01เอกสารประกอบ สไลด์บรรยายคงคาเดือด ทับทิม พทโซเอะ นักศึกษา

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 39

เอกสารประกอบการเรียน

สมุนไพรพืชต้น
คงคาเดือด - ทับทิม

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


สมุนไพรน่ารู้
พืชต้น
คงคาเดือด - ทับทิม
02
แบ่งออกเป็ นกลุ่มดังนี้
๐๑ ร้อนๆ ๐๙ ชุมเห็ด ๑๗ แก้เสมหะ
๐๒ เค็มๆ ๑๐ ตาน ๑๘ แค
๐๓ จิก จาก เต่าร้าง ๑๑ เฝื่ อนๆ แก้คัน ๑๙ แก้ทอ้ งร่วง
๐๔ แก้ไข้ ๑๒ ฆ่าพยาธิ แก้คัน ๒๐ ตะขบ
๐๕ จันทน์ ๑๓ งิว้ - ระงับปวด ๒๑ ยาระบาย
๐๖ ตีนเป็ ด ๑๔ บารุ งหัวใจ ๒๒ ยาขับลม
๐๗ ขม ๑๕ ดอกไม้ ๒๓ แก้ปัสสาวะพิการ
๐๘ เย็นๆ ๑๖ ยาพิษ ๒๔ ถั่วแระ
แบ่งออกเป็ นกลุ่มดังนี้
๐๑ ร้อนๆ คัดลิน้ เจตพังคี เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง
๐๒ เค็มๆ หงอนไก่ทะเล หงอนไก่ดอกกลม เหงือกปลาหมอ
๐๓ จิก จาก เต่าร้าง จิกเขา จิกนา จาก เต่ารั้ง
๐๔ แก้ไข้ คนทา คนทีสอเขมา ชิงชี่ จุกโรหิณี ช้อยนางรา ตะเคียนทอง ทรงบาดาล -

๐๕ จันทน์ จันทน์กระพ้อ เกราะ ชะมด ขาว แดง เทศ ลูกหอม โอ(ลูกอินทร์) -


๐๖ ตีนเป็ ด ตีนเป็ ดต้น ตีนเป็ ดนา้
๐๗ ขม ครอบทัง้ 3 ควินิน ไคร้เครือ ดีหมี
๐๘ เย็นๆ คราม เฉียงพร้านางแอ ตับใหญ่ ตับเต่าน้อย
แบ่งออกเป็ นกลุ่มดังนี้
๐๙ ชุมเห็ด ชุมเห็ดไทย ชุมเห็ดเทศ
๑๐ ตาน ตานขโมย ตานดา ตานโตนด ตานเสีย้ น
๑๑ เฝื่ อนๆ แก้คัน คันทรง คางแดง คว่าตายหงายเป็ น จักรนารายณ์ คงคาเดือด ฆ้องสามย่าน -

๑๒ ฆ่าพยาธิ แก้คัน จามจุรี ชะมดต้น ตูมกาต้น


๑๓ งิว้ - ระงับปวด งิว้ งิว้ ป่ า
๑๔ บารุ งหัวใจ ชมพูน่ า้ ดอกไม้ เตยหอม
๑๕ ดอกไม้ คาไทย คาฝอย ชบา
๑๖ ยาพิษ ตาตุ่ม ตาเสือ ตาเสือทุง่ ซาก
แบ่งออกเป็ นกลุ่มดังนี้
๑๗ แก้เสมหะ ชะเอมเทศ ช้าพลู
๑๘ แค แคแดง แคขาว แคแตร แคฝอย
๑๙ แก้ทอ้ งร่วง ชาหรือเมีย่ ง ตะโกนา ตะโกสวน ทับทิม ซัด
๒๐ ตะขบ ตะขบไทย ตะขบฝรั่ง ตะขบป่ า
๒๑ ยาระบาย คูณ ชะมวง ตองแตก
๒๒ ยาขับลม ชะอม ตะไคร้ต้น
๒๓ แก้ปัสสาวะพิการ ช้างงาเดียว ตะไคร้นา้ ต่อไส้
๒๔ ถั่วแระ ถั่วแระต้น ถั่วแระผี
๐๑ ร้อนๆ

คัดลิน้ เจตพังคี เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง


(ขีอ้ ้ายดง ลาไยป่ า) (ไฟใต้ดนิ )
ราก ราก ใบ รสร้อน แก้ลมและเสมหะ ราก รสร้อน บารุงธาตุ บารุงโลหิต ขับลมใน
รส_____________________ รสเผ็ดขื่นปร่า ดอก รสร้อน ________ แก้หนาวและเย็น ลาไส้และกระเพาะอาหารให้เรอ แก้ทอ้ งอืด
แก้เส้นเอ็นพิการ บารุงเส้นเอ็น ___________________ ขับลมทาให้เรอ ต้น รสร้อน ขับโลหิตประจาเดือน เฟ้อ เสียด แน่นหน้าอก ทาให้รา่ งกายเกิดความ
ห้ามใช้กบั บุคคลที่เป็ นโรค ฝนกับนา้ ปูนใส ผสมกับมหาหิงคุแ์ ละ ราก รสร้อน ขับลมในกระเพาะอาหารและ อบอุน่ ถ้ารับประทานมาก ทาให้___________
_______________________ การบูรทาท้องเด็กอ่อน แก้ทอ้ งขึน้ อืด ลาไส้ แก้________________ แก้บวม บดเป็ นผงปิ ดพอก_____ ทาให้เกิดความร้อน
เฟ้อ แก้ปวดท้อง ขับผายลม แก้คดุ ทะราด บารุงธาตุ บารุงโลหิต เกลื่อนฝี ได้ แก้___________________

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๒ เค็มๆ

หงอนไก่ทะเล เหงือกปลาหมอ
ใบ รสร้อนเล็กน้อย_________รักษาโรคปวดบวมและแผลอักเสบ
ราก รสกร่อยเค็ม ใบอ่อน ______กับเปลือกต้นอบเชย รับประทานแก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ
ขับ_____________________ ลูก รสร้อน ขับโลหิตอย่างแรง แก้ฝีตานซาง
แก้ประจาเดือนไม่ปกติ ราก รส_________ ต้ม_____แก้พาไข้หวั ผื่นคัน แก้โรคผิวหนังทุกชนิด
ต้นมัดตาให้ละเอียด ______แผลเรือ้ รัง ถอนพิษ __________แก้พิษ
ฝี ดาษ เป็ นยาตัดรากฝี
ใช้ทงั้ 5 รสร้อน แก้ไข้หวั แก้พาฝี แก้________ได้ดีมาก

หงอนไก่ดอกกลม
(หงอนไก่ป่า)
ราก รสเผ็ดขื่นร้อนเล็กน้อย
แก้เข้เพื่อลม (ไข้ฤดูฝนมีอาการท้องอืดเฟ้อ)
แก้ไข้พา แก้โลหิต แก้ลม_______ บารุงธาตุ
แก้______ แก้เสมหะ

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๓ จิก จาก เต่าร้าง - ป่ าชายเลน

จิกเขา จิกนา จาก เต่าร้าง(เต่ารั้ง)


เปลือกต้น รสร้อนเล็กน้อย เปลือกต้น รสร้อนเล็กน้อย แก้ปวดศีรษะ ใบ รสฝาด แก้ลมจรต่างๆ แก้เสมหะและดับ หัวและราก รสหวานเย็นขม
แก้________แก้เสมหะพิการ แก้_______ แก้เลือดออกตามไรฟั น ใช้____________ พิษทัง้ ปวง ดับพิษ________แก้หวั ใจพิการ
เมล็ด รสร้อน แก้แน่นจุกเสียด เนือ้ ไม้ รสร้อนเฝื่ อนๆ ขับ____________ นมจาก เป็ นเกล็ดสีดาอยูใ่ ต้ทอ้ งใบ
เมล็ด รสร้อน แก้แน่นจุกเสียด รสฝาดกร่อย แก้ลมจร ลมป่ วง แก้ไข้
รัด_____________ แก้เยื่อตาอักเสบ ท้องเสีย แก้พิษ________ลิน้
แก้อาเจียน ฝนทาแก้__________แก้ไอเด็ก เป็ น___________
ใบ รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง
ราก รสขื่นเอียน ระบายท้อง

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๔ แก้ไข้
คนทา คนทีสอเขมา ชิงชี่ จุกโรหิณี
(คนทีสอดา)

เปลือกต้น รสร้อน แก้ปวดท้อง แก้เลือด แก้ลม


ไม้พุม่ รากอ่อนและต้น รสขมเฝื่ อนฝาด เป็ นยาอายุวฒ ั นะ ต้น รสขื่นปร่า แก้ฟกบวม ราก รสขมเย็น ____________แก้รอ้ นใน
เย็น รากและใบ รสร้อน ต้มรับประทาน หรือ____ ลูก รสขื่นปร่า แก้_________ลาคออักเสบ กระหายนา้ ลดความร้อนใน ร่างกาย
แก้__________ลดความร้อนในร่างกาย _________ ปวดกล้ามเนือ้ บารุงและรักษาไข้ ดอก รสขื่นเมา แก้_____________ บางตาราว่า รสสุขมุ แก้ไข้เพื่อโลหิต แก้
กระทุง้ พิษไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้หวั ลมทุกชนิด ใบสด รสร้อนหอม คัน้ เอานา้ รับประทานแก้ __ ราก รสขมขื่น แก้_________ขับลมในท้อง ลมปลายไข้
แก้รอ้ นในกระหายนา้ ________รักษาเยื่อจมูกอักเสบ ให้ซา่ นออกมา แก้ไข้รอ้ นในทุกชนิด
ถอนพิษ___________________ ใบ รสเฝื่ อนเมา ต้มเอานา้ อาบแก้โรคผิวหนัง
ยาง รสร้อนเมา บารุงกาลัง ขับเลือดขับลมให้ ไข้________สันนิบาต _________
กระจาย ฆ่าพยาธิ ผิวหนัง แก้____________
ราก รสเมาร้อน แก้ลม ขับเหงื่อ แก้รดิ สีดวงแห้ง
เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล
๐๔ แก้ไข้

ช้อยนางรา (สอยนางรา) ตะเคียนทอง ทรงบาดาล


เนือ้ ไม้และแก่น รสขมหวาน ราก รสเบื่อขม ถอนพิษ___________(ไข้ซา้ )
ใบ รสเย็น แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้พิษ แก้คดุ ทะราด แก้เสมหะ แก้โลหิต แก้กาเดา แก้สะอึก (เนื่องจากกระเพาะอาหารขยายตัว)
แก้________________
(ไข้ท่มี ีอาการแสดงที่ดวงตา ให้เป็ นสี แดง
เหลือง เขียว)

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


ไข้สัมประชวร

เป็ นไข้เรือ้ รังนานๆ ร่างกายซูบผอม ไม่มีแรง เบื่ออาหาร สังเกตได้ท่ีนยั น์ตา ให้เป็ นสี แดง เหลือง เขียว

1.ไข้เพือ่ กาเดา ปวดหัวตัวร้อน สะท้านร้อนสะท้านหนาว ไม่มีนา้ ตา ปากคอแห้งกระหายนา้ นัยน์ตาแดงดังโลหิต


2.ไข้เพือ่ โลหิต มีอาการปวดหัวตัวร้อน หน้าแดง นัยน์ตาแดง มีนา้ ตาคลอ นัยน์ตาแดงดังโลหิต
3.ไข้เพือ่ เสมหะ มีอาการหนาวหนาวแสยงขน ขนลุกทัง้ ตัว หรือไม่รอ้ นมาก นัยน์ตาเหลืองดังขมิน้
4.ไข้เพือ่ ดี มีอาการตัวร้อนเพ้อคลั่ง ปวดหัวกระหายนา้ ขอบนัยน์ตาสีเขียวเป็ นแว่น
5.ไข้เพือ่ ลม มีอาการวิงเวียนหน้ามืด ตัวไม่รอ้ น นัยน์ตาขุน่ คลา้ และมัว อีกพวกหนึ่ง นัยน์ตาไม่สู้แดงนัยน์ (แดงเรื่อๆ)
ถ้าเป็ นชาย จะเกิดจากเส้นอัมพฤกษ์ ถ้าเป็ นหญิงจะเกิดจากเส้นปั ตคาด

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๕ จันทน์

จันทน์กระพ้อ จันทน์เกราะ จันทน์ชะมด จันทน์แดง จันทน์เทศ


เนือ้ ไม้ รสขมหอม (จันทน์หอม)
แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้เพื่อดี
แก้กระษัย แก้ตบั ปอด
พิการ แก้รอ้ นในกระหาย
นา้

เนือ้ ไม้ และแก่น เนือ้ ไม้และแก่น รสขมหอมร้อน


แก่น รสร้อนหอม แก้ไข้สนั นิบาต แก่น รสขมหอม บารุง__________ รสขมเย็น แก้ไข้ดีเดือด ดีพลุง่ แก้กระสับกระส่าย
แก้ไข้เพื่อเลือดและลม แก้ลมวิงเวียน แก้คลื่นเหียน แก้______ แก้ซางอันบังเกิดแต่ดี ตาลอยเผลอสติ บารุง_________________
ดอก รสเย็นหอมจัด แก้ไข้ อาเจียน ทาให้ใจชื่นบาน สดชื่น แก้_________________ เมล็ดใน รสหอมฝาดหวานสุขมุ
บารุงหัวใจ แจ่มใส แก้บาดแผล แก้ไข้เพื่อดีพิการ แก้กระหายนา้ บารุงกาลัง แก้ลม แก้จกุ เสียด
ชูกาลังใช้ทา_____________ ทาให้ช่ืนใจ แก้รอ้ นดับพิษไข้ทกุ ชนิด แก้กาเดา แก้ทอ้ งร่วง แก้______________
ฝนทา___________________ ขับลมในลาไส้ บารุงโลหิต แก้บิด บารุงธาตุ
รกหุม้ เมล็ด(ดอก) รสหอมฝาดร้อน
บารุงโลหิต บารุง____________________
เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล
๐๕ จันทน์

จันทน์ลูกหอม จันทน์โอ (ลูกอินทร์) จันทนา (จันทน์ขาว)

เนือ้ ไม้ รสขมหวาน บารุงประสาท บารุงเนือ้ หนัง เนือ้ ไม้ รสขมหวาน เนือ้ ไม้ รสขมเย็น แก้ไข้อนั บังเกิด_____________
ให้สดชื่น แก้ไข้ตบั ปอดพิการ แก้รอ้ นในกระหายนา้ บารุงประสาท บารุงกาลัง แก้ตบั ปอดพิการ แก้ไข้ บารุงเลือดลม
แก้เหงื่อตกหนัก ขับ_______ แก้รอ้ นในกระหายนา้ แก้เหงื่อตกหนัก แก้ไข้ตวั ร้อน แก่น รสหอมเย็นติดร้อน แก้ไข้_______ บารุงหัวใจ
ผลสุก รสหวานฝาด รับประทานกับ__________ แก้ลม แก้ออ่ นเพลีย
บารุงกาลัง แก้ทอ้ งเสีย

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๖ ตีนเป็ ด
ตีนเป็ ดต้น ตีนเป็ ดนา้
(พญาสัตตบรรณ)
เปลือกต้น รสขม แก้____________ สมานลาไส้ เปลือกต้น รสจืดเฝื่ อน แก้__________ แก้ไข้
ใบ รสจืด แก้ไข้หวัด กระพี้ รสเบื่อเมา แก้เกลือ้ น
ดอก รสขมเย็น แก้_____________ ไข้ตวั ร้อน ไข้เหนือ ใบ รสเมาเบื่อ _______________กลาก เกลือ้ น แก้ไข้หวัด
ราก รสร้อนเล็กน้อย ขับผายลม
กระพี้ รสร้อนเล็กน้อย ขับ________________

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๗ ขม

ครอบทัง้ 3 ควินิน ไคร้เครือ


(ต้นซิงโคน่า)
ดีหมี
ครอบจักรวาล (สารเข้าเลือก,ก่องเข้า) ก้าน,ใบและเปลือกต้น รสขมจัด ราก รสขมขื่นปร่า แก้____________ เนือ้ ไม้ รสขม ระงับความร้อน
ครอบตลับ(มะก่องเข้าหลวง) แก้ไข้______________บารุงนา้ ดี เจริญอาหาร ชูกาลัง ดับพิษไข้ แก้ปวดศีรษะ _______
ครอบฟั นสี (ตอบแตบ, โผงผาง) (มะก่องข้าว) แก้รอ้ นใน
ต้น รสขม บารุงโลหิตและขับลม
ใบ รสขมติดรอนเล็กน้อย บ่ม_________________
ดอก รสขม ฟอก______________บ่มหนองแตกเร็ว
ราก รสขม แก้ลม แก้ดี บารุงธาตุ แก้มตุ กิด แก้ไอ
แก้_____________บารุงกาลัง

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๘ เย็นๆ

คราม เฉียงพร้านางแอ ตับใหญ่ ตับเต่าน้อย


ใบ รสเย็น ดับพิษ แก้ไข้ตวั ร้อน เปลือกต้น รสฝาดเย็น เนือ้ ไม้และราก รสฝาดเลี่ยนเย็น รากและต้น รสขมเย็นเอียน ดับพิษไข้ทงั้ ปวง
แก้ปวดศีรษะ ลดความร้อน แก้ไข้ ______________ แก้พิษทัง้ ปวง แก้พิษ_________________ แก้ตวั ร้อน ดับพิษซาง แก้________________
ต้น รสเย็น ฟอกขับปั สสาวะให้ แก้รอ้ นในกระหายนา้
บริสทุ ธิ์ แก้______________ แก้น่ิว
แก้_________________

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๐๙ ชุมเห็ด
ชุมเห็ดไทย ชุมเห็ดเทศ
เมล็ด คั่วให้เกรียม ตาผง _______________________ ใบ รสเบื่อเอียน ตาหรือขยี_้ ________________โรคผิวหนังชนิดมีตวั
รสขมหอมเล็กน้อย บารุงหัวใจให้ช่มุ ชื่น ทาให้นอนหลับ ต้น รสเบื่อเอียน ขับ_________________
แก้กระษัย ขับ____________________ ดอก รสเบื่อเอียน ระบายอ่อนๆ
ใช้ทงั้ 5 รสขมเบื่อ แก้ไข้ ขับ_________________ ต้น ราก ใบ รสเบื่อเอียน แก้กระษัยเส้น แก้ทอ้ งผูก ขับปั สสาวะ

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๐ ตาน

ตานขโมย ตานดา ตานโตนด ตานเสีย้ น


เปลือกต้น รสเบื่อเมา แก้บิดมูกเลือด เนือ้ ไม้และราก รสเมาเอียน งวงตาล รสหวานเย็น แก้พษิ ตานซาง ขับ เปลือกต้นและเนือ้ ไม้ รสเบื่อเมา
เนือ้ ไม้ รสเบื่อเมา แก้พาตานซาง ขับพยาธิ ขับพยาธิไส้เดือน ตัวตืด แก้พษิ ตาน พยาธิ ทาให้ดวงจิตชื่นบาน เล็กน้อย แก้___________________
ไส้เดือน แก้ซางลงท้อง ซาง ผอมแห้ง ___________ทาให้เกิด ก้านตาลและใบสด ลนไฟบิดเอานา้ อุจจาระเป็ นฟองสีเขียว สีขาวเป็ นมูก
ใบ รสเบื่อเมา แก้เม็ดซางขึน้ ปาก ความร้อน รับประทาน รสฝาด แก้บิด แก้ทอ้ งร่วง แก้โลหิต เลือด
ผล รสเบื่อเมา แก้ตานขโมย พุงโร อมแก้_______________ ราก รสจืดเบื่อเล็กน้อย แก้ตานซาง
ราก รสเบื่อเมา ขับพยาธิทกุ ชนิด แก้พิษตาน ราก รสหวานเย็น แก้พษิ ตานซาง ชูกาลัง ขับ กล่อมอาจม ขับพยาธิไส้เดือน
ซาง แก้ทอ้ งร่วง พยาธิ

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


ตานซาง

มักเกิดแก่เด็ก อายุ ๕-๑๓ ปี เกิดจาก กิมิชาติ(พยาธิ) ๘๐ จาพวก


ในปั จจุบนั พบว่ามีท่ีมาจากการขาดสารอาหาร แร่ธาตุวิตามินที่จาเป็ น (Malnutrition) ด้วย
โดยเฉพาะคุณแม่ในยามตัง้ ครรภ์ ที่ขาดสารอาหาร หรือสุขภาพไม่ดี ทาให้ครรภ์ไม่แข็งแรง
ตัง้ แต่อยูใ่ นท้อง เป็ น “ซางกาเนิด”
อาการ คือ มักให้ ท้องเดิน ลงท้อง อุจจาระเหม็นคาว ให้ซูบซีด ผอมแห้ง อ่อนเพลีย พุงโรก้น
ปอด มีเม็ดยอดขึน้ ที่ลนิ ้

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๑ เฝื่ อนๆ แก้คัน

คันทรง คางแดง คว่าตายหงายเป็ น

เปลือกต้นและใบ เปลือกต้น รสฝาดเฝื่ อน ใบ รสเย็นเฝื่ อน


รสฝาดเฝื่ อน แก้ทอ้ งร่วง แก้ตกโลหิต แก้บวม แก้ฝี แก้พยาธิ ตาพอกแก้ปวด แก้อกั เสบ ฟกบวม และถอนพิษ นา้ ที่คนั้
ต้มอาบแก้บวม เนื่องจากโรคไต หัวใจ เปื่ อยเน่า แก้__________บารุงธาตุ จากใบผสม__________ใช้ทาถูนวดแก้_____ แก้ขดั แพลง
พิการ ___________เหน็บชา _____________ แผลเน่าเปื่ อยเรือ้ รัง ทาหัวฝี
ดอก รสหวาน บารุงธาตุ แก้ปวดบาดแผล
แก้พิษฟกบวม แก้________ แก้ตาอักเสบ

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๑ เฝื่ อนๆ แก้คัน

จักรนารายณ์ คงคาเดือด ฆ้องสามย่าน


(หมากเล็กหมากน้อย)

ใบสด รสเย็น ตาผสม_______________ ใบ,เปลือก,ต้น ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตาพอกฝี ถอนพิษ แก้ปวด


ฝี แก้ปวด แก้ฟกบวม ถอนพิษได้ดี รสเย็นเฝื่ อน รับประทานดับพิษร้อน ใบผสม_____________________
แก้อกั เสบทุกชนิด แก้พิษสัตว์กดั ต่อย ต้นเอานา้ อาบ แก้คนั แก้___________ ตาตากแดดให้แห้ง บดเป็ นผง_______________________

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๒ ฆ่าพยาธิ แก้คัน
จามจุรี,ก้ามปู,ฉาฉา ชะมดต้น(ฝ้ ายผี) ตูมกาต้น
เปลือกต้น รสฝาด สมานแผลในปาก ในคอ เหงือกหรือ____ ใบ รสเมาเบื่อ ฆ่าพยาธิผิวหนัง กลาก เกลือ้ น เปลือกต้น รสเมาเบื่อ
แก้รดิ สีดวงทวาร แก้ทอ้ งร่วง ห้ามโลหิตตกใน ดอก รสเมาเบื่อ แก้พยาธิไส้เดือน แก้พิษสัตว์กดั ต่อย พิษงูกดั โดยฝันกับสุรา
เมล็ด รสฝาดเมา แก้กลาก เกลือ้ น และโรคเรือ้ น ต้น รสเมาเบื่อ เกลือ้ นช้าง เกลือ้ นใหญ่ เรือ้ นกวาง เรือ้ นนา้ เต้า ชุบสาลีปิดบาดแผล ผสมราให้มา้ กิน
แก้_______________ ราก รสเมาเบื่อ ฆ่าพยาธิตามขุมขนและรากผม รังแค ________________
ใบ รสเย็น ทาให้เย็นดับพิษ แก้________________ ลูกและใบ ตาพอกฝี เร่งหนองให้แตกเร็ว เมล็ด รสเมา สรรพคุณ รับประทานทาให้
เปลือกต้น รสเมาเบื่อ ตาคัน้ เอานา้ _________________________ ____________ อันตรายถึงตายได้
ใช้ทงั้ 5 รสเมาเบื่อ รักษาฝี ภายใน

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


รสเมาเบือ่

“ใช้พษิ แก้พษิ ”
รสยาของ สิ่งที่มีพิษในตัวเองอันมาแต่พืชมีพิษ สัตว์มีพิษ เช่นงูพิษ หรือแร่ธาตุเป็ นพิษ เช่นสารเคมี
มักใช้ในยาแก้พิษต่างๆ เช่นพิษแมลง แผลถูกสัตว์รา้ ยกัด ขับพยาธิ แก้โรคมะเร็ง แก้ปวดบาดแผล ลด
อาการปวดอวัยวะภายใน เพราะมีฤทธิ์ในการระงับประสาทด้วย
“ห้ามใช้กบั โรค ไอ หัวใจพิการ”

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๓ งิว้ - ระงับปวด

งิว้ งิว้ ป่ า (งิว้ ผา ,นุ่นป่ า)


ใบสด ตาคัน้ __________________ กากพอกแก้ฟกชา้ อักเสบบวม ราก รสเมาเบื่อ บารุงกาลัง ทาให้________________
ดอกแห้ง ตาผสมนา้ ทา_____________ ใบ ตาเป็ นผง ทาภายนอกแก้ฟกชา้ ฝนกับนา้ _______________
ราก รสเบื่อเมา บารุงกาลัง แต่ทาให้_____________ ดอกแห้ง ทายาทาระงับความปวด และแก้พิษไข้ใช้ผสมกับ
ยาง รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง แก้ระดูตกหนัก ____________________ เมล็ดฝิ่ น นา้ นมแพะ และนา้ ตาล แก้_________________
ยาง รสฝาด _____________แก้ระดูขาว

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๔ หัวใจ
ชมพูน่ า้ ดอกไม้ เตยหอม
เนือ้ ในลูก รส__________________________ ใบ รสเย็นหอม บารุงหัวใจ ดับพิษไข้ ชูกาลัง
ปรุงยาหอมชูกาลัง ทาให้ใจคอชุ่มชื่น บารุงหัวใจ รากและต้น รสจืดหอม แก้_________________ขับปั สสาวะ
เหมาะสาหรับเป็ นอาหารแก่คนไข้หนัก

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๕ ดอกไม้
คาฝอย
คาไทย คาฝอยคา ดอกคา
ชบา
คาไทย คาแสด คาเงาะ ดอก รสหอมร้อน บารุงหัวใจ บารุง_____________ ขับระดู รากสด รสร้อนเล็กน้อย
ดอกแห้ง รักษา___________________ ตาพอก_________ฟกบวม
ดอก รสหวาน บารุงโลหิต แก้โรคโลหิตจาง สมาน
แผล แก้บิด แก้________ เกสร รสหวาน บารุงโลหิตและนา้ เหลืองให้เป็ นปกติ รับประทานขับนา้ ย่อยอาหาร เจริญอาหาร
เมล็ด รสร้อนหอม แก้ลม สมานแผล ______ แก้__________________
รก (เนือ้ หุม้ เมล็ด) รสหวาน ระบายท้อง เมล็ด รสหวานร้อน ระบายท้อง ขับเสมหะ แก้โรคผิวหนัง แก้
บวม ขับระดู ป่ นเป็ นยาพอก แก้_______________________
นา้ มันจากเมล็ด รสร้อน แก้โรคขัดข้อ __________ แก้ฝี

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


ฝี

ตุม่ หนองอักเสบสะสมใต้ผิวหนัง หนองมีกลิ่นเหม็น เจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน และก่อตัวขยาย


ใหญ่ขนึ ้ เรื่อย ๆ ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาว เนือ้ เยื่อที่ตายแล้ว และเชือ้ โรค ซึง่ มักเป็ นการ
ติดเชือ้ แบคทีเรีย ฝี สามารถเกิดขึน้ ได้ทกุ ส่วนของร่างกาย ทัง้ อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน

ฝี ทีผ่ ิวหนัง ฝี ทีอ่ วัยวะภายใน

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๖ ยาพิษ ตาเสือ
เปลือกต้น รสฝาด กล่อมเสมหะ และขับโลหิต กล่อมเสมหะ
ตาตุ่ม ใบ รสฝาดเฝื่ อน แก้บวม
ผล รสฝาดเฝื่ อน แก้_________
รักษาให้เสมหะมีปริมาณและความเหนียวเหมาะสม
ต้น รสขมเอียนร้อน ขับผายลม แก้โลหิตพิการ ถ่ายเสมหะ
ใบ รสร้อนเอียน แก้___________
ยาง รสร้อน ถ่ายหนองและลม ถ่ายอุจจาระอย่างแรง
และ________________จนนา้ หมดตัวถึงตาย และเข้าตา
ซาก
อาจบอดได้ ไม้นีร้ ับประทานไม่ได้ เป็ นพาอาจถึงตายได้ ถ้า
จะนาไปปรุงเป็ นยาต้อง________________
ถ่าน รสเมาเบื่อ แก้ไข้พิษเซื่องซึม แก้โรคผิวหนัง

ตาเสือทุง่
เปลือกต้น รสฝาด แก้__________________
ใบ รสขมฝาด แก้อหิวาตกโรค แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน

ริดสีดวงจมูก
เกิดจากการที่เยื่อบุจมูกอักเสบ บวมขึน้ เรือ่ ยๆ มีนา้ คั่ง
กลายเป็ นก้อนในจมูก เหตุผลที่เรียกริดสีดวงจมูกเนื่องจาก
มีลกั ษณะเป็ นก้อนคล้ายริดสีดวงทวารที่ย่ืนออกมาในจมูก
ซึง่ ความจริงก็คือ เนือ้ งอกชนิดไม่รา้ ยแรงในจมูกนั่นเอง
เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล
๑๗ แก้เสมหะ

ชะเอมเทศ(ชะเอมจีน) ช้าพลู (ผักอีไร)


ใบ รสเฝื่ อนหวาน ทาให้เสมหะแห้ง แก้ดีพิการ
ราก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย แก้_______________ขับเสมหะให้ตกทางทวารหนัก
ดอก รสเฝื่ อน แก้คนั แก้_________________
ต้น รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย แก้________________
ต้น รสหวานน้อย ขับลมให้ลงเบือ้ งต่า
ลูก(ดอก) รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย แก้__________________
ราก รสหวาน ขับเลือดเน่า บารุงหัวใจชุ่มชืน้ แก้กาเดา แก้เสมหะ
ใบ รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย ทาให้เสมหะ__________________
เป็ นพิษ แก้_____________ทาให้ช่มุ คอ เปลือกราก ทาให้______

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๘ แค

แคแดง,แคขาว แคแตร แคฝอย


เปลือกต้น รสฝาดจัด แก้ทอ้ งร่วง คุมธาตุ บิดมูกเลือด (แคแกล) (แคขาว)
สมานแผลทัง้ ภายในและภายนอก
ใบ รสจืดมัน แก้ไข้________________ แก้ไข้หวัด ดอก รสหวานเย็น ขับเสมหะและโลหิต ขับผายลม เนือ้ ไม้และเปลือกต้น รสฝาดเฝื่ อนหวาน
เปลือกต้นแคป่ า รสฝาด ต้มเอานา้ ชะล้างบาทดแผลให้ ราก รสหวานเย็น ขับเสมหะ แก้ลม แก้ทอ้ งร่วง แก้บวม แก้ตกโลหิต แก้______ แก้ฝี___________
แผลหายเร็ว

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๑๙ แก้ทอ้ งร่วง
ชา หรือ เมีย่ ง ตะโกสวน ตะโกนา ทับทิม
(ตะโกไทย) (พญาช้างดา) (แดง,ขาว)
ต้น ราก รสเบื่อเมา ขับพยาธิตวั ตืด และพยาธิ
ไส้เดือน
ใบ รสฝาด แก้เด็กท้องร่วง บิดมูกเลือด
เปลือกลูก รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง บิด ปิ ดธาตุ
ใบ รสฝาด รม________ชงแก่ ๆ รับประทาน ฝนกับนา้ ______ ทาแก้_________ เน่าเปื่ อย
แก้พิษของยาอันตราย สมานแผล กากใบชา เปลือกต้นและลูกอ่อน ทับทิมทัง้ 5 แก้ทอ้ งเสีย บิด มูกเลือด
ผล รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง ตกโลหิต แก้มวนท้อง ขับพยาธิ
ใช้โขลกหิดพอกแผลถูกไฟ ถูกนา้ ร้อนลวก รสฝาด
แก้กระษัย แก้____________
บางตาราว่า รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง แก้รอ้ นใน แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน แก้บิด
เปลือกลูก เผาเป็ น___________________ขับระดูขาว
กระหายนา้ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย บารุง สมานแผล
ขับปั สสาวะ
หัวใจให้ช่มุ ชื่น เปลือกต้นและเนือ้ ไม้ รสฝาดติดขม บารุงธาตุ บารุง
ซัด กาลัง บารุง________ แก้___________
เปลือกต้น เผาเป็ น_______________ขับ__________
เมล็ด(ลูก) รสฝาด ขับปั สสาวะ ต้มกับ_________________แก้ปวดฟั น เป็ น
แก้ทอ้ งร่วง ยาอายุวฒ ั นะ
กล่อม______________

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


โรคบิด (Dysentery) คืออาการท้องเสียอย่างรุนแรงที่เกิดขึน้ จากเชือ้ แบคทีเรียชิเกลลา
๒๐ ตะขบ *ผล หวาน กินได้ บารุงกาลัง” (Shigella) หรือเกิดจากติดเชือ้ จากสัตว์เซลล์เดียวอย่างตัวอะมีบา (E. histolytica)
โดยอาการหลัก ๆ ของโรคบิดที่พบได้แก่ อาการท้องเสีย ถ่ายอุจจาระบ่อย เมื่อถ่ายอุจจาระจะมี
มูกหรือมูกเลือดออกมาด้วย มากจากการติดเชือ้ และปวดท้องเป็ นพักๆ
ตะขบไทย
เนือ้ ไม้ รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง แก้บิดมูกเลือด ตะขบป่ า
ราก รสฝาด กล่อมเสมหะ และอาจม
ใบ รสฝาดเอียน _______________ ตะขบฝรั่ง เนือ้ ไม้ รสเบื่อเอียน ขับพยาธิไส้เดือน
แก้___________ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน ประดง

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๒๑ ยาระบาย
คูน
(ชัยพฤกษ์,ราชพฤกษ์) ชะมวง (ส้มมวง) ตองแตก (ทนดี)

เนือ้ ในฝั ก รสหวานเอียน ระบายท้อง ช่วยบรรเทา__________


ฟกชา้ แก้_____________________
ดอก รสขมเปรีย้ ว แก้ไข้ เป็ นยาระบาย
เปลือกและใบ รสฝาดเมา บดผสมทา_____________________
ใบ รสเมา ระบายท้อง แก้พยาธิผิวหนัง
ราก รสเมา ฝนทารักษา_________ และเป็ นยาระบายท้อง
แก้คดุ ทะราด
แก่น นักไสยศาสตร์ใช้ทาปลัดขิกลงยันต์ผกู เอวเด็ก
เพื่อให้ปีศาจไม่รบกวนเด็ก ใบ ผล รสเปรีย้ ว ระบายท้อง แก้ไข้ ราก รสจืดเฝื่ อนขมน้อย
เปลือกต้น รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง สมานแผล กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการ ระบายอ่อนๆ ถ่ายลมถ่ายเสมหะ ไม่________
เปลือกเม็ดและเปลือกฝั ก รสเมาเบื่อ ____________________ ราก รสเปรีย้ ว แก้_____________ ใบและเมล็ด รสเบื่อขมน้อย
ทาให้อาเจียน ถ่ายพยาธิ แก้ฟกบวม แก้ดีซา่ น แก้________
กระพี้ รสเมา แก้________________
เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล
๒๒ ยาขับลม
ตะไคร้ต้น ตะไคร้หอม
ชะอม
ราก รสร้อนเล็กน้อย
(ตะไคร้บก)
แก้ทอ้ งขึน้ อึกเฟ้อ ขับลมในลาไส้ แก้_________________ ราก รสปร่า ขับลมในลาไส้ ดับกลิ่นคาว
(มดลูกอักเสบ) ขับผายลม ทาให้เรอ แก้_______________ ตะไคร้บ้าน

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๒๓ แก้ปัสสาวะพิการ
ช้างงาเดียว ตะไคร้นา้ ต่อไส้
ราก รสขื่น แก้พิษฝี ภายใน แก้__________ ราก รสจืด แก้กระษัย แก้ปัสสาวะ ราก รสจืดเอียน ขับปั สสาวะ บารุงเส้นเอ็น
แก้ปัสสาวะพิการ แก้ไตพิการ พิการ แก้___________________ ใบอ่อน ตาผสมดินสอพอง_____________
แก้หวัดคัดจมูก

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


โรคกษัย

"กษัย" คือความเสื่อม โดย พิษของโรคจะค่อยๆทาลายสุขภาพร่างกายให้เสื่อมโทรมไป


ทีละน้อยๆ เป็ นเวลาต่อเนื่องกันยาวนาน
จากการใช้รา่ งกายทางานหนักมานาน และอาจมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่สมดุล

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


๒๔ ถั่วแระ

ถั่วแระต้น
เมล็ด รสมัน บารุงเส้นเอ็น ทาให้เกิดความอบอุน่ ถั่วแระผี
ราก รสจืด ขับปั สสาวะ แก้นา้ ___________
__________คล้ายขมิน้ และ ปั สสาวะน้อย ราก รสจืดขื่นๆ ____________________ กระตุน้ เตือนไตให้ทางาน

เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล


วินิจฉัยเบือ้ งต้น
Who ใคร เพศ อายุ พืน้ ฐานเกีย่ วกับร่างกาย

What เป็ นอะไรมา อาการสาคัญ มีอาการร่วมหรือไม่ หนัก-เบาแค่ไหน

When เป็ นเมือ่ ไหร่ ลาดับอาการ เวลาการเกิดขึน้ ก่อนหลัง ระยะเวลาทีเ่ ป็ น


(Timeline)

Where เป็ นทีไ่ หน อาจหมายถึงอวัยวะส่วนใด ต้องสืบหาสมุฏฐานของโรค

Why ทาไมถึงเกิดอาการนี้ เนื่องด้วยโรคธาตุ อุบตั เิ หตุ หรือโรคประจาตัว

How อาการมาได้อย่างไร ทีม่ าทีไ่ ปรวมถึงบุคคลรอบข้าง หรือกรรมพันธุ ์


เอกสารใช้ประกอบในการสร้างความเข้าใจเรือ่ งสมุนไพรไทย มิได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เรียบเรียงโดย พท. หฤทัย เตชะวชิรกุล

You might also like