Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

พลเมืองดี วิถีประชาธิปไตย

01 พลเมืองดี
ความหมายของ “พลเมือง” ในวิถีชีวิต
พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ ความหมายของคําต่างๆดังน้ี
“พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง ชาวประเทศ ประชาชน
“วิถี” หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน
“ประชาธิปไตย” หมายถึง แบบการปกครองท่ีถือมติ ปวงชนเป็นใหญ่
ดังนั้นคําว่า “พลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย” จึง
หมายถึง พลเมืองที่มีแนวทางการปกครองที่ถือปวงชนเป็น
ใหญ่
ศาสน์ กษัตริย์
พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย
ค่านิยมพ้ืนฐานของพลเมืองดี
1. การพึ่งพาตนเอง
2. ความขยันหม่ันเพียร
3. มีความรับผิดชอบ
4. ประหยัด และเก็บออม
5. มีระเบียบ เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม รักชาติ
โดยสํานักงานปลัด

02 หลักการเป็นพลเมืองดี
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองที่ประชาชนทุกคน
มีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ซึ่งจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องสร้างความเป็น
พลเมืองให้ประชาชนสามารถปกครองตนเองได้ กรสร้างพลเมืองให้มีความเป็นพลเมือง
ในวิถีระบอบประชาธิปไตย มีหลักพื้นฐานสำคัญอยู่ ๓ ประการ ดังนี้
๑. เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ที่ทุกคนเกิดมามีคุณค่าเท่ากันมิอาจล่วงละเมิดได้
การมีอิสรภาพและความเสมอภาค การยอมรับในเกียรติภูมิของแต่ละบุคคล
โดยไม่คำนึงถึงสถานภาพทางสังคม ยอมรับความแตกต่างของทุกคน
๒. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสังคมที่เป็นธรรม โดยให้ความสำคัญ
ต่อสิทธิ เสรีภาพ การมีกฎกติกาที่วางอยู่บนความยุติธรรมและชอบธรรม มีหลักนิติรัฐ
ในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพมิให้ถูกละเมิด
๓. รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น สังคม และประเทศชาติ โดยตระหนักถึงบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบของตนเอง ต่อสังคม การดำรงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหาด้วยเหตุและผล

03หน้าที่ของพลเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองที่ประชาชนทุกคน
มีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ซึ่งจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องสร้างความเป็น
พลเมืองให้ประชาชนสามารถปกครองตนเองได้ กรสร้างพลเมืองให้มีความเป็นพลเมือง
ในวิถีระบอบประชาธิปไตย มีหลักพื้นฐานสำคัญอยู่ ๓ ประการ ดังนี้
๑. เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ที่ทุกคนเกิดมามีคุณค่าเท่ากันมิอาจล่วงละเมิดได้
การมีอิสรภาพและความเสมอภาค การยอมรับในเกียรติภูมิของแต่ละบุคคล
โดยไม่คำนึงถึงสถานภาพทางสังคม ยอมรับความแตกต่างของทุกคน
๒. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสังคมที่เป็นธรรม โดยให้ความสำคัญ
ต่อสิทธิ เสรีภาพ การมีกฎกติกาที่วางอยู่บนความยุติธรรมและชอบธรรม มีหลักนิติรัฐ
ในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพมิให้ถูกละเมิด
๓. รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น สังคม และประเทศชาติ โดยตระหนักถึงบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบของตนเอง ต่อสังคม การดำรงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหาด้วยเหตุและผล

04

You might also like