Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

บทที่ ๓ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญของนิติกรรม

๓.๑ บุคคล (ความสามารถของบุคคลในการทำนิติกรรม)


๓.๒ วัตถุประสงคแหงนิติกรรม
๓.๓ แบบ (สําหรับนิติกรรมบางประเภท)
๓.๔ เจตนา
๓.๑ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญ : บุคคล (ความสามารถของบุคคลใน
การทำนิติกรรม)
•กรณีบุคคลธรรมดา
ความสามารถในการมีสิทธิ
- ความสามารถของบุคคลที่จะเปนผูทรงสิทธิ
มาตรา ๑๙ (ตัวบท)
- สภาพบุคคลยอมเริ่มแตเมื่อคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย
- ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิตาง ๆ ได หากวาภายหลังคลอดแลวอยูรอดเปน
ทารก
๓.๑ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญ : บุคคล (ความสามารถของบุคคลในการ
ทำนิติกรรม) (ตอ)
•กรณีบุคคลธรรมดา
ความสามารถในการใชสิทธิ

- ความสามารถที่จะใชสิทธิโดยชอบไดโดยลำพัง
(สามารถที่จะดูแลรักษาผลประโยชนของตนเองได)
- มาตรา ๑๕๓ (ตัวบท) การใดมิไดเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยความ
สามารถของบุคคล การนั้นเปนโมฆียะ
๓.๑ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญ : บุคคล (ความสามารถของบุคคลในการ
ทำนิติกรรม) (ตอ)
•กรณีบุคคลธรรมดา

ความสามารถในการใชสิทธิ
- ความสามารถที่จะใชสิทธิโดยชอบไดโดยลำพัง
(สามารถที่จะดูแลรักษาผลประโยชนของตนเองได)
- มาตรา ๑๕๓ (ตัวบท) การใดมิไดเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยความ
สามารถของบุคคล การนั้นเปนโมฆียะ
เหตุที่เกี่ยวกับความสามารถในการทำนิติกรรม
•อายุ
- ผูเยาว
•สุขภาพ (ความบกพรองทางสุขถาพ)
- คนวิกลจริต (ตามความเปนจริง)
- คนไรความสามารถ
•ความไมสามารถจัดการทรัพยสิน อันเนื่องจากสุขภาพหรือความประพฤติ
ของบุคคล
- คนเสมือนไรความสามารถ
ผูเยาว
ลักษณะของผูเยาว : ไมบรรลุนิติภาวะ
•บุคคลจะบรรลุนิติภาวะไดใน ๒ กรณี
๑. โดยอายุ เมื่ออายุครบ ๒๐ ป บริบูรณ (มาตรา ๑๙)
๒. โดยการสมรส ตามมาตรา ๒๐ เมื่อการสมรสไดทำตามมาตรา ๑๔๔๘ คือ
- ทั้งชายและหญิงมีอายุครบ ๑๗ ป บริบูรณ หรือ
- ชายหรือหญิงอายุนอยกวา ๑๗ ป บริบูรณ เมื่อการสมรสนั้นทำโดยไดรับ
อนุญาตจากศาล ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร
ผลทางกฎหมายเกี่ยวกับความสามารถในการใชสิทธิของผูเยาว
• หลัก : ทำนิติกรรมโดยลำพังไมได
นิติกรรมที่ทำตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอนการทำนิติกรรม
หากฝาฝน นิติกรรมตกเปนโมฆียะ (มาตรา ๒๑)
•ขอยกเวน : มาตรา ๒๒ – มาตรา ๒๕ กฎหมายกำหนดใหผูเยาวทำเองได
แลวมีผลสมบูรณโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
กรณีที่กฎหมายกำหนดใหผูเยาวทำเองได
•มาตรา ๒๒ ผูเยาวอาจทำการใด ๆ ไดทั้งสิ้น หากเปนเพียงเพื่อจะไดไปซึ่งสิทธิอันใด
อันหนึ่ง หรือเปนการเพื่อใหหลุดพนจากหนาที่อันใดอันหนึ่
•มาตรา ๒๓ ผูเยาวอาจทำการใด ๆ ไดทั้งสิ้น ซึ่งเปนการตองทำเองเฉพาะตัว
•มาตรา ๒๔ ผูเยาวอาจทำการใด ๆ ไดทั้งสิ้น ซึ่งเปนการสมแกฐานานุรูปแหงตนและ
เปนกาอันจำเปนในการดำรงชีพตามสมควร
•มาตรา ๒๕ ผูเยาวอาจทำพินัยกรรมไดเมื่ออายุสิบหาปบริบูรณ
- ขอสังเกต ตองมีอายุ ๑๕ ป บริบูรณจึงทำพินัยกรรมได มิฉะนั้นพินัยกรรมที่ทำ
ตกเปนโมฆะ ตามมาตร ๑๗๐๓
ถาไมเขาขอยกเวนตามมาตรา ๒๒ – ๒๕
•หลัก : ผูเยาวทำนิติกรรมโดยลำพังไมได
นิติกรรมที่ทำตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอนการทำนิติกรรม
ฝาฝน นิติกรรมตกเปนโมฆียะ (มาตรา ๒๑)
•หมายเหตุ : นิติกรรมที่ตกเปนโมฆียะ เปนนิติกรรมที่กฎหมายกำหนดใหมีผลสมบูรณ
จนกวาจะถูกบอกลาง
•ดังนั้น นิติกรรมที่เปนโมฆียะ อาจถูก
- บอกลาง (เปนการทำใหนิติกรรมเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก
- ใหสัตยาบัน (เปนการรับรองใหสมบูรณมาแตเริ่มแรก)
คนวิกลจริต

คนวิกลจริต

คนวิกลจริต คนวิกลจริตที่ศาลสั่ง
ตามความเปนจริง ใหเปนคนไรความสามารถ
คนวิกลจริตตามความเปนจริง
•หลัก : มีความสามารถใชสิทธิทำนิติกรรมไดเองโดยลำพัง และนิติกรรมที่
ทำไปมีผลสมบูรณตามกฎหมาย
•แตมีขอยกเวน : ตามมาตรา ๓๐ ซึ่งมีองคประกอบคือ
(๑) ผูทำนิติกรรมจริตวิกลในขณะที่ทำนิติกรรม และ
(๒) คูกรณีอีกฝายหนึ่งของนิติกรรมไดรูดวยวาผูที่ทำนิติกรรมดวยนั้นเปน
คนวิกลจริต
ผล คือ นิติกรรมที่ทำไปนั้นตกเปนโมฆียะ
กรณีคนวิกลจริตที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ
•มีการรองขอตศาลตามมาตรา ๒๘ วรรค ๑
•ผลทางกฎหมายในกรณีที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ :
- จัดใหอยูในความดูแลของผูอนุบาล (มาตรา ๒๘ วรรค ๒)
- ผูอนุบาลเปนผูดูแลผลประโยชน
•ทำนิติกรรมใดๆดวยตนเองไมได ไมวาโดยลำพังหรือโดยไดรับความยินยอมจาก
ผูอนุบาล
•หากมีการฝาฝน นิติกรรมที่คนไรความสามารถทำนั้นตกเปนโมฆียะ (มาตรา ๒๙)
คนเสมือนไรความสามารถ : ลักษณะ (มาตรา ๓๒)
•บกพรองทางกาย จิตใจ หรือความประพฤติ และไมอาจจัดทำการงาน
โดยตนเองได หรือจัดการไปในทางที่เสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือ
ครอบครัว
•เหตุหรือขอบกพรอง จนไมอาจจัดการงานของตนเองได
- กายพิการ
- จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ
- ติดสุรายาเมา
- เหตุอื่นทำนองเดียวกัน
ผลของการที่บุคคลถูกศาลสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ
•หลัก : ทำนิติกรรมไดเองโดยลำพังไมตองมีใครใหความยินยอมหรือดูแล
•ขอยกเวน :

กรณีตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน ผูพิทักษทำแทน
(ม.๓๔ ว.๓ กฎหมายใหอำนาจ
ศาลสั่งใหผูพิทักษทำแทน)

นิติกรรมตาม ม.๓๔ ว ๑ นิติกรรมตาม ม.๓๔ ว.๒


โดยศาลสั่งเปนกรณีไป
นิติบุคคล
•เกิดขึ้นโดยกฎหมาย
•องคประกอบ
- ทางเนื้อหา – ตองเปนการจัดองคกรโดยมีเปาหมายอยางใดอยางหนึ่ง
- ทางรูปแบบ – มีการรับรองจากรัฐวาเปนนิติบุคคล(เชน การจดทะเบียน)
•มีกองทรัพยสินเปนของตนอง (แยกจากกองทรัพยสินของบุคคลธรรมดา)
•ทำกิจกรรมหรือดำเนินการภายใตกรอบ (ขอบังคับ เชน ตราสารจัดตั้งนิติบุคคล)
•ทำโดยผานผูแทนนิติบุคคล
๓.๒ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญ : วัตถุประสงคของนิติกรรม
•มาตรา ๑๔๙ นิติกรรม หมายความวา การใด ๆ อันทำลงโดยชอบดวยกฎหมายและ
ดวยใจสมัคร มุงโดยตรงตอการ....ฯลฯ
แสดงถึงการมีเปาหมาย
•วัตถุประสงคของนิติกรรม
- ความประสงคหรือความมุงหมายในการทำนิติกรรมของคูกรณี
- ประโยชนสุดทายของคูกรณีหวังจะไดจากการทำนิติกรรม
- เปาหมายในการทำนิติกรรม
วัตถุประสงคของนิติกรรม
•โดยหลักอิสระในทางแพง ปจเจกชนมีเสรีภาพที่จะทำอะไรก็ได โดย
มีเปาหมายที่จะไดรับประโยชนบางอยาง แตกฎหมายก็ไดกำหนดก
ราอบไว คือ ตองเปนวัตถุประสงคที่ชอบดวยกฎหมายหรือที่
กฎหมายรับรองให
•วัตถุประสงคที่ไมชอบดวยกฎหมาย ไดบัญญัติไวในมาตรา ๑๕๐
วัตถุประสงคที่ไมชอบดวยกฎหมาย (มาตรา ๑๕๐)

วัตถุประสงคที่ตอง วัตถุประงคขัดตอความสงบ
วัตถุประสงค
หามชัดแจงโดย เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
เปนการพนวิสัย
กฎหมาย ของประชาชน

ผล คือ นิติกรรมนั้นตกเปนโมฆะ
❑ วัตถุประสงคที่ตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย
•การทำนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคที่กฎหมายบัญญัติหามไวโดยชัดแจง
•กฎหมายตองมีอยูในขณะที่นิติกรรม
•เชน นาย ก.ตกลงจางนาย ข.ใหไปฆานาย ค.
❑ มูลเหตุจูงใจ กับ วัตถุประสงคของนิติกรรม
•พิจารณาตัวอยางตอไปนี้วา อะไรคือวัตถุประสงคและอะไรคือมูลเหตุจูงใจ
•(๑) หนึ่งซื้อหนังสือจากสอง เพื่อนำไปใชอานเตรียมสอบ
•(๒) ก. ซื้อปนจากรานของ ข. ซึ่งไดรับอนุญาตใหขายปน โดย ก.ตั้งใจจะซื้อปนไปฆา ค.
•(๓) A เชาหองแถวจาก B เพื่อใชเปนบอนการพนัน
❑ มูลเหตุจูงใจ กับ วัตถุประสงคของนิติกรรม
จากตัวอยางที่ (๒) : ก. ซื้อปนจากรานของ ข. ซึ่งไดรับอนุญาตใหขายปน โดย ก.ตั้งใจจะ
ซื้อปนไปฆา ค.
- ถาผูขายคือ ข. ไมรูวา ก.จะเอาปนไปทำอะไร วัตถุประสงค (ประโยชนสุดทาย) ก็เปนเพียงแต
กรรมสิทธิ์และราคาในตัวปน จึงไมใชวัตถุประสงคที่ไมชอบดวยกฎหมายแตอยางใด
- แตถา ข. รูวา ก. จะซื้อปนไปยิง ค. วัตถุประสงคไมไดหยุดเพียงการโอนกรรมสิทธิ์และชำระ
ราคากันเทานั้น แตประโยชนสุดทายกลายเปนเรื่องจะไดปนไปยิงคน จึงเปนวัตถุประสงค
ที่ตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย การซื้อขายปนในกรณีนี้มีผลเปนโมฆะตามมาตร ๑๕๐
❑วัตถุประสงค
•วัตถุประสงคในทางภาวะวิสัย (objective)
•วัตถุประสงคในทางอัตวิสัย (subjective)
มูลเหตุจูงใจ กับ วัตถุประสงคของนิติกรรม (ตอ)
•อาจกลาวโดยสรุปไดวา
•ในกรณีของนิติกรรมสองฝายหรือหลายฝาย มูลเหตุจูงใจจะกลายเปนวัตถุ
ประสงคของนิติกรรม ก็ตอเมื่อ คูกรณีทุกฝายไดลวงรูถึงมูลเหตุจูงใจนั้น
•ดังนั้น หากมูลเหตุจูงใจที่ไมชอบดวยกฎหมาย จะถือเปนวัตถุประสงคของ
นิติกรรมที่ทำใหนิติกรรมเปนโมฆะ (ตาม ม.๑๕๐) ก็ตอเมื่อคูกรณีทุกฝาย
ไดลวงรูถึงมูลเหตุจูงใจที่ไมชอบดวยกฎหมายนั้นดวย
ขอสังเกต
•นิติกรรมบางอยาง คูกรณีตางก็รูหรือควรจะรูวาเปนเรื่องที่ผิดกฎหมายอยูในตัว เชน
ซื้อขายยาเสพติด จางฆาคน จึงถือวานิติกรรมดังกลาวมีวัตถุประสงคที่ไมชอบดวย
กฎหมาย (คือ ตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย) มีผลเปนโมฆะตามมาตรา ๑๕๐
พิจารณากรณีตอไปนี้
•ก. ซื้อปนจากรานของ ข. ซึ่งไดรับอนุญาตใหขายปน โดย ก. ตั้งใจจะซื้อปนเพื่อเอาไป
ฆา ค. และไดบอกให ข. ทราบในขณะที่ตกลงซื้อขายกัน
•หลังจากซื้อปนไปแลว ก. เปลี่ยนใจไมนำปนที่ซื้อไปฆา ค. แลว
•สัญญาซื้อขายปนระหวาง ก. กับ ข. ตกเปนโมฆะหรือไม เพราะเหตุใด
พิจารณากรณีตอไปนี้
•ก. ซื้อปนเถื่อนจาก ข. ซึ่งเปนพอคาขายปนเถื่อน โดย ก. ตั้งใจจะ
ซื้อปนเพื่อเอาไปฆา ค. แตไมไดบอก ข. วาจะนำปนไปทำอะไร
(ข.ไมรูมูลเหตุจูงใจที่ ก. จะนำปนไปฆา ค.)
•สัญญาซื้อขายปนระหวาง ก. กับ ข. ตกเปนโมฆะหรือไม เพราะ
เหตุใด
วัตถุประสงคเปนการพนวิสัย
•วัตถุประสงคที่เปนไปไมไดในขณะทำนิติกรรม
•ลักษณะการพนวิสัย
- เปนการพนวิสัยอยางเด็ดขาด (เปนไปไดหรือไมอาจปฏิบัติได)
- เปนการพนวิสัยสำหรับทุกคน
- เหตุการณที่พนวิสัยตองมีอยูขณะที่ทำนิติกรรม (นั่นคือ เกิดขึ้นกอน
หรือขณะทำนิติกรรม หากพนวิสัยเกิดขึ้นภายหลัง เปนเรื่องการชำระหนี้
กลายเปนพนวิสัย)
วัตถุประสงคขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
•ความสงบเรียบรอย เปนกรณีที่เกี่ยวถึงประโยชนความสงบสุขหรือความ
ปลอดภัยของประชาชนโดยสวนรวม
•ศีลธรรมอันดีของประชาชน หมายถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม
หลักทางจริยธรรม (อาจแตกตางกันแลวแตทองถิ่นและยุคสมัย)
•บางครั้งไมอาจแยกหลักความสงบเรียบรอยของประชาชนกับหลักศีลธรรมอันดี
ของประชาชนออกจากกันเปนเด็ดขาดได
วัตถุประสงคขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ตอ)
•บางครั้ง นิติกรรมเดียวอาจมีวัตถุประสงคที่ตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย และยังขัดตอความสงบ
เรียบรอย และขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชนอีกดวย
•เชน นาย ก. ตกลงจางนาย ข. ดวยเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ใหไปฆานาย ค.
• ตัวอยาง กรณีวัตถุประสงคขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ตกเปนโมฆะตาม ม.๑๕๐
สัญญาจางวาความ ซึ่งเดิมผูรับจาง (ทนายความ) มิไดมีสวนไดเสียในทรัพยสินที่ผูวาจางกับ
บุคคลอื่นพิพาทกันเลยโดยตกลงคิดคาจางวาความจากสวนแบงของทรัพยสินที่พิพาท เชน
ถาลูกความชนะคดีพิพาทที่ดิน แลวไดที่ดินมา ทนยความไดสวนแบง ๔๐% ของที่ดิน
เปนการยุยงสงเสริมใหบุคคลอื่นเปนความกัน และแสวงหาประโยชนจากการที่ผูอื่นเปน
ความกัน วัตถุประสงคของสัญญาจางวาความดังกลาว จึงขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรม
อันดีของประชาชน ตกเปนโมฆะตาม ม.๑๕๐
ขอสังเกต : กรณีวัตถุประสงคขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรม
อันดีของประชาชนตกเปนโมฆะตาม ม.๑๕๐
•แตถามีสวนไดเสีย เชน A เปนผูมีสวนไดเสียรวมกันในการคาที่ดินกับ B
ไดออกเงินคาธรรมเนียมให B ฟองคดีใหไดมาซึ่งผลประโยชนเพื่อแบงปน
กัน เปนการกระทำเพื่อปองกันสวนไดเสียของตนตามปกติ
มิใชยุยงหรือแสวงหาประโยชนจากการที่เขาเปนความกัน จึงไมขัดตอ
ความสงบเรียบรอย ไมเปนโมฆะ
๓.๓ องคประกอบที่เปนสาระสำคัญของนิติกรรม : แบบของนิติกรรม

• แบบ คือ วิธีการในการแสดงเจตนาในการทำนิติกรรม


ประเภทของแบบ

แบบในความหมายทั่วไป แบบในความหมายเฉพาะ

หลักอิสระในเรื่องแบบ กฎหมายกำหนดใหทำ ถาไมทำมีผล


(ทำนิติกรรมโดยวิธีใดก็ได ก็สามารถมีผล ทำใหนิติกรรมเปนโมฆะ
ทางกฎหมายตามที่ประสงค) ตามมาตรา ๑๕๒
แบบในความหมายเฉพาะ
กฎหมายกำหนดวา ถาไมทำแลว นิติกรรมเปนโมฆะ
•เปน “แบบ” ที่เปนไปตามมาตรา ๑๕๒
•เปนองคแหงความสมบูรณของนิติกรรม
•ชนิดของ “แบบ” ไดแก
(ก) แบบที่ตองทำเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
(ข) แบบที่ตองทำเปนหนังสือระหวางคูกรณีกันเอง
(ค) กรณีอื่นๆ
(ก) แบบที่ตองทำเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เชน
การทำสัญญาซื้อขาย อสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (ม. ๔๕๖ ว.๑)
- การซื้อขายอสังหาริมทรัพย ถามิไดทำเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
เปนโมฆะ วิธีนี้ใหใชถึงซื้อขายเรือมีระวางตั้งแตหาตันขึ้นไป ทั้งซื้อขายแพและสัตวพาหนะดวย
การใหอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (ม.๕๒๕ ประกอบ ม.๔๕๖ ว.๑)
- การใหทรัพยสินซึ่งถาจะซื้อขายกันจะตองทำเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
นั้น ทานวายอมสมบูรณตอเมื่อไดทำเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ในกรณีเชนนี้
การใหยอมเปนอันสมบูรณโดยมิพักตองสงมอบ
❑ หนังสือเปนลายลักษณอักษรซึ่งมีเนื้อหาสาระสำคัญของนิติกรรมครบถวน และมีการลง
ลายมือชื่อของคูกรณีทุกฝาย
(ข) แบบที่ตองทำเปนหนังสือระหวางคูกรณีกันเอง เชน
•สัญญเชาซื้อ มาตรา ๕๗๒ ว.สอง
- สัญญาเชาซื้อนั้นถาไมทำเปนหนังสือ ทานวาเปนโมฆะ
•เปนการทำเปนลายลักษณอักษร มีเนื้อหาสาระสำคัญของนิติกรรมครบถวน
•มีการลงลายมือชื่อของคูกรณีทุกฝาย
(ค) กรณีอื่นๆ
•เปนกรณีที่กฎหมายกำหนดวา ถาไมทำตามวิธีการที่บังคับไว นิติกรรมนั้นจะเปนโมฆะ
•เชน พินัยกรรม
ตัวอยางกรณีพินัยกรรม
มาตรา ๑๖๕๕ พินัยกรรมนั้น จะทำไดก็แตตามแบบใดแบบหนึ่งดั่งที่บัญญัติไวในหมวดนี้
มาตรา ๑๖๕๖ พินัยกรรมนั้น จะทำตามแบบดั่งนี้ก็ได กลาวคือตองทำเปนหนังสือ ลงวัน เดือน ป ในขณะที่
ทำขึ้น และผูทำพินัยกรรมตองลงลายมือชื่อไวตอหนาพยานอยางนอยสองคนพรอมกัน ซึ่งพยานสองคนนั้น
ตองลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผูทำพินัยกรรมไวในขณะนั้น
การขูดลบ ตก เติม หรือการแกไขเปลี่ยนแปลงอยางอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นยอมไมสมบูรณ เวนแตจะได
ปฏิบัติตามแบบอยางเดียวกับการทำพินัยกรรมตามมาตรานี้
มาตรา ๑๖๕๗ พินัยกรรมนั้น จะทำเปนเอกสารเขียนเองทั้งฉบับก็ได กลาวคือผูทำพินัยกรรมตองเขียนดวย
มือตนเองซึ่งขอความทั้งหมด วัน เดือน ป และลายมือชื่อของตน
การขูดลบ ตก เติม หรือการแกไขเปลี่ยนแปลงอยางอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นยอมไมสมบูรณ เวนแตผูทำ
พินัยกรรมจะไดทำดวยมือตนเอง และลงลายมือชื่อกำกับไว
บทบัญญัติมาตรา ๙ แหงประมวลกฎหมายนี้ มิใหใชบังคับแกพินัยกรรมที่ทำขึ้นตามมาตรานี้
ตัวอยางกรณีพินัยกรรม(ตอ)
•มาตรา ๑๖๕๘ พินัยกรรมนั้น จะทำเปนเอกสารฝายเมืองก็ได กลาวคือ
.................................................................................................
•มาตรา ๑๖๖๐ พินัยกรรมนั้น จะทำเปนเอกสารลับก็ได กลาวคือ
...........................................................................
•มาตรา ๑๗๐๕ พินัยกรรมหรือขอกำหนดพินัยกรรมนั้น ถาไดทำขึ้นขัดตอ
บทบัญญัติแหงมาตรา ๑๖๕๒, ๑๖๕๓, ๑๖๕๖, ๑๖๕๗, ๑๖๕๘, ๑๖๖๐,
๑๖๖๑ หรือ ๑๖๖๓ ยอมเปนโมฆะ
ผลของการที่ไมทำตามแบบ
•แบบที่กฎหมายบังคับไวในกรณีตามมาตรา ๑๕๒ ที่ไดกลาวมา หากไมทำตามแบบ
ผลคือ นิติกรรมเปนโมฆะ (เสียเปลาในทางกฎหมาย)
•เชน ตกลงทำสัญญาเชาซื้อดวยวาจา(ไมทำเปนหนังสือ) ตอมาคูสัญญาฝายใด
ฝายหนึ่งจะฟองบังคับใหอีกฝายปฏิบัติตามสัญญาไมได
•หมายเหตุ : รวมถึงฟองใหมาทำสัญญาเปนหนังสือไมได ถาตางฝายยอมมาทำ
สัญญาเปนหนังสือ ก็เปนการทำสัญญาใหม ซึ่งเกิดจากความยินยอมตองตรงกันของ
สองฝาย ไมไดเกี่ยวกับสัญญาในครงแรกซึ่งเปนโมฆะไปแลว
ขอสังเกต
•หากคูกรณีทำตามแบบเรียบรอยแลว ตอมาตองการแกไขเปลี่ยนแปลง
การแกไขเปลี่ยนแปลงตองทำตามแบบหรือไม?
•เชน เชาซื้อทำเปนหนังสือแลว ตอมาคูสัญญาตองการที่จะแกไข เชน
แกไขจำนวนงวด ราคาตองวด
•การแกไขดังกลาวตองทำตามแบบของสัญญาเชาซื้อ (คือทำเปนหนังสือ)
หรือไม?
ขอสังเกตอื่นๆ : มีบางกรณี กฎหมายกำหนดใหทำบางอยางแตไมได
กำหนดผลไวโดยเฉพาะ
•ตัวอยาง
- มาตรา ๑๐๑๕ หางหุนสวนหรือบริษัทเมื่อไดจดทะเบียนตามบัญญัติ
แหงลักษณะนี้แลว ทานจัดวาเปนนิติบุคคลตางหากจากผูเปนหุนสวนหรือ
ผูถือหุนทั้งหลายซึ่งรวมเขากันเปนหุนสวนหรือบริษัทนั้น
- มาตรา ๑๔๕๗ การสมรสตามประมวลกฎหมายนี้จะมีไดเฉพาะเมื่อ
ไดจดทะเบียนแลวเทานั้น
ขอสังเกตอื่นๆ : มีบางกรณี กฎหมายกำหนดใหทำบางอยาง
แตไมไดกำหนดผลไวโดยเฉพาะ
•มีความเห็น ๒ ฝาย
•ฝายหนึ่งเห็นวา : การที่กฎหมายกำหนดวิธีการไวโดยเฉพาะแลว ถาไมทำตามที่
กฎหมายกำหนด ยอมเปนโมฆะ ตามหลักของมาตรา ๑๕๒
•อีกฝายหนึ่งเห็นวา : เมื่อกฎหมายไมไดกำหนดผลของการฝาฝนไว จะอาศัย
หลักทั่วไปของมาตรา ๑๕๒ ใหมีผลเปนโมฆะไมได แตจะมีผลไปตามแตละกรณี
(เชน การสมรสที่ไมไดจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ นาจะถือวาการสมรส
โดยชอบดวยกฎหมายไมไดเกิดขึ้น)
หลักฐานเปนหนังสือ
•เปนลายลักษณอักษร ที่แสดงไดวามีการทำนิติกรรมนั้นขึ้น (เชน จดหมาย บันทึก
ขอความ เปนตน)
•ตองมีลายมือชื่อของฝายผูตองรับผิดเปนสำคัญ (นั่นคือ จะฟองใครก็ตองมีลายมือชื่อ
ของผูถูกฟองกำกับอยู)
•หลักฐานเปนหนังสือไมใชแบบที่กฎหมายบังคับใหทำตามมาตรา ๑๕๒
•หลักฐานเปนหนังสือตองมีอยูในชวงเวลาใด?
- จะมีภายหลังจากการทำนิติกรรมแลวก็ได แตที่สำคัญคือ ตองมีอยูในขณะที่ฟองคดี
ถาไมมีก็ฟองบังคับคดีไมได
หลักฐานเปนหนังสือ
•ตัวอยางที่กฎหมายกำหนดใหมีหลักฐานเปนหนังสือ เชน
- สัญญากูยืมเงินเกินกวา ๒,๐๐๐ บาท (ม.๖๕๓)
มาตรา ๖๕๓ การกูยืมเงินกวาสองพันบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการ
กูยืมเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสำคัญ จะฟองรองใหบังคับ
คดีหาไดไม
- สัญญาค้ำประกัน (ม.๖๘๐ ว.๒)
มาตราม.๖๘๐ ว.๒ อนึ่ง สัญญาค้ำประกันนั้น ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยาง
ใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูค้ำประกันเปนสำคัญ ทานวาจะฟองรองใหบังคับคดีหา
ไดไม
ขอสังเกต : มาตรา ๕๓๘ (เชาอสังหาริมทรัพย)
•มาตรา ๕๓๘ เชาอสังหาริมทรัพยนั้น ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสือ
อยางหนึ่งอยางใดลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดเปนสำคัญ ทานวาจะ
ฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม ถาเชามีกำหนดกวาสามปขึ้นไป หรือ
กำหนดตลอดอายุของผูเชาหรือผูใหเชาไซร หากมิไดทำเปนหนังสือ
และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ทานวาการเชานั้นจะฟองรอง
ใหบังคับคดีไดแตเพียงสามป
ผลของการไมมีหลักฐานเปนหนังสือ
•ผล คือ ฟองรองบังคับคดีไมได และจะฟองรองบังคับใหทำหลักฐานเปนหนังสือก็ไมได
•แตไมไดหมายความวา นิติกรรมนั้นไมเกิด หรือไมสมบูรณ (ดังนั้น ถาชำระหนี้ไปแลว
ก็เรียกคืนไมได)
•เชน ก. กูยืมเงินจาก ข. ๑๐,๐๐๐ บาท ดวยวาจา โดยไดรับเงินไปครบถวน กำหนด
ชำระคืน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ถึงกำหนด ก. ไมคืน เชนนี้ ข. ฟองบังคับให ก. คืนเงินไม
ได เพราะไมมีหลักฐานเปนหนังสือที่จะใชในการฟองรอง
•ถามวา สัญญากูยืมเงิน เปนโมฆะ เพราะไมมีหลักฐานเปนหนังสือ ใชหรือไม?
ผลของการไมมีหลักฐานเปนหนังสือ (ตอ)
•แตถา ก. ชำระคืนเงินให ข. และตอมา ก. รูเกี่ยวกับ ม.๖๕๓ ก.
จะมาเรียกให ข. มอบเงินคืนโดยอางวา ข. ไมสามารถฟองบังคับคดี
เนื่องจากไมมีหลักฐานเปนหนังสือในการฟองรอง ดังนั้น ก. จึงไม
ตองชำระหนี้
ก. อางเชนนี้เพื่อให ข. คืนเงินที่ชำระไปแลวไมได
เพราะอะไร?
ขอสังเกต : มาตรา ๔๕๖ วรรค ๒ และ ๓
•(วรรค ๒) สัญญาจะขายหรือจะซื้อ หรือคำมั่นในการซื้อขายทรัพยสินตามที่
ระบุไวในวรรคหนึ่ง(ไดแก อสังหาริมทรัพย เรือมีระวางตั้งแตหาตันขึ้นไป
ทั้งซื้อขายแพและสัตวพาหนะ) ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยางหนึ่ง
อยางใดลงลายมือชื่อฝายผูตองรับผิดเปนสำคัญ หรือไดวางประจำไวหรือ
ไดชำระหนี้บางสวนแลว จะฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม
•(วรรค ๓) บทบัญญัติที่กลาวมาในวรรคกอนนี้ ใหใชบังคับถึงสัญญาซื้อขาย
สังหาริมทรัพยซึ่งตกลงกันเปนราคาสองหมื่นบาท หรือกวานั้นขึ้นไปดวย
ขอสังเกต : มาตรา ๔๕๖ วรรค ๒ และ ๓ (ตอ)
•เชน สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพยตั้งแต ๒๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไป แมไมมี
หลักฐานเปนหนังสือ แตกฎหมายใหฟองรองบังคับได โดยอาศัยการวาง
มัดจำหรือชำระหนี้บางสวน
•ขอสังเกตเพิ่มเติม กรณีใชหลักฐานเปนหนังสือในการฟองรองบังคับนั้น
จะฟองไดเพียงผูที่ลงลายมือชื่อ แตกรณีวางมัดจำหรือการชำระหนี้บาง
สวน ตางฝายตางอางเพื่อฟองรองบังคับกันได
ความแตกตางระหวางแบบตาม ม.๑๕๒ และหลักฐานเปนหนังสือ
ประเด็น แบบที่กฎหมายบังคับใหทํา หลักฐานเปนหนังสือ
ตาม ม.๑๕๒
๑.เวลา ตองทําในขณะทํานิติกรรม มีในขณะทํานิติกรรมหรือ
ภายหลังก็ได
๒.รูปแบบ ตองเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด อาจอยูในรูปจดหมาย บันทึก หรืออะไรก็ไดที่เปน
ลายลักษณอักษรหรือที่กฎหมายยอมรับวาใชได
เชนเดียวกับลายลักษณอักษร
๓.สาระ ตองมีสาระสําคัญของนิติกรรม มีเพียงขอความที่พอฟงไดก็
สําคัญ ประเภทนั้นครบถวน เพียงพอแลว
๔.การลง ตองมีลายมือชื่อของทุกฝาย มีเฉพาะลายมือชื่อของผูที่ตอง
ลายมือชื่อ รับผิดหรือ ผูที่จะถูกฟองก็พอ
๕.ผล ไมทําตามแบบนิติกรรมเปนโมฆะ ไมทําหลักฐานฯนิติกรรมยังคง
สมบูรณตามกฎหมาย เพียงแต
ไมสามารถฟองรองบังคับคดีได

You might also like