M1 ลดการใช้งาน Motor และเครื่องจักร

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 2

มาตรการปิ ด Motor และเครื่องจักรในขณะที่ไม่ใช้งาน

โดยปกติแล้วการทำงานของเครื่องจักรและมอเตอร์ในขบวนการผลิตของโรงงานมักจะมีการทำงานที่ไม่ต่อเนื่อง ดังนั้นถ้าหากทางโรงงานมีการสำรวจ
และเก็บข้อมูลของการทำงานเครื่องจักรและมอเตอร์ แล้วทำการปรับเปลี่ยนเวลาการทำงานของเครื่องจักรและมอเตอร์ให้เหมาะสมกับสภาพการทำงานจริงจะ
ช่วยให้ลดการใช้พลังงานลงได้อย่างมากทีเดียว

การวิเคราะห์ทางด้านเทคนิค
กำลังไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = กำลังไฟฟ้ าตรวจวัดเฉลี่ย x จำนวนเครื่องจักรและมอเตอร์ที่ปรับปรุง
พลังงานไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = กำลังไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ x ชั่วโมงการทำงานต่อปี ที่ลดลง
ค่าไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = พลังงานไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ x ค่าพลังงานไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อหน่วย
ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุน / ค่าไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ต่อปี

หมายเหตุ
ค่าพลังงานไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อหน่วยคิดจากค่าไฟฟ้ าที่จ่ายในรอบ 1 ปี หารด้วยจำนวนหน่วยไฟฟ้ าที่ใช้ใน 1 ปี

การคำนวณผลประหยัด

1 2
กำลังไฟฟ้ าตรวจวัดเฉลี่ย kW จำนวน ชุด

ชั่วโมงการทำงานที่ลดลง 3 ชม./ปี ค่าไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อหน่วย 4 บาท/kWh

เงินลงทุน 5 บาท

คำนวณ

กำลังไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = 1x2 kW  6


พลังงานไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = 6x3 kWh/ปี  7
ค่าไฟฟ้ าที่ประหยัดได้ = 7x4 บาท/ปี  8
ระยะเวลาคืนทุน = 5/8 ปี

พิมพ์

You might also like