีเห็นว่าราคาที่ได้ จากการขายทอดตลาดทรัพย์ สินมีจานวนต่าเกินสมควร และการขาย
ทอดตลาดทรั พ ย์ สิน ในราคาต่ า เกิ น สมควรนัน้ เกิ ดจากการคบคิ ด กัน ฉ้ อ ฉลในระหว่ า งผู้ ที่
เกี่ยวข้ องในการเข้ าสู้ราคา หรื อความไม่สจุ ริ ตหรื อความประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงของเจ้ า
พนักงานบังคับคดีในการปฏิ บัติหน้ าที่ บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคาร้ องต่อศาลเพื่อขอให้ มีคาสั่ง
Jus_Highlight

เพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ตามบทบัญญัติแห่งลักษณะนี ้ได้ และเมื่อศาลไต่สวนแล้ ว


เห็นว่าคาร้ องรับฟั งได้ ให้ ศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามคาร้ องหรื อ แก้ ไขหรื อมีคาสัง่ กาหนดวิธีการ
อย่างใดตามที่ศาลเห็นสมควรให้ เสร็ จภายในกาหนดเก้ าสิบวันนับแต่วนั ได้ รับคาร้ องนั ้น
ให้ นาบทบัญญัติในวรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้ า และวรรคหก ของมาตรา ๒๙๖ มาใช้ บังคับ
แก่การยื่นคาร้ องตามวรรคสองโดยอนุโลม
คาสัง่ ศาลตามวรรคสองให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๓๐๙ ตรี เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีโอนอสังหาริ มทรั พย์ ที่ข ายให้ แก่ผ้ ซู ื อ้ หาก
ทรัพย์ สินที่โ อนนัน้ มีลกู หนี ้ตามคาพิพากษาหรื อบริ วารอยู่อ าศัย และลูกหนี ต้ ามคาพิพ ากษา
หรื อบริ วารไม่ ยอมออกไปจากอสังหาริ ม ทรัพ ย์ นั ้น ผู้ซื ้อชอบที่จะยื่นคาขอฝ่ ายเดียวต่อ ศาลที่
อสัง หาริ มทรั พ ย์ นัน้ ตัง้ อยู่ใ นเขตศาลให้ อ อกคาบัง คับ ให้ ลูกหนี ต้ ามคาพิ พากษาหรื อ บริ ว าร
ออกไปจากอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ นั ้น ภายในระยะเวลาที่ ศาลเห็ น สมควรกาหนด แต่ไ ม่ น้ อยกว่ า
สามสิบวัน ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อบริ วารไม่ปฏิ บัติตามคาบังคับ ให้ บังคับตามมาตรา
๒๙๖ ทวิ มาตรา ๒๙๖ ตรี มาตรา ๒๙๖ จัตวา มาตรา ๒๙๖ ฉ มาตรา ๒๙๖ สัตต มาตรา
๒๙๙ มาตรา ๓๐๐ มาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๒ โดยอนุโลม ทั ้งนี ้ ให้ เจ้ าพนักงานศาลเป็ นผู้
ส่งคาบังคับโดยผู้ซื อ้ มีห น้ าที่ จัดการน าส่ง และให้ ถือว่า ผู้ซื ้อเป็ นเจ้ า หนี ้ตามคาพิพ ากษาและ
ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาหรือบริวารที่อยู่อาศัยในอสังหาริ มทรัพย์ นั ้นเป็ นลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
ตามบทบัญญัติดงั กล่าว

มาตรา ๓๑๐ เมื่อได้ มีการยึดทรัพย์แล้ ว สิทธิ เรี ยกร้ องของลูกหนี ้อันมีต่อบุคคลภายนอก


นั ้น ให้ จดั การดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้ าเป็ นพันธบัตรและหลักทรัพย์ที่เป็ นประกันซึง่ เป็ นของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา (ออก
ให้ แก่ผ้ ถู ือหรือออกในนามของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา) เจ้ าพนักงานบังคับคดีจะร้ องขอต่อศาล
Jus_Highlight

ให้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ จาหน่ายสิง่ เหล่านั ้นตามรายการขานราคาในวันที่ขายก็ได้ ห ากสิ่งเหล่านั ้น


ได้ มีรายการขานราคากาหนดไว้ ณ สถานแลกเปลี่ยน หรื อจะขายโดยวิธี ข ายทอดตลาดดัง
บัญญัติไว้ ในลักษณะนี ้ก็ได้ ถ้ ามิได้ ทาคาขอเช่นว่านั ้นหรื อคาขอถูกยกเสีย ให้ ขายสิ่งเหล่านั ้น
โดยวิธีขายทอดตลาด
(๒) ถ้ าเป็ นตราสารเปลี่ยนมือ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีร้องขอให้ ศ าลมีคาสัง่ อนุญาตให้
จาหน่ายตามราคาที่ปรากฏในตราสารหรือราคาต่ากว่านั ้นตามที่ศาลเห็นสมควรกาหนดถ้ าศาล
สัง่ ยกคาขอ ให้ นาตราสารนั ้นออกขายทอดตลาด
(๓) ถ้ าเป็ นสิทธิ เรี ยกร้ องอื่น ๆ นอกจากที่กาหนดไว้ ในมาตรา ๓๑๐ ทวิ ให้ เจ้ าพนักงาน
บังคับคดีร้องขอให้ ศาลออกหมายเรียกบุคคลซึง่ ต้ องรับผิดในการชาระหนี ้ตามสิทธิ เรี ยกร้ องนั ้น
ๆ ให้ มาศาล ถ้ าบุคคลนั ้นมายังศาลและยินยอมชาระหนี ้ให้ แก่เจ้ าพนักงานบังคับคดีให้ ศาลจด
รายงานไว้ ถ้ า บุคคลนัน้ ไม่ ม าศาลหรื อ ไม่ ยิน ยอมช าระหนี ด้ ัง กล่า วแล้ ว เมื่ อ เจ้ า หนี ต้ ามคา
พิพ ากษาร้ อ งขอ ให้ ศาลมี คาสัง่ อนุญาตให้ เ จ้ า หนี ฟ้ ้ องตามเอกสารที่ ได้ ยึดนัน้ และถ้ า ศาล
พิพากษาในที่สดุ ให้ เจ้ าหนี ้เป็ นผู้ชนะคดี เจ้ าหนี ้ต้ องให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทราบจานวนเงินที่
รับชาระหนี ้จากการนั ้นด้ วย
คาสัง่ อนุญาตของศาลตามมาตรานี ้ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๓๑๐ ทวิ ถ้ าลูกหนี ้ตามคาพิพากษามีสิทธิ เรี ยกร้ องต่อบุ คคลภายนอกให้ ชาระ
เงินจานวนหนึง่ หรือเรียกให้ สง่ มอบสิง่ ของนอกจากที่กาหนดไว้ ในมาตรา ๓๑๐ ให้ เจ้ าพนักงาน
บังคับคดีอายัดและจาหน่ายไปตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในห้ ามาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๓๑๑ สิทธิเรียกร้ องซึง่ ระบุไว้ ในมาตรา ๓๑๐ ทวิ นั ้น ให้ อายัดได้ โดยคาสัง่ อายัด
ซึ่ง ศาลได้ อ อกให้ ตามที่ เ จ้ า หนี ต้ ามคาพิ พากษาได้ ยื่น คาขอโดยท าเป็ นคาร้ องฝ่ ายเดียวและ
Jus_Highlight

เจ้ าหนี ้ได้ นาส่ง ให้ แก่ลูกหนี ้ตามคาพิพากษาและบุคคลซึ่งต้ องรับผิดเพื่ อการช าระเงิ นหรื อส่ง
มอบสิง่ ของนั ้น
เมื่ อ ศาลเห็ นสมควร ศาลอาจกาหนดไว้ ใ นหมายบัง คับ คดี ให้ เ จ้ า พนักงานบัง คับ คดี มี
อานาจอายัดสิทธิเรียกร้ องตามมาตรา ๓๑๐ ทวิ ก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ ถือว่าคาสัง่ อายัดของ
เจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ นคาสัง่ อายัดของศาล
ค าสั่ง อายั ดนั น้ อาจออกให้ ได้ ไม่ ว่ า หนี ข้ องบุ คคลภายนอกนัน้ จะมี ข้ อ โต้ แย้ ง หรื อ มี
ข้ อจากัดหรือเงื่อนไขหรือว่าได้ กาหนดจานวนไว้ แน่นอนหรือไม่
คาสัง่ นั ้นต้ องมีข้อห้ ามลูกหนี ้ตามคาพิพากษาให้ งดเว้ นการจาหน่ายสิทธิ เรี ยกร้ องตั ้งแต่
ขณะที่ได้ ส่งคาสัง่ นั ้นให้ และมี ข้อห้ ามบุคคลภายนอกไม่ให้ ชาระเงินหรื อส่งมอบสิ่งของให้ แ ก่
ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา แต่ให้ ชาระหรือส่งมอบให้ แก่เจ้ าพนักงานบังคับคดี ณ เวลาหรื อภายใน
เวลาตามที่กาหนดไว้ ในคาสัง่

มาตรา ๓๑๒ ถ้ าบุคคลภายนอกที่ได้ รับคาสัง่ อายัดทรัพย์ปฏิเสธหรือโต้ แย้ งหนี ้ที่เรี ยกร้ อง


เอาแก่ตน ศาลอาจทาการไต่สวน และ (๑) ถ้ าศาลเป็ นที่พอใจว่าหนี ้ที่เรี ยกร้ องนั ้นมีอยู่จริ งก็ให้
มีคาสัง่ ให้ บคุ คลภายนอกปฏิ บัติตามคาสัง่ อายัด หรื อ (๒) ถ้ าศาลเห็นว่ารู ป เรื่ องจะทาให้ เสร็ จ
เด็ ดขาดไม่ ได้ สะดวกโดยวิ ธีไ ต่ สวน ก็ ให้ มี คาสั่งอย่ างอื่น ใดในอัน ที่ จะให้ เ สร็ จ เด็ ดขาดไปได้
ตามที่เห็นสมควร
ถ้ า ค าสั่ง อายัดทรั พ ย์ นั น้ ไม่ มี การคัดค้ า น หรื อ ศาลได้ มี คาสั่ง รั บ รองดัง กล่ า วแล้ ว และ
บุคคลภายนอกมิได้ ปฏิบตั ิตามนั ้น เจ้ าพนักงานบังคับคดีอาจร้ องขอให้ ศาลออกหมายบังคับคดี
แก่บคุ คลภายนอกนั ้น และดาเนินการไปเสมือนหนึง่ ว่าบุคคลนั ้นเป็ นลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
ถ้ าค่าแห่งสิทธิเรียกร้ องซึง่ อายัดไว้ นั ้นต้ องเสือ่ มเสียไปเพราะความผิดของบุคคลภายนอก
เนื่องจากการที่ไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ศาลไม่ว่าด้ วยประการใด ๆ บุคคลภายนอกเช่นว่านั ้นต้ องรับ
Jus_Highlight

ผิดใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาเพื่อความเสียหายใด ๆ ซึ่งเกิดขึ ้นแก่เจ้ าหนี ้


นั ้น

มาตรา ๓๑๓ การอายัดสิทธิเรียกร้ องแห่งรายได้ เป็ นคราว ๆ นั ้น รวมตลอดถึงจานวนเงิน


ซึง่ ถึงกาหนดชาระภายหลังการอายัดนั ้นด้ วย
ถ้ าสิทธิเรียกร้ องของลูกหนี ้ตามคาพิพากษาซึง่ มีต่อบุคคลภายนอกในอันที่จะเรี ยกให้ ชาระ
เงินจานวนหนึง่ นั ้น มีการจานองเป็ นประกัน การอายัดสิทธิ เรี ยกร้ องให้ รวมตลอดถึงการจานอง
ด้ วย แต่ทั ้งนี ้เจ้ าพนักงานบังคับคดีต้องแจ้ งคาสัง่ อายัดทรัพย์ นั ้นไปยังเจ้ าพนักงานที่ดินและให้
เจ้ าพนักงานที่ดินจดแจ้ งไว้ ในทะเบียนที่ดิน

มาตรา ๓๑๔ การอายัดสิทธิเรียกร้ องดังบัญญัติไว้ ในสองมาตราก่อนนี ้ ให้ มีผลดังต่อไปนี ้


(๑) การที่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาได้ ก่อให้ เกิด โอน หรื อเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิ เรี ยกร้ องที่ได้
ถูกอายัดภายหลังที่ได้ ทาการอายัดไว้ แล้ วนั ้น หาอาจใช้ ยันแก่เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาหรื อเจ้ า
พนัก งานบัง คับ คดี ไ ด้ ไ ม่ ถึง แม้ ว่ า ราคาแห่ ง สิ ท ธิ เ รี ยกร้ องนั น้ จะเกิ น กว่ า จ านวนหนี ต้ ามค า
พิพากษาและค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้องร้ องและการบังคับคดี และลูกหนี ้ตามคาพิพากษาได้
จาหน่ายสิทธิเรียกร้ องนั ้นเพียงส่วนที่เกินจานวนนั ้นก็ตาม
(๒) ถ้ าค่าแห่งสิทธิเรียกร้ องซึง่ อายัดไว้ นั ้น ต้ องเสือ่ มเสียไปเพราะความผิดของเจ้ าหนี ้ตาม
คาพิพากษา ๆ ต้ องรับผิดใช้ ค่าสินไหมทดแทนให้ แก่ลกู หนี ้ตามคาพิพากษาเพื่อความเสียหาย
ใด ๆ ซึง่ เกิดขึ ้นแก่ลกู หนี ้นั ้น
(๓) การชาระหนี ้โดยบุคคลภายนอกตามที่ระบุไว้ ในคาสัง่ อายัดทรัพย์ นั ้นให้ ถือว่าเป็ นการ
ชาระหนี ้ตามกฎหมาย
Jus_Highlight

มาตรา ๓๑๕ ถ้ าสิง่ ของที่จะต้ องส่งมอบตามสิทธิ เรี ยกร้ องที่ถูกอายัดนั ้นได้ ส่งมอบให้ แก่
เจ้ าพนักงานบังคับคดีไปแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีนาออกขายโดยการขายทอดตลาดดังที่
บัญญัติไว้ ในลักษณะนี ้
ถ้ าการจาหน่ายสิทธิ เรี ยกร้ องที่ถูกอายัดนั ้นกระทาได้ โดยยาก เนื่องจากการชาระหนี ้นั ้น
ต้ อ งอาศัย การช าระหนี ต้ อบแทน หรื อ ด้ ว ยเหตุอื่ น ใด และการบัง คับ คดี อ าจล่า ช้ าเป็ นการ
เสียหายแก่ค่คู วามทุกฝ่ าย หรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อ แก่บุคคลผู้มีส่วนได้ เสีย เมื่อคู่ความหรื อ
บุคคลเช่นว่านั ้นหรือเจ้ าพนักงานบังคับคดีร้องขอ ศาลจะมีคาสัง่ กาหนดให้ จาหน่ายโดยวิธีอื่นก็
ได้

มาตรา ๓๑๖ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาบัญชีรายละเอียดแสดงจานวนเงินทั ้งหมดที่ได้


ยึด หรื อ ได้ ม าจากการจ าหน่ า ยทรั พ ย์ สิน ของลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษา หรื อ ที่ ไ ด้ ว างไว้ กับ ตน
นอกจากนี ้ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาบัญชีพิเศษสาหรับทรัพย์สนิ แต่ละราย ซึ่งอยู่ในบังคับการ
จานองหรือบุริมสิทธิพิเศษซึง่ ได้ มีการแจ้ งให้ ทราบโดยชอบแล้ วตามที่กล่าวไว้ ในมาตรา ๒๘๙
ภายใต้ บังคับมาตรา ๔๔ แห่ งพระราชบัญญั ติลักษณะล้ ม ละลายและมาตรา ๒๙๒ถึง
๒๙๕ แห่งประมวลกฎหมายนี ้ว่าด้ วยการรอหรื อการงดการบังคับคดี ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดี
จัดสรรหรือแบ่งเฉลีย่ เงินนั ้นดังบัญญัติไว้ ในมาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๓๑๗ ในกรณีที่จะต้ องบังคับคดีตามคาพิพากษาหรือคาสัง่ ซึง่ ได้ พิพากษาหรื อสัง่


โดยจาเลยขาดนัดนั ้น ห้ ามมิให้ เฉลีย่ เงินที่ได้ มาจนกว่าระยะหกเดือนจะได้ ล่วงพ้ นไปแล้ วนับแต่
วันยึดทรัพย์หรืออายัดทรัพย์ของลูกหนี ้ตามคาพิพากษา แต่ถ้าเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาแสดงให้
ศาลเป็ นที่ พ อใจว่ า ลูกหนี ต้ ามคาพิ พ ากษาได้ ท ราบถึง คดี ซึ่ง ขอให้ มี การบัง คับ แล้ ว มิ ใ ห้ น า
บทบัญญัติแห่งมาตรานี ้มาใช้ บงั คับ
Jus_Highlight

มาตรา ๓๑๘ ในกรณีที่มีเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาแต่คนเดียวขอร้ องให้ บังคับคดี และมิได้


มีการแจ้ งให้ ทราบซึง่ การจานองหรื อบุริมสิทธิ เหนือทรัพย์ สินที่จาหน่ายได้ มาดังที่บัญญัติไว้ ใน
มาตรา ๒๘๙ เมื่อได้ จดั การจาหน่ายทรัพย์สนิ เสร็จ และได้ หกั ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
ไว้ แล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินตามจานวนหนี ้ในคาพิพากษาและค่าฤชาธรรมเนียมใน
การฟ้องร้ องให้ แก่เจ้ าหนี ้ที่ตามคาพิพากษา เพียงเท่าที่เงินรายได้ จานวนสุทธิ จะพอแก่การที่จะ
จ่ายให้ ได้

มาตรา ๓๑๙ ในกรณีที่มีเจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษาหลายคนร้ องขอให้ บังคับคดี หรื อได้ มี


การแจ้ งให้ ทราบซึ่งการจานองหรื อ บุริมสิทธิ เหนือทรัพ ย์ สินที่จาหน่ายได้ มาดังที่บัญญัติไว้ ใ น
มาตรา ๒๘๙ เมื่อได้ จดั การจาหน่ายทรัพย์สนิ เสร็จ และได้ หกั ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
ไว้ แล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีทาบัญชีส่วนเฉลี่ยแสดงจานวนเงินที่จ่ายให้ แก่เจ้ าหนี ้ตามคา
พิพากษา หรือเจ้ าหนี ้บุริมสิทธิแต่ละคนจากเงินรายได้ จานวนสุทธิ ที่พอแก่การที่จะจ่ายให้ ตาม
สิทธิเรียกร้ องของเจ้ าหนี ้เหล่านั ้น ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรื อ
ตามประมวลกฎหมายนี ้ว่า ด้ วยการจ่ายเงินเช่ นว่านี ้ และให้ เจ้ า พนักงานบังคับคดีส่ง คาบอก
กล่าวไปยังเจ้ าหนี ้เหล่านั ้นขอให้ ตรวจสอบบัญชีเช่นว่านั ้นและให้ แถลงข้ อคัดค้ านภายในเจ็ดวัน
นับแต่วนั ที่สง่ คาบอกกล่าว
ถ้ าไม่มีคาแถลงยื่นภายในเวลาที่กาหนด ให้ ถือว่าบัญชีส่วนเฉลี่ยนั ้นเป็ นที่สดุ และให้ เจ้ า
พนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้ แก่เจ้ าหนี ้เหล่านั ้นตามบัญชี

มาตรา ๓๒๐ ในกรณีดังบัญญัติไว้ ในมาตราก่อ นนี ้ ถ้ ามีเ จ้ าหนี ค้ นเดี ยวหรื อหลายคน
ดังกล่าวแล้ ว ยื่นคาแถลงคัดค้ านบัญชีสว่ นเฉลีย่ ต่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีภายในเวลาที่กาหนด
ไว้ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีออกหมายเรี ยก ให้ เจ้ าหนี ้ทุกคนมาในเวลา และ ณ สถานที่ตามที่
เห็นสมควร แต่ต้องให้ ทราบล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าสามวัน
Jus_Highlight

เจ้ าหนี ้จะไปตามหมายเรียกเช่นว่านั ้นด้ วยตนเอง หรื อจะให้ ผ้ แู ทนที่ได้ รับมอบอานาจโดย


ชอบไปและกระทาการแทนในกิจการทั ้งหลายอันเกี่ยวแก่เรื่องนั ้นก็ได้
เมื่อได้ ตรวจพิจารณาคาแถลงและฟั งคาชี ้แจงของเจ้ าหนี ้ผู้ที่มาตามหมายเรี ยกแล้ ว ให้ เจ้ า
พนักงานบังคับคดีทาคาสัง่ ยืนตามหรือแก้ ไขบัญชีสว่ นเฉลีย่ นั ้น แล้ วให้ อ่านให้ เจ้ าหนี ้ที่มานั น้ ฟั ง
และให้ เจ้ าหนี ้ลงลายมือชื่อรับทราบไว้ เป็ นหลักฐาน และให้ ส่งคาสัง่ นั ้นไปยังเจ้ าหนี ้ผู้ซึ่งมิได้ มา
ตามหมายเรียกด้ วย ถ้ าหากมี
ถ้ าเจ้ าหนี ้คนใดไม่พอใจคาสัง่ ของเจ้ าพนักงานบังคับคดีเจ้ าหนี ้นั ้นชอบที่จะยื่นคาขอโดย
ทาเป็ นค าร้ องคัดค้ านค าสัง่ นั ้นต่อศาลชั ้นต้ นได้ ภายในเจ็ดวันนับแต่ วันที่ ได้ อ่านหรื อที่ไ ด้ ส่ง
คาสัง่ แล้ วแต่กรณี แต่ถ้าเจ้ าหนี ้ที่ยื่นคาขอนั ้นมิได้ ไปตามหมายเรี ยกของเจ้ าพนักงานบังคับคดี
และไม่สามารถแสดงเหตุผลดีในการที่ไม่ไปต่อหน้ าเจ้ าพนักงานบังคับคดีนั ้น ให้ ศาลนั ้นยกคา
ขอนั ้นเสีย คาสัง่ ของศาลที่ออกตามความในวรรคนี ้ให้ เป็ นที่สดุ
ถ้ าเจ้ าหนี ้ซึ่งได้ มาตามหมายเรี ยกทุกคนได้ ยินยอมตามคาสัง่ ของเจ้ าพนักงานบังคับคดี
และลงลายมือชื่อไว้ เป็ นพยานหลักฐานในการยินยอมนั ้นแล้ ว และถ้ า เจ้ าหนี ้ผู้ไม่มาซึ่งมีสิท ธิ
คัดค้ านค าสัง่ ได้ มิได้ ยื่นคาคัดค้ านภายในเวลากาหนด ให้ ถือว่า บัญชี ส่วนเฉลี่ยนั น้ เป็ นที่สุด
และให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้ แก่เจ้ าหนี ้ตามนั ้น
ถ้ าเจ้ าหนี ้ผู้มีสทิ ธิคดั ค้ านคาสัง่ ได้ ยื่นคาคัดค้ านดังที่บญ
ั ญัติไว้ ข้างต้ นแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงาน
บัง คับ คดี เ ลื่ อ นการจ่ า ยส่ว นเฉลี่ ยไปจนกว่ า ศาลได้ มี คาสั่ง แล้ ว หรื อ ท าการจ่ า ยส่ว นเฉลี่ ย
ชัว่ คราว ดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตราต่อไป
บทบัญญัติมาตรานี ้ ให้ ใช้ บังคับแก่ลกู หนี ้ตามคาพิพ ากษาในเรื่ องค่าฤชาธรรมเนียมใน
การบังคับคดีด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๓๒๑ เมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีเห็นว่า ถ้ าจะเลื่อนการจ่ายส่วนเฉลี่ยไปจนกว่า


ได้ จาหน่ายทรัพย์สนิ ที่ประสงค์ จะบังคับทั ้งหมด หรื อจนกว่าการเรี ยกร้ องทั ้งหมดที่มาสู่ศาลได้
Jus_Highlight

เสร็จเด็ดขาดแล้ ว จะทาให้ บคุ คลผู้มีสว่ นเฉลี่ยในเงินรายได้ แห่งทรัพย์ สินที่บังคับนั ้นทุกคนหรื อ


คนใดคนหนึ่งได้ รับความเสียหาย เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิ ที่จะแบ่งเงินรายได้ เท่าที่พอแก่
การที่จะจ่ายให้ ดั่งที่บัญญัติไว้ ในสองมาตราก่อนได้ ในเมื่อเจ้ าพนักงานบังคับคดีได้ กันเงินไว้
สาหรับชาระค่าฤชาธรรมเนียมทั ้งหมดในการบังคับคดีที่เกิดขึ ้นหรือจะเกิดขึ ้นต่อไป และสาหรับ
ชาระการเรียกร้ องใด ๆ ที่ยงั มีข้อโต้ แย้ งไว้ แล้ ว

มาตรา ๓๒๒ เมื่อผู้มีสว่ นได้ เสียในการบังคับคดีทกุ คนได้ รับส่วนแบ่งเป็ นที่พอใจแล้ ว ถ้ า


ยัง มีเ งิน ที่จ าหน่า ยทรัพ ย์ สินได้ เหลือ อยู่ และเงิ นที่ ยัง เหลือ เช่น ว่า นั ้นได้ ถูกอายัดตามมาตรา
๒๙๑ หรือโดยประการอื่น ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจาหน่ายส่วนที่เหลือนั ้นตามมาตรา ๒๙๑
หรือตามคาสัง่ อายัดทรัพย์ แล้ วแต่กรณี
ถ้ าเงินรายได้ จานวนสุทธิ ที่จาหน่ ายทรัพย์ สินได้ มานั ้นไม่ต้องการใช้ สาหรับการบังคับคดี
ต่อไปก็ดี หรือมีเงินเหลืออยู่ภายหลังที่ได้ หกั ชาระค่าฤชาธรรมเนียมและจ่ายให้ แก่เจ้ าหนี ้ทุกคน
เป็ นที่พอใจแล้ วก็ดี ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินรายได้ จานวนสุทธิหรือส่วนที่เหลือนั ้นให้ แก่
ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา และถ้ าทรัพย์ สินของบุคคลภายนอกต้ องถูกจาหน่ายไปเพื่อประโยชน์
แก่ ลูก หนี ต้ ามค าพิ พ ากษา ให้ จ่ า ยเงิ น รายได้ จ านวนสุท ธิ นั น้ แก่ บุ คคลภายนอกตามสิท ธิ
เรียกร้ องของบุคคลภายนอกที่มีอยู่ต่อลูกหนี ้ตามคาพิพากษา
ถ้ าได้ จาหน่ายสังหาริมทรัพย์รายใดไปแล้ วตามมาตรา ๒๘๘ และได้ มีคาพิพากษาถึงที่สดุ
เป็ นคุณแก่ผ้ เู รียกร้ อง ให้ ศาลหรือเจ้ าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินที่จาหน่ายได้ แก่ผ้ เู รียกร้ องไป

มาตรา ๓๒๓ บรรดาเงินต่างๆ ที่ค้างจ่ายอยู่ในศาลหรื อที่เจ้ าพนักงานบังคับคดี ถ้ าผู้มี


สิทธิมิได้ เรียกเอาภายในห้ าปี ให้ ตกเป็ นของแผ่นดิน
Jus_Highlight

ตาราง ๑
ค่ าธรรมเนียมศาล (ค่ าขึน้ ศาล)
ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ
(๑) คดีที่มีคาขอให้ ปลด ค่าธรรมเนียมตาม(ก)
เปลื ้องทุกข์อนั อาจคานวณ (ข) และ (ค)ถ้ ารวม
เป็ นราคาเงินได้ ให้ คิดค่าขึ ้น แล้ วมีเศษไม่ถงึ หนึง่
ศาลตามทุนทรัพย์ดังต่อไปนี ้ บาทให้ ปัดทิ ้ง
(ก) คาฟ้องนอกจากที่ระบุไว้ ไ ม่ เ กิ น ห้ าสิ บ ล้ า น ร้ อยละ ๒ แต่
ใน (ข) และ (ค) บาท ไ ม่ เ กิ น สอ ง
แสนบาท
ส่วนที่ เกิน ห้ าสิบล้ า น ร้ อยละ ๐.๑
บาทขึ ้นไป

(ข) ค าร้ องขอให้ ศาลบัง คั บ ไ ม่ เ กิ น ห้ าสิ บ ล้ า น ร้ อยละ ๐.๕


ต า ม ค า ชี ้ ข า ด ข อ ง บาท ของจานวนที่
อนุญาโตตุลาการในประเทศ ร้ อ ง ข อ ใ ห้
หรื อ ค าร้ องขอเพิ กถอนคาชี ้ ศ า ล บั ง คั บ
ขาดของอนุญาโตตุลาการใน แต่ ไ ม่ เ กิ น ห้ า
ประเทศ หมื่นบาท
ส่วนที่ เกินห้ า ร้ อยละ ๐.๑
สิบ ล้ า นบาท
ขึ ้นไป
Jus_Highlight

ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ


คาร้ องขอให้ ศาลบังคับ ตาม ไ ม่ เ กิ น ห้ าสิ บ ล้ า น ร้ อ ย ล ะ ๑
ค า ชี ้ ข า ด ข อ ง บาท ของจานวนที่
อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ร้ อ ง ข อ ใ ห้
ต่ า งประเทศหรื อ ค าร้ องขอ ศ า ล บั ง คั บ
เ พิ ก ถ อ น ค า ชี ้ ข า ด ข อ ง แ ต่ ไ ม่ เ กิ น
อ นุ ญ า โ ต ตุ ล า ก า ร ห นึ่ ง แ ส น
ต่างประเทศ บาท

ส่ว นที่ เ กิ นห้ า สิบ ล้ า น ร้ อยละ ๐.๑


บาทขึ ้นไป

(ค) ค า ฟ้ อ งข อ ใ ห้ บั ง คั บ ไม่เกินห้ าสิบล้ านบาท ร้ อ ย ล ะ ๑


จ า น อ ง ห รื อ บั ง คั บ เ อ า ของจ านวน
ทรัพย์สนิ จานองหลุด ห นี ้ ที่
เรี ย กร้ องแต่
ไม่ เ กิ น ห นึ่ ง
แสนบาท
ส่วนที่ เกิน ห้ าสิบล้ า น ร้ อยละ ๐.๑
บาทขึ ้นไป
Jus_Highlight

ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ


(๒) คดี ที่ มี ค าข อให้ ป ลด
เ ป ลื ้อ ง ทุ ก ข์ อั น ไ ม่ อ า จ
คานวณเป็ นราคาเงินได้
(ก) คดี ทั่ว ไปรวมทัง้ คดี ไ ม่ มี เรื่องละ ๒๐๐
ข้ อพิพาท บาท

(ข) อุ ท ธรณ์ ห รื อ ฎี ก าค าสั่ ง เรื่องละ ๒๐๐ การอุทธรณ์ หรื อ ฎี กา


ตา ม ม า ต ร า ๒ ๒ ๗ ห รื อ บาท ค า สั่ ง ต าม ม าต ร า
มาตรา ๒๒๘ (๒) และ (๓) ๒๒๘ (๑) ไม่ เ รี ยก
เก็บค่าขึ ้นศาล

(๓) คดี ที่ มี ค าข อให้ ป ลด ให้ คิดค่าขึน้ ศาลตาม


เปลื อ้ งทุกข์ อัน อาจค านวณ อัตราใน (๑) แต่ไม่ให้
เป็ นราคาเงิ น ได้ แ ละไม่ อ าจ น้ อยกว่าอัตราใน (๒)
ค า นว ณเ ป็ น ราคาเงิ น ไ ด้ (ก) หรื อ (ข)แล้ ว แต่
รวมอยู่ด้วย กรณี

(๔ ) ค ดี ที่ ข อ ใ ห้ ช า ร ะ ๑๐๐ บาท


ค่าเสียหาย ค่าอุปการะเลี ้ยง
ดู หรื อ ค่ า เลี ้ยงชี พ ก็ ดี เงิ น ปี
เงินเดือน เงินเบี ้ยบานาญ ค่า
บารุงรักษา หรือเงินอื่น ๆ ก็ดี
Jus_Highlight

ลักษณะของคดี ทุนทรัพย์ อัตรา หมายเหตุ


บรรดาที่ให้ จ่ายมีกาหนดเป็ น
ระยะเวลาในอนาคต
นอกจากดอกเบี ้ยค่าเช่า หรื อ
ค่ า เสี ย หายที่ ศ าลมี อ านาจ
พิพากษาหรื อ สัง่ ตามมาตรา
๑๔๒ อยู่แล้ ว ถ้ า คดีนัน้ มีคา
ข อ ใ ห้ ช า ร ะ ห นี ้ใ น เ ว ล า
ปั จจุ บั น หรื อ มี ค าขอในข้ อ
ก่อน ๆ รวมอยู่ด้วยให้ คิ ดค่ า
ขึ ้นศาลสาหรับค าขอในข้ อ นี ้
เป็ นอีกส่วนหนึง่
Jus_Highlight

ตาราง ๒
ค่ าธรรมเนียมศาล (ค่ าธรรมเนียมออ่น ๆ)
ศาลฎีกา
ลักษณะแห่ง ศาลชั ้นต้ น ชาระเมื่อใด
และศาลอุทธรณ์
กระบวนพิจารณา

(๑ ) ค่ า ค า ร้ อ ง ข อ ต า ม - ๑๐๐ บาท เมื่อยื่นคาร้ องขอ


มาตรา ๑๐๑ ในกรณี ที่ ยัง
ไม่มีคดีอยู่ในศาล

(๒ ) ค่ า รั บ ร อ ง ส า เ น า
เอกสารต่าง ๆ โดยหัวหน้ า
ส า นั ก ง า น ป ร ะ จ า ศ า ล
ยุติ ธ รรมหรื อ เจ้ า พนักงาน
บังคับคดีเป็ นผู้รับรอง ฉบับ
ละ ๕๐ บาท ๕๐ บาท เมื่อยื่นคาร้ อง

(๓) ใบสาคัญเพื่อ แสดงว่ า


ค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ง ได้
ถึงที่สดุ แล้ ว ฉบับละ ๕๐ บาท ๕๐ บาท เมื่อยื่นคาร้ อง
Jus_Highlight

ตาราง ๓
ค่ าสอบพยานหลักฐานนอกศาล

ในกรณีที่มีการสืบพยานหลักฐานนอกศาล ให้ คิดค่าป่ วยการให้ ผ้ พู ิพากษาในอัตราต่อคน


วันละสามร้ อยบาท และให้ คิดค่าป่ วยการให้ เจ้ าพนักงานศาลในอัตราต่อคนวันละหนึ่งร้ อยห้ า
สิบบาท โดยให้ ชาระเมื่อศาลมีคาสัง่ อนุญาต
ในคดีที่มีการรวมการพิจารณา ให้ คิดค่าป่ วยการโดยถือว่าเป็ นคดีเดียว
ในกรณีที่มีค่คู วามหลายฝ่ ายหรื อหลายคนเป็ นผู้ขอ ให้ เฉลี่ยกันชาระค่าป่ วยการในอัตรา
ตามวรรคหนึง่ คนละส่วนเท่า ๆ กัน
ในกรณีจ าเป็ น ศาลอาจสั่งให้ คู่ความฝ่ ายที่ ขอหรื อฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง หรื อหลายฝ่ ายเป็ น
ผู้จดั การหาพาหนะ ถ้ าไม่จดั พาหนะมาให้ จะต้ องชดใช้ ค่าพาหนะที่เสียไปตามสมควร
Jus_Highlight

ตาราง ๔
ค่ าป่ วยการ ค่ าพาหนะ และค่ าเช่ าที่พักของพยาน กับค่ ารั งวัดทาแผนที่

(๑) ให้ ศาลก าหนดค่ า ป่ วยการพยานตามรายได้ แ ละฐานะของพยานซึ่ง มาศาลตาม


หมายเรียกแต่ไม่ให้ เกินวันละสีร่ ้ อยบาท กับค่าพาหนะเดินทางและค่าเช่าที่พักของพยานที่เสีย
ไปด้ วยตามสมควร
(๒) ในกรณีที่ศาลสัง่ ให้ รังวัดทาแผนที่
(ก) โดยเจ้ าพนักงานศาล ให้ ศาลกาหนดค่าป่ วยการให้ แก่เจ้ าพนักงานศาลในอัตราต่อคน
วันละสองร้ อ ยบาท กับค่ าพาหนะเดิน ทางและค่า เช่าที่ พักของเจ้ าพนักงานศาลที่เสียไปตาม
สมควร
(ข) โดยพนักงานเจ้ าหน้ าที่ของส่วนราชการหรื อหน่วยงานอื่น ให้ ศาลกาหนดค่าป่ วยการ
ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่า ที่พักของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามระเบียบของส่วนราชการหรื อ
หน่วยงานนั ้นถ้ าส่วนราชการหรือหน่วยงานนั ้นไม่มีระเบียบดังกล่าวให้ คิดตามอัตรา (ก)
Jus_Highlight

ตาราง ๕
ค่ าธรรมเนียมเจ้ าพนักงานบังคับคดี
ค่าธรรมเนียม จานวน หมายเหตุ
๑. ขายทอดตลาดหรื อ จาหน่ า ย ร้ อยละ ๓ ของจ านวนเงิ น ที่ ทั ้งนี ้ ต้ อ งเสียค่ า ประกาศ
โดยวิ ธี อื่ น ซึ่ง ทรั พ ย์ สิน ที่ ยึดหรื อ ขายหรือจาหน่ายได้ และค่าใช้ สอยต่างหาก
อายัด
๒. จ่ า ยเงิ น ที่ ยึ ด หรื อ อายั ด แก่ ร้ อยละ ๒ ของจ านวนเงิ น ที่
เจ้ าหนี ้ ยึดหรืออายัด
๓. เมื่ อ ยึด ทรั พ ย์ สิน ซึ่ง ไม่ ใ ช่ ตั ว ร้ อยละ ๒ ของราคาทรัพย์ สิน ส่ ว น การค านวณราคา
เ งิ น แ ล้ ว ไ ม่ มี ก า ร ข า ย ห รื อ ที่ยดึ ทรั พ ย์ สิ น ที่ ยึ ด หรื อ อายั ด
จาหน่าย เพื่อเสียค่าธรรมเนียมตาม
๔. เมื่ อ ยึ ด หรื อ อายั ด เงิ น หรื อ ร้ อยละ ๑ ของจ านวนเงิ น ที่ หมายเลข ๓ และ ๔ ให้
อายัดทรัพย์สนิ แล้ ว ไม่มีการขาย ยึ ด ห รื อ อ ายั ด ห รื อ ราค า เจ้ าพนักงานบังคับคดีเป็ น
หรือจาหน่าย ทรัพย์สนิ ที่อายัด ผู้กาหนด ถ้ า ไม่ ต กลงกั น
๕. ขายโดยวิ ธี ป ระมู ลระหว่ า ง ร้ อยละ ๒ ของราคาประมู ล ให้ ค่คู วามที่เกี่ยวข้ องเสนอ
คู่ความ สูงสุด” เรื่องต่อศาลตามที่บัญญัติ
ไว้ ในมาตรา ๒๙๖
Jus_Highlight

ตาราง ๖
ค่ าทนายความ
(๑) ให้ ศาลกาหนดค่าทนายความตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรไม่เกินอัตราขั ้นสูงดังที่ระบุ
ไว้ ในตารางนี ้ แต่ต้องไม่ต่ากว่าคดีละสามพันบาท
(๒) การกาหนดค่าทนายความที่ค่คู วามจะต้ องรับผิดนั ้น ให้ ศาลพิจารณาตามความยาก
ง่ายแห่งคดีเทียบดูเวลาและงานที่ทนายความต้ องปฏิบตั ิในการว่าคดีเรื่องนั ้น
อัตรา คดีมีทนุ ทรัพย์ คดีไม่มีทนุ ทรัพย์
อัตราขั ้นสูงในศาลชั ้นต้ น ร้ อยละ ๕ ๓๐,๐๐๐ บาท
อั ต ราขั น้ สูง ในศาลอุ ท ธรณ์ ร้ อยละ ๓ ๒๐,๐๐๐ บาท
หรือศาลฎีกา

ตาราง ๗
ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนิ นคดี

ศาลอาจกาหนดให้ ค่คู วามซึ่ง ต้ อ งรั บผิ ดในค่า ฤชาธรรมเนี ยมตามมาตรา ๑๖๑ ชดใช้
ค่าใช้ จ่ายในการดาเนินคดีแก่ค่คู วามอีกฝ่ ายตามจานวนที่ศาลเห็นสมควร โดยในคดีมีทุนทรัพย์
ต้ องไม่เกิน ร้ อยละ ๑ ของจานวนทุนทรัพย์ หรือในคดีไม่มีทนุ ทรัพย์ต้องไม่เกินห้ าพันบาท
การกาหนดค่าใช้ จ่ายในการดาเนินคดีตามวรรคหนึ่ง ให้ ศาลคานึงถึงค่าใช้ จ่ายต่าง ๆ ที่
คู่ความได้ เสียไป รวมทั ้งลักษณะและวิธีการดาเนินคดีของคู่ความ

You might also like