บทที่5

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 64

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

บทที่ 5
การแปลงฟูเรียรทตี่ อเนื่องทางเวลา

บทนํา

ในบทที่ 4 ไดอธิบายการอธิบายสัญญาณคาบใดๆในรูปความถี่ดวยอนุกรมฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลาแบบตรีโกณมิติ และแบบเลขชี้กําลังเชิงซอน อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
แบบเลขชี้กําลังเชิงซอนมีประโยชนในการคํานวณหาผลตอบสนองเอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไม
แปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาเมื่อสัญญาณอินพุทเปนสัญญาณคาบ ในบทนี้จะเปนการ
อธิบายโครงสรางของฟูเรียรที่ใชอธิบายสัญญาณที่ไมเปนคาบ การจําแนกองคประกอบทางความถี่
ที่ไดจะเรียกวาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา (continuous time Fourier transform (CTFT))
และใชสําหรับอธิบายสัญญาณคาบ และสัญญาณที่ไมเปนคาบไดในรูปของผลรวมเชิงเสนของ
ฟงกชันเลขชี้กําลังเชิงซอน ในบทนี้ไดแสดงใหเห็นวาการปริพันธคอนโวลูชันในโดเมนเวลาจะ
เทากับการคูณกันในโดเมนความถี่ซึ่งนําไปสูการวิเคราะหระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่
ตอเนื่องทางเวลาในรูปความถี่
สําหรับองคประกอบในบทที่ 5 เปนไปตามนี้ หัวขอที่ 5-1 เปนการพิจารณาการแปลงฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจากอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเพื่อนิยามการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง
เวลา และการแปลงฟูเรียรผกผันที่ตอเนื่องทางเวลา (continuous time inverse Fourier transform
(CTIFT)) และไดอธิบายตัวอยางที่จะอธิบายขั้นตอนในการคํานวณการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง
เวลาของสัญญาณพื้นฐาน นอกจากนี้ไดแสดงถึงวิธีการหาการแปลงฟูเรียรผกผันที่ตอเนื่องทางเวลา
ในหัวขอที่ 5-2 ขณะที่หัวขอที่ 5-4 อธิบายคุณสมบัติที่สําคัญในการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
และความสัมพันธระหวางการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา และอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
ของสัญญาณคาบจะอธิบายในหัวขอที่ 5-5 ตามลําดับ สุดทายหัวขอที่ 5-7 เปนการประยุกต
คุณสมบัติคอนโวลูชันของการแปลงฟูเรียรผกผันที่ตอเนื่องทางเวลาเพื่อหาผลตอบสนองเอาทพุท
ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาเมื่อสัญญาณอินพุทที่ตอเนื่องทางเวลา
ใดๆ

5- 1
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-1 การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณไมเปนคาบ

พิจารณาสัญญาณที่ไมเปนคาบ x(t ) ที่แสดงในรูปที่ 5-1 a) เพื่อที่จะนําอนุกรมฟูเรียรที่


ตอเนื่องทางเวลามาวิเคราะหสัญญาณที่ไมเปนคาบ x(t ) จึงตองสรางสัญญาณ ~xT (t ) ซึ่งเกิดจาก
การทําซ้ําสัญญาณที่ไมเปนคาบ x(t ) ดวยชวงเวลาที่หางกัน T0 ดังที่แสดงในรูปที่ 5-1 b) ซึ่งจะได
สัญญาณคาบ ~xT (t ) ที่มีคาบเวลาเปน T0 โดย

lim ~
T0 →∞
xT (t ) = x(t ) (5-1)

รูปที่ 5-1 การสรางสัญญาณคาบของสัญญาณที่ไมเปนคาบที่มีขอบเวลาจํากัด a) สัญญาณที่ไมเปน


คาบ b) การสรางสัญญาณคาบ

เนื่องจาก ~xT (t ) เปนสัญญาณคาบที่มีความถี่มูลฐาน ω 0 = 2π / T0 เรเดียน/วินาที และการแสดง


สัญญาณในรูปสัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังเชิงซอนจะได


~
~
xT (t ) = ∑D e
n = −∞
n
jnω0t
(5-2)

5-2
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยที่สัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังเชิงซอนหาไดจาก

~ 1
Dn = ∫ ~x T (t )e − jnω0t dt (5-3)
T0 T0

สเปกตรัมของ ~xT (t ) เปนการแสดงขนาด และเฟสของสัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง


เวลาแบบเลขชี้กําลังเชิงซอนเทียบกับ nω 0 เพราะวา n เปนจํานวนเต็ม ดังนั้นสเปกตรัมขนาด และ
เฟสของ ~xT (t ) จึงประกอบดวยเสนสเปกตรัมที่อยูหางกัน ω 0 เปนชวงที่เทาๆกัน ถา T0 → ∞ แก
xT (t ) จะทําใหชวงหาง ω 0 = 2π / T0 ของเสนสเปกตรัม (spectral line) ในสเปกตรัมของขนาด
~

และเฟสจะลดลงเปนศูนย และจะไดสเปกตรัมที่เปนการแสดงฟูเรียรของสัญญาณที่ไมเปนคาบ
x(t ) ที่ มี ค วามต อ เนื่ อ งตามแนวแกนความถี่ ω ดั ง นั้ น การแปลงฟู เ รี ย ร ที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลาของ
สัญญาณที่ไมเปนคาบเปนฟงกชันที่ตอเนื่องกับความถี่ ω เมื่อให T0 → ∞ ในสมการที่ 5-3 จะได

~ 1
lim Dn = lim
T0 → ∞ T0 →∞ T
0
∫ ~x
T0
T (t )e − jnω0t dt

หรือ

1
Dn = lim
T0 →∞ T ∫ x(t )e
− jnω0t
dt เนื่องจาก Tlim
→∞
~
xT (t ) = x(t ) (5-4)
0
0 −∞

ในสมการที่ 5-4 พจนของ Dn ใชแทนสัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง


เชิงซอนของ x(t ) และไดนิยามฟงกชันตอเนือ่ ง X (ω ) เปน


X (ω ) = ∫ x(t )e
− jωt
dt (5-5)
−∞

ดังนั้นจากสมการที่ 5-4 และ 5-5 จะได

1
Dn = lim
T0 →∞ T
X (nω 0 ) (5-6)
0

โดยใชสัมประสิทธิ์อนุก รมฟูเ รีย รที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง x(t ) สามารถหาไดจ าก


สัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ไดเปน

5- 3
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

∞ ∞
1
x(t ) = ∑ Dn e jnω0t = lim
n = −∞
T0 → ∞
∑T
n = −∞
X (nω 0 )e jnω0t (5-7)
0

ขณะที่ T0 → ∞ ความถี่มูลฐาน ω 0 มีคาเล็กมากๆโดยใหเปน ∆ω ดังนั้นคาบเวลามูลฐาน T0 จึง


หาไดโดย T0 = 2π / ∆ω เมื่อแทน T0 = 2π / ∆ω ขณะที่ ω 0 → ∆ω ในสมการที่ 5-7 จะได


1
x(t ) = lim ∑ X (n∆ω )e jn∆ωt ∆ω (5-8)
2π ∆ω →0 
n = −∞
A

ในสมการที่ 5-8 เมื่อพิจารณาพจน A ที่แสดงในรูปที่ 5-2 ในขอบเขตที่ ∆ω → 0 พจน A จะแทน


เปนพื้นที่ใตฟงกชัน X (ω )e jωt ดังนั้นสมการที่ 5-8 สามารถเขียนใหมไดเปน


1
x(t ) = ∫ X (ω )e
− jωt
dω (5-9)
2π −∞

ซึ่งอางเปนสมการที่สังเคราะหสัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังที่ใช
แสดงสัญญาณที่ไมเปนคาบใดๆในรูปของเลขชี้กําลังเชิงซอน สมการที่ใชวิเคราะหสัมประสิทธิ์
อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง หาไดจาก


X (ω ) = ∫ x(t )e
− jωt
dt (5-10)
−∞


รูปที่ 5-2 การประมาณพจนของ ∑ X (n∆ω )e jn∆ωt ∆ω เปนพื้นที่ใตฟงกชนั X (ω )e jωt
n = −∞

5-4
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

และใชเครื่องหมายแทนดังนี้

x(t ) ←⎯⎯→ X (ω )
CTFT
(5-11)
หรือ

X (ω ) = ℑ{x(t )} (5-12)

และ

x(t ) = ℑ −1 {X (ω )} (5-13)

โดยที่ ℑ ใชแทนการแปลงอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา และ ℑ −1 ใชแทนการแปลงผกผัน


อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ตัวอยางที่ 5-1 จงหาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตอไปนี้ พรอมกับวาดรูป


สเปกตรัมขนาด และสเปกตรัมเฟส
a) x1 (t ) = e − at u (t ) a ∈ R+
b) x2 (t ) = e − a t u (t ) a ∈ R+

เครื่องหมาย a ∈ R + ใชแทน a เปนคาจริงที่อยูในชวง − ∞ < a < ∞

วิธีทํา
a) จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการที่ 5-10 จะได
∞ ∞
{
X 1 (ω ) = ℑ e u (t ) =
− at
} ∫e − at
u (t )e − j ωt
dt = ∫ e −( a + jω ) t dt
−∞ 0

1
=− [e −( a + jω ) t ]∞0
( a + jω )
=−
1
[
lim e −( a + jω ) t − 1
( a + jω ) t → ∞
]

โดยที่พจน
lim e − ( a + jω ) t = lim e − at ⋅ lim e − jωt = 0 ⋅ lim e − jωt = 0
t →∞ t →∞ t →∞ t →∞

5- 5
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ดังนั้น
1
X 1 (ω ) =
( a + jω )

จะไดขนาด และเฟสของ X 1 (ω ) หาไดเปน


1 1
ขนาด X 1 (ω ) = =
a + jω a2 + ω 2
1 ⎛ω ⎞
เฟส ∠X 1 (ω ) = ∠ = ∠1 − ∠(a + jω ) = − tan −1 ⎜ ⎟
a + jω ⎝a⎠

และสามารถวาดรูปไดดังในรูปที่ 5-3

รูปที่ 5-3 a) x1 (t ) = e − at u (t ) b) ขนาด และc) เฟสของ X 1 (ω )

b) จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการที่ 5-10 จะได

{ }= ∫ e

−a t −a t
X 2 (ω ) = ℑ e e − jωt dt
−∞

5-6
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
∞ ∞

∫ e cos(ωt )dt − j ∫ e sin(ωt )dt


−a t −a t
=
−∞ even function −∞ odd function

เนื่องจากการปริพันธของฟงกชันคี่ในชวง [− L, L] มีคาเปนศูนย สมการจึงลดรูปเปน

∞ ∞

∫e cos(ωt )dt = 2 ∫ e − at cos(ωt )dt


−a t
X 2 (ω ) =
−∞ 0

= 2
a +ω
2
2
[ ∞
− ae − at cos(ωt ) + ωe − at sin(ωt ) 0 ]
2a
= 2
a +ω2

เนื่องจาก X 2 (ω ) เปนคาจริง ดังนัน้ ขนาด และเฟสของ X 2 (ω ) หาไดจาก

2a 2a
ขนาด X 2 (ω ) = = 2
a +ω
2 2
a +ω2
เฟส ∠X 2 (ω ) = 0

และสามารถวาดรูปไดดังในรูปที่ 5-4

รูปที่ 5-4 a) x 2 (t ) = e − at u (t ) b) ขนาด และc) เฟสของ X 2 (ω )

5- 7
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ตัวอยางที่ 5-2 จงหาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาคงที่ x(t ) = 1 ดังที่แสดงใน


รูปที่ 5-5 a)

วิธีทํา จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาตามสมการที่ 5-10 จะได


X (ω ) = ℑ{1} = ∫e
− jωt
dt
−∞


เนื่องจาก ∫e
j ωt
dt = 2πδ (ω )
−∞

แทน ω ดวย − ω ในสมการขางบน จะได

∫e
− j ωt
dt = 2πδ (− ω ) = 2πδ (ω )
−∞

ซึ่งผลลัพธที่ไดเปน


X (ω ) = ∫e
− jωt
dt = 2πδ (ω )
−∞

หรือกลาวไดวา
⎯⎯→ 2πδ (ω )
1 ⎯CTFT

ดังนั้นสเปกตรัมขนาดของฟงกชันคาคงที่ x(t ) = 1 ประกอบดวยฟงกชันอิมพัลสที่มีพื้นที่ 2π ที่


จุดกําเนิด ω = 0 ในโดเมินความถี่ดังที่แสดงในรูปที่ 5-5 b) และมีเฟสเปนศูนยทุกๆความถี่

รูปที่ 5-5 การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาคงที่ a) ฟงกชันคาคงที่ x(t ) = 1


b) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) = 2πδ (ω )

5-8
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ตั ว อย า งที่ 5-3 การแปลงฟู เ รี ย ร ที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลาของสั ญ ญาณที่ ไ ม เ ป น คาบ g (t ) จะได
G (ω ) = 2πδ (ω ) จงหาสัญญาณที่ไมเปนคาบ g (t ) ดังกลาวนี้

วิธีทํา จากสมการการสังเคราะหของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการที่ 5-9 จะได

∞ ∞
g (t ) = ℑ −1 {2πδ (ω )} = ∫ 2πδ (ω )e dω = ∫ δ (ω )dω = 1
1 j ωt

2π −∞ −∞

หรือกลาวไดวา 1 ←⎯⎯⎯ 2πδ (ω )


CTFT

เมื่อนําตัวอยางที่ 5-2 และ 5-3 รวมเขาดวยกัน จะไดคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเปน

1 ←⎯⎯→ 2πδ (ω )
CTFT

ตัวอยางที่ 5-4 จงหาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลส x(t ) = δ (t )

วิธีทํา จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาตามสมการที่ 5-10 จะได


∞ ∞
X (ω ) = ℑ{δ (t )} = ∫ δ (t )e − jωt dt = ∫ δ (t )dt = 1
−∞ −∞

ดังนั้น δ (t ) ⎯CTFT
⎯⎯→1

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลสที่จุดกําเนิด (t = 0) จะไดคาคงที่ โดยมี


สเปกตรัมของขนาดแสดงไดดังในรูปที่ 5-6 และมีสเปกตรัมของเฟสเปนศูนยสําหรับความถี่ทุกๆ
คา ω

ตัวอย างที่ 5-5 การแปลงฟู เรีย รที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ไ มเ ปนคาบ g (t ) จะได


G (ω ) = 1 จงหาสัญญาณที่ไมเปนคาบ g (t ) ดังกลาวนี้

วิธีทํา จากสมการการสังเคราะหของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการที่ 5-9 จะได

5- 9
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

g (t ) = ℑ −1 {1} =
1 1
∫1⋅ e
j ωt
dω = ⋅ 2πδ (t ) = δ (t )
2π −∞

ดังนั้น δ (t ) ←⎯⎯⎯ 1
CTFT

เมื่อนําตัวอยางที่ 5-4 และ 5-5 รวมเขาดวยกัน จะไดคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเปน

δ (t ) ←⎯⎯→1
CTFT

รูปที่ 5-6 การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลส a) ฟงกชันอิมพัลส x(t ) = δ (t )


b) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) = 1

จากการสังเกตคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในตัวอยางที่ 5-3 และ 5-5 คือ

1 ←⎯⎯→ 2πδ (ω )
CTFT
และ δ (t ) ←⎯⎯→1
CTFT

5-10
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงคุณสมบัติหนึ่งที่เรียกวาคุณสมบัติทวิภาวะ (duality property) นั้นคือการ


แปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของคาคงที่จะไดฟงกชันอิมพัลส ขณะที่การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่อง
ทางเวลาของฟงกชันอิมพัลสจะไดคาคงที่

ตัวอยางที่ 5-6 จงหาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันสี่เหลี่ยม f (t ) ที่แสดงในรูปที่


5-7 a)

รูปที่ 5-7 การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันสี่เหลี่ยม a) ฟงกชันสี่เหลี่ยม x(t ) = δ (t )


b) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาซึ่งจะไดฟงกชันไซนคารดินัล

วิธีทํา จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาตามสมการที่ 5-10 จะได

τ /2 τ /2
⎡ e − jωt ⎤
F (ω ) = ℑ{rect(t / τ )} = ∫ 1⋅ e − jωt
dt = ⎢ ⎥
−τ / 2 ⎣ − jω ⎦ −τ / 2

เมื่อจัดรูปใหงายขึ้น จะได

⎛ ωτ
F (ω ) = −

e[
1 − jωt
]
τ /2
−τ / 2 =−

[
1 − jωτ / 2
e − e jωτ / 2 = −
1 ⎡

jω ⎣
]
− 2 j sin ⎜
⎞⎤
⎟⎥
⎝ 2 ⎠⎦

5- 11
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

หรือ
2 ⎛ ωτ ⎞ ⎛ ωτ ⎞
F (ω ) = sin ⎜ ⎟ = τsinc⎜ ⎟
ω ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2π ⎠

การแปลงฟูเรียร F (ω ) แสดงไดดังในรูปที่ 5-7 b) และคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาคือ

⎛ t ⎞ CTFT ⎛ ωτ ⎞
rect⎜ ⎟ ←⎯ ⎯→τsinc⎜ ⎟
⎝τ ⎠ ⎝ 2π ⎠

ตัวอยางที่ 5-7 จงหาฟงกชันที่ไมเปนคาบ g (t ) ที่มีคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา G (ω )


เปนฟงกชันสี่เหลี่ยมที่แสดงในรูปที่ 5-8 a)

รูปที่ 5-8 การแปลงผกผันฟู เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันสี่เหลี่ยม a) การแสดง


คา G (ω ) = rect(ω / 2W ) ในรูปโดเมนความถี่ b) คาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาซึ่งจะ
ไดฟงกชันไซนคารดินัล

วิธีทํา จากรูปที่ 5-8 a) สังเกตไดวา


⎧⎪1 ω ≤W
G (ω ) = ⎨
⎪⎩0 ω >W
จากสมการการสังเคราะหของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการที่ 5-9 จะได

5-12
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

W
⎛ ω ⎞⎫ 1 1 ⎡ e jωt ⎤
W

∫ 1⋅ e
jωt
−1
g (t ) = ℑ ⎨rect⎜ ⎟⎬ = dω = ⎢ ⎥
⎩ ⎝ 2W ⎠⎭ 2π −W
2π ⎣ jt ⎦ −W

เมื่อจัดรูปใหงายจะได

g (t ) =
1
j 2πt
[ ]
e jWt − e − jWt =
1
j 2πt
[2 j sin(Wt )] =
sin(Wt ) W
πt
⎛W ⎞
= sinc⎜ t ⎟
π ⎝π ⎠

ฟงกชันที่ไมเปนคาบ g (t ) และคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแสดงไดในรูปที่ 5-8 ตัวอยาง


ที่ 5-7 จึงไดคกู ารแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

W ⎛ W ⎞ CTFT ⎛ ω ⎞
sinc⎜ t ⎟ ←⎯⎯→ rect⎜ ⎟
π ⎝π ⎠ ⎝ 2W ⎠

ตัวอยางที่ 5-8 จงหาสัญญาณ x(t ) ที่มีคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเปนฟงกชันอิมพัลสที่


เลื่อนเฟส X (ω ) = δ (ω − ω 0 )

วิธีทํา จากนิยามของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาตามสมการที่ 5-10 จะได


x(t ) = ℑ {δ (ω − ω 0 )} =
1
∫ δ (ω − ω )e − jωt dω
−1


0
−∞

1 − jω 0 t 1
=

e ∫
−∞
δ (ω − ω 0 )dω = e − jω0t

จากตัวอยางที่ 5-8 สามารถพิสูจนไดวาคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาคือ

e jω0t ←⎯⎯→ 2πδ (ω − ω 0 )


CTFT

และถาแทนคา ω 0 ดวย − ω 0 จะไดคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาคือ

e − jω0t ←⎯⎯→ 2πδ (ω + ω 0 )


CTFT

สําหรับคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันพื้นฐานตางๆจะแสดงในตารางที่ 5-1

5- 13
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ตารางที่ 5-1 คูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนือ่ งทางเวลาของฟงกชันพืน้ ฐานตางๆ

5-14
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-2 การแปลงผกผันฟูเรียร

การหาคาของการแปลงผกผันฟูเรียรเปนขั้นตอนที่สําคัญในการวิเคราะหของระบบเชิง
เสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา โดยมีวิธีการสําหรับการคํานวณคาของการแปลง
ผกผันฟูเรียรดังนี้
1) การใชสมการสังเคราะห
2) การใชตารางในการแปลงคา (look-up table)
3) การใชการกระจายเปนเศษสวนยอย (partial fraction expansion)
สําหรับการคํานวณการคํานวณคาของการแปลงผกผันฟูเรียรโดยใชสมการสังเคราะหตามสมการที่
5-9 นั้นไดอธิบายขั้นตอนไวในตัวอยางที่ 5-3, 5-5, 5-7, และ 5-8 อยางไรก็ตาม วิธีการดังกลาวก็จะ
ยาก ดังนั้นวิธีการที่ 2 และ 3 ก็จะอธิบายไวในหัวขอนี้ตามลําดับ สําหรับการคํานวณหาคาของการ
แปลงผกผันฟูเรียรโดยใชตารางในการแปลงคานั้นเปนการใชตารางคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่อง
ทางเวลาของฟงกชันพื้นฐานตางๆตามตารางที่ 5-1 มาเทียบดังตัวอยางที่จะอธิบายตอไปนี้

ตัวอยางที่ 5-9 จงคํานวณหาคาของการแปลงผกผันฟูเรียรของฟงกชันนี้โดยใชตารางการแปลงคา

2( jω ) + 24
X (ω ) =
( jω ) 2 + 4( jω ) + 29

วิธีทํา ฟงกชัน X (ω ) สามารถแยกเปนสวนๆไดในพจนอยางงายเพื่อสามารถหาคาของการแปลง


ผกผันฟูเรียรของพจนในแตละพจนดวยตารางที่ 5-1 จะได

2 + ( jω ) 5
X (ω ) = 2 +4
( 2 + jω ) + 5
2 2
( 2 + jω ) 2 + 5 2

ตามตารางที่ 5-1 ในขอที่ 14 และ 15 ทราบวา

2 + jω
e − 2t cos(5t )u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

( 2 + jω ) 2 + 5 2

และ
5
e − 2t sin(5t )u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

( 2 + jω ) 2 + 5 2

5- 15
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ดังนั้น คาของการแปลงผกผันฟูเรียรจึงคํานวณไดเปน

x(t ) = 2e −2t cos(5t )u (t ) + 4e −2t sin(5t )u (t )

สําหรับการใชการกระจายเปนเศษสวนยอยเพื่อหาคาของการแปลงผกผันฟูเรียรนั้นเปน
การแยกใหเปนฟงกชันสัดสวนที่งายขึ้น พิจารณาคาของการแปลงฟูเรียรดังนี้

N (ω ) bm ( jω ) m + bm −1 ( jω ) m −1 + ... + b1 ( jω ) + b0
X (ω ) = = (5-14)
D(ω ) ( jω ) n + a n −1 ( jω ) n −1 + ... + a1 ( jω ) + a 0

โดยที่ตัวเศษของสมการที่ 5-14 เปนโพลิโนเมียลลําดับที่ m และตัวสวนของสมการที่ 5-14 เปนโพ


ลิโนเมียลลําดับที่ n ขั้นตอนดําเนินการหาการกระจายเปนเศษสวนยอยสามารถทําไดดังนี้
1) แยกตัวประกอบ D(ω ) ในรูปตัวประกอบลําดับที่หนึ่งจํานวน n ตัว และ X (ω )
แสดงไดเปน
N (ω )
X (ω ) = (5-15)
( jω − p1 )( jω − p 2 )...( jω − p n )

2) ถา D(ω ) ไมมีรากเชิงซอนที่ซ้ํากัน X (ω ) สามารถแสดงไดเปนเศษสวนยอยจํานวน n


ชุด นั้นคือ
k1 k2 kn
X (ω ) = + + ... + (5-16)
( jω − p1 ) ( jω − p 2 ) ( jω − p n )

โดยที่สัมประสิทธิ์ของเศษสวนยอยสามารถคํานวณโดยใชสูตรของเฮียวิไซด (Heaviside formula)


ที่อธิบายไดดังนี้

k r = [( jω − p r ) X (ω )] jω = pr (5-17)

สําหรับ 1 ≤ r ≤ n
3) คาของการแปลงผกผันฟูเรียรจึงคํานวณไดเปน

x(t ) = [k1e p1t + k2e p 2 t + ... + kn e p n t ] u (t ) (5-18)

5-16
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ตัวอยางที่ 5-10 จงคํานวณหาคาของการแปลงผกผันฟูเรียรของฟงกชันนี้โดยใชการใชการกระจาย


เปนเศษสวนยอย

วิธีทํา สําหรับพจนของ jω จากการหารากของ D(ω ) = ( jω ) 3 + 17( jω ) 2 + 80( jω ) + 100 จะ


ได jω = −2, − 5, และ − 10 การใชการกระจายเปนเศษสวนยอยของ X (ω ) จะได

5( jω ) + 30 k1 k2 k3
X (ω ) = = + +
( jω + 2)( jω + 5)( jω + 10) ( jω + 2) ( jω + 5) ( jω + 10)

โดยที่สัมประสิทธิ์ของเศษสวนยอยมีคาเปน

5( jω ) + 30 5( jω ) + 30
k1 = ( jω + 2) =
( jω + 2)( jω + 5)( jω + 10) jω = −2
( jω + 5)( jω + 10) jω = −2

20 5
= =
(3)(8) 6

5( jω ) + 30 5( jω ) + 30
k 2 = ( jω + 5) =
( jω + 2)( jω + 5)( jω + 10) jω = −5
( jω + 5)( jω + 10) jω = −5

5 1
= =−
(−3)(5) 3

และ
5( jω ) + 30 5( jω ) + 30
k 3 = ( jω + 10) =
( jω + 2)( jω + 5)( jω + 10) jω = −10
( jω + 5)( jω + 10) jω = −10

− 20 1
= =−
(−8)(−5) 2

ดังนั้น การกระจายเปนเศษสวนยอยของ X (ω ) จะได

5 1 1
X (ω ) = − −
6( jω + 2) 3( jω + 5) 2( jω + 10)

โดยใชคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันพื้นฐานตางๆตามตารางที่ 5-1 เพื่อหา


คาของการแปลงผกผันฟูเรียร และคํานวณหาฟงกชัน x(t ) ไดเปน

5- 17
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

⎡5 1 1 ⎤
x(t ) = ⎢ e − 2t − e −5t − e −10t ⎥u (t )
⎣6 3 2 ⎦

5-3 การแปลงฟูเรียรของฟงกชันคาจริง ฟงกชันคู และฟงกชันคี่

ในตัวอยางที่ 5-1 สังเกตเห็นไดวาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาฟงกชันเลขชี้กําลัง


ลดถอยคอซอล (causal decaying exponential)

1
e − at u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

( a + jω )

จะไดสเปกตรัมของขนาดเปนฟงกชันคู ขณะที่สเปกตรัมของเฟสเปนฟงกชันคี่ คุณสมบัตินี้เรียกวา


คุณสมบัติสมมาตรเฮอรมิเทียน (Hermitian symmetry property)

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาจริง
การแปลงฟุเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของสัญญาณคาจริง x(t ) จะไดวา

X (−ω ) = X * (ω ) (5-19)

โดยที่ X * (ω ) แสดงถึงสังยุคเชิงซอนของ X (ω ) โดยนิยาม

*
⎡∞ ⎤ ∞
X (ω ) = [ℑ{x(t )}]
* *
[
= ⎢ ∫ x(t )e − jωt ⎥ = ∫ x(t )e − jωt dt
*
]
⎣ −∞ ⎦ −∞

จัดรูปงายไดเปน


X * (ω ) = ∫x (t )e jωt dt
*

−∞

เนื่องจาก x(t ) เปนสัญญาณคาจริง x * (t ) = x(t ) จะได

5-18
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

∫ x(t )e
− j ( −ω ) t
X * (ω ) = dt = X (−ω )
−∞

ในองคประกอบจํานวนจริงของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของสัญญาณคาจริง x(t )


เปนฟงกชันคูในขณะที่องคประกอบจํานวนจินตภาพของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω )
เปนฟงกชันคี่ และเมื่อแทนคา X (ω ) = Re{X (ω )} + j Im{X (ω )} ในคุณสมบัติสมมาตรเฮอรมิ
เทียนตามสมการที่ 5-19 จะได

Re{X (−ω )} + j Im{X (−ω )} = Re{X (ω )} − j Im{X (ω )}

ดังนั้น
Re{X (−ω )} = Re{X (ω )} และ Im{X (−ω )} = − Im{X (ω )} (5-20)

พิจารณาขนาดของฟงกชันเชิงซอน X (−ω ) = Re{X (−ω )} + j Im{X (−ω )} คือ

X (−ω ) = (Re{X (−ω )}) 2 + (Im{X (−ω )}) 2

แทนคา Re{X (−ω )} = Re{X (ω )} และ Im{X (−ω )} = − Im{X (ω )} จะได

X (−ω ) = (Re{X (ω )}) 2 + (− Im{X (ω )}) 2 = X (ω )

พิจารณาเฟสของฟงกชันเชิงซอน X (−ω ) = Re{X (−ω )} + j Im{X (−ω )} คือ

⎛ Re{X (−ω )} ⎞
∠X (−ω ) = tan −1 ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ Im{X (−ω )} ⎠

เมื่อแทน Re{X (−ω )} = Re{X (ω )} และ Im{X (−ω )} = − Im{X (ω )} จะได

⎛ Re{X (−ω )} ⎞
∠X (−ω ) = tan −1 ⎜⎜ ⎟⎟ = −∠X (ω )
⎝ − Im{X (−ω )} ⎠

ดังนั้นสเปกตรัมของขนาด X (ω ) ของคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของสัญญาณ


คาจริง x(t ) เปนฟงกชันคู ในขณะที่ ∠X (ω ) เปนฟงกชันคี่ นั้นคือ

5- 19
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

X (−ω ) = X (ω ) และ ∠X (−ω ) = −∠X (−ω ) (5-21)

ตั ว อย า งที่ 5-11 พิ จ ารณาฟ ง ก ชั น g (t ) ที่ มี ค า การแปลงฟู เ รี ย ร ที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลาเป น


G (ω ) = 1 + 2πδ (ω − ω 0 ) จงหา g (t ) เปนฟงกชันคาจริงหรือไม

วิธีทํา แทนคา ω ดวย − ω ในคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเปน G(ω ) ได

G (−ω ) = 1 + 2πδ (−ω − ω 0 ) = 1 + 2πδ (ω + ω 0 )

สังยุคเชิงซอนของ G (ω ) จะได

G * (ω ) = [1 + 2πδ (ω − ω 0 )]* = 1 + 2πδ (ω − ω 0 )

จะไดวา G * (ω ) ≠ G(−ω ) แสดงไดวา g (t ) ไมเปนฟงกชันคาจริง และเมื่อหาคาการแปลงผกผัน


ฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ G(ω ) จะได

g (t ) = ℑ −1 {G (ω )} = ℑ −1 {1 + 2πδ (ω − ω 0 )} = ℑ −1 {1} + 2πℑ −1 {δ (ω − ω 0 )}

ซึ่งจะไดผลเปน
g (t ) = δ (t ) + e jω0t

แสดงใหเห็นไดชัดวา g (t ) ไมเปนฟงกชันคาจริง

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ที่เปนคาจริง
ถา x(t ) เปนฟงกชันคู หรือฟงกชันคี่ ดังนั้นคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
สามารถหาไดอยางรวดเร็วโดยอาศัยคุณสมบัติที่จะกลาวตอไปนี้ พิจารณาจากกฎออยเลอรการ
แปลงฟูเรียรตอเนื่องเปน

∞ ∞ ∞
X (ω ) = ∫ x(t )e dt = ∫ x(t ) cos(ωt ) − j ∫ x(t ) sin(ωt )dt
− j ωt

−∞ −∞ −∞

5-20
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

กรณีที่ 1 ถาสมมติให x(t ) เปนฟงกชันคู ดังนั้น x(t ) cos(ωt ) ก็จะเปนฟงกชันคู ในขณะ


ที่ x(t ) sin(ωt ) ก็จะเปนฟงกชันคี่ ดังนั้นคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสามารถหาได
จาก

X (ω ) = 2 ∫ x(t ) cos(ωt )dt (5-23)
0

กรณีที่ 2 ถาสมมติให x(t ) เปนฟงกชันคี่ ดังนั้น x(t ) sin(ωt ) ก็จะเปนฟงกชันคู ในขณะ


ที่ x(t ) cos(ωt ) ก็จะเปนฟงกชันคี่ ดังนั้นคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสามารถหาได
จาก

X (ω ) = − j 2 ∫ x(t ) sin(ωt )dt (5-24)
0

เมื่อรวมคุณสมบัติสมมาตรเฮอรมิเทียนเขากับสมการที่ 5-23 และ 5-24 แลว คาของการแปลงฟูเรียร


ที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของฟงกชันคูที่เปนคาจริงจะเปนคาจริง และฟงกชันคูดวย หรือกลาว
อีกนัยหนึ่งไดวา Re{X (ω )} = Re{X (−ω )} และ Im{X (ω )} = 0 สําหรับคาของการแปลงฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของฟงกชันคี่ที่เปนคาจริงจะเปนคาจํานวนจินตภาพ และฟงกชันคี่
ดวย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวา Re{X (ω )} = 0 และ Im{X (ω )} = − Im{X (−ω )}

ตัวอยางที่ 5-12 จงคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรของฟงกชัน x1 (t ) และ x 2 (t ) ที่แสดงดังในรูป


ที่ 5-9

รูปที่ 5-9 สัญญาณที่ตอเนื่องทางเวลาในตัวอยางที่ 5-12 a) x1 (t ) และ b) x 2 (t )

5- 21
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

วิธีทํา a) สําหรับฟงกชัน x1 (t ) ดังที่แสดงในรูปที่ 5-9 a) สามารถอธิบายเชิงคณิตศาสตรไดเปน

⎧2 t −1 ≤ t ≤ 1

x1 (t ) = ⎨2 1≤ t ≤ 2
⎪0 elsewhere

เนื่องจาก x1 (t ) เปนฟงกชันคู คาการแปลงฟูเรียรตอเนื่องทางเวลาสามารถคํานวณโดยใชสมการที่


5-23 ไดเปน

∞ 1 2
X 1 (ω ) = 2 ∫ x1 (t ) cos(ωt )dt = 2 ∫ (2t ) cos(ωt )dt + 2 ∫ 2 cos(ωt )dt
0 0 1

จัดรูปใหงายเปน
⎡ sin(ωt ) cos(ωt ) ⎤ ⎡ sin(ωt ) ⎤
1 2

X 1 (ω ) = 4 ⎢t +1 ⎥ + 4⎢ ⎥
⎣ ω ω ⎦0
2
⎣ ω ⎦1
หรือ
⎡ sin(ω ) cos(ω ) 1 ⎤ ⎡ sin(2ω ) sin(ω ) ⎤
X 1 (ω ) = 4⎢ + − 2 ⎥ + 4⎢ −
⎣ ω ω 2
ω ⎦ ⎣ ω ω ⎥⎦
= 2 [ω sin(2ω ) + cos(ω ) − 1]
4
ω

เห็นไดวาคาการแปลงฟูเรียรตอเนื่องทางเวลาของ X 1 (ω ) ของฟงกชันคูที่เปนคาจริงก็เปนจํานวน
จริง และฟงกชันคูดวย

b) สําหรับฟงกชัน x 2 (t ) ดังที่แสดงในรูปที่ 5-9 b) สามารถอธิบายเชิงคณิตศาสตรไดเปน

⎧− 2 − 2 ≤ t ≤1
⎪ 2t −1 ≤ t ≤ 2

x 2 (t ) = ⎨
⎪2 1< t ≤ 2
⎪⎩0 elsewhere

เนื่องจาก x2 (t ) เปนฟงกชันคี่ คาการแปลงฟูเรียรตอเนื่องทางเวลาสามารถคํานวณโดยใชสมการ


ที่ 5-24 ไดเปน

5-22
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
∞ t 2
X 2 (ω ) = − j 2 ∫ x(t ) sin(ωt )dt = − j 2 ∫ (2t ) sin(ωt )dt − j 2 ∫ 2 sin(ωt )dt
0 0 1

จัดรูปใหงายเปน

⎡ cos(ωt ) sin(ωt ) ⎤ ⎡ cos(ωt ) ⎤


1 2

X 2 (ω ) = − j 4 ⎢− t +1 ⎥ − j 4 ⎢−
⎣ ω ω ⎦0
2
⎣ ω ⎥⎦ 1

หรือ

⎡ cos(ω ) sin(ω ) ⎤ ⎡ cos(2ω ) cos(ω ) ⎤


X 2 (ω ) = j 4⎢ + ⎥ + j 4⎢ −
⎣ ω ω ⎦
2
⎣ ω ω ⎥⎦
= j 2 [ω cos(2ω ) − sin(ω )]
4
ω

เห็นไดวาคาการแปลงฟูเรียรตอเนื่องทางเวลาของ X 2 (ω ) ของฟงกชันคี่ที่เปนคาจริงก็เปนจํานวน
จริง และฟงกชันคี่ดวย

5-4 คุณสมบัติการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ในหัวขอที่ 5-3 ไดอธิบายถึงคุณสมบัติสมมาตรของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา


สําหรับหัวขอนี้เปนการนําเสนอถึงคุณสมบัติของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาที่อาศัยการ
แปลงของสัญญาณ โดยการคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันที่เกิด
จากการดํ าเนินการเชิงเสน x(t ) ในโดเมนเวลา การดําเนินการเชิงเสนที่พิ จารณานี้ไ ดแก การ
ซอนทับ การเลื่อนเวลา การสเกลทางเวลา การอนุพันธ และการปริพันธ รวมทั้งการดําเนินการที่ไม
เปนเชิงเสนอยางเชนการคูณกันของสัญญาณที่ตอเนื่องทางเวลา 2 สัญญาณดวยกัน การทําคอนโวลู
ชันในโดเมนเวลา และโดเมนความถี่ และความสัมพันธของพารซิวาล

5-4-1 คุณสมบัติเชิงเสน
ถา x1 (t ) และ x2 (t ) เปนสัญญาณที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง
เวลาดังนี้
x1 (t ) ←⎯⎯→ X 1 (ω )
CTFT

5- 23
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

และ
x 2 (t ) ←⎯⎯→ X 2 (ω )
CTFT

สําหรับการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ a1 x1 (t ) + a 2 x 2 (t ) โดยที่ a1 และ a2 เปนคาคงที่


ใดๆสามารถหาไดจากสมการที่ 5-10 จะได


ℑ{a1 x1 (t ) + a 2 x 2 (t )} = ∫ [a x (t ) + a
−∞
1 1 2 x 2 (t )]e − jωt dt
∞ ∞
= a1 ∫ x1 (t )e − jωt
dt + a 2 ∫ x 2 (t )e − jωt dt

−∞

−∞
X 1 (ω ) X 2 (ω )

หรือ
ℑ{a1 x1 (t ) + a 2 x 2 (t )} = a1 X 1 (ω ) + a 2 X 2 (ω )

ดังนั้นคุณสมบัติเชิงเสนจึงกลาวไดวา

a1 x1 (t ) + a 2 x 2 (t ) ←⎯⎯→ a1 X 1 (ω ) + a 2 X 2 (ω )
CTFT
สําหรับ a1 , a 2 ∈ C (5-25)

โดยที่ C แสดงถึงเซตของจํานวนเชิงซอน

ตัวอยางที่ 5-13 จากคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาดังนี้

e jω0t ←⎯⎯→ 2πδ (ω − ω 0 )


CTFT

และ
e − jω0t ←⎯⎯→ 2πδ (ω + ω 0 )
CTFT

จงคํานวณหาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันโคซายน cos(ω 0 t )

วิธีทํา โดยใชสูตรของออยเลอร

⎧1 ⎫ 1
{ }
ℑ{cos(ω 0 t )} = ⎨ [e jω0t + e − jω0t ]⎬ = ℑ e jω0t + ℑ e − jω0t
1
{ }
⎩2 ⎭ 2 2

5-24
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยใชคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาดังที่ไดกําหนดจากโจทยจะได

ℑ{cos(ω 0 t )} = π [δ (ω − ω 0 ) + δ (ω + ω 0 )]

ซึ่งไดคาเหมือนกันกับคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสําหรับฟงกชันโคซายนที่เปนคาบดัง
ในตารางที่ 5-1

ตัวอยางที่ 5-14 จงคํานวณหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของรูปคลื่น g (t ) ที่แสดงในรูปที่


5-10

รูปที่ 5-10 รูปคลื่นของ g (t ) ที่ใชในตัวอยางที่ 5-14

วิธีทํา รูปคลื่น g (t ) สามารถแสดงในรูปผลรวมเชิงเสนจากรูปที่ 5-9 ไดเปน

g (t ) =
1
[x1 (t ) + x2 (t )]
2

โดยใชคุณสมบัติเชิงเสน การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของรูปคลื่น g (t ) หาไดเปน

1 1
G (ω ) = X 1 (ω ) + X 2 (ω )
2 2

จากตัวอยางที่ 5-13 ไดวา


X 1 (ω ) =
4
[ω sin(2ω ) + cos(ω ) − 1]
ω2

5- 25
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

และ
X 2 (ω ) = j
4
[ω cos(2ω ) − sin(ω )]
ω2

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของรูปคลื่น g (t ) จึงมีคาเปน

G (ω ) =
2
[ω sin(2ω ) + cos(ω ) − 1] + j 2
[ω cos(2ω ) − sin(ω )]
ω 2
ω2
=
2
ω 2
[ jωe − j 2ω
+ e − jω − 1 ]

5-4-2 คุณสมบัติการสเกลทางเวลา
ในหัวขอที่ 1-3-2 แสดงใหเห็นวารูปแบบการสเกลทางเวลาของสัญญาณ x(t ) ที่กําหนด
โดย x(at ) ถา a > 1 สัญญาณจะถูกบีบอัดทางเวลา และ ถา 0 < a < 1 สัญญาณจะถูกทําใหขยาย
กวางทางเวลา สําหรับคุณสมบัติการสเกลเวลาที่ใชแสดงคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
x(at ) ในรูปของคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณดังเดิม x(at )
ถา x(t ) ←⎯ ⎯→ X (ω ) ดังนั้นการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ถูกสเกล
CTFT

ทางเวลา x(at ) หาไดจาก



ℑ{x(at )} = ∫ x(at )e
− jωt
dt
−∞

เมื่อแทน τ = at การปริพันธก็จะลดลงเหลือ


dτ 1 ⎛ ω ⎞
ℑ{x(at )} = ∫ x(τ )e
− jωτ / 2
= X⎜ ⎟
−∞
a a ⎝a⎠

ดังนั้นคุณสมบัติการสเกลทางเวลากลาวไววา

1 ω
x(at ) ←⎯⎯→
CTFT
X( ) สําหรับ a ∈ ℜ และ a ≠ 0 (5-26)
a a

โดยที่ ℜ แสดงถึงเซตของจํานวนจริง

ตัวอยางที่ 5-15 จงคํานวณหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของรูปคลื่น h(t ) ที่แสดงในรูปที่


5-11 โดยใชคุณสมบัติสเกลทางเวลา

5-26
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

วิธีทํา รูปคลื่น h(t ) สามารถแสดงในรูปแบบการสเกลเวลาของ g (t ) ที่แสดงในรูปที่ 5-10 ไดคือ

3 ⎛t⎞ 3
h(t ) = g ⎜ ⎟ = g (0.5t )
2 ⎝2⎠ 2

โดยการประยุกตคุณสมบัติเชิงเสน และคุณสมบัติสเกลทางเวลาโดยที่ a = 0.5 คาการแปลงฟูเรียรที่


ตอเนื่องทางเวลาของ g (t ) สามารถหาไดเปน

3 ⎡ 1 ⎛ ω ⎞⎤
H (ω ) = G⎜ ⎟ = 3G (2ω )
2 ⎢⎣ 0.5 ⎝ 0.5 ⎠⎥⎦

จากผลลัพธในตัวอยางที่ 5-14 G (ω ) = (2 / ω 2 ) [ jωe − j 2ω + e − jω − 1] จึงไดผลเปน

H (ω ) = 3
2
(2ω ) 2
[ j (2ω )e − j 2 ( 2ω )
]
+ e − j ( 2ω ) − 1 =
3
2ω 2
[ j 2ωe − j 4ω + e − j 2ω − 1]

รูปที่ 5-11 รูปคลื่นของ h(t ) ที่ใชในตัวอยางที่ 5-15

5-4-3 คุณสมบัติการเลื่อนเวลา
ถาให x(t ) เปนสัญญาณใดๆ สัญญาณที่ถูกเลื่อนทางเวลาถูกกําหนดโดย x(t − t 0 ) ถาคา
ของเวลาที่เลื่อนไป t 0 เปนบวก สัญญาณอางอิง x(t ) จะลาชาในเวลา และเปนการเลื่อนจุดเริ่มตน
ของสัญญาณ x(t) ไปทางดานขวามือเปนเวลา t 0 ในแกนเวลา และคาของเวลาที่เลื่อนไป t 0 เปน
ลบ สัญญาณอางอิง x(t) จึงล้ําหนาในเวลา และเปนการเลื่อนสัญญาณ x(t) ไปทางดานซายมือเปน
เวลา t 0 ในแกนเวลา

5- 27
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ถา x(t ) ←⎯⎯→ X (ω )


CTFT
ดังนั้นการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ถูกสเกล
ทางเวลา x(t − t 0 ) หาไดจาก

ℑ{x(t − t 0 )} = ∫ x(t − t 0 )e − jωt dt
−∞

= e − jωt0 ∫ x(τ )e
− jωτ
dτ โดยแทน τ = t − t0
−∞

= e − jω0t X (ω )

ดังนั้นคุณสมบัติการเลื่อนเวลากลาวไววา

x(t − t 0 ) ←⎯⎯→ e − jω0t X (ω )


CTFT
สําหรับ t0 ∈ ℜ (5-27)

โดยที่ ℜ แสดงถึงเซตของจํานวนจริง
ขนาด และเฟสของคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ถูกเลื่อนเวลา
g (t ) = x(t − t 0 ) หาไดเปน

ขนาด G (ω ) = e − jω0t X (ω ) = e − jω0t X (ω ) = X (ω ) (5-28)


เฟส { }
∠G (ω ) = ∠ e − jω0t X (ω ) = ∠e − jω0t + ∠X (ω ) = −ωt 0 + ∠X (ω ) (5-29)

จากสมการที่ 5-28 และ 5-29 สรุปไดวาคุณสมบัติการเลื่อนเวลาไมไดเปลี่ยนขนาดของสเปกตรัม


ของสัญญาณเดิม ขณะที่เฟสของสเปกตรัมเพิ่มขึ้น − ωt 0

ตัวอยางที่ 5-16 จงแสดงคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ f (t ) ที่ไดไวแสดงใน


รูปที่ 5-12 ใหอยูในรูปของ g (t ) ตามที่แสดงในรูปที่ 5-10

วิธีทํา f (t ) สามารถแสดงใหอยูในรูปของ g (t ) ไดเปน

3 ⎛t + 3⎞ 5 ⎛ t − 7 ⎞
f (t ) = g⎜ ⎟ + g⎜ ⎟
2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠

5-28
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-12 รูปคลื่นของ f (t ) ที่ใชในตัวอยางที่ 5-16

ถา g (t ) ←⎯⎯→ G (ω )
CTFT
และประยุกตดวยคุณสมบัติการสเกลทางเวลาดวย a = 3 จะได

⎛ t ⎞ CTFT
g ⎜ ⎟ ←⎯ ⎯→ 3G (3ω )
⎝3⎠

โดยการประยุกตคุณสมบัติการเลื่อนเวลาจะได

⎛ t + 3 ⎞ CTFT ⎛ t − 7 ⎞ CTFT
g⎜ ⎟ ←⎯⎯→ 3e
− j 3ω
G (3ω ) และ g⎜ ⎟ ←⎯⎯→ 3e
− j 7ω
G (3ω )
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3 ⎠

โดยใชคณ
ุ สมบัติเชิงเสน จะได

3 ⎛ t + 3 ⎞ 5 ⎛ t − 7 ⎞ CTFT 3 − j 3ω 5
g⎜ ⎟ + g⎜ ⎟ ←⎯⎯→ ⋅ 3e G (3ω ) + ⋅ 3e − j 7ω G (3ω )
2 ⎝ 3 ⎠ 2 ⎝ 3 ⎠ 2 2

ดังนั้น คาการแปลงฟูเรียรทตี่ อเนื่องทางเวลาของสัญญาณ f (t ) คือ

3 5
F (ω ) = ⋅ 3e − j 3ω G (3ω ) + ⋅ 3e − j 7ω G (3ω )
2 2

5- 29
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-4-4 คุณสมบัติการเลื่อนความถี่
ในคุ ณ สมบั ติ ก ารเลื่ อ นความถี่ ไ ด ก ล า วไว ว า ถ า x(t ) ←⎯⎯→ X (ω ) ดั ง นั้ น
CTFT

h(t ) = e jω t x(t ) ←⎯
0
⎯→ X (ω − ω 0 ) สําหรับ ω 0 ∈ ℜ โดยที่ ℜ แสดงถึงเซตของจํานวนจริง
CTFT

คุณสมบัติการเลื่อนความถี่สามารถพิจารณาไดจากสมการที่ 5-10 ไดโดยตรงดวยการหาคาการแปล


ฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ x(t )e jω t เมื่อคํานวณขนาด และเฟสของพจน x(t )e jω t จะ
0 0

ไดวา

ขนาด h(t ) = e jω0t x(t ) = e jω0t x(t ) = x(t ) (5-30)


เฟส ∠h(t ) = ∠e jω0t x(t ) = ∠e jω0t + ∠x(t ) = ω 0 t + ∠x(t ) (5-31)

การเลื่อนความถี่ของการแปลงฟุเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณไมไดเปลี่ยนขนาด x(t ) ของ


สัญญาณ x(t ) ในโดเมนเวลา แตเฟส ∠x(t ) ของสัญญาณ x(t ) มีคาเพิ่มเปน ω0 t

ตัวอยางที่ 5-17 พิจารณาวงจรมอดูเลตขนาด (amplitude modulator) ที่ใชในยาน AM ของการสง


คลื่นวิทยุเพื่อสงสัญญาณขอมูล m(t ) ไปยังเครื่องรับวิทยุ สัญญาณที่ถูกมอดูเลตที่อยูในพจนของ
สัญญาณขอมูลแสดงไดเปน

s (t ) = A[1 + km(t )]cos(ω 0 t )

จงแสดงคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ถูกมอดูเลต s(t ) ในพจนคาการแปลงฟู


เรียรที่ตอเนื่องทางเวลา M (ω ) ของสัญญาณขอมูล m(t )

วิธีทํา สัญญาณที่ถูกมอดูเลต s(t ) เปนผลรวมของพจน 2 พจนดวยกันคือ A cos(ω 0 t ) และ


Akm(t ) ตามตัว อย างที่ 5-13 สามารถหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ
A cos(ω 0 t ) ไดเปน
A cos(ω 0 t ) ←⎯⎯→ Aπ [δ (ω − ω 0 ) + δ (ω + ω 0 )]
CTFT

โดยการกระจาย cos(ω 0 t ) ดังนั้นพจนที่ 2 Akm(t ) cos(ω 0 t ) แสดงไดเปน

Akm(t ) cos(ω 0 t ) =
1
2
[
Akm(t ) e jω0t + e − jω0t ]

5-30
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยการใชคุณสมบัติการเลื่อนความถี่ คาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของพจน
m(t )e jω t และ m(t )e − jω t สามารถหาไดเปน
0 0

m(t )e jω0t ←⎯⎯→ M (ω − ω 0 )


CTFT
และ m(t )e − jω0t ←⎯⎯→ M (ω + ω 0 )
CTFT

โดยการใชคุณสมบัติเชิงเสน คาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ Akm(t ) cos(ω 0 t )


สามารถหาไดเปน
⎯→ Ak [M (ω − ω 0 ) + M (ω + ω 0 )]
1
Akm(t ) cos(ω 0 t ) ←⎯
CTFT

โดยการเพิ่มคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ 2 พจน ดังนั้นคาของการแปลงฟูเรียรที่


ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ถูกมอดูเลต s(t )

⎡ k k ⎤
s (t ) ←⎯⎯→ A⎢πδ (ω − ω 0 ) + πδ (ω + ω 0 ) + M (ω − ω 0 ) + M (ω + ω 0 )⎥
CTFT

⎣ 2 2 ⎦

5-4-5 คุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลา
คุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลา (time differentiation) เปนการแสดงคาของการแปลงฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ทําการอนุพันธทางเวลา dx / dt ในรูปของคาของการแปลงฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเดิม x(t ) ถาให x(t ) ←⎯ ⎯→ X (ω ) ดังนั้นการแปลงฟูเรียรที่
CTFT

ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ทําการอนุพันธทางเวลา dx / dt หาไดจาก

dx d ⎧ 1 ⎫

∫ X (ω )e
jωt
= ⎨ dω ⎬
dt dt ⎩ 2π −∞ ⎭

เมื่อสลับเปลี่ยนลําดับของการหาอนุพันธ และการหาปริพันธจะได

∞ ∞
dx
=
dt 2π
1
{ }
d jωt 1
∫−∞ X (ω ) dt e dω = 2π ∫ [ jωX (ω )]e
jωt

−∞

ดังนั้น
dx(t ) CTFT
←⎯⎯→ jωX (ω ) (5-32)
dt

ในขณะเดียวกัน

5- 31
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

d n x(t ) CTFT
←⎯⎯→( jω ) X (ω ) (5-33)
n
n
dt

ตัวอยางที่ 5-18 ในตัวอยางที่ 5-11 ไดแสดงใหเห็นวาคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ


ฟงกชันโคซายนที่เปนคาบหาไดโดย

cos(ω 0 t ) ←⎯⎯→ π [δ (ω − ω 0 ) + δ (ω + ω 0 )]
CTFT

โดยใชคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันโคซายนที่เปนคาบนี้เพื่อหาคาของการ
แปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันซายนที่เปนคาบ (sin ω 0 t )

วิธีทํา เมื่อทําการหาอนุพันธของคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันโคซายนจะได

d
{cos(ω 0 t )}←⎯⎯→( jω )π [δ (ω − ω 0 ) + δ (ω + ω 0 )]
CTFT

dt

จัดรูปใหมไดเปน

− ω 0 sin(ω 0 t ) ←⎯⎯→ jπ [ω 0δ (ω − ω 0 ) + ω 0δ (ω + ω 0 )]
CTFT

สามารถแสดงไดเปน

π
ω 0 sin(ω 0 t ) ←⎯⎯→
CTFT
[ω 0δ (ω − ω 0 ) + ω 0δ (ω + ω 0 )]
j

หาไดโดยการใชคุณสมบัติการคูณของฟงกชันอิมพัลส x(t )δ (t + t 0 ) = x(−t )δ (t + t 0 ) ดังนั้นคา


ของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันซายนที่เปนคาบสามารถหาไดโดย

π
sin(ω 0 t ) ←⎯⎯→
CTFT
[δ (ω − ω 0 ) + δ (ω + ω 0 )]
j

5-4-6 คุณสมบัติการหาปริพันธทางเวลา
คุณสมบัติการหาปริพันธทางเวลา (time-integration property) เปนการแสดงคาของการ
แปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ทําการปริพันธทางเวลา ∫ x(t )dt ในรูปของคาของ

5-32
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเดิม x(t ) ถาให x(t ) ←⎯ ⎯→ X (ω ) ดังนั้นการ


CTFT

แปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ทําการอนุพันธทางเวลา ∫ x(t )dt คือ

X (ω )
t

∫ x(τ )dτ ←⎯⎯→


CTFT
+ πX (0)δ (ω ) (5-35)
−∞

ตัวอยางที่ 5-19 คูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลสคือ δ (t ) ←⎯⎯→1


CTFT

จงคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาฟงกชันขั้นบันไดหนึ่งหนวย u (t ) โดยใช
คุณสมบัติการหาปริพันธทางเวลา

วิธีทํา โดยการหาปริพันธของคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลสจะไดผล
เปน
t
1
∫ δ (t )dt ←⎯⎯→ jω + πδ (ω )
CTFT

−∞
t
เนื่องจาก u (t ) = ∫ δ (t )dt ดังนั้น
−∞

1
u (t ) ←⎯⎯→
CTFT
+ πδ (ω )

5-4-7 คุณสมบัติทวิภาวะ
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณคาคงที่ x(t ) = 1 และฟงกชันอิมพัลส
x(t ) = δ (t ) จะไดคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาไดดังนี้

1 ←⎯⎯→ 2πδ (ω )
CTFT
และ δ (t ) ←⎯⎯→1
CTFT

จากตัวอยางที่ผานมา คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณคาคงที่ x(t ) = 1 เปน


ฟงกชันอิมพัลส ในขณะที่คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันอิมพัลส x(t ) = δ (t )
เปนคาคงที่ คุณสมบัติเชนนี้เปนคุณสมบัติทวิภาวะ (duality property) กลาววา
ถาให x(t ) ←⎯ ⎯→ X (ω ) ดังนั้นการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่ทําการอนุพันธ
CTFT

ทางเวลา X (t ) หาไดจากสมการหาการแปลผกผันฟูเรียรดังในสมการที่ 5-9 คือ

5- 33
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

1
x(t ) = ∫ X ( r )e
jrt
dr

โดยใหตัวแปรหุน (dummy variable) r ใชแทน ω และแทน t = −ω ในสมการที่ผานมานี้จะได


2π x(−ω ) = ∫ X ( r )e
− jωr
dr = ℑ{X (t )}
−∞

และได คูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาเปน

X (t ) ←⎯⎯→ 2π x(−ω )
CTFT
(5-36)

ตัวอยางที่ 5-20 จากคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลานี้

⎛ t ⎞ CTFT ⎛ ωτ ⎞
rect ⎜ ⎟ ←⎯ ⎯→τsinc⎜ ⎟
⎝τ ⎠ ⎝ 2π ⎠

จงคํ า นวณหาค า การแปลงฟู เ รี ย ร ที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลาของ x(t ) = (W / π )sinc(Wt/π ) โดยใช


คุณสมบัติทวิภาวะ

วิธีทํา จากคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

⎛ t ⎞ CTFT ⎛ ωτ ⎞
x(t ) = rect⎜ ⎟ ←⎯ ⎯→τsinc⎜ ⎟ = X (ω )
⎝τ ⎠ ⎝ 2π ⎠

จะได X (t ) = τsinc(tτ / 2π ) และ x(−ω ) = rect(- ω/τ ) โดยใชคุณสมบัติทวิภาวะ จะได

⎛ tτ ⎞ CTFT ⎛ −ω ⎞
τ sinc⎜ ⎟ ←⎯⎯→ 2π rect⎜ ⎟
⎝ 2π ⎠ ⎝ τ ⎠

แทนคา τ = 2W และหารทั้งสองดานดวย 2π จะได

5-34
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

W ⎛ tW ⎞ CTFT ⎛ ω ⎞
sinc⎜ ⎟ ←⎯⎯→ rect⎜ ⎟
π ⎝ π ⎠ ⎝ 2W ⎠

5-4-8 คุณสมัติการทําคอนโวลูชัน
ในหัว ขอที่ 3-4 ไดแ สดงใหเ ห็น ว าผลตอบสนองเอาทพุ ท ของระบบเชิง เสน ที่ ไ ม
แปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาสามารถหาไดจากการทําคอนโวลูชันระหวางสัญญาณอินพุท
ดวยผลตอบสนองอิมพัลสของระบบ สําหรับการหาปริพันธคอนโวลูชันที่ไดจะยากในการวิเคราะห
ในโดเมนเวลา ดังนั้นคุณสมบัติการทําคอนโวลูชัน (convolution property) จะชวยใหงายตอการ
คํานวรหาผลตอบสนองเอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
ถา x1 (t ) ←⎯⎯
CTFT
→ X 1 (ω ) และ x2 (t ) ←⎯⎯
CTFT
→ X 2 (ω ) ดังนั้นการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
ของการทําคอนโวลูชันของ x1 (t ) * x2 (t ) หาไดจาก


ℑ{ x1 (t ) * x2 (t )} = ∫ { x (t ) * x (t )} e
1 2
− jωt
dt
−∞

โดยการแทนคอนโวลูชันของ x1 (t ) * x2 (t ) ในรูปของการปริพันธก็จะไดเปน


⎧∞ ⎫ − jωt
ℑ{ x1 (t ) * x2 (t )} = ∫−∞ ⎨⎩−∞∫ x1 (τ ) x2 (t − τ )dτ ⎬⎭ e dt

โดยการเปลี่ยนลําดับของการปริพันธทั้งสอง จะได


⎧∞ ⎫
ℑ{ x1 (t ) * x2 (t )} = ∫−∞ 1 ⎩⎨−∞∫ x2 (t − τ )e dt ⎭⎬ dτ
x (τ ) − jωt

เนื่องจาก

∫ x (t − τ )e
2
− jωt
dt = ℑ{ x2 (t − τ )} = X 2 (ω )e − jωτ
−∞

ดังนั้น

ℑ{ x1 (t ) * x2 (t )} = X 2 (ω ) ∫ x1 (τ )e − jωτ dτ = X 2 (ω ) X 1 (ω )
−∞

5- 35
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

และไดคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของการทําคอนโวลูชันของ x1 (t ) * x2 (t ) คือ

x1 (t ) * x2 (t ) ←⎯⎯
CTFT
→ X 1 (ω ) X 2 (ω ) (5-37)

และในทํานองเดียวกันก็จะได
x1 (t ) x 2 (t ) ←⎯⎯→ X 1 (ω ) * X 2 (ω )
CTFT
(5-38)

ถาใหคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณตางๆดังตอไปนี้

x(t ) ←⎯⎯→ X (ω )
CTFT
, y (t ) ←⎯⎯→ Y (ω )
CTFT
และ h(t ) ←⎯⎯→ H (ω )
CTFT

โดยที่สัญญาณเอาทพุท y (t ) แสดงในรูปของผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) และสัญญาณอินพุท x(t )


ไดเปน

y (t ) = x(t ) * h(t ) ←⎯⎯→ Y (ω ) = X (ω ) H (ω )


CTFT

ซึ่งหาไดจากคุณสมบัติการทําคอนโวลูชันในโดเมนเวลา คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ
สัญญาณเอาทพุทหาไดจากผลคูณระหวางคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณอินพุท
และผลตอบสนองอิมพัลส ดังนั้นขั้นตอนการหาสัญญาณเอาทพุท y(t ) ของระบบเชิงเสนที่ไม
แปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาในโดเมนความถี่สามารถทําไดดังนี้
1) คํานวณคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของสัญญาณอินพุท x(t )
2) คํานวณคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา H (ω ) ของผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) ของระบบ
เชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา โดยที่คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
H (ω ) อางเปนฟงกืชันถายโอนของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
3) อาศัยคุณสมบัติการทําคอนโวลูชัน คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y (ω ) ของสัญญาณ
เอาทพุท y(t ) หาไดจาก Y (ω ) = X (ω ) H (ω )
4) คํานวณหาสัญญาณเอาทพุท y(t ) โดยหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ Y (ω ) ก็
จะไดสัญญาณเอาทพุท y(t ) ตามขั้นตอนที่ 3

ตัวอยางที่ 5-21 จงหาผลตอบสนองเอาทพุท y(t ) ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่


ตอเนื่องทางเวลาที่มีผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) = e −2t u (t ) เมื่อใหสัญญาณอินพุท x(t ) = e −t u (t )
โดยใชคุณสมบัติการทําคอนโวลูชันของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-36
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

วิธีทํา จากตารางที่ 5-2 คูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสําหรับสัญญาณอินพุท และ


ผลตอบสนองอิมพัลสเปนดังนี้

1 1
e −t u (t ) ←⎯⎯→
CTFT
และ e − 2t u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

1 + jω 2 + jω

ดังนั้นคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเอาทพุทสามารถคํานวณไดดังนี้

[ ][ ]
Y (ω ) = ℑ{e − t u (t ) * e −2t u (t ) } = ℑ{e − t u (t )}× ℑ{e −2t u (t )}

โดยการใชคูของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาคือ

1
e − at u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

a + jω

จะได

1 1
Y (ω ) = ×
1 + jω 2 + jω

เมื่อใชการกระจายเศษสวนจะได

1 1
Y (ω ) = −
1 + j ω 2 + jω

เมื่อทําการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

y (t ) = (e −t − e −2t )u (t )

5-4-9 ทฤษฎีพลังงานของพารซิวาล
ทฤษฎีพลังงานของพารซิวาลเปนการเชื่อมโยงถึงพลังงานของสัญญาณในโดเมนเวลา กับ
พลังงานของคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในโดเมนความถี่ แสดงใหเห็นวาการแปลงฟูเรียร

5- 37
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ที่ตอเนื่องทางเวลาเปนการแปลงที่ไมมีการสูญหาย ดังนั้นจึงไมมีการสูญเสียของพลังงานถาสัญญาณ
ถูกแปลงโดยการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
สําหรับสัญญาณพลังงาน x(t ) ความสัมพันธดังตอไปนี้เปนความจริง

∞ ∞
1
E x = ∫ x(t ) dt = ∫
2
X (ω ) dω
2
(5-39)
−∞
2π −∞

สามารถพิสูจนไดโดย พิจารณา

∞ ∞

∫ X (ω ) dω = ∫ X (ω ) X (ω )dω
2 *

−∞ −∞

แทนคาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) โดยใชนิยามตามสมการที่ 5-10 จะได

*

⎡∞ ∞
⎤⎡ ∞ ⎤
∫−∞ ∫−∞⎣−∫∞ ∫
− jωα − jωβ
ω ω = α α β β ⎥ dω
2
X ( ) d ⎢ x ( ) e d ⎥ ⎢ x ( ) e d
⎦ ⎣−∞ ⎦

โดยที่มีตัวแปรหุน (dummy variable) α และ β เพื่อแยกใหเห็นการทําปริพันธของการแปลฟูเรียร


ที่ตอเนื่องทางเวลา 2 ชุด จากคาสังยุคของการทําปริพันธชุดที่ 3 และจัดลําดับของการทําปริพันธจะ
ได
∞ ∞
⎡ ∞ jω ( β −α ) ⎤

∫ X (ω ) dω = −∫∞x(α )−∫∞x (β )⎢⎣−∫∞e dω ⎥dβ dα


2 *

−∞ ⎦

เนื่องจาก

∫e
jω ( β −α )
dω = 2πδ ( β − α )
−∞

สามารถลดรูปใหงายขึน้ เปน

∞ ∞ ∞

∫−∞ X (ω ) dω = 2π −∫∞x(α )−∫∞x (β )δ (β − α )dβ dα


2 *


x * (α )

5-38
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

หรือ
∞ ∞
1
Ex = ∫ x(α ) dα = ∫ X (ω ) dω
2 2

−∞
2π −∞

ตัวอยางที่ 5-22 จงคํานวณหาพลังงานของสัญญาณที่ตอเนื่องทางเวลา x(t ) = e − at u (t ) a) ใน


โดเมนเวลา และ b) โดเมนความถี่

วิธีทํา a) พลังงานในโดเมนเวลาหาไดจาก

∞ ∞ ∞
⎡ e − 2 at ⎤ 1
∫ x(t ) dt = ∫ e − 2 at
Ex = dt = ⎢ ⎥ =
2

−∞ 0 ⎣ − 2a ⎦ 0 2a

b) จากตารางที่ 5-2 คูของการแปลงฟูเรียรทตี่ อเนื่องทางเวลาของ x(t ) = e − at u (t ) มีคาเปน

1
e − at u (t ) ←⎯⎯→
CTFT

a + jω

พลังงานในโดเมนความถี่หาไดจาก

∞ ∞ ∞
1 1 1 1 ⎡1 −1 ⎛ ω ⎞ ⎤ 1
Ex = ∫−∞ X (ω ) dω = 2π ∫−∞ a 2 + ω 2 dω = 2π ⎢⎣ a tan ⎜⎝ a ⎟⎠⎥⎦ −∞ = 2a
2

เมื่อเปรียบผลลัพธที่ได คาพลังงานของสัญญาณใน a) และ b) มีคาเหมือนกัน

5-5 การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาบ

พิจารณาฟงกชันคาบ x(t ) ที่มีคาบเวลามูลฐานเปน T0 โดยใชอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง


เวลา การแสดงสัญญาณ x(t ) ในรูปความถี่สามารถหาไดจาก


x(t ) = ∑D e
n = −∞
n
jnω0t

5- 39
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยที่ ω 0 = 2π / T0 ซึ่งเปนความถี่มูลฐานของสัญญาณคาบ และ Dn แสดงถึงสัมประสิทธิ์ของ


อนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง โดยหาคาไดจาก

1
∫ x(t )e
− jnω0t
Dn = dt
T0 T0

จากการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาคือ

⎧ ∞ ⎫
X (ω ) = ℑ{x(t )} = ℑ⎨ ∑ Dn e jnω0t ⎬
⎩n = −∞ ⎭

โดยใชคุณสมบัติเชิงเสน สามารถจัดรูปใหงายไดเปน

{ }
∞ ∞
X (ω ) = ∑ Dn ℑ e jnω0t = 2π
n = −∞
∑ D δ (ω − nω
n = −∞
n 0 )

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาบสามารถหาไดจาก


x(t ) ←⎯⎯→ 2π
CTFT
∑ D δ (ω − nω
n = −∞
n 0 ) (5-40)

สมการที่ 5-40 เปนวิธีการอีกวิธีหนึ่งที่ใชคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ


ฟงกชันคาบโดยใชสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง

ตัวอยางที่ 5-24 จงคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของรูปคลื่นที่เปนคาบ q(t )


ดังที่แสดงในรูปที่ 5-13

วิธีทํา รูปคลื่น q(t ) เปนรูปคลื่นสี่เหลี่ยมที่มีคาบเวลาเปน T = 2π และ τ =π สามารถเขียนใน


รูปคณิตศาสตรไดเปน

q(t ) = 3x(t ) ที่มีวัฏจักรหนาที่ (duty cycle) เปน τ / T = 1 / 2

5-40
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-13 วิธีการอีกวิธีหนึ่งที่ใชคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชัน


คาบตามตัวอยางที่ 5-24 a) รูปคลื่นที่เปนคาบ q(t ) b) สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง
เวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ของ q(t ) และ c) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Q(ω ) ของ q(t )

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังหาไดเปน

3 ⎛n⎞
Dn = sinc⎜ ⎟
2 ⎝2⎠

หรือ

5- 41
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

⎧ 3/ 2 n=0
⎪ n = 2k ≠ 0
3 ⎛n⎞ ⎪ 0
Dn = sinc⎜ ⎟ = ⎨
2 ⎝ 2 ⎠ ⎪ 3 / nπ n = 4k + 1
⎪⎩− 3 / nπ n = 4k + 3

เมื่อแทน ω 0 = 1 ในสมการที่ 5-40 ผลลัพธที่ไดเปน


q(t ) ←⎯⎯→ 2π
CTFT
∑ D δ (ω − n)
n = −∞
n

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ของ q(t ) และคาการแปลงฟู


เรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Q(ω ) ของ q(t ) แสดงไดดังในรูปที่ 5-13 b) และ c) ตามลําดับ

ตัวอยางที่ 5-25 จงคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ h(t ) = 3 sin(ω 0 t )

วิธีทํา โดยใชกฎออยเลอรจะได

h(t ) = 3 sin(ω 0 t ) =
3 jω 0 t
2j
e [− e − jω 0 t ]

และหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังหาไดเปน

⎧− j1.5 n =1

Dn = ⎨ j1.5 n = −1
⎪ 0 n=0

จากสมการที่ 5-40 คาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของคลื่นซายนหาไดจาก


H (ω ) = 2π ∑ D δ (ω − nω
n 0 ) = j 3π [δ (ω + ω 0 ) − δ (ω − ω 0 )]
n = −∞

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ของ h(t ) และคาการแปลงฟู


เรียรที่ตอเนื่องทางเวลา H (ω ) ของ h(t ) แสดงไดดังในรูปที่ 5-14 a) และ b) ตามลําดับ ผลลัพธที่
ไดจะเหมือนกับตัวอยางที่ 5-18 ที่ใชคุณสมบัติการสเกลเวลาที่มีตัวประกอบเปน 3

5-42
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-14 การแสดงรูปคลื่นซายนในรูปแบบหนึ่งตามตัวอยางที่ 5-25 a) สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟู


เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn และ b) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา H (ω )

5-6 การหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง
จากคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ในหัวขอที่ 5-5 ไดอธิบายวิธีการในการคํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทาง


เวลาของฟงกชันคาบจากสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง ใน
หัวขอนี้จะเปนการอธิบายถึงการคํานวณหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบ
เลขชี้กําลังจากคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันคาบ
พิจารณาฟงกชันคาบที่จํากัดเวลา (time-limited aperiodic function) ที่ทราบคาการแปลงฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) จากวิธีการที่ใชในหัวขอที่ 5-1 ที่ไดอธิบายการสรางสัญญาณ ~xT (t )
ซึ่งเกิดจากการทําซ้ําสัญญาณที่ไมเปนคาบ x(t ) ดวยชวงเวลาที่หางกัน T0 วิธีการไดอธิบายไวใน
รูปที่ 5-1 โดยที่ x(t ) เปนสัญญาณที่ไมเปนคาบที่แสดงในรูปที่ 5-1 a) และการยืดขยายเปนคาบของ
สัญญาณไดเปน ~xT (t ) ดังที่แสดงในรูปที่ 5-1 b) โดยใชสมการที่ 5-3 สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟู
เรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังของสัญญาณเมื่อยืดขยายเปนคาบหาไดจาก

T0 / 2
~ 1 1
∫T ~xT (t )e 0 dt = T0 ∫ ~x
− jnω t
Dn = T (t )e − jnω0t dt
T0 0 −T0 / 2

5- 43
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

เนื่องจาก ~
xT (t ) = x(t ) ในชวงเวลา − T0 ≤ t ≤ T0 จะได ดังนั้นลดรูปเหลือ

T0 / 2 ∞
~ 1 1 1
Dn = ∫ x(t )e 0 dt =
− jnω t
∫ x(t )e
− jnω0t
dt = X (ω ) ω = nω (5-41)
T0 −T0 / 2
T0 −∞
T0 0

แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันไมเปน
คาบ x(t ) และสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังของสัญญาณเมื่อ
ยืดขยายเปนคาบ ~xT (t ) การหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง
ของสัญญาณคาบที่มีคาบเวลา T0 จากคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสามารถทําไดดังนี้

1) คํานวณหาคาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของสัญญาณที่ไมเปนคาบ
x(t ) ที่หาไดจากคาบเวลาชวงหนึ่งของ ~
xT (t ) ซึ่งได

⎧~
x (t ) − T0 / 2 ≤ t ≤ T0 / 2
x(t ) = ⎨ T
⎩0 elsewhere

2) สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ของสัญญาณ
คาบเวลา ~xT (t ) จาก

1
Dn = X (ω ) ω = nω
T0 0

โดยที่ ω 0 แสดงถึงความถี่มูลฐานของสัญญาณคาบ ~
xT (t ) โดย ω 0 = 2π / T0

ตัวอยางที่ 5-26 จงคํานวณหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังของ


สัญญาณคาบ ~xT (t ) ที่แสดงไดจากรูปที่ 5-13 a)

วิธีทํา 1) สัญญาณที่ไมเปนคาบที่แสดงจาก xT (t ) ในคาบเวลาหนึ่งชวงหาไดโดย


~

⎛t⎞
x(t ) = 3rect⎜ ⎟
⎝π ⎠

5-44
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยใชตารางที่ 5-2 คาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันสี่เหลี่ยมจะได

⎛t ⎞ CTFT ⎛ω ⎞
3rect⎜ ⎟ ←⎯⎯→ 3π sinc⎜ ⎟
⎝π ⎠ ⎝2⎠

2) สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลัง Dn ของสัญญาณเปนคาบ
xT (t ) หาไดจากสมการที่ 5-41 ได
~

1
Dn = X (ω ) ω = nω ดวย T0 = 2π และ ω 0 = 1
T0 0

เมื่อแทนคาของ X (ω ) จะได

3 ⎛n⎞ 3 ⎛ nπ ⎞
Dn = sinc⎜ ⎟ = sin ⎜ ⎟
2 ⎝ 2 ⎠ nπ ⎝ 2 ⎠

5-7 การวิเคราะหระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาโดย
ใชคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ในบทที่ 2 และ บทที่ 3 ไดแสดงใหเห็นวาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่


ตอเนื่องทางเวลาสามารถจําลองไดดวยสมการเชิงอนุพันธที่มีสัมประสิทธิ์คงที่ หรือผลตอบสนอง
อิมพั ล ส h(t ) นอกจากนี้ ก ารแสดงระบบเชิง เสน ที่ไ มแ ปรเปลี่ย นตามเวลาที่ ต อเนื่อ งทางเวลา
สามารถหาไดจากการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของผลตอบสนองอิมพัลส นั้นคือ

h(t ) ←⎯⎯→ H (ω )
CTFT

โดยที่คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของผลตอบสนองอิมพัลส H (ω ) แสดงถึงฟงกชันถาย
โอนฟูเรียร (Fourier transfer transform) ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทาง
เวลาซึ่งเปนการแสดงถึงพฤติกรรมของระบบ ผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) สัมพันธกับผลตอบสนอง
เอาทพุท y(t ) และสัญญาณอินพุท x(t ) โดยใช

5- 45
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

y (t ) = h(t ) * x(t )

เมื่อคํานวณหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาทั้งสองดานจะได

Y (ω ) = H (ω ) X (ω ) (5-42)

โดยที่ Y (ω ) และ X (ω ) เปนคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ y(t ) และ x(t )


ตามลําดับ สมการที่ 5-42 เปนนิยามของฟงกชันถายโอนซึ่งเปนอัตราสวนของคาการแปลงฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเอาทพุท Y (ω ) ตอคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ
อินพุท X (ω ) สามารถอธิบายเชิงคณิตศาสตรไดเปน

Y (ω )
H (ω ) = (5-43)
X (ω )

5-7-1 ฟงกชันถายโอนของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
สําหรับระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา ความสัมพันธระหวาง
สัญญาณเอาทพุท y(t ) และสั ญญาณอินพุ ท x(t ) สามารถอธิบายไดดวยสมการเชิงอนุพัน ธที่มี
สัมประสิทธิ์คงที่ดังรูปแบบนี้
n
dky n
dkx
∑ ak
k =0 dt k
= ∑
k =0
b k
dt k

จากคุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา ทราบวา

d n x CTFT
←⎯⎯→( jω ) X (ω )
n
n
dt

เมื่อนําคุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลามาประยุกตใชใน
สมการเชิงอนุพันธที่มีสัมประสิทธิ์คงที่ จะได

n n

∑a
k =0
k ( jω ) k Y (ω ) = ∑ bk ( jω ) k X (ω )
k =0

หรือ

5-46
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

Y (ω )
∑ b ( jω )
k
k

H (ω ) = = k =0
(5-44)
X (ω ) n

∑a
k =0
k ( jω ) k

ตัวอยางที่ 5-27 พิจารณาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีความสัมพันธ


ระหวางสัญญาณเอาทพุท y(t ) และสัญญาณอินพุท x(t ) สามารถอธิบายไดดวยสมการเชิงอนุพันธ
ลําดับที่ 3 ตามสมการนี้

d 3x d2y dy dx
+ 6 + 11 + 6 y (t ) = 2 + 3 x(t )
dt 3
dt 2
dt dt

จงคํานวณหาฟงกชันถายโอน H (ω ) และผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) ของระบบเชิงเสนที่ไม


แปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา

วิธีทํา โดยคุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา ทราบวา

d n x CTFT
←⎯⎯→( jω ) X (ω )
n
n
dt

เมื่อประยุกตคุณสมบัติการหาอนุพันธทางเวลาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาในสมการเชิง
อนุพันธลําดับที่ 3 นี้จะได

( jω ) 3 Y (ω ) + 6( jω ) 2 Y (ω ) + 11( jω )Y (ω ) + 6Y (ω ) = 2( jω ) X (ω ) + 3 X (ω )

และจะไดฟงกชันถายโอนเปน

Y (ω ) 2( jω ) + 3
H (ω ) = =
X (ω ) ( jω ) + 6( jω ) 2 + 11( jω ) + 6
3

เมื่อทําการกระจายเศษสวนยอยจะได

5- 47
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

2( jω ) + 3 1 1 3
H (ω ) = = + −
(1 + jω )(2 + jω )(3 + jω ) 2(1 + jω ) (2 + jω ) 2(3 + jω )

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

⎛1 3 ⎞
h(t ) = ⎜ e −t + e − 2t − e −3t ⎟u (t )
⎝2 2 ⎠

ตัวอยางที่ 5-28 พิจารณาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีผลตอบสนอง


อิมพัลส h(t ) เปน

⎛t ⎞ ⎧⎪1 t ≤τ /2
h(t ) = rect⎜ ⎟=⎨
⎝τ ⎠ ⎪⎩0 t >τ /2

จงคํานวณฟงกชันถายโอน H (ω ) และความสัมพันธระหวางสัญญาณเอาทพุท y (t ) และสัญญาณ


อินพุท x(t ) ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา

วิธีทํา จากตารางที่ 5-1 จะไดฟงกชันถายโอนดังนี้

⎛ ωτ ⎞ 2 ⎛ ωτ ⎞
H (ω ) = τ sinc⎜ ⎟ = sin ⎜ ⎟
⎝ 2π ⎠ ω ⎝ 2 ⎠
หรือ

Y (ω ) 2 ⎛ ωτ ⎞
= sin ⎜ ⎟
X (ω ) ω ⎝ 2 ⎠

และแสดงไดเปน

⎛ ωτ ⎞
jωY (ω ) = j 2 sin⎜ ⎟ X (ω )
⎝ 2 ⎠
หรือ

jωY (ω ) = e jωτ / 2 X (ω ) − e − jωτ / 2 X (ω )

5-48
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

dy ⎛ τ⎞ ⎛ τ⎞
= x⎜ t + ⎟ − x⎜ t − ⎟
dt ⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠

5-7-2 ผลตอบสนองของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาตอ
สัญญาณเปนคาบ
ผลตอบสนองเอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่
แสดงในรูปที่ 5-15 ของสัญญาณที่เปนคาบที่มีสมการ


x(t ) = ∑D e
n = −∞
n
jnω0t

สามารถหาคาไดเปน


y (t ) = ∑D e
n = −∞
n
jnω0t
H (ω ) (5-45)
ω = nω 0

รูปที่ 5-15 ผลตอบสนองเอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มี


อินพุทเปนสัญญาณที่เปนคาบ

โดยที่ H (ω ) เปนคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) ของระบบ


และใชอางเปนฟงกชันถายโอนของระบบระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
เมื่ออิน พุทเป น สัญญาณไซนูซ อยด และผลตอบสนองอิ มพัลส h(t ) เปน คาจํ า นวนจริง ดังนั้น
เอาทพุท y(t ) สามารถแสดงไดเปน

5- 49
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

k1e jω0t → A1 k1e j (ω0t +φ1 ) (5-46)

k1 sin(ω 0 t ) → A1 k1 sin(ω 0 t + φ1 ) (5-47)


และ
k1 cos(ω 0 t ) → A1 k1 cos(ω 0 t + φ1 ) (5-48)

โดยที่ A1 และ φ1 เปนขนาดและเฟสของ H (ω ) ที่ ω = ω 0

คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณที่เปนคาบ x(t ) ที่ไดเปน


x(t ) ←⎯⎯→ 2π
CTFT
∑ D δ (ω − nω
n = −∞
n 0 )

โดยการใชคุณสมบัติการทําคอนโวลูชัน เอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่
ตอเนื่องทางเวลาที่มีฟงกชันถายโอน H (ω ) มีคาเปน

∞ ∞
Y (ω ) = 2π ∑ D δ (ω − nω
n = −∞
n 0 ) H (ω ) = 2π ∑ D δ (ω − nω
n = −∞
n 0 ) H (nω 0 )

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

∞ ∞
y (t ) = ∑ Dn ℑ−1 {2πδ (ω − nω0 )}H (nω0 ) =
n = −∞
∑ D H (nω
m = −∞
n 0 )e jnω0t

ตัวอยางที่ 5-29 พิจารณาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มี


ผลตอบสนองอิมพัลสเปน
10 ⎛ 10t ⎞
h(t ) = sinc⎜ ⎟
π ⎝ π ⎠

ดังที่แสดงในรูปที่ 5-16 a) จงหาผลตอบสนองเอาทพุทของระบบที่มีสัญญาณอินพุทดังนี้


a) x1 (t ) = sin(5t )
b) x2 (t ) = sin(15t )

5-50
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

c) x3 (t ) = sin(8t ) + sin(20t )

รูปที่ 5-16 ระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่พิจารณาในตัวอยางที่ 5-29


a) ผลตอบสนอง h(t ) b) ฟงกชันถายโอน H (ω )

วิธีทํา คํานวณหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

⎛ω⎞
H (ω ) = rect⎜ ⎟
⎝ 20 ⎠

ขนาดของสเปกตรัมของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาแสดงไดดังในรูป
ที่ 5-16 b) และเฟสของสเปกตรัมของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลามีคา
เปนศูนยทุกๆความถี่

a) ถาอินพุทเปน x1 (t ) = sin(5t ) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ x1 (t ) หาไดจาก

π
X 1 (ω ) = [δ (ω − 5) − δ (ω + 5)]
j

คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y1 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทสามารถหาไดโดยการคูณ
X 1 (ω ) ดวย H (ω ) ซึ่งจะได

π
Y1 (ω ) = X 1 (ω ) H (ω ) = [δ (ω − 5) H (ω ) − δ (ω + 5) H (ω )]
j

5- 51
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยใชคุณสมบัติการคูณของฟงกชันอิมพัลสจะได

π
Y1 (ω ) = [δ (ω − 5) H (5) − δ (ω + 5) H (−5)]
j

เนื่ อ งจาก H (±5) = 1 ดั ง นั้ น ค า การแปลงฟู เ รี ย ร ที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลา Y1 (ω ) ของสั ญ ญาณ
เอาทพุทจึงหาไดโดย
π
Y1 (ω ) = [δ (ω − 5) − δ (ω + 5)]
j

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

y1 (t ) = sin(5t )

คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y1 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทสามารถหาโดยการคูณกัน
ของรูปกราฟดังในรูปที่ 5-17 a) โดยที่ขนาดของสเปกตรัมของฟงกชันถายโอน H (ω ) แสดง
เปนเสนประ เนื่องจากขนาดของฟงกชันถายโอน H (ω ) มีคาเปนหนึ่งที่ตําแหนงของอิมพัลส
ทั้งสองที่เปนคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณอินพุท คาการแปลงฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลา Y1 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทจึงมีคาเหมือนกับคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่อง
ทางเวลาของสัญญาณอินพุท โดยการคํานวณการแปลผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจึงได
สัญญาณเอาทพุทเปน y1 (t ) = x1 (t ) = sin(5t )

b) ถาอินพุทเปน x 2 (t ) = sin(15t ) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของ x 2 (t ) หาได


จาก

π
X 2 (ω ) = [δ (ω − 15) − δ (ω + 15)]
j

คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y2 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทสามารถหาไดโดยการคูณ
X 2 (ω ) ดวย H (ω ) ซึ่งจะได

π
Y2 (ω ) = X 2 (ω ) H (ω ) = [δ (ω − 15) H (ω ) − δ (ω + 15) H (ω )]
j

5-52
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-17 การอธิบายเชิงความถี่ของสัญญาณเอาทพุทของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่


ตอเนื่องทางเวลาตามตัวอยางที่ 5-29 เมื่อ a) x1 (t ) = sin(5t ) b) x2 (t ) = sin(15t ) และ c)
x3 (t ) = sin(8t ) + sin(20t )

5- 53
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

โดยใชคุณสมบัติการคูณของฟงกชันอิมพัลสจะได

π
Y2 (ω ) = [δ (ω − 15) H (15) − δ (ω + 15) H (−15)]
j

เนื่องจาก H (±15) = 0 ดังนั้นคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y2 (ω ) ของสัญญาณ


เอาทพุทจึงหาไดโดย
Y2 (ω ) = 0

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได y 2 (t ) = 0
คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y2 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทสามารถหาโดยการคูณกัน
ของรูปกราฟดังในรูปที่ 5-17 b) เนื่องจากขนาดของฟงกชันถายโอน H (ω ) มีคาเปนศูนยที่
ตําแหนงของอิมพัลสทั้งสองที่เปนคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณอินพุท
อิมพัลสทั้งสองนี้ถูกกั้นจากเอาทพุทของระบบ ดังนั้นคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
Y2 (ω ) ของสัญญาณเอาทพุทจึงมีคาเปนศูนย โดยการคํานวณการแปลผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่อง
ทางเวลาจึงไดสัญญาณเอาทพุทเปน y 2 (t ) = 0

c) ถาอิน พุท เป น x3 (t ) = sin(8t ) + sin(20t ) คาการแปลงฟูเ รี ย รที่ ต อเนื่อ งทางเวลาของ


x 2 (t ) หาไดจาก

π
X 3 (ω ) = [δ (ω − 8) − δ (ω + 8)] + π [δ (ω − 20) − δ (ω + 20)]
j j

โดยวิธีการเดียวกันกับขอ a) คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y3 (ω ) ของสัญญาณ


เอาทพุทหาไดโดย

π
Y3 (ω ) = [δ (ω − 8) H (8) − δ (ω + 8) H (−8)]
j
π
+ [δ (ω − 20) H (20) − δ (ω + 20) H (−20)]
j

เนื่องจาก H (±5) = 1 และ H (±20) = 0 ดังนั้นคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา Y3 (ω )


ของสัญญาณเอาทพุทจึงหาไดโดย

5-54
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

π
Y3 (ω ) = [δ (ω − 8) − δ (ω + 8)]
j

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

y 3 (t ) = sin(8t )

สัญญาณอินพุทประกอบดวยฟงกชันอิมพัลส 4 คาโดยที่สองคาแรกอยูที่ ω = ±8 และสองคา


หลั ง อยู ที่ ω = ±20 ขนาดของฟง ก ชั น ถา ยโอนที่ ω = ±8 มี คา เป น หนึ่ ง แสดงใหเ ห็ น ว า
ฟงกชันอิมพัลส δ (ω − 8) และ δ (ω + 8) จึงไมมีผลกระทบ ในขณะที่ขนาดของฟงกชันถาย
โอนที่ ω = ±20 มีคาเปนศูนย ดังนั้นฟงกชันอิมพัลส δ (ω − 20) และ δ (ω + 20) จึงถูก
กําจัดออกไปจากเอาทพุท
ในการประมวลผลสัญญาณ ระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มี
ผลตอบสนองอิมพัลส h(t ) = (10 / π )sinc(10t/π ) ใชอางเปนวงจรกรองผานต่ํา (low-pass filter)
เนื่องจากสัญญาณที่มีองคประกอบความถี่สูงจะถูกกําจัดออกไป โดยใหสัญญาณที่มีองคประกอบ
ความถี่ต่ําผานไปได อยางในตัวอยางนี้เห็นไดวาองคประกอบความถี่ของสัญญาณอินพุทที่มีความถี่
ω > 10 ถูกกําจัดออกไป สวนองคประกอบความถี่ของสัญญาณอินพุทที่มีความถี่ ω < 10 ไมได
สงผลกระทบตอเอาทพุทของระบบระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
ผลตอบสนองของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาเมื่อสัญญาณ
อินพุทเปนสัญญาณเปนคาบเชิงอุดมคติสามารถหาไดจากสมการที่ 5-45 ถึง 5-48 ในทางปฏิบัติการ
สรางสัญญารเปนคาบเชิงอุดมคติในชวงเวลาที่เปนอนันตจึงเปนเรื่องยาก สัญญาณในทางปฏิบัติ
สวนมากมีจุดเริ่มตนที่ t = 0 และมีชวงเวลาที่จํากัด ซึ่งเรียกสัญญาณลักษณะเชนนี้วาสัญญาณคลาย
เปนคาบ (quasi-periodic signals)

ตัวอยางที่ 5-30 พิจารณาวงจรอนุกรม RC ที่แสดงในรูปที่ 5-18 จงหาเอาทพุทรวม และเอาทพทุ ใน


สภาวะอยูตัวของวงจรอนุกรม RC ถาใหสัญญาณอินพุทเปน x(t ) = sin(3t )u (t ) สมมติวาตัวเกบ
ประจุไมมีการอัดประจุที่เวลา t =0

วิธีทํา
คาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณอินพุทหาไดเปน

π
X (ω ) = [δ (ω − 3) − δ (ω + 3)] + 3
2j 9 −ω2

5- 55
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-18 วงจรอนุกรม RC ตามตัวอยางที่ 5-10

จากทฤษฎีทางวงจรไฟฟา ฟงกชันถายโอนของวงจรอนุกรม RC สามารถหาไดจาก

1 / jω C 1
H (ω ) = =
R + 1 / jωC 1 + jωRC

เมื่อแทนคาของผลคูณ CR = 0.5 จะได

1
H (ω ) =
1 + jω 0.5

เมื่อคูณคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณอินพุทโดยฟงกชันถายโอน คาการแปลง
ฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเอาทพุท y(t ) หาไดเปน
⎧π 3 ⎫
Y (ω ) = ⎨ [δ (ω − 3) − δ (ω + 3)] +
1
2 ⎬
×
⎩2 j 9 − ω ⎭ 1 + j 0.5ω

π ⎡ δ (ω − 3) δ (ω + 3) ⎤ 3
= ⎢ − ⎥ +
2 j ⎣ 1 + j1.5 1 − j1.5 ⎦ (9 − ω )(1 + j 0.5ω )
2

เมื่อหาการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจะได

2 6 − 2t
y (t ) = sin(3t − 56 o )u (t ) + e u (t )
13 13

steady state value transient value

5-56
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-7-3 ผลตอบสนองของอัตราขยาย และเฟส


ฟงกชันถายโอนฟูเรียร H (ω ) ไดอธิบายระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่อง
ทางเวลาไดอยางสมบูรณ ในการประยุกต รูปกราฟของ H (ω ) และ ∠H (ω ) เทียบกับความถี่ ω
ใชสําหรับการวิเคราะหคุณลักษณะของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา
สเปกตรัมของขนาด H (ω ) ใชอางเปนผลตอบสนองของอัตราขยาย (gain response) ของระบบ
สวนสเปกตัมของเฟส ∠H (ω ) ใชอางเปนผลตอบสนองของเฟส (phase response) ของระบบ

ตัวอยางที่ 5-31 พิจารณาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีผลตอบสนอง


อิมพัลสคือ h(t ) = 1.25e −0.6t sin(0.8t )u (t ) จงวาดกราฟผลตอบสนองของอัตราขยาย และเฟส
ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลานี้

วิ ธี ทํา ฟ งก ชัน ถ า ยโอน H (ω ) ของระบบเชิ ง เส น ที่ ไ ม แ ปรเปลี่ ย นตามเวลาที่ ต อ เนื่ อ งทางเวลา
สามารถหาไดจาก

H (ω ) = ℑ{1.25e −0.6t sin(0.8t )u (t )} = 1.25 ×


0.8 1
=
(0.6 + jω ) + 0.8
2 2
1 − ω + j1.2ω
2

ดังนั้น

1 1
สเปกตรัมของขนาด H (ω ) = =
(1 − ω ) 2 + (1.2ω ) 2 1 − 0.56ω 2 + ω 4

สเปกตัมของเฟส ∠H (ω ) = − tan −1 ⎛⎜ 1.2ω2 ⎞⎟


⎝1− ω ⎠

รูปที่ 5-19 a) แสดงถึงสเปกตรัมเชิงขนาด และรูปที่ 5-19 b) แสดงถึงสเปกตรัมเชิงเฟสของระบบเชิง


เสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา รูปที่ 5-19 a) อธิบายถึงขนาด H (ω ) = 1 ที่
ω = 0 เมื่อความถี่ ω เพิ่มขึ้น ขนาด H (ω ) ก็ลดลง และเขาใกลศูนยที่ความถี่สูงๆ สวนรูปที่ 5-9
b) สังเกตไดวาเฟส ∠H (ω ) มีคาเปนศูนยที่ ω = 0 ที่ความถี่สูงขึ้น เฟส ∠H (ω ) ก็จะลูเขา − π
เรเดียน หรือ − 180 0

5- 57
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

รูปที่ 5-19 ขนาดและเฟสของสเปกตรัมของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทาง


เวลาที่มีผลตอบสนองอิมพัลสคือ h(t ) = 1.25e −0.6t sin(0.8t )u (t ) a) สเปกตรัมขนาด b) สเปกตรัม
เฟส

5-8 ผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีคาจํากัด

การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา X (ω ) ของฟงกชัน x(t ) จะมีคาจํากัดก็ตอเมื่อ

X (ω ) < ∞ สําหรับ − ∞ < ω < ∞ (5-49)

จากนิยามผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีคาจํากัด แสดงวาขนาดของผลการแปลงฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชัน x(t ) ตองหาคาไดสําหรับทุกคาของตัวแปรอิสระ เนื่องจาก

∫ x(t )e
− jωt
X (ω ) = dt
−∞

และ
∞ ∞ ∞

∫ x(t )e ∫ x(t ) e ∫ x(t) dt


− jωt − jωt
X (ω ) ≤ dt = dt =
−∞ −∞ −∞

5-58
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

ดังนั้นเงื่อนของการลูเขาของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจึงเปน

∫ x(t) dt < ∞ (5-50)


−∞

ตัวอยางที่ 5-32 จงหาวาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตอไปนี้ลูเขาหรือไม


a) f (t ) = e − at u (t )
b) g (t ) = e − at
c) h(t ) = cos(ω 0 t )

วิธีทํา
a) จากสมการที่ 5-50 จะไดผลเปน

∞ ∞ ∞ ∞

∫ f (t ) dt = ∫ e u (t ) dt =
− at
∫ e u (t )dt = ∫ e dt =
− at − at

−a
e [ ]
1 − at ∞
0 =
1
a
<∞
−∞ −∞ −∞ 0

ดังนั้นผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลามีคาจํากัด

b) จากสมการที่ 5-50 จะไดผลเปน

∞ ∞ ∞ 0 ∞

∫ ∫ e dt = ∫ e dt = ∫−∞e dt + ∫0 e dt = ∞
− at − at − at − at
g (t ) dt =
−∞ −∞ −∞
 
=∞ =1 / a

ดังนั้นผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลามีคาไมจํากัด

c) จากสมการที่ 5-50 จะไดผลเปน

∞ ∞


−∞
g (t ) dt = ∫ cos(ω t ) dt = ∞
−∞
0

ดังนั้นผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลามีคาไมจํากัด

5- 59
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

5-8 สรุป

ในบทนี้ไดอธิบายการแทนสัญญาณที่ไมเปนคาบในโดเมนความถี่ที่เรียกกันวาสเปกตรัม
โดยใชวิธีการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา ในหัวขอที่ 5-1 ไดกลาวถึงสมการการวิเคราะห และ
สมการการสังเคราะหที่ไดสมการในการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจากอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่อง
ทางเวลาในกรณีที่มีขอบเขตจํากัด สําหรับคูการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาที่สําคัญไดอธิบายอยู
ในตารางที่ 5-1 ทําใหสะดวกตอการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา ในหัวขอที่ 5-2 ไดวิธีการ
สําหรับการคํานวณคาของการแปลงผกผันฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาโดย การใชการกระจายเปน
เศษสวนยอย (partial fraction expansion) ซึ่งทําใหสามารถหาคาของการแปลงผกผันฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลาไดงาย ในหัว ข อที่ 5-3ไดอธิบายถึ งคุณสมบัติสมมาตรของการแปลงฟูเ รีย รที่
ตอเนื่องทางเวลาที่ไดแก การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณคาจริงที่เปนคุณสมบัติ
เฮอรมิเทียน การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณคูที่มีคาจริง และการแปลงฟูเรียรที่
ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณคี่ที่คาจริง สวนคุณสมบัติของการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาได
กลาวไวในหัวขอที่ 5-4 ซึ่งไดชวยใหการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาสามารถทําไดงายขึ้น
สําหรับหัวขอที่ 5-5 ไดอธิบายความสัมพันธระหวางการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา และอนุกรม
ฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณเปนคาบทําใหมีประโยชนตอการวิเคราะหระบบเชิงเสนที่ไม
แปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลา ในขณะที่หัวขอที่ 5-7 ไดแสดงการวิเคราะหระบบเชิงเสนที่
ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่ตอเนื่องทางเวลาใหงายขึ้นดวยคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา
สุดทายหัวขอที่ 5-8 เปนการอธิบายผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีคาจํากัดซึ่งจะทําให
ทราบวาฟงกชันนี้สามารถหาคาการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาไดหรือไม

5-60
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

แบบฝกหัด

5-1 จงคํานวณการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตามรูปที่ 5-20 a)-d)

รูปที่ 5-20 สัญญาณที่ไมเปนคาบสําหรับแบบฝกหัดขอที่ 5-1

5-2 จงคํานวณการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตอไปนี้
a) x1 (t ) = t 4 e − at u (t ) โดยที่ a ∈ ℜ + ;
b) x2 (t ) = e − at cos(ω 0 t )u (t ) โดยที่ a, ω 0 ∈ ℜ + ;
c) x3 (t ) = e −t / 2σ โดยที่ σ ∈ ℜ + ;
2 2

5-3 จงคํานวณการแปลงฟูเรียรผกผันของฟงกืชันตอไปนี้โดยใชการกระจายเศษสวน

(1 + jω )
a) X 1 (ω ) =
(2 + jω )(3 + jω )

2 − jω
b) X 2 (ω ) =
(1 + jω )(2 + jω )(3 + jω )

2 − jω
c) X 3 (ω ) =
(1 + jω )(2 + jω ) 2 (3 + jω )

5- 61
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

1
d) X 4 (ω ) =
(1 + jω )(2 + 2 jω + ( jω ) 2 )

1
e) X 5 (ω ) =
(1 + jω ) (2 + 2 jω + ( jω ) 2 ) 2
2

5-4 จงหาวาฟงกชันในโดเมนเวลาที่สัมพันธอยูกับผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาตอไปนี้
เปนคาจริง หรือคาจํานวนเชิงซอน ถาฟงกชันในโดเมนเวลาเปนคาจริง จงบอกวาเปนสมมาตรแบบ
คู หรือแบบคี่โดยคุณสมบัติเฮอรมิเทียน

5
a) X 1 (ω ) = ;
2 + j (ω − 5)

⎛ π⎞
b) X 2 (ω ) = cos⎜ 2ω + ⎟
⎝ 6⎠

5 sin[4(ω − π )]
c) X 3 (ω ) =
(ω − π )

d) X 4 (ω ) = (3 + j 2)δ (ω − 10) + (1 − j 2)δ (ω + 10)

1
e) X 5 (ω ) =
(1 + jω )(3 + jω ) 2 (5 + ω 2 )

5-5 จงคํานวณหาผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาโดยใชตารางที่ 5-1 และคุณสมบัติของการ


แปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตอไปนี้

a) x1 (t ) = 5 + 3 cos(10t ) − 7e −2t sin(3t )u (t )


1
b) x 2 (t ) =
πt
c) x3 (t ) = t 2 e
−4 t −5

sin(3πt ) d ⎡ sin(4πt ) ⎤
d) x 4 (t ) = 4 * ⎢ ⎥⎦
t dt ⎣ t

5- 6 จงหาวาผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของฟงกชันตอไปนี้ มีคาจํากัดหรือไม

5-62
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

a) x1 (t ) = e − a t โดยที่ a ∈ ℜ +
b) x2 (t ) = e − at cos(ω 0 t )u (t ) โดยที่ a, ω 0 ∈ ℜ +
c) x3 (t ) = t 4 e − at u (t ) โดยที่ a ∈ ℜ +
1
d) x 4 (t ) =
t
⎛π ⎞
e) x5 (t ) = cos⎜ ⎟
⎝ 2t ⎠

5-7 จงคํานวณหาผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาจากอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบ
เลขชี้กําลังจากสัญญาณที่เปนคาบในแบบฝกหัดขอที่ 4-3

5-8 จงคํานวณหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาแบบเลขชี้กําลังจากฟงกชันคาบ
ในแบบฝกหัดขอที่ 4-3 จากผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของแบบฝกหัดขอที่ 5-1

5-9 จงหา a) ฟงกชันถายโอน b) ผลตอบสนองอิมพัลสสําหรับระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตาม


เวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีความสัมพันธระหวางอินพุท และเอาทพุทตามสมการอนุพันธเชิงเสนที่
มีสัมประสิทธคงที่ ถาสมมติวาเงื่อนไขเริ่มตนมีคาเปนศูนย

d3y d2y dy
a) + 6 2 + 11 + 6 y (t ) = x(t )
dt 3
dt dt
d y
2
dy
b) + 3 + 2 y (t ) = x(t )
dt 2
dt
d y
2
dy
c) + 2 + y (t ) = x(t )
dt 2
dt
d y
2
dy dx
d) + 6 + 8 y (t ) = + 4 x(t )
dt 2
dt dt

5-10 จงหาผลตอบสนองของอัตราขยาย และเฟส ของระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตามเวลาที่


ตอเนื่องทางเวลาในแบบฝกหัดขอที่ 5-9

5-11 ถาสัญญาณที่เปนคาบดังในแบบฝกหัดขอที่ 4-3 ปอนเขาระบบเชิงเสนที่ไมแปรเปลี่ยนตาม


เวลาที่ตอเนื่องทางเวลาที่มีฟงกืชันถายโอนดังตอไปนี้

5- 63
การแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลา

⎧ 4
⎪1 ω ≤
a) H 1 (ω ) = ⎨ T
⎪⎩0 elsewhere

⎧ 4 8
⎪1 ≤ω ≤
b) H 2 (ω ) = ⎨ T T
⎪⎩0 elsewhere

จงวาดสเปกตรัมขนาด และ สเปกตรัมเฟสของผลการแปลงฟูเรียรที่ตอเนื่องทางเวลาของสัญญาณ


เอาทพุทที่ได

5-12 จงหาฟงกชันถายโอนของระบบที่แสดงดังในรูปที่ 5-20 a) จงคํานวณหาเอาทพุทของระบบ


เมื่อปอนสัญญาณอินพุท v(t ) ดังในรูปที่ 5-20 b)

รูปที่ 5-20 a) วงจร RC b) สัญญาณอินพุท

5-64

You might also like