Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

รายงาน

เรื่ อง ความไม่ เป็ นผลของพินัยกรรม หรื อข้ อกาหนดพินัยกรรม


(การตกไปและเสี ยเปล่า)

จัดทาโดย
นายชิโนรส เกื้อคลัง รหัสนิสิต 651087016
นายรัชชานนท์ เพชรสุ วรรณ รหัสนิสิต 651087054
นายนันทวุฒิ หวังหลี รหัสนิสิต 651087543

เสนอ
อ.ดร.จันทราทิพย์ สุ ขุม

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญานิตศิ าสตร์ บัณฑิต


สาขาวิชานิติศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2567
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
คานา
รายงานเล่มนี้ จดั ทาขึ้นเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชากฎหมายว่าด้วยมรดกเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู ้ใน
เรื่ องความไม่เป็ นผลของพินยั กรรมหรื อข้อกาหนดของพินยั กรรมและได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์
กับ การเรี ย น ผูจ้ ัดท าหวัง ว่า รายงานเล่ ม นี้ จะเป็ นประโยชน์ กับ ผูอ้ ่ า น ที่ ก าลัง หาข้อมู ล เรื่ องนี้ อยู่ หากมี
ข้อแนะนาหรื อข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย
ผูจ้ ดั ทา
นายชิโนรส เกื้อคลัง รหัสนิสิต 651087016
นายรัชชานนท์ เพชรสุวรรณ รหัสนิสิต 651087054
นายนันทวุฒิ หวังหลี รหัสนิสิต 6510875
สารบัญ
เรื่ อง หน้า
ความหมายของพินยั กรรม 1-7
พินยั กรรม หรื อ ข้อกาหนดในพินยั กรรม 8-9
การตกไปของข้อกาหนดในพินยั กรรม 10-13
ความเสี ยเปล่าแห่งพินยั กรรม 14-16
บรรณานุกรม 17
1

ความหมายของพินัยกรรม
พินยั กรรม คือ คาสั่งครั้งสุ ดท้าย ซึ่งแสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายในเรื่ องทรัพย์สินหรื อ กิจการ
ต่าง ๆ ของผูท้ าพินยั กรรม เพื่อที่จะเกิดผลบังคับตามกฎหมายในเมื่อผูท้ าพินยั กรรมถึงแก่ความตาย โดยทา
แบบใดแบบหนึ่งที่กฎหมายกาหนดไว้ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๔๖-๑๖๔๘)
เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตาย นอกจากทรัพย์มรดกจะตกทอดแก่ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายซึ่ง
เรี ยกว่า “ทายาทโดยธรรม” แล้ว ทรัพย์มรดกของผูต้ ายยังตกทอดไปยังบุคคลอื่นได้โดยทางพินยั กรรมซึ่ง
เรี ยกว่า “ผูร้ ับพินยั กรรม”
ถ้าผูใ้ ดตายได้ทาพินยั กรรมไว้แต่พินยั กรรมนั้นจาหน่ายทรัพย์หรื อมีผลบังคับได้แต่เพียงบางส่ วน
แห่งทรัพย์มรดก ให้ปันส่วนที่มิได้จาหน่ายโดยพินยั กรรมหรื อส่วนที่มิได้จาหน่ายโดยพินยั กรรมหรื อส่วนที่
พินยั กรรมไม่มีผลบังคับให้แก่ทายาทโดยธรรมตามกฎหมาย จึงเห็นได้วา่ เมื่อผูต้ ายได้ทาพินยั กรรมไว้ ต้อง
แบ่งปันทรัพย์ตามข้อกาหนดในพินยั กรรม แต่เมื่อปรากฏว่าผูต้ ายมิได้พินยั กรรมไว้ หรื อทาพินยั กรรมไว้แต่
ไม่มีผลบังคับได้ให้ปันทรัพย์มรดกทั้งมรดกแก่ทายาทโดยธรรมนั้น จะเห็นได้วา่ กฎหมายให้ความสาคัญแก่
ผูร้ ับพินยั กรรมมากกว่าทายาทโดยธรรม เพราะโดยสภาพของพินยั กรรมเป็ นการแสดงเจตนาเผื่อตายในเรื่ อง
ทรัพย์สินของตนเองหรื อในการต่างๆอันจะให้เกิดผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนถึงแก่ความตาย ชี้ให้เห็น
ว่ากฎหมายยังเคารพหลักเจตนาของบุคคลในการแสดงออกเพื่อเป็ นหลักประกันให้บุคคลเกิดความมัน่ ใจว่า
เมื่อตนเองถึงแก่ความไปแล้วเจตนาที่แสดงไว้เผื่อตายในระหว่างมีชีวิตจะได้รับการยอมรับปฏิบตั ิตามโดย
ครบถ้วน
โดยที่ผรู ้ ับพินยั กรรมเป็ นทายาทที่มีความสาคัญดังกล่าว ฉะนั้น เพื่อให้เป็ นการแน่นอนว่าเจตนา
กาหนดการเผื่อตายของผูท้ าพินยั กรรมที่แสดงไว้ในพินยั กรรมนั้นเป็ นเจตนาที่แท้จริ งของผูต้ าย กฎหมายจึง
ต้องกาหนดหลักเกณฑ์การทาพินยั กรรมไว้เป็ นพิเศษซึ่งแตกต่างจากการทานิติกรรมสัญญาอื่นๆ ทัว่ ไป และ
หากพินยั กรรมฉบับใดกรรมฉบับใดกระทาขึ้นโดยผิดหลักเกณฑ์ที่กฎหมายบัญญัติไว้ พินยั กรรมฉบับนั้นจะ
ไม่มีผลบังคับ
พินยั กรรมเป็ นนิติกรรมซึ่งจัดอยูใ่ นประเภทนิติกรรมฝ่ ายเดียว กล่าวคือ ย่อมสมบูรณ์เป็ นพินยั กรรม
เมื่อผูท้ าพินยั กรรมได้ทาพินยั กรรมถูกต้องตามที่กฎหมายกาหนดไว้โดยไม่ตอ้ งการเจตนาการยอมรับผูร้ ับ
พินยั กรรมแต่ผลของพินยั กรรมจะใช้บงั คับได้ก็ต่อเมื่อผูท้ าพินยั กรรมตายแล้ว ซึ่งต่างไปจากสัญญาให้โดย
เสน่หาตรงที่วา่ การให้เป็ นสัญญามีลกั ษณะเป็ นนิ ติกรรมสองฝ่ ายต้องมีผใู ้ ห้และผูร้ ับ ทั้งผูร้ ับต้องยอมรับเอา
ทรัพย์สินที่ให้น้ นั ด้วย
2

พินัยกรรม มีข้อพิจารณา ๓ ประการ


๑. มีการแสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายในเรื่ องทรัพย์สินของตนเอง
- มีการแสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายในเรื่ องทรัพย์สินของตนเอง หรื อในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็ นผล
บังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย หมายความว่า ผูต้ ายได้แสดงเจตนากาหนดในเรื่ องทรัพย์สินว่าเมื่อตนตาย
ไปแล้วจะให้ทรัพย์สินเป็ นของผูใ้ ด หรื อจะให้ผใู ้ ดจัดการอย่างไร เช่น “ข้าพเจ้าขอยกทรัพย์สินทั้งหมดให้
นายแดเมื่อข้าพเจ้าถึงแก่กรรม” หรื อ “ข้าพเจ้าขอทาพินยั กรรมยกทรัพย์สินทั้งหมดให้แก่นายแดง”
- การแสดงเจตนาโดยพินยั กรรมกาหนดการเผื่อตายในเรื่ องทรัพย์สินนั้นต้องกาหนดการเผื่อตายในเรื่ อง
ทรัพย์สินของเองเท่านั้น ไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะเป็ นของตนเองอยูใ่ นขณะทาพินยั กรรมหรื อในภายหน้าจะ
กาหนดการเผื่อตายในเรื่ องทรัพย์สินที่ไม่ใช่ของตนเองไม่ได้ เช่น ผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินรวมกับผูอ้ ื่น จะ
ทาพินยั กรรมจาหน่ายทรัพย์สินของตนได้ก็แต่เฉพาะส่ วนของตนเท่านั้นซึ่งสามารถทาพินยั กรรมยก
ทรัพย์สินของตนให้บุคคลอื่นได้เลยโดยไม่ตอ้ งได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมคนอื่น
๒. เจตนาที่แสดงเป็ นคาสั่งครั้งสุ ดท้ายต้องกาหนดไว้ในพินยั กรรม
- เจตนาที่แสดงเป็ นคาสัง่ ครั้งสุ ดท้ายต้องกาหนดไว้ในพินยั กรรม การแสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายนั้น
ย่อมทาได้ดว้ ยคาสั่งครั้งสุ ดท้ายกาหนดไว้ในพินยั กรรม กาหนดการเผื่อตายต้องทาเป็ นคาสั่งนั้น ขึ้นอยูก่ บั
การตีความและข้อเท็จจริ งเป็ นเรื่ องๆ ไปว่ากรณี ใดจะเป็ นคาสั่งหรื อไม่ หากเป็ นเพียงคาขอร้องคาปรารภ
หรื อคาราพันย่อมไม่เป็ นคาสั่ง ไม่อยูใ่ นลักษณะเป็ นข้อกาหนดพินยั กรรม เช่น ทาพินยั กรรมยกเงินฝากใน
ธนาคารให้นายแดงโดยมีคาขอร้องว่าเงินที่เหลือจากการใช้ประโยชน์ส่วนตัว ขอให้นายดาใช้เป็ น
สาธารณประโยชน์ เช่นนี้ ไม่เป็ นคาสั่ง ดังนั้น คาสั่งจึงต้องมีถอ้ ยคาที่มีลกั ษณะเป็ นการบังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ิ
ตาม คาสัง่ ดังกล่าวจะต้องเป็ นคาสัง่ ครั้งสุ ดท้าย เหตุเพราะระหว่างผูต้ ายยังมีชีวิตผูต้ ายอาจทาพินยั กรรมไว้
หลายครั้งหลายฉบับ ซึ่งอาจมีขอ้ ความขัดกัน ดังนั้น กฎหมายจึงต้องกาหนดว่าให้ถือบังคับตามพินยั กรรมซึ่ง
ทาเป็ นคาสั่งสุ ดท้าย ส่ วนพินยั กรรมฉบับก่อนๆ ก็ให้เป็ นอันถูกเพิกถอนไป
๓. ต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด
- ต้องทาตามแบบที่กฎหมายได้กาหนดแบบของพินยั กรรมไว้หลายแบบ การทาพินยั กรรมจะเลือกทาตาม
แบบใดแบบหนึ่ง แต่ถา้ ทานอกแบบที่กฎหมายกาหนดก็ไม่เป็ นพินยั กรรมและทาให้พินยั กรรมตกโมฆะ
ดังนั้นการทาพินยั กรรมเป็ นการทานิติกรรมอย่างหนึ่ง ถ้าผูท้ าพินยั กรรมตั้งใจทาพินยั กรรมตามแบบใดแบบ
หนึ่งแต่ไม่ถูกต้องตามที่ตนตั้งใจไว้ ดังนี้ เมื่อไปต้องตามแบบอื่นก็ให้ถือว่าเป็ นพินยั กรรมตามกฎหมาย เช่น
พินยั กรรมไม่สมบูรณ์ตามแบบเอกสารฝ่ ายเมืองตามที่ผทู ้ าพินยั กรรมตั้งใจทา แต่สมบูรณ์ตามแบบ
3

พินยั กรรมลักษณะธรรมดาตาม ต้องถือว่าพินยั กรรมนั้นเป็ นอันสมบูรณ์ตามแบบธรรมดา


ประการสาคัญต้องระลึกเสมอว่าพินยั กรรมทุกแบบที่ผทู ้ าพินยั กรรมตั้งใจทาขึ้นเนื้อความนั้นจะต้องบ่งแสดง
ว่าเข้าลักษณะของพินยั กรรมด้วย แม้จะเขียนข้อความขึ้นต้นว่าพินยั กรรม ก็ไม่อาจถือไว้ได้วา่ เอกสารที่ทา
ขึ้นนั้นเป็ นพินยั กรรม ถ้ามิได้ทาแบบที่กฎหมายไว้
แบบของพินัยกรรม มี ๕ แบบ คือ
๑.พินยั กรรมแบบธรรมดา (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๖)
๒.พินยั กรรมเขียนเองทั้งฉบับ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๗)
๓.พินยั กรรมทาเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๘)
๔.พินยั กรรมทาเป็ นเอกสารลับ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๖๐)
๕.พินยั กรรมทาด้วยวาจา (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๖๓)
พินยั กรรมทั้ง ๕ แบบนี้ ทางอาเภอมีหน้าที่เกี่ยวข้องเพียง ๓ แบบ คือ แบบที่ ๓ , ๔ และ ๕ ส่วนแบบที่ ๑
และแบบที่ ๒ ทางอาเภอไม่ตอ้ งเกี่ยวข้อง
๑ พินัยกรรมแบบธรรมดา
หลักเกณฑ์การทา
(๑.) ต้องทาเป็ นหนังสื อ โดยจะเขียนหรื อพิมพ์ก็ได้ (ภาษาไทยหรื อภาษาต่างประเทศก็ได้)
( ๒. ) ต้องลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ทา เพื่อพิสูจน์ความสามารถของผูท้ า
( ๓. ) ผูท้ าพินยั กรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน จะลงลายมือชื่อ
หรื อพิมพ์นิ้วมือก็ได้ แต่จะใช้ตราประทับแทนการลงชื่อหรื อเครื่ องหมายแกงไดไม่ได้ และพยานที่จะลง
ลายมือชื่อ ในพินยั กรรมจะพิมพ์ลายนิ้วมือหรื อใช้ตราประทับ หรื อลงแกงได หรื อลงเครื่ องหมายอย่างอื่น
แทนการ ลงชื่อไม่ได้ จะต้องลงลายมือชื่ออย่างเดียว
(๔.) การขูด ลบ ตกเติม หรื อการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ซึ่งพินยั กรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้น
แต่ในขณะ ที่ขดู ลบ ตกเติม หรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้น ได้ลงวัน เดือน ปี และผูท้ าพินยั กรรมต้องลงลายมือ
ชื่อ หรื อพิมพ์นิ้วมือต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน และพยานอย่างน้อยสองคนนั้นต้องลง ลายมือ
ชื่อรับรองลายมือชื่อของผูท้ าพินยั กรรมในขณะนั้น (ต้องเป็ นพินยั กรรมแล้ว)ลายพิมพ์นิ้วมือของผูเ้ ป็ นโรค
เรื้ อน (ไม่มีลายนิ้วมือ) หากมีพยานลงลายมือชื่อรับรองถูกต้องย่อมใช้ไม่ได้
4

๒พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
หลักเกณฑ์การทา
(๑). ต้องทาเป็ นเอกสาร คือ ทาเป็ นหนังสื อ โดยจะใช้ภาษาไทยหรื อภาษาต่างประเทศก็ได้
(๒). ผูท้ าพินยั กรรมต้องเขียนด้วยลายมือของตนเองทั้งฉบับจะพิมพ์ไม่ได้ เพราะฉะนั้นผูเ้ ขียนหนังสื อ
ไม่ได้ ไม่สามารถจะทาพินยั กรรมแบบนี้ได้ พินยั กรรมแบบนี้จะมีพยานหรื อไม่มีก็ได้ เพราะกฎหมายไม่ได้
ห้ามไว้
(๓). ต้องลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ทาลงเพื่อพิสูจน์ความสามารถ และการทาก่อนหลังฉบับอื่น
(๔). ต้องลงลายมือชื่อผูท้ าพินยั กรรม จะใช้ลายพิมพ์นิ้วมือ หรื อแกงได หรื อเครื่ องหมายอย่างอื่นไม่ได้
(๕). การขูด ลบ ตก เติม หรื อการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ซึ่งพินยั กรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผทู ้ า
พินยั กรรมจะได้ทาด้วยมือตนเอง และลงลายมือชื่อกากับไว้
- การขูด ลบ ตก เติม หรื อการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่มิได้ทาด้วยตนเอง หรื อลงลายมือชื่อ
กากับไว้เท่านั้นที่ไม่สมบูรณ์ ส่ วนข้อความเดิมหรื อพินยั กรรมยังคงใช้บงั คับได้ตามเดิม ไม่ทาให้โมฆะทั้ง
ฉบับ
๓ พินัยกรรมทาเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง
การขอทาพินยั กรรมเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง ผูร้ ้องสามารถยืน่ คาร้องขอให้กรมการอาเภอ (นายอาเภอ)
อาเภอใดก็ได้ ดาเนินการให้ตามความประสงค์ ดังนี้
คาอธิบายขั้นตอนการทาพินยั กรรมเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง
(๑.) ผูท้ าพินยั กรรม แจ้งข้อความที่ตนประสงค์จะให้ใส่ ไว้ในพินยั กรรมของตนแก่นายอาเภอต่อหน้า
พยานอีกอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน
(๒.) นายอาเภอจดข้อความที่ผทู ้ าพินยั กรรมแจ้งให้ทราบแล้วนั้นลงไว้ และอ่านข้อความนั้น ให้ผทู ้ า
พินยั กรรมและพยานฟัง
(๓.) เมื่อผูท้ าพินยั กรรมและพยานทราบแน่ชดั ว่า ข้อความที่นายอาเภอจดนั้นเป็ นการถูกต้องตรงกัน กับที่
ผูท้ าพินยั กรรมแจ้งไว้แล้ว ให้ผทู ้ าพินยั กรรมและพยานลงลายมือชื่อไว้เป็ นสาคัญ
(๔.) ข้อความที่นายอาเภอจดไว้น้ นั ให้นายอาเภอลงลายมือชื่อ และลงวัน เดือน ปี จดลงไว้ดว้ ยตนเอง
เป็ นสาคัญว่า พินยั กรรมนั้นได้ทาถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ขา้ งต้น แล้วประทับตราตาแหน่ง ไว้เป็ น
สาคัญ
- การทาพินยั กรรมแบบเอกสารฝ่ ายเมือง ไม่จาเป็ นต้องทาในที่วา่ การอาเภอหรื อกิ่งอาเภอเสมอไป
ถ้าผูท้ าร้องขอจะทานอกที่วา่ การอาเภอหรื อกิ่งอาเภอก็ได้ เมื่อทาพินยั กรรมเสร็ จแล้ว ถ้าผูท้ าพินยั กรรม ไม่มี
ความประสงค์จะขอรับเอาไปเก็บรักษาเองโดยทันทีแล้ว ให้เป็ นหน้าที่ของนายอาเภอจัดเก็บรักษา
5

พินยั กรรมนั้นไว้ ณ ที่วา่ การอาเภอ หรื อกิ่งอาเภอก็ได้


- เมื่อความปรากฏว่า ผูท้ าพินยั กรรมถึงแก่ความตายแล้ว ผูจ้ ดั การมรดก หรื อผูไ้ ด้รับทรัพย์มรดก
โดยพินยั กรรม หรื อโดยสิ ทธิโดยธรรมเป็ นจานวนมากที่สุด หรื อผูซ้ ่ ึงทาพินยั กรรมให้ จะขอรับพินยั กรรม
ไปไว้ โดยแสดงหลักฐานการตายของผูท้ าพินยั กรรม เมื่อสอบสวนเป็ นที่พอใจแล้ว ให้นายอาเภอมอบ
พินยั กรรมนั้นให้ไป
๔ พินัยกรรมทาแบบเอกสารลับ
คาอธิบายขั้นตอนการทาพินยั กรรมแบบเอกสารลับ
เมื่อมีผปู ้ ระสงค์จะทาพินยั กรรมเป็ นเอกสารลับ ให้ผนู ้ ้ นั แสดงความจานงตามแบบของเจ้าพนักงาน ยืน่ ต่อ
กรมการอาเภอ (นายอาเภอ) ณ ที่วา่ การอาเภอ หรื อกิ่งอาเภอแล้วปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
(๑.) ต้องมีขอ้ ความเป็ นพินยั กรรมและลงลายมือชื่อผูท้ าพินยั กรรม
(๒.) ผูท้ าพินยั กรรมต้องผนึกพินยั กรรม แล้วลงลายมือชื่อคาบรอยผนึก
(๓.) ผูท้ าพินยั กรรมต้องนาพินยั กรรมที่ผนึกนั้น ไปแสดงต่อนายอาเภอและพยานอย่างน้อย 2 คน
และ ให้ถอ้ ยคาต่อบุคคลทั้งหมดนั้นว่าเป็ นพินยั กรรมของตน ถ้าพินยั กรรมนั้นผูท้ าพินยั กรรมเขียนเอง โดย
ตลอด ผูท้ าพินยั กรรมจะต้องแจ้งนามและภูมิลาเนาของผูเ้ ขียนให้ทราบด้วย
(๔.) เมื่อนายอาเภอจดถ้อยคาของผูท้ าพินยั กรรม และวัน เดือน ปี ที่ทาพินยั กรรมมาแสดงไว้ในซอง
พับ และประทับตราประจาตาแหน่ง แล้วนายอาเภอผูท้ าพินยั กรรม และพยานลงลายมือชื่อบนซองนั้น
- บุคคลผูเ้ ป็ นทั้งใบ้ และหูหนวก หรื อผูท้ ี่พูดไม่ได้ มีความประสงค์จะทาพินยั กรรมเป็ น
เอกสารลับ ก็ได้ โดยให้ผนู ้ ้ นั เขียนด้วยตนเองบนซองพินยั กรรมต่อหน้านายอาเภอ และพยานอย่างน้อย 2 คน
ว่า พินยั กรรมที่ผนึกนั้นเป็ นของตน แทนการให้ถอ้ ยคา
- ถ้าผูท้ าพินยั กรรมแบบเอกสารลับประสงค์ขอรับไปทันที ก็ให้นายอาเภอมอบให้ไปได้
โดยให้ผทู ้ า พินยั กรรมแบบเอกสารลับ ประสงค์ขอรับไปทันที ก็ให้นายอาเภอมอบให้ไปได้ โดยให้ผทู ้ า
พินยั กรรม ลงลายมือชื่อรับในสมุดทะเบียน
๕ พินัยกรรมทาด้วยวาจา
คาอธิบายขั้นตอนการทาพินยั กรรมด้วยวาจา
เมื่อมีพฤติการณ์พิเศษ ซึ่งบุคคลใดไม่สามารถจะทาพินยั กรรมตามแบบอื่นที่กฎหมายกาหนด ไว้ได้ เช่น
ตกอยูใ่ นอันตรายใกล้ความตาย หรื อเวลามีโรคระบาด หรื อสงคราม ซึ่งในพฤติการณ์เช่นนี้ ผูท้ าพินยั กรรม
ไม่อาจหาเครื่ องมือเครื่ องเขียนได้ทนั ท่วงที หรื อกว่าจะหาได้ก็ถึงตายเสี ยก่อน ผูท้ า พินยั กรรมสามารถทา
พินยั กรรมด้วยวาจาได้ ดังนี้
6

(๑.) ผูท้ าพินยั กรรมแสดงเจตนากาหนดข้อพินยั กรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน ซึ่งอยูพ่ ร้อมกัน


ณ ที่น้ นั
(๒.) พยานทั้งหมดต้องไปแสดงตนต่อนายอาเภอโดยมิชกั ช้า และแจ้งให้นายอาเภอทราบถึง ข้อความ
เหล่านี้
- ข้อความที่ผทู ้ าพินยั กรรมได้สงั่ ไว้ดว้ ยวาจา
- วัน เดือน ปี สถานที่ที่ทาพินยั กรรม
- พฤติการณ์พิเศษที่ขดั ขวางมิให้สามารถทาพินยั กรรมตามแบบอื่นที่กฎหมายกาหนดไว้น้ นั
ด้วย
(๓.) ให้นายอาเภอจดข้อความที่พยานแจ้งไว้ และพยานทั้งหมดนั้นต้องลงลายมือชื่อ ถ้าลงลายมือชื่อ
ไม่ได้ จะลงลายพิมพ์นิ้วมือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง ๒ คนก็ได้ และความสมบูรณ์แห่งพินยั กรรมนี้
ย่อมสิ้ นไป เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งเดือนนับแต่เวลาผูท้ าพินยั กรรมกลับมาสู่ ฐานะที่จะทาพินยั กรรมตาม แบบ
อื่นที่กฎหมายกาหนดไว้
การตัดทายาทโดยธรรมมิให้ รับมรดก
คาอธิบายขั้นตอนการตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก
ให้ผปู ้ ระสงค์จะตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก ให้ผนู ้ ้ นั ยืน่ คาร้องแสดงความจานงตามแบบ ของเจ้า
พนักงานต่อนายอาเภอ ที่วา่ การอาเภอ กิ่งอาเภอ การตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดกนั้น อาจทาได้ 2 วิธี
1 โดยพินยั กรรม
2 โดยทาเป็ นหนังสื อมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
การตัดทายาทโดยธรรมตามข้อ 1 จะทาตามแบบพินยั กรรมแบบใด ๆ ก็ได้ โดยระบุตดั ทายาท ที่ถูกตัดไว้
ให้ชดั แจ้ง
การตัดทายาทโดยธรรมตามข้อ 2 นั้น ผูท้ าพินยั กรรมจะทาเป็ นหนังสื อด้วยตนเอง แล้วนาไป มอบแก่
นายอาเภอ หรื อจะให้นายอาเภอจัดทาไว้ให้ก็ได้
การถอนการตัดทายาทโดยธรรมมิให้ รับมรดก
คาอธิบายขั้นตอนการถอนการตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก
ผูป้ ระสงค์จะถอนการตัดทายาทโดยธรรมของตนมิให้รับมรดก ซึ่งได้แสดงเจตนาไว้แล้ว สามารถกระทา
ได้ดงั นี้
๑. ถ้าการตัดมิให้รับมรดกนั้นได้ทาโดยพินยั กรรม จะถอนเสี ยได้ก็แต่โดยพินยั กรรมเท่านั้น
7

๒. ถ้าการตัดมิให้รับมรดกได้ทาเป็ นหนังสื อมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ การถอนจะทาโดย


พินยั กรรม หรื อทาเป็ นหนังสื อมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้
การสละมรดก
คาอธิบายขั้นตอนการสละมรดก
เมื่อมีผปู ้ ระสงค์จะทาการสละมรดก ให้ทาคาร้องแสดงความจานงตามแบบของเจ้าพนักงานต่อ นายอาเภอ
ณ ที่วา่ การอาเภอ หรื อกิ่งอาเภอ การแสดงเจตนาสละมรดกทาได้ ๒ วิธี คือ
(๑.) ทาเป็ นหนังสื อมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งอาจทาเอง หรื อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทาให้ก็ได้
(๒.) ทาเป็ นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การสละมรดกนั้นจะทาแต่เพียงบางส่ วน หรื อทาโดยมีเงื่อนไข หรื อมีเงื่อนเวลาไม่ได้ และเมื่อสละแล้ว จะ
ถอนไม่ได้
8

พินัยกรรม หรื อ ข้ อกาหนดในพินัยกรรม


พินยั กรรม หรื อ ข้อกาหนดในพินยั กรรม ที่ตกไปหรื อไม่มีผลบังคับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๑๖๙๘ บัญญัติวา่ “ข้อกาหนดพินยั กรรมนั้น ย่อมตกไป
(๑) เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมตายก่อนผูท้ าพินยั กรรม
(๒) เมื่อข้อกาหนดพินยั กรรมเป็ นผลใช้ได้ต่อเมื่อเงื่อนไขอย่างใด อย่างหนึ่ง สาเร็จลง และผูร้ ับพินยั กรรม
ตายเสี ยก่อนเงื่อนไขสาเร็ จ หรื อปรากฏเป็ นที่ แน่นอนอยูแ่ ล้วว่าเงื่อนไขนั้นไม่อาจจะสาเร็ จได้
(๓) เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมบอกสละพินยั กรรม
(๔) เมื่อทรัพย์สินทั้งหมดที่ยกให้สูญหาย หรื อถูกทาลาย โดยผูท้ า พินยั กรรม มิได้ต้ งั ใจ ในระหว่างที่ผทู ้ า
พินยั กรรมยังมีชีวิตอยู่ และ ผูท้ าพินยั กรรมมิได้ได้มาซึ่งของ แทน หรื อซึ่งสิ ทธิจะเรี ยกค่า ทดแทนในการที่
ทรัพย์สินนั้นสู ญหายไป ข้อพิจารณา
๑.เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมตายก่อนผูท้ าพินยั กรรม ผูร้ ับพินยั กรรมที่ตายก่อนผูท้ าพินยั กรรมย่อม ตามมาตรา
๑๖๐๔ ผูร้ ับพินยั ไม่มีสภาพ บุคคลในขณะที่พินยั กรรมมีผลบังคับ จึงไม่อาจเป็ น ทายาทได้ และเป็ นเหตุให้
ผูส้ ื บ สันดานของผูร้ ับพินยั กรรมไม่มี สิ ทธิรับมรดกแทนที่ตามมาตรา ๑๖๔๒ ทรัพย์สินตามข้อกาหนดจึง
ตกแก่ทายาทโดยธรรมตามมาตรา ๑๖๒๐, ๑๖๙๙
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๑๕/๒๔๙๒ เจ้ามรดกทาพินยั กรรมมีความ ว่า เมื่อ ตนถึงแก่ความตายแล้ว
ขอยกทรัพย์สมบัติให้แก่ ร. และ ส. โดยให้คนละครึ่ งเท่า ๆ กัน ผูอ้ ื่นจะเรี ยกร้องขอแบ่งปันทรัพย์มรดก ของ
ตนไม่ได้ ถ้าปรากฏว่าร. ถึงแก่ความตายก่อน เจ้ามรดก ข้อ กาหนดในพินยั กรรมที่ยกให้ร. จึงเป็ นอันตกไป
ตามมาตรา ๑๖๙๘ และต้องบังคับตามมาตรา ๑๖๙๙ ประกอบกับมาตรา ๑๖๒๐ วรรคสอง กล่าวคือ เมื่อ เจ้า
มรดกมีทายาทโดยธรรม ก็ตกทอดแก่ ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๗๘๘/๒๕๕๓ พินยั กรรมมีขอ้ ความระบุวา่ ให้นา แปลงหนึ่งแก่ผรู ้ ับสอง
คน คนละครึ่ ง แต่มีเงื่อนไขว่า ให้ผรู ้ ับ คนที่หนึ่งให้เงินแก่ผรู ้ ับคน ที่สองเป็ นเงิน ๒๐๐ บาท ถ้าผูร้ ับคนที่
หนึ่งไม่ให้เงิน ๒๐๐ บาท แก่ผรู ้ ับคนที่สอง ก็ให้ นาแปลงนี้เป็ นของ ผูร้ ับคนที่สองคนเดียว ดังนี้ ถ้าผูร้ ับคน
ที่หนึ่งตายเสี ยก่อนผูท้ า พินยั กรรม จึงไม่ได้มีการชาระเงิน ๒๐๐ บาท เมื่อเป็ นเช่นนี้ผรู ้ ับคน คนที่หนึ่งตาม ที่
สองก็ไม่มีโอกาสจะได้ส่วนครึ่ งหนึ่งของผูร้ ับคนที่หนึ่งตาม เงื่อนไขนั้นได้ นาส่ วนนั้นก็ตกได้แก่ทายาท
โดยธรรม ของผูท้ า พินยั กรรม คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๘๔/๒๕๑๕ ผูต้ ายทาพินยั กรรมยกที่ดิน และสิ่ ง
ปลูกสร้างส่ วนหนึ่งให้ ท. บุตรคนหนึ่ง แต่ ท. บุตรผูร้ ับ พินยั กรรมนั้นตายไปก่อนผูท้ า พินยั กรรม
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ ทรัพย์สินตามพินยั กรรมนั้นจึงเป็ นอันตกไปตามมาตรา ๑๖๙๘ (๑) และต้องบังคับตาม
9

มาตรา ๑๖๙๙ ประกอบกับมาตรา ๑๖๒๐ วรรค สอง ทรัพย์สินดังกล่าวต้องตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของ


ผูท้ า พินยั กรรมซึ่งมีแต่ ท. แต่ ท. ตายไปก่อนแล้ว ผูส้ ื บสันดานของ ท. จึง เข้ารับมรดกแทนที่เฉพาะที่ดิน
แปลงนี้ ตาม มาตรา ๑๖๓๙ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๑๓/๒๕๓๔ ท. ซึ่งมีสิทธิรับมรดกตาม พินยั กรรม ข้อ
๑ และข้อ ๑๐ ตายก่อนเจ้ามรดก ข้อกาหนดใน พินยั กรรมส่ วนนี้จึงเป็ นอันตกไปตามมาตรา ๑๖๙๘ (๑) และ
ต้อง บังคับตามมาตรา ๑๖๙๙ ประกอบมาตรา ๑๖๒๐ วรรคสอง กล่าว คือ ต้องตกทอดแก่ทายาทโดยธรรม
ของเจ้ามรดก ซึ่งรวมทั้งผู ้ คัดค้านในฐานะ ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก จึงมีสิทธิร้องขอ ให้ศาลตั้ง
ผูจ้ ดั การมรดกได้ตามมาตรา ๑๗
๒. เมื่อข้อกาหนดพินยั กรรมเป็ นผลใช้ได้ต่อเมื่อเงื่อนไขอย่างใด อย่างหนึ่ง สาเร็ จลงและผูร้ ับพินยั กรรมตาย
เสี ยก่อนเงื่อนไขสาเร็ จ หรื อปรากฏเป็ นที่แน่นอน อยูว่ า่ เงื่อนไขนั้นไม่อาจสาเร็ จได้ที่ว่าข้อ กาหนด
พินยั กรรมจะเป็ นผลใช้ได้ต่อเมื่อเงื่อนไขสาเร็ จนั้น เงื่อนไข ดังกล่าว ย่อมหมายถึงเงื่อนไขบังคับก่อน๑๖๙๕
วรรคหนึ่ง พินยั กรรมเอกสารฝ่ ายเมืองตามเอกสารหมาย ค. ๓ จึงยังมีผล บังคับ อยูเ่ ช่นกัน
เมื่อพินยั กรรมของผูต้ ายทั้งฉบับเอกสารหมาย ค.๔ และฉบับ เอกสารหมาย ๖. ยังมีผลบังคับอยูท่ ้ งั สองฉบับ
ทั้งพินยั กรรมตาม เอกสารหมาย ค.๓ ซึ่งทาในภายหลัง มิได้มีขอ้ ความตอนใดระบุ ให้เพิกถอนพินยั กรรม
ตามเอกสารหมาย ค. ๔ เมื่อไม่ปรากฏ ว่าผู ้ ตายได้แสดงเจตนาไว้ในพินยั กรรมเป็ นอย่างอื่น และปรากฏว่า
พินยั กรรมฉบับก่อนกับ ฉบับหลังขัดกัน มาตรา ๑๖๙๗ ให้ถือว่า พินยั กรรมฉบับก่อนเป็ นอันเพิกถอนโดย
พินยั กรรมฉบับหลัง เฉพาะในส่ วนที่มีขอ้ ความขัดกันเท่านั้น จึงถือว่าพินยั กรรมฉบับ เอกสารหมาย ค.๔
เป็ นอันถูกเพิกถอนโดยพินยั กรรมฉบับเอกสาร หมาย ค. ๓ เฉพาะ ข้อกาหนดพินยั กรรมเกี่ยวกับทรัพย์มรดก
ที่ดิน สองแปลงตามข้อ ๒ และข้อ ๓ เท่านั้น ที่พินยั กรรมเอกสารหมาย ค.๓ ระบุให้ตกแก่ผรู ้ ้องและให้ผรู ้ ้อง
เป็ นผูจ้ ดั การมรดกตาม พินยั กรรมฉบับนี้ ซึ่งย่อมหมายถึงให้ผรู ้ ้องมีสิทธิจดั การมรดก เฉพาะที่ดินทั้งสอง
แปลง ดังกล่าว ส่ วนทรัพย์มรดกขึ้นคงเป็ นไป ตามข้อกาหนดในพินยั กรรมตามเอกสารหมาย ค. – ข้อ ๔ ถึง
ข้อ ๑๑ ซึ่งกาหนดให้ผคู ้ ดั ค้านที่ ๔ เป็ นผูจ้ ดั การมรดกตามพินยั กรรม ฉบับ ดังกล่าว ผูร้ ้องซึ่งไม่ปรากฏว่ามี
คุณสมบัติตอ้ งห้ามตาม กฎหมาย จึงสมควรเป็ นผูจ้ ดั การมรดกเฉพาะที่ดินทั้งสองแปลง ตามที่ระบุไว้ใน
พินยั กรรมตามเอกสารหมาย ค.๓ ตาม เจตนาของ ผูต้ ายในข้อกาหนดพินยั กรรมข้อ ๒
10

การตกไปของข้ อกาหนดในพินัยกรรม
มาตรา ๑๖๙๘ ข้อกาหนดพินยั กรรมนั้น ย่อมตกไป
(๑) เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมตายก่อนผูท้ าพินยั กรรม
(๒) เมื่อข้อกาหนดพินยั กรรมเป็ นผลใช้ได้ต่อเมื่อเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งสาเร็จลง และผูร้ ับพินยั กรรมตาย
เสี ยก่อนเงื่อนไขสาเร็ จ หรื อปรากฏเป็ นที่แน่นอนอยูแ่ ล้วว่าเงื่อนไขนั้นไม่อาจจะสาเร็ จได้
(๓) เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมบอกสละพินยั กรรม
(๔) เมื่อทรัพย์สินทั้งหมดที่ยกให้สูญหาย หรื อถูกทาลายโดยผูท้ าพินยั กรรมมิได้ต้ งั ใจในระหว่างที่ผทู ้ า
พินยั กรรมยังมีชีวิตอยู่ และผูท้ าพินยั กรรมมิได้ได้มาซึ่งของแทน หรื อซึ่งสิ ทธิที่จะเรี ยกค่าทดแทนในการที่
ทรัพย์สินนั้นสู ญหายไป
มาตรา ๑๖๙๙ ถ้าพินยั กรรม หรื อข้อกาหนดในพินยั กรรม เกี่ยวกับทรัพย์สินรายใดเป็ นอันไร้ผลด้วยประการ
ใด ๆ ทรัพย์สินรายนั้นตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมหรื อได้แก่แผ่นดิน แล้วแต่กรณี
มีหลักกฎหมาย ดังนี้
๑. ตามอนุมาตรา (๑) เมื่อผูร้ ับพินยั กรรมตายก่อนผูท้ าพินยั กรรม ดังนี้ขณะที่ผทู ้ าพินยั กรรมตาย
พินยั กรรมมีผลบังคับตามมาตรา ๑๖๗๓ นั้น ผูร้ ับพินยั กรรมไม่มีสภาพบุคคลโดยตายไปก่อนแล้ว จึงไม่
อาจเป็ นทายาทได้ตามมาตรา ๑๗๓๔ และเนื่องจากผูร้ ับพินยั กรรมอาจไม่เป็ นทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก
ผูท้ าพินยั กรรม ดังนั้น ผูส้ ื บสันดานของผูร้ ับพินยั กรรมจึงไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ตามมาตรา ๑๖๓๙ ,
๑๖๔๒ ทรัพย์สินตามข้อกาหนดจึงตกไปและตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดกตามมาตรา ๑๖๒๐ ,
๑๖๙๙
ฎีกาที่ ๘๑๕/๒๔๙๒ พินยั กรรมยกทรัพย์ท้ งั หมดให้แก่บุคคลสองคนให้ได้คนละครึ่ งและระบุวา่
คนอื่นจะเรี ยกร้องขอแบ่งปันทรัพย์ไม่ได้น้ นั เมื่อปรากฏว่าผูร้ ับพินยั กรรมคนหนึ่งตายก่อนผูท้ า
พินยั กรรม ข้อกาหนดในพินยั กรรมที่ยกให้คนที่ตายย่อมตกไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๙๘ (๑) และต้อง
บังคับตามมาตรา ๑๖๙๙ ประกอบกับมาตรา ๑๖๒๐ วรรค ๒ กล่าวคือ มรดกส่ วนที่ยกให้คนที่ตายนั้นย่อ
มตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของผูท้ าพินยั กรรมไม่ใช่ตกได้แก่ผรู ้ ับพินยั กรรมอีกคนหนึ่งทั้งหมด (ฎีกาที่
๑๑๖๐/๒๔๙๗ ในมาตรา ๑๖๘๔ , ฎีกาที่ ๔๗๘/๒๕๐๑)
ฎีกาที่ ๒๗๘๔/๒๕๑๕ เจ้ามรดกทาพินยั กรรมยกที่ดินแปลงหนึ่งให้ ท. ซึ่งเป็ นบุตรแต่ ท. ตายก่อน
เจ้ามรดก ข้อกาหนดเกี่ยวกับที่ดินแปลงนี้จึงเป็ นอันตกไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๙๘ (๑) และต้องบังคับ
11

ตามมาตรา ๑๖๖๙ ประกอบกับมาตรา ๑๖๒๐ วรรค ๒ กล่าวคือที่ดินตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของเจ้า


มรดกซึ่งมีแต่ ท. แต่ ท. ตายไปก่อนแล้ว ผูส้ ื บสันดานของ ท. จึงเข้ารับมรดกแทนที่เฉพาะที่ดินแปลงนี้
๒. ตามอนุมาตรา (๒) ควรปรึ กษาเปรี ยบเทียบกับมาตรา ๑๖๗๔ ข้อกาหนดพินยั กรรมมีเงื่อนไข
แต่ผทู ้ าพินยั กรรมตายเสี ยก่อน สาหรับอนุมาตรา (๒) นี้ เป็ นเรื่ องพินยั กรรมมีเงื่อนไขที่ผกู พันผูร้ ับ
พินยั กรรมให้ปฏิบตั ิตามแต่ผรู ้ ับพินยั กรรมตายเสี ยก่อนเงื่อนไขสาเร็ จ
ตัวอย่าง ก. ทาพินยั กรรมยกทรัพย์ให้ ข. แต่มีเงื่อนไขว่า ข. ต้องสมรสกับนางสาว ค. และเกิดบุตร
ด้วยกันจึงจะให้พินยั กรรมเป็ นผล ข. ตายก่อนสมรสกับ ค. หรื อสมรสแล้ว แต่ ข. เป็ นหมัน เงื่อนไขนั้นไม่
อาจจะสาเร็จได้ ดังนี้ ข้อกาหนดพินยั กรรมก็ตกไป
ฎีกาที่ ๑๗๘๘/๒๔๙๓ พินยั กรรมมีขอ้ ความระบุไว้วา่ ให้นาแปลงหนึ่งแก่ผรู ้ ับ ๒ คน ๆ ละครึ่ ง แต่
มีเงื่อนไขว่าผูร้ ับคนที่ ๑ ให้เงินแก่ผรู ้ ับคนที่ ๒ เป็ นเงิน ๒๐๐ บาท ถ้าผูร้ ับคนที่ ๑ ไม่ให้เงิน ๒๐๐ บาท
แก่ผรู ้ ับคนที่ ๒ ก็ให้นาแปลงนี้เป็ นของผูร้ ับคนที่ ๒ คนเดียว ดังนี้ ถ้าผูร้ ับคนที่ ๑ ตายเสี ยก่อนผูท้ า
พินยั กรรม จึงไม่ได้มีการชาระเงิน ๒๐๐ บาทกันเช่นนี้ ผูร้ ับคนที่ ๒ ก็ไม่มีโอกาสจะได้รับส่วนครึ่ งหนึ่ง
ของผูร้ ับคนที่ ๑ ตามเงื่อนไขนั้นได้ นาส่ วนนั้นตกได้แก่ทายาทโดยธรรมของผูท้ าพินยั กรรม
ฎีกาที่ ๑๖๑๕/๒๕๐๘ ข้อความในพินยั กรรมที่สั่งให้ขายทรัพย์ ได้เงินเท่าใดให้มอบให้กรมการ
ศาสนาจานวนหนึ่งตั้งเป็ นมูลนิธิเอาเงินผลประโยชน์บารุ งการกุศล ส่ วนเงินที่เหลือกับทรัพย์อื่นยกให้แก่
บุคคลอีกคนหนึ่งนั้น มิใช่เงื่อนไขซึ่งกาหนดให้พินยั กรรมมีผลใช้บงั คับต่อเมื่อเงื่อนไขหรื อข้อกาหนดตาม
พินยั กรรมได้ทาสาเร็จแล้ว ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๙๘ (๒)
๓. ตามอนุมาตรา (๓) เป็ นบทบัญญัติให้ขอ้ พินยั กรรมตกไป เมื่อมีการสละพินยั กรรม ซึ่งการสละ
มรดกของผูร้ ับพินยั กรรมมาตรา ๑๖๑๗ บัญญัติวา่ “ผูร้ ับพินยั กรรมคนใดสละมรดก ผูน้ ้ นั รวมตลอดทั้ง
ผูส้ ื บสันดานไม่มีสิทธิจะรับมรดกที่ได้สละแล้วนั้น” ดังนั้น เมื่อมีการสละมรดกหรื อสละพินยั กรรม ผลก็
คือข้อกาหนดตามพินยั กรรมตกไป มรดกตกได้แก่ทายาทโดยธรรม
๔. ตามอนุมาตรา (4) ควรศึกษาเปรี ยบเทียบกับมาตรา 1696 ซึ่งเป็ นการโอนหรื อทาลายทรัพย์สินอัน
เป็ นวัตถุแห่งข้อกาหนดพินยั กรรมด้วยความตั้งใจ พินยั กรรมข้อนั้นเป็ นอันเพิกถอนไป แต่อนุมาตรานี้เป็ น
การกระทาโดยไม่ต้ งั ใจของผูท้ าพินยั กรรมและมิได้มาซึ่งของแทนและสิ ทธิเรี ยกค่าทดแทน กล่าวคือ สูญ
หาย ทาลายไปโดยไม่ได้อะไรมาเลย เช่น บ้านที่จะตกให้ตามพินยั กรรมถูกเพลิงไหม้เพราะความประมาท
เลินเล่อของผูท้ าพินยั กรรมโดยไม่ได้ค่าสิ นไหมทดแทนใด ๆ ทั้งสิ้ น แต่ถา้ บ้านมีประกันและได้ค่าสิ นไหม
ทดแทนกรมธรรม์ประกันภัย เช่นนี้ กรณีตอ้ งด้วยมาตรา 1681 คือผูร้ ับพินยั กรรมเรี ยกให้ส่งมอบของแทน
12

หรื อเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนเมื่อพินยั กรรมมีผลบังคับได้ (คาถามและแนวคาตอบของสานักอบรมศึกษา


กฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตสภา สมัยที่ 35)
มาตรา 1699 ถ้าพินยั กรรม หรื อข้อกาหนดในพินยั กรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินรายใดเป็ นอันไร้ผลด้วย
ประการใด ๆ ทรัพย์สินรายนั้นตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมหรื อได้แก่แผ่นดินแล้วแต่กรณี
มาตรานี้บญั ญัติทานองเดียวกันกับมาตรา 1620 ซึ่งบัญญัติวา่ “ถ้าผูใ้ ดตายโดยไม่ได้ทาพินยั กรรม
ไว้ หรื อทาพินยั กรรมไว้แต่ไม่มีผลบังคับ ให้ปันทรัพย์มรดกทั้งหมดแก่ทายาทโดยธรรมของผูต้ ายนั้นตาม
กฎหมาย
ถ้าผูใ้ ดตายโดยได้ทาพินยั กรรมไว้ แต่พินยั กรรมนั้นจาหน่ายทรัพย์หรื อมีผลบังคับได้แต่บางส่ วนแห่ง
ทรัพย์มรดก ให้ปันส่ วนที่มิได้จาหน่ายโดยพินยั กรรมหรื อส่ วนที่พินยั กรรมไม่มีผลบังคับให้แก่ทายาทโดย
ธรรมตามกฎหมาย” ทั้งนี้เพราะตามกฎหมายทายาทโดยธรรมมีสิทธิรับมรดกของผูต้ าย แต่ถา้ ผูต้ ายทา
พินยั กรรมไว้ก็ตอ้ งปันทรัพย์มรดกตามเจตนาของผูท้ าพินยั กรรม ดังนั้น เมื่อพินยั กรรมหรื อข้อกาหนด
พินยั กรรมนั้นถูกเพิกถอนและตกไปก็ดี เสี ยเปล่าเพราะเป็ นโมฆะก็ดีหรื อไร้ผลเพราะเหตุประการอื่นก็
ดี ทรัพย์สินของผูต้ ายจึงควรตกได้แก่ทายาทโดยธรรม เว้นแต่ไม่มีทายาทโดยธรรมหรื อผูท้ าพินยั กรรมตัด
ทายาทโดยธรรมทั้งหมด จึงให้มรดกตกได้แก่แผ่นดินตามมาตรา 1753 เช่น พินยั กรรมไร้ผลเพราะเหตุ
ผูร้ ับพินยั กรรมตายก่อนผูท้ าพินยั กรรมตามมาตรา 1698 (1) ตามฎีกาที่ 815/2492 , 1788/2493 , 1160/2497 ,
478/2501 , 2784/2515 หรื อเพราะเหตุทาพินยั กรรมให้ทรัพย์สินคงไว้เป็ นกองกลางระหว่างญาติ หรื อทา
พินยั กรรมยกทรัพย์สินให้แก่สถานที่สักการะบรรพบุรุษซึ่งไม่ใช่บุคคลตามกฎหมาย ขัดต่อมาตรา 1686 ,
1706 (2) ตามฎีกาที่ 336/2502 , 581/2508 หรื อทาพินยั กรรมเพื่อเจตนาจะก่อตั้งมูลนิธิ แต่ไม่ชอบด้วย
มาตรา 1676 ตามฎีกาที่ 1007/2518 ดังนี้ พินยั กรรมที่ไร้ผลทั้งหมด หรื อบางส่วนเป็ นผลให้ทรัพย์สินที่ไม่
อาจบังคับได้ตามพินยั กรรมนั้นตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมหรื อได้แก่แผ่นดิน ตามมาตรา 1620 , 1699
คาพิพากษาย่อ
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2569/2559 พินยั กรรมของ พ. ที่วา่ ทรัพย์เหล่านี้ขอยกให้ผตู ้ ายรักษาไว้เพื่อ
ตกทอดแก่ลูกหลานผูส้ ื บสกุลต่อไป ต่อมาผูต้ ายทาพินยั กรรมขอยกให้ผรู ้ ้องรักษาไว้เพื่อตกทอดแก่ลูกหลาน
ผูส้ ื บสกุลต่อไป ถือเป็ นข้อกาหนดตั้งผูร้ ับพินยั กรรม คือผูต้ ายและผูร้ ้องตามลาดับ ข้อความในพินยั กรรมทั้ง
สองในส่ วนที่วา่ รักษาไว้เพื่อตกทอดแก่ลูกหลานผูส้ ื บสกุลต่อไปนั้น เป็ นเงื่อนไขให้ผรู ้ ับพินยั กรรมจาหน่าย
ทรัพย์สินที่ยกให้โดยพินยั กรรมแก่บุคคลอื่น ป.พ.พ. มาตรา 1707 ให้ถือว่าเงื่อนไขนั้นเป็ นอันไม่มีเลย เมื่อ
พินยั กรรมกาหนดให้ทรัพย์มรดกตามพินยั กรรมของ พ. ตกได้แก่ผตู ้ ายเพียงคนเดียวและผูต้ ายทาพินยั กรรม
ยกทรัพย์มรดกดังกล่าวให้แก่ผรู ้ ้องเพียงผูเ้ ดียว โดยข้อความต่อท้ายที่วา่ "ให้รักษาไว้เพื่อตกทอดแก่ลูกหลาน
13

ผูส้ ื บสกุลต่อไป" ถือเป็ นเงื่อนไขที่เป็ นอันไม่มีเลย ผูค้ ดั ค้านย่อมไม่มีสิทธิใด ๆ ในทรัพย์มรดกของผูต้ าย


กรณีจึงถือว่าผูค้ ดั ค้านมิใช่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยที่มีอานาจยืน่ คาร้องขอให้ถอนผูร้ ้องจากการเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ
ผูต้ ายได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1727 วรรคหนึ่ง การที่ศาลอุทธรณ์ภาค 8 วินิจฉัยว่า พินยั กรรมตัดผูค้ ดั ค้านจาก
การเป็ นผูม้ ีสิทธิรับมรดกเพื่อจะนาไปฟังว่าผูค้ ดั ค้านมิใช่เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่จะมีสิทธิร้องขอถอนผูร้ ้องจาก
การเป็ นผูจ้ ดั การมรดก จึงมิใช่การวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคดี
14

ความเสี ยเปล่าแห่ งพินัยกรรม


มาตรา ๑๗๐๐ ภายใต้บงั คับแห่งบทบัญญัติในหมวดนี้ บุคคลจะจาหน่ายทรัพย์สินใด ๆ โดยนิติ
กรรมที่มีผลในระหว่างชีวิต หรื อเมื่อตายแล้ว โดยมีขอ้ กาหนดห้ามมิให้ผรู ้ ับประโยชน์โอนทรัพย์สินนั้นก็ได้
แต่ตอ้ งมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งนอกจากผูร้ ับประโยชน์กาหนดไว้ สาหรับเป็ นผูจ้ ะได้รับทรัพย์สิน นั้นเป็ นสิ ทธิ
เด็ดขาด ในเมื่อมีการละเมิดข้อกาหนดห้ามโอน
ผูซ้ ่ ึงกาหนดขึ้นดังกล่าวนั้นต้องเป็ นผูส้ ามารถจะมีสิทธิต่าง ๆ ได้อยูใ่ นขณะที่การจาหน่ายทรัพย์สิน
นั้นมีผลบังคับ
ถ้ามิได้กาหนดบุคคลที่จะเป็ นผูร้ ับทรัพย์สินในเมื่อมีการละเมิดข้อกาหนดห้ามโอนไว้ ให้ถือว่า
ข้อกาหนดห้ามโอนนั้นเป็ นอันไม่มีเลย
มาตรา ๑๗๐๑ ข้อกาหนดห้ามโอนตามมาตราก่อนนั้นจะให้มีกาหนดเวลาหรื อตลอดชีวิตของผูร้ ับ
ประโยชน์ก็ได้
ถ้าไม่ได้กาหนดเวลาห้ามโอนไว้ ในกรณีที่ผรู ้ ับประโยชน์เป็ นบุคคลธรรมดา ให้ถือว่าข้อกาหนด
ห้ามโอนมีระยะเวลาอยู่ตลอดชีวิตของผูร้ ับประโยชน์ แต่ในกรณีที่ผรู ้ ับประโยชน์เป็ นนิติบุคคล ให้มี
ระยะเวลาเพียงสามสิ บปี
ถ้าได้กาหนดเวลาห้ามโอนไว้ กาหนดนั้นมิให้เกินสามสิ บปี ถ้ากาหนดไว้นานกว่านั้น ก็ให้ลดลง
มาเป็ นสามสิ บปี
มาตรา ๑๗๐๒ ข้อกาหนดห้ามโอนอันเกี่ยวกับสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึงไม่อาจจดทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ได้
นั้น ให้ถือว่าเป็ นอันไม่มีเลย
ข้อกาหนดห้ามโอนเกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพยสิ ทธิอนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์น้ นั ไม่
บริ บูรณ์ เว้นแต่จะได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนการห้ามโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
บทบัญญัติในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับแก่เรื อมีระวางตั้งแต่หา้ ตันขึ้นไป ทั้งแพและสัตว์พาหนะด้วย
มาตรา ๑๗๐๓ พินยั กรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยงั ไม่ครบสิ บห้าปี บริ บูรณ์ทาขึ้นนั้น เป็ นโมฆะ

มาตรา ๑๗๐๔ พินยั กรรมซึ่งบุคคลผูถ้ ูกศาลสั่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถทาขึ้นนั้นเป็ นโมฆะ


พินยั กรรมซึ่งบุคคลผูถ้ ูกอ้างว่าเป็ นคนวิกลจริ ต แต่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถทาขึ้น
นั้น จะเป็ นอันเสี ยเปล่าก็แต่เมื่อพิสูจน์ได้วา่ ในเวลาที่ทาพินยั กรรมนั้นผูท้ าจริ ตวิกลอยู่
มาตรา ๑๗๐๕ พินยั กรรมหรื อข้อกาหนดพินยั กรรมนั้น ถ้าได้ทาขึ้นขัดต่อบทบัญญัติแห่งมาตรา
๑๖๕๒, ๑๖๕๓, ๑๖๕๖, ๑๖๕๗, ๑๖๕๘, ๑๖๖๐, ๑๖๖๑ หรื อ ๑๖๖๓ ย่อมเป็ นโมฆะ
15

มาตรา ๑๗๐๖ ข้อกาหนดพินยั กรรมเป็ นโมฆะ


(๑) ถ้าตั้งผูร้ ับพินยั กรรมไว้โดยมีเงื่อนไขว่า ให้ผรู ้ ับพินยั กรรมจาหน่ายทรัพย์สินของเขาเองโดย
พินยั กรรมให้แก่ผทู ้ าพินยั กรรม หรื อแก่บุคคลภายนอก
(๒) ถ้ากาหนดบุคคลซึ่งไม่อาจที่จะทราบตัวแน่นอนได้เป็ นผูร้ ับพินยั กรรม แต่ผรู ้ ับพินยั กรรมตาม
พินยั กรรมลักษณะเฉพาะนั้น อาจกาหนดโดยให้บุคคลใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ะบุเลือกเอาจากบุคคลอื่นหลายคน
หรื อจากบุคคลอื่นหมู่ใดหมู่หนึ่ง ซึ่งผูท้ าพินยั กรรมระบุไว้ก็ได้
(๓) ถ้าทรัพย์สินที่ยกให้โดยพินยั กรรมระบุไว้ไม่ชดั แจ้งจนไม่อาจที่จะทราบแน่นอนได้ หรื อถ้าให้
บุคคลใดคนหนึ่งกาหนดให้มากน้อยเท่าใดตามแต่ใจ

มาตรา ๑๗๐๗ ถ้าข้อกาหนดพินยั กรรมตั้งผูร้ ับพินยั กรรมโดยมีเงื่อนไขว่าให้ผรู ้ ับพินยั กรรม


จาหน่ายทรัพย์สินที่ยกให้โดยพินยั กรรมนั้นแก่บุคคลอื่น ให้ถือว่าเงื่อนไขนั้นเป็ นอันไม่มีเลย
มาตรา ๑๗๐๘ เมื่อผูท้ าพินยั กรรมตายแล้ว บุคคลผูม้ ีส่วนได้เสี ยคนใดคนหนึ่ งจะร้องขอให้ศาลสั่ง
เพิกถอนพินยั กรรมซึ่งได้ทาขึ้นเพราะเหตุข่มขู่ก็ได้ แต่หากผูท้ าพินยั กรรมยังมีชีวิตอยูต่ ่อมาเกินหนึ่งปี นับแต่
ผูท้ าพินยั กรรมพ้นจากการข่มขู่แล้ว จะมีการร้องขอเช่นว่านั้นไม่ได้
มาตรา ๑๗๐๙ เมื่อผูท้ าพินยั กรรมตายแล้ว บุคคลผูม้ ีส่วนได้เสี ยคนใดคนหนึ่ งจะร้องขอให้ศาลสั่ง
เพิกถอนพินยั กรรมซึ่งได้ทาขึ้นเพราะสาคัญผิดหรื อกลฉ้อฉลได้ก็ต่อเมื่อความสาคัญผิดหรื อกลฉ้อฉลนั้นถึง
ขนาด ซึ่งถ้ามิได้มีความสาคัญผิดหรื อกลฉ้อฉลเช่นนั้น พินยั กรรมนั้นก็จะมิได้ทาขึ้น
ความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับ แม้ถึงว่ากลฉ้อฉลนั้น บุคคลซึ่งมิใช่เป็ นผูร้ ับประโยชน์ตาม
พินยั กรรมได้ก่อขึ้น
แต่พินยั กรรมซึ่งได้ทาขึ้นโดยสาคัญผิดหรื อกลฉ้อฉลย่อมมีผลบังคับได้ เมื่อผูท้ าพินยั กรรมมิได้
เพิกถอนพินยั กรรมนั้นภายในหนึ่งปี นับแต่ที่ได้รู้ถึงการสาคัญผิดหรื อกลฉ้อฉลนั้น
มาตรา ๑๗๑๐ คดีฟ้องขอให้เพิกถอนข้อกาหนดพินยั กรรมนั้น มิให้ฟ้องเมื่อพ้นกาหนดดังนี้
(๑) สามเดือนภายหลังที่ผทู ้ าพินยั กรรมตาย ในกรณีที่โจทก์รู้เหตุแห่งการที่จะขอให้เพิกถอนได้ ใน
ระหว่างที่ผทู ้ าพินยั กรรมมีชีวิตอยู่ หรื อ
(๒) สามเดือนภายหลังที่โจทก์ได้รู้เหตุเช่นนั้นในกรณี อื่นใด
แต่ถา้ โจทก์ไม่รู้วา่ มีขอ้ กาหนดพินยั กรรมอันกระทบกระทัง่ ถึงส่ วนได้เสี ยของตน แม้วา่ โจทก์จะได้
รู ้เหตุแห่งการที่จะขอให้เพิกถอนได้ก็ดี อายุความสามเดือนให้เริ่ มนับแต่ขณะที่โจทก์รู้หรื อควรจะได้รู้วา่ มี
ข้อกาหนดพินยั กรรมนั้น
แต่อย่างไรก็ดี ห้ามมิให้ฟ้องคดีเช่นนี้เมื่อพ้นสิ บปี นับแต่ผทู ้ าพินยั กรรมตาย
16

คาพิพากษาย่อ
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 11034/2553 แม้ศาลชั้นต้นกาหนดประเด็นข้อพิพาทเพียงว่า พินยั กรรมปลอม
หรื อไม่โดยมิได้กาหนดประเด็นว่า พินยั กรรมเป็ นโมฆะหรื อไม่ แต่ปัญหาเรื่ องแบบของพินยั กรรมเป็ น
ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน และโจทก์ก็บรรยายฟ้องมาด้วยว่า พยานใน
พินยั กรรมไม่รู้เห็นขณะทาพินยั กรรมอันเป็ นการยกเรื่ องแบบพินยั กรรมมาเป็ นข้อต่อสู้ดว้ ย เมื่อมีขอ้ เท็จจริ ง
ดังกล่าวในการดาเนินกระบวนการพิจารณา ศาลจึงมีอานาจหยิบยกปัญหาว่าพินยั กรรมเป็ นโมฆะขึ้นวินิจฉัย
ได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 225 วรรคสอง ป.พ.พ. มาตรา 1656 วรรคแรก บัญญัติกาหนดแบบของพินยั กรรม
แบบธรรมดาไว้วา่ ผูท้ าพินยั กรรมแบบที่เป็ นหนังสื อนั้นต้องมีพยานอย่างน้อยสองคนและพยานจะต้องลง
ลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผูท้ าพินยั กรรมไว้ในขณะนั้นเป็ นสาคัญ ดังนั้น การที่พยานไม่วา่ คนใดคน
หนึ่งหรื อทั้งสองคนในพินยั กรรมลงลายมือชื่อในพินยั กรรมโดยไม่เห็นเหตุการณ์ขณะทาพินยั กรรม แต่มา
ลงลายมือชื่อในภายหลัง ก็ยอ่ มไม่ชอบด้วยบทบัญญัติกฎหมายมาตราดังกล่าวและทาให้พินยั กรรมเป็ น
โมฆะไปในทันทีตาม ป.พ.พ. มาตรา 1705 แม้ต่อมาภายหลังพยานในพินยั กรรมมาสอบถามผูท้ าพินยั กรรม
และได้ความว่าผูท้ าพินยั กรรมมีความประสงค์จะทาพินยั กรรมจริ ง ก็ไม่มีผลทาให้พินยั กรรมที่เป็ นโมฆะไป
แล้วกลับกลายเป็ นพินยั กรรมที่มีผลสมบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายไปได้
17

บรรณานุกรม
1.หนังสื อ ย่อหลักกฎหมายมรดก ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ กัมพูสิริ
2.หนังสื อ การจัดการมรดกด้วยตนเอง รองศาสตราจารย์ ดร.ประทีป ทับอัตตานนท์
3.ความเสี ยเปล่าของพินยั กรรมสถาบันนิติธรรมาลัย สื บค้นจาก www.drthawip.com
4.ข้อกาหนดพินยั กรรม สื บค้นจาก www.psthailaw.com
5. พินยั กรรม สื บค้นจาก closelawyer.co.th

You might also like