Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

การประชุมวิ ชาการวิ ศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครังที 23 The 23rd National Convention on CivilEngineering

วันที 18-20 กรกฎาคม 2561 จ.นครนายก July 18-20, 2018, Nakhon Nayok, Thailand, THAILAND

การออกแบบกําลังรับแรงแบกทานของเสาเข็มเกลียวเหล็กสําหรับโครงสร้างนําหนักเบาโดยใช้ข้อมูล
การทดสอบในห้องปฏิ บตั ิ การและในสนาม
Bearing capacity design of steel screw pile for lightweight structure based on laboratory test
and field test results

กฤษณพงศ์ ใจกล้า1, ศิริกญ


ั ญา สุทธี1, สุริยะ ทองมุณี1,*, พีรพงศ์ จิ ตเสงียม1,
ประเสริ ฐ ธรรมมนุญกุล2, ประวิตร ธรรมมนุญกุล2และ ทรงพล คิ ดอ่าน2

1
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
2
บริษทั เข็มเหล็ก จํากัด
*Corresponding author; E-mail address: s.thongmunee@gmail.com

บทคัดย่อ design approach, parameters and conditions for the steel screw
pile are limited. Therefore, this research presents a proper
ปัจจุบนั เสาเข็มเกลียวเหล็กได้รบั ความนิยมมากขึนในประเทศไทย
approach for steel screw pile’s bearing capacity design.
สําหรับการก่อสร้างโครงสร้างขนาดเบาเพือใช้แทนระบบฐานรากตืน
This research utilized field-static pile load tests of the 34 steel
เนื องจากข้อ ได้เ ปรีย บในด้านระยะเวลาในการติด ตังอย่า งไรก็ต าม
screw piles for estimation of the ultimate bearing capacity.
งานวิจัยทีเกียวข้องกับวิธีก ารออกแบบกําลังรับนํ าหนัก ของเสาเข็ม
Afterwards, the estimated bearing capacity of each pile was
เกลียว ตัวแปรและเงือนไขในการออกแบบยังมีจํากัด ดังนันบทความนี
compared with its designed ultimate bearing capacity. Soil
จะเสนอแนวทางทีเหมาะสมสําหรับการออกแบบการรับนํ าหนัก ของ
Properties used in the design process were obtained from 1.
เสาเข็มเกลียวเหล็ก
Unconfined compressive tests 2. Direct shear tests and 3.
งานวิจัย นี ได้นํ าข้อ มู ล การทดสอบกํา ลัง รับ นํ าหนั ก ของเสาเข็ม
Interpretation from standard penetration tests
เกลีย วเหล็ก ในสนาม (Static load test) มาประเมิน กํ า ลัง แบกทาน
The result showed that the designed ultimate bearing
สูงสุด (Ultimate bearing capacity) หลังจากนันนํ ามาเปรียบเทีย บกับ
capacities using parameters obtained from the standard
กํ า ลัง แบกทานสู ง สุ ด ทีได้ จ ากการออกแบบโดยใช้ข้อ มู ล ทดสอบ
penetration test gives the closest values to the estimated ultimate
คุณสมบัตขิ องดินในห้องปฏิบตั กิ าร และข้อมูลทดสอบคุณสมบัติของดิน
tensile capacities. Vice versa, designing using the parameters
ในสนาม ซึงประกอบไปด้วย 1.การทดสอบกําลังอัดแบบไม่ระบายนํ า
obtained from the direct shear test gave the closest values to
แบบไม่ จํ า กัด 2.การทดสอบแรงเฉื อ นตรงและ 3. การแปรผลจาก
estimated ultimate compressive capacities.
ผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่าสําหรับการออกแบบ
กําลังแบกทานของเสาเข็มเกลียวเหล็กชนิดรับแรงดึงนัน การใช้ตวั แปร Keywords: Steel screw pile, Bearing capacity design, laboratory
จากการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard Penetration Test) จะ test, standard penetration test, Lightweight structure
ให้ค่ากําลังทีใกล้เ คีย งกับค่าทีสอบในสนาม ในทางกลับกันการใช้ต ัว
แปรจากวิธกี ารทดสอบเฉือนตรง (Direct Shear Test) ในการออกแบบ . คํานํา
เสาเข็มชนิดรับแรงอัด เสาเข็มเกลียวเหล็กหรือทีมีชอเรี ื ยกในเชิงพาณิชย์ว่า “เข็มเหล็ก”
คําสําคัญ : เสาเข็ม เกลียวเหล็ก , การออกแบบกํา ลังแบกทาน, การ เ ป็ น เ ส า เ ข็ ม ข น า ด เ ล็ ก ( Micropile) ช นิ ด ห นึ ง โ ด ย ทั ว ไ ป มี
ทดสอบคุณ สมบัติใ นห้อ งปฏิบ ัติก าร, การทดสอบแบบทะลุท ะลวง, เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน เซนติเมตร ลักษณะคล้ายสกรูข นาดใหญ่
โครงสร้างนําหนักเบา ด้านในกลวง ปลายเรียวแหลม มีเกลียวโดยรอบทําจากเหล็ก โดยมี
ความยาวระหว่าง 1 - 3 เมตร โดยมีกําลังแบกทานประมาณ 1 – 10
Abstract ตัน โดยสามารถรับแรงในแนวแกนและด้านข้างของ ปั จจุบันเสาเข็ม
Nowadays, Steel screw pile is being well-known in Thailand. เกลียวเหล็กประยุกต์ใช้ใ นการรับนํ าหนัก โครงสร้า งขนาดเบา (Light
It is deployed for Lightweight structure constructions to substitute Weight Structure) อาทิเช่น ลานจอดรถ รัว ป้ าย เป็ นต้น นอกจากนี
traditional shallow foundations because of lesser time- เสาเข็มยังเกลียวเหล็กสามารถแทนทีหรือเสริมฐานรากเดิม,เสริมความ
consumption. However, researches involved with bearing capacity แข็งแรงของตลิง ทีลาด และต้านทานดินถล่ม[4]ได้ในกรณีทสภาพชั ี น

1
ดินเป็ นชันดินแข็งปานกลางถึงแข็งมาก ซึงข้อดีของเสาเข็มเกลียวเหล็ก SPT) โดยแต่ละวิธีททํี าการทดสอบนันจะได้ตวั แปรแตกต่างกันไป ดัง
คือสามารถติดตังง่าย รวดเร็ว ใช้พนที ื ในการทํางานน้อย ความสะอาด แสดงในตารางที 2
ของหน้างาน เป็ นต้น นอกจากนีข้อดีอกี ประการทีสําคัญคือการทดสอบ ตารางที 1 ชนิดของดินแยกตามความลึก
กําลังแบกทานแบบสถิตยศาสตร์ของเสาเข็ม สามารถทดสอบได้ง่ า ย ความลึกของชันดิน(เมตร) ชนิดของดิน
เนืองจากเสาเข็มมีความยาวไม่มาก และกําลังแบกทานทีต้องการไม่สูง 0.00 – 2.00 SC
มาก 2.00 – 6.00 CL
เสาเข็ม เกลี ย วเหล็ ก ได้ ถู ก นํ า มาใช้ ใ นประเทศไทยตั งแต่ ปี
พุทธศัก ราช 2550 และมีปริม าณการใช้งานทีเพิมขึนอย่า งต่อ เนื อง
อย่างไรก็ตามงานวิจยั ในด้านออกแบบกําลังแบกทานยังไม่เพียงพอ
ดัง นั นงานวิจัย นี จะมุ่ ง เน้ น ไปทีวิธี ท ีเหมาะสมสํ า หรับ ประเมิ น
คุณสมบัตขิ องดินด้านวิศวกรรม (Engineering properties) ทีใช้ในการ
ออกแบบเสาเข็มเกลียวเหล็กซึงประกอบไปด้วย .การทดสอบกําลังอัด
แบบไม่ระบายนําแบบไม่จํากัด .การทดสอบแรงเฉือนตรงและ . การ
แปรผลจากผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
โดยงานวิจัย นี เริ มจากเก็บ ข้อ มู ล และวิเ คราะห์ ชันดิ น ข้อ มู ล
คุณ สมบัติข องชันดิน และข้อ มูล การทดสอบกํ า ลังแบกทานโดยวิธี
สถิตยศาสตร์ของเสาเกลียวเหล็ก ของโครงการก่อ สร้างหนึ ง หลังจาก
นันทําการประเมิน กําลังแบกทานสูง สุด จากการทดสอบเพือใช้เ ป็ น
ข้อมู ล อ้างอิง ต่อ จากนั นศึก ษาการสมมุติฐ านการออกแบบเสาเข็ม
เกลียว [3] และทําการออกแบบกําลังแบกทานสูงสุดโดยใช้คา่ คุณสมบัติ
ของชันดินทีได้จากการทดสอบคุณสมบัติ 3 แบบ สุดท้ายการกําลังแบก
ทานทีได้จากการออกแบบจะถูกเปรียบเทียบกับผลจากการประเมินจริง
จากการทดสอบกําลังแบกทานในสนาม
รูปที 1 ลักษณะการวางตัวของเสาเข็มเกลียวเหล็ก
2. ข้อมูลโครงการและลักษณะชันดิน
รุ่น N68x2000x8 ในชันดิน
ในการวิจยั ครังนี ได้รวบรวมข้อมูลการทดสอบคุณสมบัติของดิน
และเสาเข็ม จากโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ ตังอยู่ในพืนที ตารางที 2 การทดสอบและตัวแปรทีได้จากการทดสอบ
อําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ สภาพพืนทีเป็ นทีราบมีการถม การทดสอบดิน ตัวแปรทีได้จากการทดสอบ
ดินและบดอัดความสูงประมาณ 2 เมตรเหนือระดับดินเดิม ในโครงการ UCT Su
ได้มกี ารเจาะสํารวจชันดินทังหมด 26 หลุมเจาะ ความลึกในการเจาะอยู่ DST C ,
ระหว่าง 6-8 เมตร จากผิวดินเดิม มีการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน SPT C ,
และเก็บตัวอย่างดินมาทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารด้วย จากผลของสํารวจ *SPT แปลผลมาจากค่า N-Value
ชันดินพบว่าสภาพชันดินมีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน โดยสามารถสรุปชนิด
ของดินชันตามความลึกได้ตามตารางที 1 ตารางที ข้อมูลคุณสมบัตบิ ่งชีของดินในช่วงความลึก 0 – 2 เมตร
การวางตัวของเสาเข็มเหล็กเกลียวทีใช้ในโครงการนี จะอยู่ Wn LL PL t
BH Soil Class. Zw (m.)
ในชันดินเหนียวปนทราย (Clayey Sand) ซึงเป็ นชันทีมีความลึกตังแต่ (%) (%) (%) (T/m2)
2 SC 7.5 18.4 13.8 2.06 1.3
0 – 2 เมตรและส่วนชันถัดไป ความลึก 2 – 6 เมตรเป็ นชันดินเหนียวที
3 SC 12.8 22.9 12.6 1.92 0.5
มีความเหนียวตํา (Low Plasticity Clay) ดังแสดงตามรูปที 1 4 SC 12.1 18.9 13.6 2.11 0.9
11 SC 10.5 21.9 11.5 1.95 0.9
2.1 ข้อมูลคุณสมบัตขิ องดิน 13 SC 9.5 19.4 14.2 2.07 1.3
14 SC 10.6 17.9 13.4 2.12 1.9
การหาข้อมูลคุณสมบัติดินนันได้ม ีการเจาะหลุมทดสอบ (Bored
16 SC 11.1 24.1 15.4 2.04 0.6
hole, BH) ทังหมด หลุม แต่ถกู นําข้อมูลคุณสมบัตดิ นิ มาใช้ออกแบบ 18 SC 8.5 17.4 14.6 2.06 0.6
จํานวน 11 หลุม ข้อมูลคุณสมบัตดิ นิ ได้จากการทําการทดสอบทังหมด 21 SC 10.4 22.0 15.4 2.07 0.7
3 วิธี ได้แก่ วิธกี ารทดสอบแรงอัดแกนเดียวแบบไม่จํากัด (Unconfined 22 SC 8.9 22.4 14.3 2.13 0.5
Compressive Test, UCT) , วิ ธี ก ารทดสอบแบบเฉื อ นตรง (Direct 23 SC 12.1 21.9 13.4 1.99 0.9
Shear Test, DST) และ วิธีการแปลผลคุณสมบัติข องดิน จากค่าการ
เจาะสํารวจแบบทะลุท ะลวงมาตรฐาน (Standard Penetration Test,
2
ตารางที 4 ข้อมูลคุณสมบัตทิ างวิศวกรรมในช่วงความลึก 0 – 2 เมตร 3. วิธีดาํ เนิ นงาน
UCT DST SPT งานวิจัยนีได้ทําการออกแบบการรับ นํ าหนักบรรทุก ของเสาเข็ม
BH Su C C เกลียวเหล็ก โดยแบ่งการออกแบบเป็ น 3 วิธกี ารได้แก่ 1. การใช้ขอ้ มูล
𝜙(deg.) N-Value 𝜙(deg.)
(ksc.) (ksc.) (ksc.)
จาก UCT 2. การใช้ขอ้ มูลจาก DST 3. การใช้ขอ้ มูลจาก SPT เมือได้
2 1.35 0.22 27 12 0.875 31
3 4.02 1.45 11 28 1.875 35 ค่ า นํ าหนั ก การทดสอบหานํ าหนั ก บรรทุ ก ออกแบบแล้ ว จึ ง นํ ามา
4 3.66 1.10 21 9 0.600 30 เปรียบเทียบหาความใกล้เคียงกับค่านํ าหนักบรรทุก สูงสุดจากข้อ มูล
11 1.70 0.08 23 6 0.375 29 การทดสอบในสนาม ซึงการทดสอบในสนามนันมีการทดสอบแรงอัด
13 1.27 0.30 22 8 0.500 29 ตามมาตรฐาน ASTM D1143 และแรงดึงตามมาตรฐาน ASTM D3689
14 0.69 0.25 12 27 1.850 35 เพือความสะดวกในการประเมิน ค่านํ าหนัก บรรทุกสูงสุด จึงนํ าข้อมูล
16 0.23 0.28 10 3 0.200 28
ของนํ าหนักทีทดสอบและระยะการเคลือนตัว มาแปลผลการทดสอบ
18 0.64 0.02 28 12 0.875 31
21 1.22 0.38 18 15 1.375 31
เสาเข็มเกลียวเหล็ก เพือหาค่ากําลังรับนําหนักบรรทุกอีกครังโดยใช้วธิ ี
22 5.40 0.07 25 24 1.375 33 Modified Mazurkiewicz (MM.)ทังการรับ แรงอัด (PMM [1]
UC ) และแรงดึ ง
23 0.72 0.04 27 15 1.000 31 (PMMUT )
[4]

จากตารางที 3 ข้อมูลคุณสมบัตบิ ่งชีของดินในช่วงความลึก 0 – 2 3.1 การแปลผลจากผลการทดสอบนํ าหนักบรรทุกสูงสุดในสนาม


เมตร ของแต่ละหลุมเจาะทดสอบ ซึงดินทีได้แต่ละหลุมจะถูกทดสอบ
ในงานวิจยั นีมีการทดสอบในสนามด้วยวิธี วิธสี ถิตยศาสตร์ (Static
SPTได้ ผ ลการทดสอบเป็ นเป็ นค่ า N-Value แล้ ว แปลผลเป็ นค่ า
Pile Load Test) แบ่งออกเป็ น 2 แบบ ได้แก่ แบบ Standard Loading
Cohesive strength (C) อ้ างอิงวิธีข อง Terzaghi et al.(1996) และค่ า
Procedure หรื อ Normal Load test และ Quick Load Test โดยจด
Soil friction angle (𝜙) อ้างอิงวิธีของ Cather & Bentley(1991) ได้ดงั
บันทึกนํ าหนักทีทดสอบและระยะการเคลือนตัว แล้วจึงนํ ามาประเมิน
ตารางที 4 อีกทังยังถูกทดสอบในห้อ งปฏิบตั ิการ ได้แก่ วิธ ี DST ให้
ห า ค่ า นํ า ห นั ก บ ร ร ทุ ก สู ง สุ ด (PMM MM
UC , PUT ) ด้ ว ย วิ ธี Modified
การทดสอบเป็ นค่า C และ 𝜙 และ วิธ ี UCT ให้ผลการทดสอบเป็ นค่า
Mazurkiewicz[1],[4]กําหนดให้ แกนตังแสดงนํ าหนักบรรทุก (kg.) และ
Undrained Shear Strength (Su)
แกนนอนแสดงอัต ราส่ว นของผลต่ างของนํ าหนักบรรทุก ทดสอบต่ อ
2.2 ข้อมูลเสาเข็มเหล็กทีใช้ออกแบบ ผลต่างของระยะเคลือนตัวของช่วงนันๆ (kg./mm.)
สําหรับโครงการนีใช้เสาเข็มเกลียวเหล็ก N series ของ บริษทั เข็ม รูปแบบของกราฟทีพบในงานวิจยั นีแบ่งได้เป็ น 2 รูปแบบ คือ
เหล็ก จํากัด จะมีลกั ษณะดังรูปที 2 มีรายละเอียดดังตารางที 5 1. รูปแบบทีต้องประมาณค่านอกช่ว งเพือหาค่า นํ าหนั ก บรรทุ ก
ตารางที 5 รายละเอียดของเสาเข็มแต่ละรุ่นใน N-series สูงสุด สามารถหานํ าหนักบรรทุกสูงสุดได้โดยการประมาณค่านอกช่ว ง
โดยใช้สมการหรือวาดเส้นแนวโน้มของสองจุดข้อมูลสุดท้ายตัดแกนตัง
Length* diameter** Weight Surface
รุน่ วัสดุ ให้จุดตัด แกนตัง คือนําหนักบรรทุกสูงสุด ดังรูปที 3 ซึงรูปในกลุ่มนีใน
(m.) (cm.) (kg.) treatment
ขันตอนของการทดสอบได้ถูกทดสอบไม่ถงึ จุดพิบตั ิ
N68x1200x6 1.2 6.8 5.9
2. รูปแบบทีสามารถอ่ านค่ านํ าหนักบรรทุก สูงสุดจากรู ป ได้ จะ
Galvani-
Hot-Dip

SS400

N68x1500x6 1.5 6.8 8.0


zed

N68x2000x6 2.0 6.8 9.4 สังเกตได้จากมีการเปลียนแปลงความชันจากความชันน้อย เปลียนเป็ น


*ความยาวทีถูกฝังลงไปในดิน ความชันมากอย่างมีนัยสําคัญและลู่เข้าหาแกนตัง ให้ค่าแกนนอนของ
**ไม่รวมความกว้างของเกลียวขนาด 2.0 cm. จุดเปลียนความชันคือค่านํ าหนักบรรทุกสูงสุด หรือหากเส้นรูปตัดกับ
แกนตังให้ค่าจุดตัดแกนตังคือ ค่านํ าหนักบรรทุกสูงสุดดังรูปที 4 ซึงรูป
ในกลุม่ นีในขันตอนของการทดสอบได้ถูกทดสอบจนถึงจุดพิบตั ิ
2000
1800 MM
1600 PUT
1400
Load (kg.)

1200
1000
800
600
400
200
0 500 1000 1500 2000 2500

Load/Displacement (kg./mm.)
รูปที 2 รายละเอียดของเสาเข็มรุ่น N- series รูปที 3 การแปรผลรูปแบบที 1 ของเสาเข็มเกลียวเหล็กต้นที 21
(1) N68x1200x6, (2) N68x1500x6, (3) N68x2000x6
3
2000 จากตารางที 6 ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขของเสาเข็มเกลียว
1800 เหล็ ก , รู ป แบบการให้นํ าหนั ก และหลุ ม เจาะทดสอบอยู่ ใ กล้ เ คี ย ง
1600 (Adjacent BH)
MM
1400
PUT ค่าทีประเมินได้จากวิธี Modified Mazurkiewicz ของเสาเข็มเกลียว
1200
Load (kg.)

เหล็กแต่ละต้นดังแสดงในตารางที 8 และ 9 ในหัวข้อ 3.3


1000
800
600 3.2 สมมุติฐานและสมการในการออกแบบการรับ นํ าหนัก สูง สุด ของ
400 เสาเข็มเกลียวเหล็ก
200
3.2.1 สมมุตฐิ านการออกแบบ
0
0 500 1000 1500 2000 2500 สมมุตฐิ านของการออกแบบในงานวิจยั ครังนีสรุปได้ดงั ต่อไปนี
Load/displacement (kg./mm.) 1. กําหนดให้ระนาบการเสียรูป (Failure Plane) เป็ นทรงกระบอก
รูปที 4 การแปรผลรูปแบบที 2 ของเสาเข็มต้นที 11 ตลอดความยาวของเสาเข็มเกลียวเหล็กทีมีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ
เส้นผ่านศูนย์กลางของตัวเสาเข็ม เกลียวเหล็กรวมกับความกว้างของ
ตารางที 6 ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขของเสาเข็มเกลียวเหล็ก , รูปแบบ
เกลียว ดังนันจึงให้ค่า α = 1[3] และค่ามุมเสียดทานระหว่างเสาเข็ม กับ
การให้นําหนักและAdjacent BH
Tensile test Compressive test Adjacent ดิน (𝛿’) มีคา่ = 𝜙 เพราะมีการพิบตั เิ กิดขึนในดิน
Pile No. 2. การนํ า ความยาวของเสาเข็ม เกลีย วเหล็ ก มาออกแบบนั น
Normal Quick Normal Quick BH
1 ✔ 2 สามารถสมมุตไิ ด้ว่าดินโดยรอบมีผลกับเสาเข็มเท่ากันทังต้น ดังนันเมือ
2 ✔ 2 นําความยาวของเสาเข็มมาคิดจะคิดเฉพาะส่ว นทีจมในดินจนถึงปลาย
3 ✔ 4 สุดของเสาเข็มเกลียวเหล็กให้ค่าเท่ากับ L
4 ✔ 4 3. เนืองจากเป็ นเสาเข็มเกลียวเหล็กชนิดเกลียว สันนิษฐานว่า เมือ
5 ✔ 3 ติดตัง ตัวเสาเข็มกระทํากับดินบริเวณรอบข้างน้อยมาก จึงสมมุติให้ค่า
6 ✔ 3
สัมประสิทธิแรงดันดินด้านข้างทีนํามาใช้มคี ่าเทียบเท่ากับ สัมประสิทธิ
7 ✔ 13
แรงดันดินด้านข้างขณะพัก (at rest), KO
8 ✔ 13
9 ✔ 14 3.2.2 สมการในการออกแบบ
10 ✔ 14
สมการทัวไปทีใช้ในการออกแบบกําลังรับนํ าหนัก ของเสาเข็ม นัน
11 ✔ 18
อ้างอิงจากสมการที
12 ✔ 18
14 ✔ 22 Qult = Qb + Qf (1)
16 ✔ 21
โดยให้ Qb = แรงแบกทานทีปลายของเสาเข็ม ,kg
17 ✔ 21
18 ✔ 16 Qf = แรงเสียดทานบริเวณผิวของเสาเข็ม , kg
19 ✔ 16 Qu = กําลังแบกทานสูงสุดของเสาเข็ม ,kg
20 ✔ 16
21 ✔ 23 โดยสมการหาค่ากําลังแบกทานปลายเสาเข็มนันใช้สมการที
22 ✔ 23
Qb = Qb(clay) + Qb(sand) (2)
23 ✔ 16
24 ✔ 16 โดยตัวแปรต่างๆ อ้างอิงสมการของ Meyehof ซึงแบ่งการคํานวณ
25 ✔ 16 เป็ นสองแบบจากชนิดของดิน ดังสมการที และ
29 ✔ 16 . ทราย (Sand)
30 ✔ 16
31 ✔ 16 Qb(sand) = q’Nq*Ap (3)
32 ✔ 16 . ดินเหนียว (Clay)
33 ✔ 16
34 ✔ 16 Qb(clay) =c’Nc* = 9CuAp (4)
38 ✔ 11
39 ✔ 11 โดยให้ q = ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิง ณ ปลายหัวเสาเข็ม
40 ✔ 11 c’ = แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลของดินเหนียว
42 ✔ 11 Ap = พืนรับแรงบริเวณหัวเสาเข็ม
43 ✔ 11 Nc*,Nq* = ตัวประกอบคูณเพิมกําลังแบกทาน
4
และค่ า แรงเสีย ดทานบริ เ วณผิ ว ของเสาเข็ม ใช้ ส มการตั งต้ น 3.3 ผลการประเมินและการออกแบบกําลังรับแรงดึงและแรงอัดสูงสุด
เช่นเดียวกับการหาค่ากําลังแบกทานทีปลายเสาเข็ม ดังสมการที ตารางที 8 ค่ากําลังรับแรงดึงสูงสุดทีได้จากการประเมินด้วยวิธ ี MM และกําลัง
Qs = Qs(clay) + Qs(sand) (5) รับแรงดึงสูงสุดทีได้จากการออกแบบ
Pile PMM
UT QUCT
UT QDST
UT QSPT
UT
โดยกําลังเสียดทานจะสามารถหาได้ ดังสมการที 6 No. (kg.) (kg.) (kg.) (kg.)
1 1984 1924 404 1609
Qs = ƒAs (6) 3 1745 4967 1571 1354
5 1797 5456 2008 2335
โดยแบ่งการคิดความต้านทานแรงเสียดทาน (ƒ) ออกเป็ น 2 7 2328 1810 509 1246
ประเภทตามชนิดของดิน 9 1259 1498 598 2325
โดยให้ As คือ พืนทีผิวเสาเข็มทีรับแรงเสียดทาน= pΔL 11 1299 1411 257 1733
p คือ เส้นรอบรูปของเสาเข็ม 16 2557 1780 706 2064
18 1005 741 945 706
ΔL คือ ความยาวของเสาเข็มทีรับแรงเสียดทาน
19 1362 964 1240 942
f คือ ค่าความต้านทานแรงเสียดทานสามารถ
20 1999 1334 1743 1354
หาได้จากสมการที และ 21 1742 1466 315 1874
29 800 741 945 706
แรงเสียดทานในดินทราย
30 1202 964 1240 942
สําหรับการคํานวณแรงเสียดทานดินทรายจะใช้สมการที 7 โดยค่า
31 1653 1334 1743 1354
ของค่ามุมเสียดทานระหว่างเสาเข็มกับดิน (𝛿’) มีค่าเท่ากับค่า 𝜙 28 793 2365 176 1013
เนืองจากสมมุตฐิ านทีว่าการพิบตั เิ กิดขึนในดิน 39 1041 3074 269 1362
40 1683 4257 422 1939
ƒ(Sand) = Koσo’tan𝛿’ (7)
โดยให้ K = 1 - sin สัมประสิทธิแรงดันดินด้านข้าง ตารางที 9 ค่ากําลังรับแรงอัดสูงสุดทีได้จากการประเมินด้วยวิธ ี MMและค่า
σo’ = ความเค้นประสิทธิผลใต้ชนดิ
ั นทีพิจารณา กําลังรับแรงอัดสูงสุดทีได้จากการออกแบบ
𝛿’ = Soil-pile friction angle
Pile PMM
UC QUCT
UC QDST
UC QSPT
UC
No. (kg.) (kg.) (kg.) (kg.)
2 1626 4324 1167 3617
แรงเสียดทานในดินเหนียว
4 1463 9133 2699 2996
สํ า หรับ การคํ า นวณแรงเสี ย ดทานดิ น เหนี ย วเลือ กใช้ วิ ธี ก าร 6 1991 11940 3248 7051
ประมาณค่ าแรงเสีย ดทานด้ว ยตัว ประกอบคู ณ ลดค่ า แรงยึด เหนี ยว 8 1923 1818 1207 1759
(วิธอี ลั ฟ่ า, α) 10 1923 2372 1512 2326
12 2192 3296 2034 3291
ƒ(Clay) = αCu (8)
14 2339 7537 1057 4127
เมือ Cu = ค่าแรงยึดเหนียว 17 1654 4853 608 2408
α = ตัวแปรคูณลดค่าแรงยึดเหนียวซึงอ้างอิงจาก 22 1609 5726 719 2921
Terzaghi ,Peckand Mesri (1996) โดยค่า 23 1004 4844 845 6628
Pa = 100 kN/m2หรือ 2000 lb/ft2 24 1220 4391 1129 4803
25 2232 3296 2034 3291
จากสมการการคํานวณดังทีกล่าวมาข้างต้น จะสามารถสรุปสมการ 32 1050 3476 995 3991
ทีใช้ในการออกแบบเสาเข็มได้โดยแยกตามวิธีการทดสอบและชนิด ของ 33 788 1818 1207 1759
เสาเข็มรับแรงได้ดงั ตารางที 7 34 1581 3365 832 4004
ตารางที 7 สมการทีใช้ในการคํานวณแยกตามวิธที ดสอบ 42 1512 14094 811 5521
Test Tension 43 1612 2372 1512 2326
UCT T = (αSu)As
DST จากตารางที 8 ค่ากําลังรับแรงดึงสูงสุดทีได้จากการประเมินด้วยวิธี
T = (αCu + Koσo’tan𝛿’)As
SPT MM มีค่าตังแต่ 793 kg. ถึง 2557 kg. และค่ากําลังรับแรงดึงสูงสุดทีได้
Test Compression
จากการออกแบบ มีคา่ ตังแต่ 176 kg. ถึง 5456 kg.
UCT C = (αSu)As + 9SuAp
DST จากตารางที 9 ค่ากําลังรับแรงอัดสูงสุดทีได้จากการประเมินด้วยวิธี
C = (αCu + Koσo’tan𝛿’)As + (q’Nq + 9Cu)Ap
SPT MM มีคา่ ตังแต่ 788 kg. ถึง 2339 kg. และค่ากําลังรับแรงอัด สูงสุดทีได้
จากการออกแบบ มีค่าตังแต่ 608 kg. ถึง14094 kg.ส่วนค่าอัตราส่ว น
5
ระหว่างค่าทีได้จากการออกแบบกับค่าทีได้จากการประเมินจะแสดงใน SPT เป็ นการทดสอบทีตัวอย่างดินอาจจะมีความแน่นเพิมขึนระหว่า ง
หัวข้อที 4 การตอกทดสอบซึงสอดคล้องกับการติดตังเสาเข็มมากทีสุดคือมวลดิน
ถูกรบกวนและมีแนวโน้มทีมวลดินรอบข้างจะมีความหนาแน่นมากขึน
. การเปรียบเที ยบผลการทดสอบในสนามกับการออกแบบและ
การวิ เคราะห์ผล 5.0

การแสดงผลอัตราส่วนระหว่างค่าทีออกแบบได้ต่อค่าทีได้จากการ 4.5 Compression Test


Uncon. (avg.= 3.34, SD=2.20)
ประเมินโดยวิธี Modified Mazurkiewicz อยู่บนแกนตัง ส่วนแกนนอน 4.0 Direct. (avg.= 0.88, SD=0.43)
SPT (avg.= 2.48, SD=1.43)
จะเป็ นลําดับของเสาเข็มโดยแยกการแสดงผลตามรูปแบบการรับแรง 3.5
Ratio = 1

MM
ของเสาเข็ม ให้อตั ราส่วนค่าออกแบบได้ต่อค่าประเมินได้เท่ากับ 1.00 3.0

/PUC
2.5
เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกตัวแปรจากการทดสอบเพือการออกแบบ

Design
2.0
รับแรงดึงและแรงอัด สู งสุ ด ของเสาเข็ม เกลีย วเหล็ก หากอัตราส่ ว น

QUC
1.5
ดังกล่าวมีค่ามากกว่ า 1.00 แสดงให้เห็นว่าค่าออกแบบนันมากกว่าค่า
1.0
ประเมิน ในทางกลับกันหากอัตราส่วนมีค่าน้อยกว่า 1.00 แสดงให้เห็น
0.5
ว่าค่าออกแบบน้อยกว่าค่าประเมิน
0.0
0 10 20 30 40

5.0 Pile No.


4.5 Tensile Test รูปที 6 การเปรียบเทียบอัตราส่วนค่าออกแบบต่อค่าประเมินได้ดว้ ย
4.0
Uncon. (avg.= 1.44, SD=0.96) วิธี Modified Mazurkiewicz ของเสาเข็มเกลียวเหล็กรับแรงอัด
Direct. (avg.= 0.61, SD=0.40)
3.5 SPT (avg.= 0.99, SD=0.34)

3.0
Ratio = 1 จากรู ป ที 6 แสดงการเปรีย บเทีย บอัต ราส่วนค่าออกแบบต่ อ ค่ า
MM
/PUT

2.5 ประเมินสําหรับเสาเข็มทีรับแรงอัด ซึงแรงต้านจะเกิดขึนจากผลรวมของ


Design

2.0 แรงเสียดทานด้านข้างและแรงต้านทีปลายเข็มด้วย
QUT

1.5 พบว่ า การออกแบบด้ว ยการใช้ตัวแปรจากวิธี DST ทีค่ า เฉลีย


1.0 เท่ากับ 0.88 ซึงมีค่าอัตราส่วนทีใกล้เคีย งกับ 1 มากทีสุดและมีค วาม
0.5 ปลอดภัย ในการออกแบบ โดยทีวิธี UCT และวิธี SPT มีค่ า เฉลีย
0.0 มากกว่า 1 ซึงมีคา่ เท่ากับ 3.34 และ 2.48 ตามลําดับ
0 10 20 30 40
Pile No. จากรูปที 5 และ 6 การเปรียบเทียบผลระหว่างการออกแบบสําหรับ
รูปที 5 การเปรียบเทียบอัตราส่วนค่าออกแบบต่ อค่าประเมินได้ดว้ ย กําลังรับแรงดึงและแรงอัด พบว่าการนํ าค่ า ตัว แปรจากการทดสอบ
วิธ ี Modified Mazurkiewicz ของเสาเข็มเกลียวเหล็กรับแรงดึง UCT ให้คา่ ทีมากกว่าการทดสอบในสนามทังรับแรงอัดและแรงดึง และ
เมือทําการเปรียบเทียบพบว่าในกรณีรบั แรงดึงใช้ตวั แปรจาก SPT ให้
จากรู ป ที 5 แสดงการเปรียบเทีย บอัต ราส่ว นค่าออกแบบต่ อ ค่ า ค่าทีใกล้เคีย งมาก ส่วนกรณีรบั แรงอัดค่าทีได้จาก SPT ขยับ มากขึน
ประเมินสําหรับเสาเข็มทีรับแรงดึง ซึงแรงต้านจะเกิดขึนเฉพาะแรงเสียด กว่าเดิมเกินกว่า 2 เท่าและทําให้การออกแบบกําลังแบกทานรับแรงอัด
ทานด้านข้างเพียงอย่างเดียว โดยเส้นทึบทีมีอตั ราส่วนเท่ากับ 1 แสดง โดยใช้ตวั แปรจาก SPT ไม่ปลอดภัยเนืองจากให้คา่ ทีมากกว่าทีทดสอบ
ในเห็นว่าค่าออกแบบมีค่าเท่ากับทีประเมินจากผลการทดสอบในสนาม ได้ในสนาม ส่วนค่าตัวแปรทีได้จาก DST ขยับมากขึนกว่าเดิมประมาณ
พอดี กรณีทมีี คา่ มากกว่า 1 แสดงว่าค่าออกแบบมีค่ามากกว่าทีประเมิน 1.4 เท่า โดยให้ค่าทีใกล้เคียงมากทีสุดและไม่มากกว่าค่าทีทดสอบได้
ซึงถือว่าไม่ปลอดภัย ในทางกลับกันกรณีทมีี ค่ าน้อยกว่า 1 แสดงว่ าค่า จริง ซึงสอดคล้อ งกับ งานวิจัย ทีว่า อาจจะเกิดการรบกวนดินบริเ วณ
ออกแบบมีค่าน้อยกว่าทีประเมิน ซึงหากน้อยกว่าค่าของ 1 มากเกินไป โดยรอบเสาเข็มเกลียวเหล็กเป็ นระยะ - เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลาง
จะถือว่าไม่ประหยัด [ ] ลักษณะการพิบตั ิข องการรับแรงดึ งไม่มีก ารพัฒ นากําลังของดิน
จากรูปที 5 พบว่าการออกแบบด้วยการใช้ตวั แปรจากวิธี DST และ บริเวณรอบเสาเข็มเกลียวเหล็ก แต่ลกั ษณะการพิบตั ขิ องการรับแรงอัด
SPT มีคา่ เฉลียน้อยกว่า 1.00 แต่วธิ ี SPT ให้คา่ เฉลียใกล้เคียงกับ 1.00 นันมีก ารพัฒ นากํ าลัง ของดินซึงคล้ายกับ การทดสอบการเฉือ นตรง
กว่าวิธี DST ซึงมีค่าเท่ากับ 0.61 และ 0.99 ตามลําดับ ส่วนวิธี UCT ส่งผลให้คณุ สมบัตขิ องดินมีการเปลียนแปลงอาจทําให้การออกแบบการ
นันมีค่าเฉลียเท่ า กับ 1.44 ซึงมากกว่ า 1.00 ซึงเมือพิจารณาวิธ ีก าร รับแรงดึงและแรงอัด
ทดสอบอย่างละเอียดพบว่า การทดสอบแบบ UCT นันเป็ นการทดสอบ จากผลการศึกษาทีได้ดงั กล่าวพบว่า การศึกษาเพิมเติมโดยใช้การ
ตัวอย่างแบบคงสภาพ โครงสร้างของมวลดินยังไม่ถูกรบกวน ส่วนการ ทดสอบในสนามเทียบกับโปรแกรมวิเคราะห์ไฟไนท์อลิ เิ มนต์จึงมีความ
ทดสอบแบบ DST เป็ น การทดสอบตัวอย่ า งแบบแปรสภาพโดยการ จําเป็ นอย่างยิงเพือให้ทราบถึงพฤติกรรมการถ่ายแรงระหว่างเสาเข็ม
ควบคุมให้มคี วามหนาแน่นเท่ากับในสนาม และเมือพิจารณาการติดตัง และอิทธิพลของแรงเสียดทานและแรงต้านทีปลายเข็มทีเปลียนแปลงไป
เสาเข็ม เกลียวเหล็กพบว่าการติดตังจะเป็ นการรบกวนดินเช่นกัน ใน ระหว่างการทดสอบ
ส่วนของ SPT ทีให้ค่าใกล้เ คีย งมากทีสุด เนื องจากการทดสอบแบบ
6
5. บทสรุปและอภิ ปราย
งานวิจยั นีเมือทําการเปรียบเทียบและแสดงผลจากแต่ละวิธเี พือหา
แนวทางการออกแบบการรับนํ าหนักของเสาเข็มเกลียวเหล็ก ดังทีได้
กล่าวมาข้างต้นนันจะสามารถสรุปได้ว่า
1. การออกแบบกําลังรับนํ าหนักของเสาเข็มเกลีย วเหล็กชนิด รับ
แรงดึ ง โดยใช้ ข้ อ มู ล จากการทดสอบการทะลุ ท ะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test) มีความเหมาะสมทีสุด
2. การออกแบบกําลังรับนํ าหนักของเสาเข็มเกลีย วเหล็กชนิด รับ
แรงอัดโดยใช้ขอ้ มูลจากการทดสอบการเฉือนตรง (Direct Shear Test)
มีความเหมาะสมทีสุด
งานวิจยั ครังนีเป็ นการนําข้อมูลเพียงแค่โครงการเดียวมาใช้ในการ
ประเมินซึงลักษณะดินเป็ นเพียงลักษณะเดียว ดังนันการศึกษาเพิมเติม
ในประเภทดิน อืนจึ งมี ค วามจํ า เป็ น นอกจากนี เพือให้เ ข้า ใจเพิมขึน
การศึก ษาเพิมเติ ม โดยใช้ก ารทดสอบในสนามเทีย บกับ โปรแกรม
วิเ คราะห์ไ ฟไนท์อ ิลิเมนต์จึงมีค วามจํ าเป็ น อย่ า งยิงเพือให้ ท ราบถึ ง
พฤติกรรมการถ่ายแรงระหว่างเสาเข็ม และอิทธิพลของแรงเสียดทาน
และแรงต้านทีปลายเข็มทีเปลียนแปลงไประหว่างการทดสอบ

กิ ตติ กรรมประกาศ
ขอขอบคุณบริษทั เข็มเหล็ก จํากัด ทีอนุเคราะห์ขอ้ มูลในการวิจัย
แ ล ะ ข อ ข อ บ คุ ณ อุ ท ย า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
มหาวิทยาลัย เชีย งใหม่ สําหรับทุน อุ ดหนุ น งานวิจัย ภายใต้ โครงการ
พัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจยั ของภาคเอกชนในพืนที
( Industrial Research and Technology Capacity Development
Program: IRTC) โครงการยกระดับความน่ าเชือมันในการออกแบบ
และใช้งานระบบฐานรากแบบเสาเข็มเกลียว

เอกสารอ้างอิ ง
[1] คณะอนุ ก รรมการสาขาวิศ วกรรมปฐพี ว.ส.ท. (2542). การหา
กําลังบรรทุกนํ าหนักเสาเข็มจากการทดสอบ (Determination of
Pile Capacity from Pile Load Test).สมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,ISBN 974-87129-3-1
[2] อัฐพล ศักดิมณี และ ก่อโชค จันทวรางกูร( ), การต้านทาน
การตอกหยังชันดินแบบผลวัตในชันดินทราย. การประชุมวิชาการ
วิศวกรรมโยธาแห่งชาติครัง , ภูเก็ต , - เมษายน .
[3] Guo, Z. and Deng, L. (2018). Field behavior of screw micro
piles subjected to axial loading in cohesive soils. Canadian
Geotechnical Journal, 55, pp. 34-44.
[4] Weeraya Chim-oye, Narin Marumdee (2013). Estimation of
Uplift Pile Capacity in the Sand Layers. International
Transaction Journal of Engineering, Management, & Applied
Sciences & Technologies, 4(1), pp. 57-65.
[5] Braja, M.D. (2011). Principles of Foundation Engineering
(seventh Edition, SI). Cengage, Inc. pp.537-634.

You might also like