Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

1

บทที่ ๒
วิชาการกิจการพลเรือน
ตอนที่ ๒ ขอบเขตการดาเนินงาน
งานในหน้ าทีข่ องฝ่ ายกิจการพลเรือน
๑) การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน

๒) การปฏิบตั ิการจิตวิทยา

๓) การประชาสัมพันธ์

๔) การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง

๑ การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
๑. ๑ กล่ าวทั่วไป

ก. การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน เป็ นแขนงงานหลักที่สาคัญประการหนึ่ง ในการที่จะทาให้บรรลุ


วัตถุประสงค์ของงานกิจการพลเรื อนของหน่วยตามที่ตอ้ งการ ทั้งนี้ เนื่องจากความเกี่ยวข้องหรื อความสัมพันธ์กบั
เจ้าหน้าที่ส่วนราชการพลเรื อน ประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบนั้น จะมีผลกระทบกระเทือนต่อการ
ปฏิบตั ิการทางทหารเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนของเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิ

ข. ในยามสงคราม หรื อในยุทธบริ เวณที่มีการรบเกิดขึ้น ประชาชนในพื้นที่การรบจะเป็ นปัญหาที่มี


ความสาคัญยิ่ง โดยที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารจะต้องคานึงถึงการอพยพประชาชนเป็ นจานวนมากภายในพื้นที่การรบ ซึ่ ง
จะก่อให้เกิดปัญหาและกระทบต่อการปฏิบตั ิการทางยุทธวิธี รวมทั้งในการเคลื่อนย้ายหน่วยในการส่ งกาลังบารุ ง
ให้กบั หน่วยในพื้นที่การรบ ฯลฯ การปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าทื่ฝ่ายพลเรื อนที่ขาดประสิ ทธิ ภาพในภาวะสงครามจะ
ก่อให้เกิดสภาพปัญหาในด้านการควบคุมความสงบเรี ยบร้อย และความเป็ นระเบียบของประชาชนภายในพื้นที่ ทั้ง
ในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา ซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิการทางทหารเป็ นอย่างมาก การ
ปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนของฝ่ ายทหารที่มีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์จะช่วยแบ่งเบา
ภาระของผูบ้ งั คับบัญชาต่อปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
ค. ในการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนของฝ่ ายทหารนั้น รู ปแบบ และลักษณะของการปฏิบตั ิการจะต้องคานึง
และพิจารณาถึง คาสัง่ /นโยบายจากหน่วยเหนือ เช่น สอดคล้องกับนโยบายด้านเมือง และการต่างประเทศของ
รัฐบาลของประเทศที่ให้พยายามเป็ นมิตรกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อมุ่งสู่วตั ถุประสงค์ของชาติในด้านเศรษฐกิจ
อานาจหน้าที่ตามกฎหมายที่ได้รับมอบ เช่น พ .ร.บ.จัดระเบียบข้าราชการกระทรวงกลาโหม ฉบับที่ ๓ พ .ศ.๒๕๑๙
ระบุให้กาลังทหารทาการช่วยเหลือในการพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือในการปราบปรามการจลาจล ฯลฯ เพื่อรักษา
ผลประโยชน์ของชาติตามที่กฎหมายกาหนด สถานการณ์ทางทหารในขณะนั้น มีความผันแปรมากน้อยเพียงใดและ
2

จะถูกกระทบกระเทือนจากสภาวะแวดล้อมของประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่การรบนั้นหรื อไม่เพียงใด


นอกจากนี้ลกั ษณะพื้นที่ปฏิบตั ิการทางด้านกิจการพลเรื อนที่เป็ นอยู่ ก็จะเป็ นปัจจัยที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ผปู ้ ฏิบตั ิ
จะต้องพิจารณาคานึงถึง ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะเป็ นตัวกาหนดลาดับความเร่ งด่วน และลักษณะของการปฏิบตั ิการ
กิจการพลเรื อนว่าจะกระทาในลักษณะใด เข็มงวดกวดขันมากน้อยเพียงใด จะกระทาอะไรก่อนหลัง
๑.๒ ความหมายของการปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือน

ก. การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน หมายถึง การดาเนินการทั้งปวงของหน่วยทหารที่เกี่ยวข้องหรื อ


กระทบกระเทือนต่อส่ วนราชการพลเรื อน ประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งในยามปกติและในยาม
สงคราม เพื่อให้บรรลุภารกิจของหน่วยตามต้องการ

ข. ความเกี่ยวข้องกับส่ วนราชการพลเรื อน จะเกี่ยวข้องในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น เกี่ยวข้องในลักษณะ


ของการติดต่อประสานงาน เกี่ยวข้องในลักษณะของการช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่วน
ราชการพลเรื อนในพื้นที่รับผิดชอบ เกี่ยวข้องในลักษณะของการเข้าไปทาหน้าที่แทนในบางส่ วนหรื อทั้งหมด ตาม
ความจาเป็ น โดยพิจารณาจากสถานการณ์ที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้นว่าเป็ นอย่างไร
ค. ความเกี่ยวข้องกับประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบ มุ่งกระทาเพื่อใช้ประโยชน์จากประชาชน
และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบ ให้เป็ นประโยชน์ในการสนับสนุนการปฏิบตั ิการทางทหาร ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม
๑.๓ วัตถุประสงค์ ของการปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือน กระทาเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของงานกิจการ
พลเรื อนของหน่วย คือ การส่ งเสริ มและสนับสนุนการบรรลุภารกิจทางยุทธวิธีของหน่วยด้วยการปฏิบตั ิงานหลักๆ
ดังต่อไปนี้

ก. การส่ งเสริ มและสนับสนุนการปฏิบตั ิของส่ วนราชการพลเรื อน กระทาเพื่อประกันความต่อเนื่องในการ


บริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อให้เกิดความมัน่ คงขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบตาม พ.ร.บ. จัดระเบียบข้าราชการ
กระทรวงกลาโหม ฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๑๙ ซึ่ งระบุให้กาลังทหาร ทาการช่วยเหลือในการพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือใน
การปราบปรามการจลาจล และอื่นๆ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติตามที่กฎหมายกาหนด
ข. การดาเนินการต่อประชาชนและทรัพยากรในพื้นที่
ค. เพื่อลดการกีดขวางการปฏิบตั ิการทางยุทธการ และเพื่อบรรเทาความสูญเสี ย หรื อความเสี ยหายอันอาจเกิด
จากการสูร้ บ
ง. การดาเนินการเพื่อประกันว่า การปฏิบตั ิการของหน่วยสอดคล้องกับนโยบายทางการเมืองของประเทศ และ
เป็ นไปตามพันธะทางกฎหมาย /ข้อตกลงต่างๆ เช่น อนุสญ ั ญาเจนีวา กาหนดการปฏิบตั ิต่อพลเรื อนในพื้นที่การรบ
ห้ามไม่ให้มีการทารุ ณประชาชนพลเรื อนในพื้นที่การรบ อนุสญ ั ญาเกี่ยวกับการคุม้ ครองสถานที่สาคัญทาง
วัฒนธรรม และทางศาสนา ไม่ให้ถกู ทาลายจากการสูร้ บ
๑.๔ การจัดกลุ่ม/พวกของงานในการปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือน

ก. การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน เป็ นการปฏิบตั ิของหน่วยทหารที่เกี่ยวข้องกับส่ วนราชการพลเรื อน


ประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งในยามปกติและยามสงคราม โดยมีความมุ่งหมายหรื อวัตถุประสงค์
เพื่อสนับสนุนงานกิจการพลเรื อนของหน่วยให้ลุล่วงตามแผนที่วางไว้ ในยามปกติจะมุ่งเน้นการปฏิบตั ิในการ
เสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ประชาชน เพื่อให้ประชาชนเกิดความรักใคร่ ศรัทธา และให้ความร่ วมมือกับฝ่ าย
3

ทหาร ในยามสงครามจะมุ่งเน้นการควบคุมประชาชน เพื่อมิให้กีดขวางการปฏิบตั ิการทางทหาร การสนับสนุนใน


การปกครองดินแดนที่เข้ายึดครอง
ข. ในการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน เพื่อความสะดวกในการกาหนดนโยบายและการควบคุมการปฏิบตั ิ
ตลอดจนจัดทาบันทึกทางเอกสาร กองทัพบกจึงได้กาหนดกลุ่มหรื อพวกของงานการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน
ออกเป็ น ๓ กลุ่ม /พวก คือ งานทางด้านการปกครอง งานทางเศรษฐกิจ และงานทางด้านสังคมจิตวิทยา ซึ่ งปกติงาน
ต่างๆ เหล่านี้เป็ นงานในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ส่วนราชการพลเรื อน
นัน่ เอง ความเกี่ยวข้องของฝ่ ายทหารที่เข้าไปเกี่ยวข้องจะกระทาตามความจาเป็ นของสถานการณ์ที่เป็ นอยู่
๑.๕ การปกครอง

ก. การปกครอง หมายถึง กิจกรรมหรื อขบวนการควบคุมผูอ้ ื่น บังคับให้ผอู ้ ื่นกระทาตามวิถีทางที่กาหนดให้


งานที่เกี่ยวข้องกับการปกครองอาจแบ่งเป็ น ๓ งานหลักๆ ได้แก่ การรักษาความสงบเรี ยบร้อย การ
รักษาความยุติธรรม และการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน ซึ่ งกระทาเพื่อจุดมุ่งหมายให้ผถู ้ กู ปกครองได้มีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินตามสิ ทธิ มนุษยชนที่พึงมีพึงได้
ข. การรักษาความสงบเรี ยบร้อย เป็ นการดาเนินการทั้งปวงในการควบคุมความสงบเรี ยบร้อยในพื้นที่ เช่น
การปราบปรามโจรผูร้ ้าย อาชญากรรมต่างๆ การป้ องกันและปราบปรามการแทรกซึ มบ่อนทาลายของฝ่ ายตรงข้าม
การควบคุมผูอ้ พยพ ผูล้ ้ ีภยั และชนกลุ่มน้อยภายในประเทศ ตามปกติการรักษาความสงบเรี ยบร้อยเป็ นภาระหน้าที่
และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และเจ้าหน้าที่ตารวจซึ่ งประจาอยูใ่ นพื้นที่
ค. การรักษาความยุติธรรม เป็ นการดาเนินการด้านการศาล ทั้งศาลพลเรื อนและ /หรื อศาลทหาร ซึ่ งจัดให้มีข้ ึน
เพื่อทาหน้าที่พิจารณาคดีที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ ตลอดจนกระบวนการสื บสวนสอบสวน การจับกุม การพิจารณาคดี
จนถึงการควบคุมการลงโทษ ทั้งนี้ การกระทาความผิดอาจเป็ นคู่คดีกนั ระหว่างพลเรื อนกับพลเรื อน พลเรื อนกับ
ทหาร และทหารกับทหาร
ง. การป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน เป็ นการดาเนินการเพื่อป้ องกันและบรรเทาอันตราย หรื อลดความเสี ยหายอัน
เกิดจากภัยสาธารณ การโจมตีทางอากาศ การก่อวินาศกรรม และหมายรวมถึงการ
อพยพประชาชน และส่ วนราชการพลเรื อนให้พน้ จากภัยพิบตั ิดงั กล่าว การป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อนมีกฎหมายกาหนด
ไว้อย่างแน่ชดั เกี่ยวกับ การจัดหน่วย เช่น กองป้ องกันฝ่ ายพลเรื อน และกองอานวยการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน และ
เจ้าหน้าที่ผรู ้ ับผิดชอบ เช่น ผูอ้ านวยการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อนจังหวัด/อาเภอ
จ. ความเกี่ยวข้อง /บทบาทของฝ่ ายทหารที่ควรปฏิบตั ิ เกี่ยวกับงานทางด้านการปกครองนั้น น่าจะ
พิจารณาพื้นที่ปฏิบตั ิการออกเป็ น ๒ พื้นที่ คือ พื้นที่ภายในประเทศ และพื้นที่ที่ฝ่ายทหารเข้า
ยึดครอง

๑) ตามปกติในพื้นที่ประเทศของเรา ฝ่ ายทหารจะไม่เข้าไปยุง่ เกี่ยวกับงานด้านการปกครอง


เนื่องจากมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของส่ วนราชการพลเรื อนเป็ นผูร้ ับผิดชอบโดยตรงอยูแ่ ล้ว บทบาทของฝ่ ายทหารจะ
เป็ นเพียงการประสานงาน และการให้การช่วยเหลือสนับสนุนฝ่ ายพลเรื อนตามที่ได้รับการร้องขอ สาหรับในกรณี
จาเป็ นที่ฝ่ายทหารต้องการหวังผลในการรบ หรื อการปราบปรามขั้นเด็ดขาดซึ่ งเกินขีดความสามารถของฝ่ ายพล
เรื อนที่จะป้ องกันรักษาความสงบเรี ยบร้อยภายในพื้นที่น้ นั ไว้ได้ ฝ่ ายทหารจึงจะเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างเต็มที่ เพื่อมิให้
เป็ นอันตรายต่อความมัน่ คงของชาติ เช่น ในยามสงคราม ในการปราบปรามผูก้ ่อการร้าย หรื อผูก้ ่อความไม่สงบ
4

๒) ในพื้นที่ที่ฝ่ายเราเข้าไปยึดครอง ฝ่ ายทหารจะเข้าควบคุมอานาจการปกครองทั้งปวง เพื่อมิให้ประชาชน


ในพื้นที่ขดั ขวางการปฏิบตั ิการทางทหาร และการใช้อานาจปกครองนั้นจะต้องสอดคล้องกับนโยบายของชาติดว้ ย
ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักการปฏิบตั ิที่สาคัญที่ฝ่ายทหารมีความสัมพันธ์กบั เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรื อนและประชาชนในพื้นที่
๓ ประการ คือ
ก) หลักมนุษยธรรม เพ่งเล็งต่อประชาชนที่กาลังได้รับความทุกข์ยากจากการรบอย่างแสน
สาหัส เปรี ยบเทียบกับความจาเป็ นทางทหารในขณะนั้น ซึ่ งผูบ้ งั คับบัญชาหน่วยทหารต้องพิจารณาว่าจะช่วยเหลือ
ในชั้นต้นหรื อไม่ มากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ตาม การช่วยเหลือนั้นต้องไม่ทาให้ภารกิจล้มเหลวลงไป
ข) หลักประโยชน์ของผูถ้ กู ปกครอง หากไม่มีความจาเป็ นทางทหารแล้ว จะต้องไม่รบกวน
ผลประโยชน์และความสงบสุ ขของประชาชน และทรัพยากร

ค) หลักการรับรู ้ในสิ ทธิ ซ่ ึ งกันและกัน ฝ่ ายทหารมีสิทธิ จะเรี ยกร้องหรื อบังคับให้ผทู ้ ี่อยูใ่ น


พื้นที่ยึดครองรับฟังและปฏิบตั ิตามเท่าที่จาเป็ น แต่เพื่อตอบแทนการเชื่อฟัง ผูถ้ กู ปกครองจึงควรมีสิทธิ เสรี ภาพส่ วน
บุคคล และกรรมสิ ทธิ ในทรัพย์สินโดยปราศจากการรบกวนใดๆ โดยไม่จาเป็ น

๑.๖ การเศรษฐกิจ

ก. งานที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ หมายถึง บรรดาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางเศรษฐกิจโดยทัว่ ๆ ไป


ของพื้นที่ ซึ่ งพอจะแบ่งออกเป็ นงานย่อยๆ คือ การส่ งกาลังพลเรื อน การคลัง การพัฒนาชุมชนและส่ งเสริ มอาชีพ
การเศรษฐกิจ และการค้า
ข. การส่ งกาลังพลเรื อน หมายถึง การให้การสนับสนุนสิ่ งอุปกรณ์ของฝ่ ายทหารให้กบั ประชาชนในพื้นที่
รับผิดชอบที่กาลังขาดแคลนสิ่ งจาเป็ นในการดารงชีพ รวมถึงการระดมสรรพกาลัง การใช้ทรัพยากรในพื้นที่มา
สนับสนุนกิจการทางทหารภายในกรอบนโยบายของชาติ จารี ต ประเพณี และกฎหมายระหว่างประเทศ และเป็ นการ
เพิ่มเติมความต้องการของประชาชนด้วยทรัพยากรภายในพื้นที่น้ นั เองด้วย สธ .๕ จะต้องประสานงานอย่างใกล้ชิด
กับ สธ.๔ เกี่ยวกับการจัดหาสิ่ งอุปกรณ์ในท้องถิ่น โดยจะต้องพย ายามหลีกเลี่ยงการจัดหาสิ่ งอุปกรณ์ที่ประชาชนมี
ความจาเป็ นต้องใช้ นอกจากนี้ สธ .๕ ยังมีความรับผิดชอบในการกากับดูแลทางฝ่ ายอานวยการต่อชุดการในหน้าที่
ในการกาหนดระบบ/วิธีการแจกจ่ายอาหารและสิ่ งอุปกรณ์เท่าที่หามาได้จากแหล่งทรัพยากรในพื้นที่
ง. การคลัง หมายถึง กิจกรรมด้านการเงิน การธนาคารภายในพื้นที่ การในหน้าที่ ได้แก่ การควบคุม การกากับ
ดูแล และการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินทางการเงินของรัฐ การควบคุมงบประมาณ การจ่ายเงินของรัฐ จานวน
ธนบัตรที่นาออกใช้ สถาบันทางการเงินและการธนาคารในพื้นที่ การเก็บภาษีอากร อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
จ. การพัฒนาชุมชนและการส่ งเสริ มอาชีพ หมายถึง กิจกรรมและโครงการต่างๆ ที่กระทาเพื่อส่ งเสริ มให้
ประชาชนอยูด่ ีกินดี มีผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อลดขจัดความจาเป็ นที่จะต้องจัดหา
ผลผลิตมาจากแหล่งอื่นๆ
ฉ. การเศรษฐกิจและการค้า ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ ายทหาร คือ การควบคุมราคาสิ นค้า การปันส่ วนสิ นค้า
อุปโภคบริ โภคในสภาวะที่เกิดการขาดแคลน และการจาหน่ายให้เหมาะสมกับสภาพของเศรษฐกิจในท้องถิ่น การ
ควบคุมไม่ให้เกิดระบบตลาดมื ด การควบคุมสิ นค้ายุทธปัจจัย การฟื้ นฟูบูรณะสภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ และ
สนับสนุนส่ งเสริ มการผลิตเครื่ องอุปโภคบริ โภคให้พอเพียงกับความต้องการของประชาชนเพื่อการดารงชีพ
ช. เมื่อสถานการณ์จาเป็ นที่ฝ่ายทหารจะต้องเข้าไปรับผิดชอบพื้นที่ ก็จะต้องเกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจใน
พื้นที่รับผิดชอบด้วย โดยการควบคุมไม่ให้มีการกักตุนสิ นค้าเครื่ องอุปโภคบริ โภค การควบคุมมิให้มีการค้าตลอด
5

มืด การควบคุมสิ นค้ายุทธปัจจัย ตลอดจนส่ งเสริ มสนับสนุนในการผลิตเครื่ องอุปโภคบริ โภคให้เพียงพอกับความ


ต้องการของประชาชนในพื้นที่
๑.๗ สั งคมจิตวิทยา

ก. งานทางด้านสังคมจิตวิทยา คือ บรรดาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และ


วัฒนธรรมในท้องถิ่น การให้การบริ การแก่ประชาชนโดยหน่วยงานของรัฐ เช่น การให้การศึกษา สาธารณสุ ข ระบบ
สาธารณูปการต่างๆ ที่รัฐให้กบั ประชาชน เช่น ไฟฟ้ า ประปา ขนส่ ง สื่ อสาร ฯลฯ การส่ งเสริ มให้รักษาเอกลักษณ์
ศิลปวัฒนธรรม และค่านิยมต่างๆ ในท้องถิ่น
ข. บทบาทและความเกี่ยวข้องของฝ่ ายทหารกับงานด้านสังคมจิตวิทยานั้น ฝ่ ายทหารจะให้การสนับสนุนใน
ขีดความสามารถที่จะกระทาได้ เพื่อป้ องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่อนั เนื่องมาจากการสู ้
รบ ทั้งในยามภาวะไม่ปกติ หรื อยามสงคราม ซึ่ งจะทาให้ระบบสาธารณูปโภคและบริ การต่างๆ ที่รัฐให้กบั
ประชาชนหยุดชะงักหรื อลดประสิ ทธิ ผลลง ทาให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในด้านความเป็ นอยู่ รวมทั้งขวัญ
กาลังใจก็จะเสื่ อมโทรมลง ฝ่ ายทหารจึงต้องเข้าไปควบคุมและกาหนดมาตรการป้ องกันความเสี ยหายร่ วมกับฝ่ ายพล
เรื อน และให้การสนับสนุนโดยไม่กระทบต่อภารกิจหลักของหน่วย เช่น การสนับสนุนอุปกรณ์การศึกษา การ
ช่วยเหลือซ่อมแซมบูรณะที่อยูอ่ าศัยของประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนเสี ยหายจากการสูร้ บ ฯลฯ
๑.๘ ขอบเขตในการดาเนินงานการปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรือน

ก. ขอบเขตในการดาเนินงานการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน ครอบคลุมถึงการปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้องกับการ


ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยาในพื้นที่รับผิดชอบนั้น ผูท้ ี่รับผิดชอบหลักในการปฏิบตั ิ คือ นายทหารกิจการ
พลเรื อนของหน่วยหรื อ สธ.๕ ซึ่ งเป็ นฝ่ ายอานวยการคนสาคัญคนหนึ่งของผูบ้ งั คับบัญชาที่ดาเนินการเกี่ยวกับ
เรื่ องราวทั้งปวง อันเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของหน่วยกับส่ วนราชการพลเรื อน และประชาชนในพื้นที่ปฏิบตั ิการของ
หน่วย วัตถุประสงค์หลักที่สาคัญของการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน คือ การบรรลุผลของงานตามแผนกิจการพล
เรื อนที่วางไว้ นัน่ คือ บรรลุความสาเร็ จในภารกิจของหน่วยนัน่ เอง
ข. งานหลักๆ ที่จะต้องกระทาในการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน ได้แก่

๑) การส่ งเสริ มและสนับสนุนการปฏิบตั ิการทางทหาร

๒) การควบคุมและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพลเรื อนในท้องถิ่น

๓) การปกครองดินแดนที่ได้จากการยึดครอง

๔) การส่ งเสริ มและสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการพลเรื อน

๕) การสนับสนุนการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน

๖) การเสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชน

๗) การพัฒนาพลังประชาชน

ค. ผูบ้ งั คับหน่วยสามารถใช้ประโยชน์จากการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนในหลายลักษณะ ได้แก่


๑) สนับสนุนโดยตรงต่อการปฏิบตั ิการของหน่วยทั้งในทางยุทธวิธีและการช่วยรบ
6

๒) แบ่งเบาภาระของผูบ้ งั คับบัญชาในเรื่ องที่เกี่ยวกับประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่

๓) สนับสนุนการปกครองดินแดนที่ยึดได้โดยรัฐบาลทหารในพื้นที่รับผิดชอบ

๔) สนับสนุนการพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง และพื้นที่เขตหลัง

๕) สนับสนุนส่ วนราชการพลเรื อน และช่วยเหลือประชาชน ตามนโยบายของหน่วยเหนือในยาม


ปกติ หรื อ ณ ที่ต้ งั ปัจจุบนั
๖) สนับสนุนการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อนในยามปกติ

๗) สนับสนุนการป้ องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ

๘) สนับสนุนการพัฒนาพลังประชาชน

โดยสรุ ปแล้วการปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน เป็ นการสนับสนุนโดยตรงต่อการปฏิบตั ิการทางทหารของ


หน่วย และทาให้แบ่งเบาภาระของผูบ้ งั คับบัญชาในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน และทรัพยากรในพื้นที่รับผิดชอบ

๑.๙. การส่ งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัตกิ ารทางทหาร

ก. การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อน ที่กระทาเพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนการปฏิบตั ิการทางทหารโดยตรงนั้น จะ


มีบทบาทสาคัญในการลดภาระของหน่วยที่จะต้องประสบปัญหากับประชาชนในพื้นที่การรบ และใช้ประโยชน์จาก
ประชาชนในการสนับสนุนการปฏิบตั ิการทางทหารนัน่ เอง งานหลักๆ ที่กระทาเพื่อส่ งเสริ มและสนับการปฏิบตั ิการ
ทางทหารประกอบด้วย การป้ องกันการกีดขวางการยุทธ์ และการพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง/เขตหลัง
ข. การป้ องกันการกีดขวางการยุทธ์ กระทาเพื่อให้หน่วยที่เข้าปฏิบตั ิการรบมีความสะดวกในการดาเนินกลยุทธ์
และมีพ้ืนที่อย่างเพียงพอที่จะสามารถเคลื่อนย้ายกาลังจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้
อย่างคล่องแคล่วและรวดเร็ ว โดยไม่หยุดชะงักหรื อต้องช้าลงเนื่องจากประสบกับการกีดขวางจากประชาชนในพื้นที่
การรบ การดาเนินการต่างๆ เพื่อควบคุมประชาชนในพื้นที่ เช่น การกาหนดเขตหวงห้าม การกาหนดเส้นทางห้ามใช้
หรื อใช้ได้เฉพาะช่วงเวลา การอพยพประชาชนออกจากพื้นที่ที่มีความจาเป็ นเพื่อมิให้เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิการ
ทางทหาร

ค. การพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง/เขตหลัง เป็ นการดาเนินงานทั้งปวงเพื่อให้งานด้านการสนับสนุนการรบและการ


ช่วยรบของหน่วยกระทาได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยการต่อต้านการคุกคามหรื อลดความเสี ยหายที่จะเกิดกับที่ต้ งั ทางการ
ช่วยรบที่อยูใ่ นพื้นที่ส่วนหลัง /เขตหลัง การปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนเพื่อสนับสนุนการพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง /เขต
หลัง กระทาด้วยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ส่วนราชการพลเรื อน เพื่อใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากเจ้าหน้าที่ส่วน
ราชการพลเรื อนและประชาชนในการพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง /เขตหลังของฝ่ ายทหาร ประสานการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่
ส่ วนราชการพลเรื อนและประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพิทกั ษ์
พื้นที่ส่วนหลัง /เขตหลัง เช่น การดับเพลิง การล้างพิษจากอาวุธเคมี /ชีวะ การจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถาน
ที่ต้ งั และเส้นทางส่ งกาลัง การเตือนภัย การจราจร การเคลื่อนย้ายบุคคลพลเรื อน การกูภ้ ยั และการรักษาความสงบ
เรี ยบร้อยภายในพื้นที่ ฯลฯ
ง. หลักสาคัญที่ควรยึดถือ ก็คือ การประสานงานอย่างใกล้ชิด และต่อเนื่องกับเจ้าหน้าที่ส่วนราชการพลเรื อน
ในการที่จะทาให้แผนการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อนกับแผนพิทกั ษ์พ้ืนที่ส่วนหลัง /เขตหลังมีความสอดคล้องและเสริ ม
7

จุดอ่อนซึ่ งกันและกัน ซึ่ งจะทาให้สามารถแสวงประโยชน์ร่วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งควร


จะต้องมีการซักซ้อมแผนการปฏิบตั ิร่วมกันอยูเ่ สมอ
๑.๑๐. การควบคุมและใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรในพืน้ ที่

ก. ทรัพยากรในท้องถิ่น หมายถึง ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นพื้นที่ที่ฝ่ายทหารจะเข้าไปปฏิบตั ิการ เช่น โรงงาน


อุตสาหกรรม ยานพาหนะ เครื่ องมือสื่ อสาร สนามบิน ท่าเรื อ อ่างเก็บน้ า เขื่อน โรงกลัน่ น้ ามัน โรงไฟฟ้ า แหล่งผลิต
อาหาร สาธารณูปกรณ์ ถนน สะพาน อาคาร สถานีรถไฟ โรงพยาบาล โรงพิมพ์ แรงงาน สิ่ งอุปกรณ์ที่เป็ นยุทธปัจจัย
ฯลฯ
ข. ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิ่นนั้น สธ.๕ ของหน่วยต้องประสานงานกับผูท้ ี่
เกี่ยวข้อง เพื่อจัดเตรี ยมข้อมูลทรัพยากรที่มีอยูใ่ นพื้นที่ให้มีขอบเขตครอบคลุมความต้องการตามภารกิจของหน่วย
เช่น ประสานกับ สธ.๔ เกี่ยวกับการใช้แรงงานภายในท้องถิ่นมาสนับสนุนงานด้านการช่วยรบในพื้นที่ส่วนหลัง /เขต
หลัง การจัดซื้ อจัดหาสิ่ งอุปกรณ์ /สิ นค้าที่จาเป็ นทางทหารจากในพื้นที่ ประสานงานกับ สธ.๑ เกี่ยวกับอัตราค่าจ้าง
และการทาสัญญาจ้าง ประสานงานกับ สธ.๒/สธ.๓ และเจ้าหน้าที่ส่วนราชการพลเรื อนในท้องถิ่นเพื่อกาหนด
มาตรการคุม้ ครองป้ องกันและการนามาใช้ประโยชน์แก่กิจการทหาร ตลอดจนการพิทกั ษ์รักษาไว้มิให้ฝ่ายตรงข้าม
ทาลาย หรื อนาไปใช้ประโยชน์
ค. หลักสาคัญที่ควรยึดถือ ในการใช้แรงงานนั้น ควรจะต้องยึดถือกฎหมายแรงงานของท้องถิ่นด้วย การใช้
ทรัพยากรในท้องถิ่นจะต้องพิจารณาใช้ตามความจาเป็ นเพื่อหลีกเลี่ยงความเดือดร้อนที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชน
ภายในพื้นที่ปฏิบตั ิการ
๑.๑๑ การปกครองดินแดนที่ได้ จากการยึดครอง

ก. ในบางสถานการณ์ที่ฝ่ายทหารมีความจาเป็ นต้องเข้าไปปฏิบตั ิการในพื้นที่ที่ฝ่ายทหารเข้ายึดครอง อาจเป็ น


ดินแดนของฝ่ ายตรงข้ามหรื อ อาจเป็ นดินแดนที่ฝ่ายตรงข้ามมีอิทธิ พล ทั้งนี้ ก็เพื่อให้เกื้อกูลต่อการปฏิบตั ิการทาง
ยุทธวิธีของฝ่ ายเรา เช่น การจัดให้มีพ้ืนที่ระวังป้ องกันภายนอกประเทศ การเข้าตีเพื่อทาลายการเข้าตี ฯลฯ การ
ปฏิบตั ิการกิจการพลเรื อนในดินแดนที่ฝ่ายเราเข้าไปยึดครอง กระทาโดยการสนับสนุนการดาเนินการปกครองโดย
รัฐบาลทหาร เพื่อควบคุมประชาชนในพื้นที่ที่มิให้ขดั ขวางการปฏิบตั ิการรบของฝ่ ายทหาร
ข. การดาเนินการ ควรกาหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิให้เหมาะสม เพื่อให้ง่ายต่อการดาเนินการ อาจจะแบ่งเป็ น
๓ ขั้นตอนหลักๆ ได้แก่ ขั้นเตรี ยมการ ขั้นการปฏิบตั ิการปกครองดินแดน ขั้นการส่ งมอบความรับผิดชอบหรื อการ
สิ้ นสุ ดการใช้อานาจในการปกครอง รายละเอียดในแต่ละขั้นมีแนวทางดังนี้ ในขั้นเตรี ยมการงานที่ควรทา คือ
การศึกษาข้อมูลต่างๆ ในพื้นที่ที่จะเข้าไปปกครอง การจัดเตรี ยมหน่วยปฏิบตั ิและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง การจัดเตรี ยม
แผนการปฏิบตั ิล่วงหน้าเกี่ยวกับมาตรการต่างๆ ในการควบคุมและปกครองดินแดน ในขั้นการปฏิบตั ิกจ็ ะเน้น
น้ าหนักในการดาเนินการตามมาตรการต่างๆ ที่กาหนดไว้ก่อนแล้ว ตลอดจนการบังคับให้เป็ นไปตามมาตรการที่
กาหนดไว้น้ นั สาหรับในขั้นสุ ดท้ายจะต้องวางแผนส่ งมอบการ ปกครองให้ผทู ้ ี่สมควรทาหน้าที่ในการปกครองที่
เหมาะสมต่อไป
ค. หลักการสาคัญที่ควรยึดถือ ก็คือ การปกครองดินแดน ควรใช้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง เดิมที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น
หรื อตั้งขึ้นมาใหม่ แต่ตอ้ งผ่านการตรวจสอบความไว้วางใจจากฝ่ ายเราแล้วว่าเป็ นผูท้ ี่ฝ่ายเราสามารถมอบหมายพื้นที่
และความรับผิดชอบให้ดาเนินการด้านการปกครองภายใต้นโยบายและการควบคุมกากับดูแลของฝ่ ายเรา อนึ่งพึง
ระลึกอยูเ่ สมอ การปกครองโดยฝ่ ายทหารในดินและที่ได้จากการยึดครองนั้น มิใช่ระบบการปกครองที่ควร ดังนั้น
8

จึงต้องมีการเตรี ยมการที่จะโอนอานาจ หรื อความรับผิดชอบให้กบั เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรื อนให้เร็ วที่สุด เมื่อ


สถานการณ์คลี่คลายลง

๒ การปฏิบัติการจิตวิทยา
๒.๑ กล่ าวทั่วไป

ปัจจุบนั การปฏิบตั ิการจิตวิทยา เป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นสิ่ งที่สาคัญมากทั้งในยามปกติ และในยามสงคราม ใน


ยามปกติการปฏิบตั ิการจิตวิทยาที่มีประสิ ทธิ ภาพ จะเป็ นเครื่ องมือที่มีค่ายิ่งสาหรับรัฐบาลในการรักษาความมัน่ คง
ภายในจากการบ่อนทาลายของฝ่ ายตรงข้าม และในการดาเนินนโยบายของชาติท้ งั ในและนอกประเทศ เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่กาหนด โดยดาเนินการผสมผสานควบคู่กบั พลังอานาจของชาติซ่ ึ งถือว่าเป็ นเครื่ องมือหลักอีก

๓ ประการ คือ การดาเนินการทางการเมือง การดาเนินการทางเศรษฐกิจ และการดาเนินการทางทหาร ส่ วนในยาม


สงครามการปฏิบตั ิการจิตวิทยานั้น เปรี ยบเสมือนอาวุธที่สาคัญมากอย่างหนึ่งของฝ่ ายทหาร ซึ่ งจะช่วยให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของชาติ โดยประหยัดทั้ง เวลา ทรัพย์สินเงินทอง ตลอดจนเลือดเนื้อและชีวิตได้เป็ นอย่างดี ในฐานะที่
เป็ นปัจจัยอันหนึ่งที่จะช่วยลดความเสี ยเปรี ยบในด้านอานาจกาลังรบเปรี ยบเทียบ

๒.๒ ความหมายของการปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา

ก. หมายถึง การปฏิบตั ิกิจกรรมทั้งปวงในด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และสังคม ที่กระทาต่อเป้ าหมาย


ต่างๆ ทั้งฝ่ ายตรงข้าม ฝ่ ายเป็ นกลาง และฝ่ ายเดียวกัน ทั้งในยามปกติและยามสงคราม เพื่อให้เกิดผลเปลี่ยนแปลง
ทางด้านความคิดเห็น อารมณ์ ทัศนคติ และพฤติกรรม ของเป้ าหมายในทางที่จะสนับสนุนผลประโยชน์ของชาติ
(คณะกรรมการปฏิบตั ิการจิตวิทยาแห่งชาติ กจช. ครั้งที่ ๔/๑๗ เมื่อ ๓๐ ส.ค. ๑๗)
ข. หมายถึง การใช้การโฆษณาชวนเชื่อ และมาตรการอื่นใดที่วางแผนไว้แล้ว เพื่อให้มีอิทธิ พลต่อทัศนคติ อา
มรณ์ ท่าที และพฤติกรรม ของฝ่ ายศัตรู ฝ่ ายเป็ นกลาง หรื อฝ่ ายพันธมิตร ในทางที่จะบรรลุวตั ถุประสงค์ ของชาติให้
เป็ นผลสาเร็ จ (นส.๓๓ - ๕)
ค. หมายถึง การเผยแพร่ ข่าวสาร ความคิดเห็น ลัทธิ นิยม หรื อการจูงใจต่างๆ รวมทั้งมาตรการอื่นๆ ตามแผนที่
วางไว้ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อมก็ตาม เพื่อให้มีอิทธิ พลเหนือจิตใจกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่ตอ้ งการในวิถีทางที่จะช่วย
สนับสนุนให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาหนด (หลักนิยมกิจการพลเรื อนของ ทบ. พ.ศ.๒๕๕๒)
ง. หมายความรวมถึง กิจกรรมทางจิตวิทยา และการทาสงครามจิตวิทยา และมาตรการอื่นๆ ที่วางไว้ จะโดย
ทางตรงหรื อทางอ้อมก็ตาม เพื่อให้มีอิทธิ พลเหนือต่ออารมณ์ ความคิดเห็น ทัศนคติ
และพฤติกรรมของฝ่ ายตรงข้าม ฝ่ ายเป็ นกลาง และฝ่ ายเราในหนทางที่จะสนับสนุนวัตถุประสงค์ของชาติ (นส.ของ
สบส. พ.ศ.๒๕๑๘)

๒.๓ วัตถุประสงค์ ของการปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา

การปฏิบตั ิการจิตวิทยามีวตั ถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการบรรลุภารกิจของหน่วยด้วยการเปลี่ยนความคิด


และการปฏิบตั ิของกลุ่มเป้ าหมายให้เป็ นไปตามที่ฝ่ายเราต้องการ โดยมีเป้ าหมายที่สาคัญ ได้แก่ การเสริ มสร้างขวัญ
9

กาลังใจและความสามัคคีของฝ่ ายเรา การทาลายขวัญกาลังใจและความเป็ นปึ กแผ่นของฝ่ ายตรงข้าม การขัดขวางบัน่


ทอนการปฏิบตั ิของฝ่ ายตรงข้าม และการต่อต้านและตอบโต้การปฏิบตั ิการจิตวิทยาของฝ่ ายตรงข้าม

ก. การเสริ มสร้างขวัญ กาลังใจ และความสามัคคีของฝ่ ายเรา กระทาด้วยการปลูกฝังอุดมการณ์ให้เป้ าหมาย


เกิดความสามัคคี เกิดกาลังใจในการสูร้ บ เกิดความภาคภูมิใจ สานึกในหน้าที่และความเสี ยสละเป็ นส่ วนรวม ใน
พื้นที่การรบอาจกระทาโดยการแจ้งข่าวสารชัยชนะของฝ่ ายเราให้กาลังพลทราบ การนาสาสน์จากผูบ้ งั คับบัญชา
ชั้นสูงมาแจ้งให้กาลังพลทราบ หรื อการมาเยี่ยมเยียนของผูบ้ งั คับบัญชาชั้นสูง ตลอดจนการจัดชุดปลอบขวัญหรื อ
การนาของขวัญจากแนวหลังมาแสดงให้กาลังพลชม นอกจากนั้น การเสริ มสร้างขวัญและกาลังใจจะมีความสัมพันธ์
กับนายทหารฝ่ ายกาลังพลของหน่วยเกี่ยวกับการให้การบริ การแก่กาลังพล เช่น การลาพัก ไปรษณี ย ์ ฯลฯ การ
เสริ มสร้างขวัญกาลังใจ จะเป็ นการเพิ่มอานาจกาลังรบของฝ่ ายเราที่ทรงคุณค่ายิ่ง
ข. การทาลายขวัญ กาลังใจ และความเป็ นปึ กแผ่นของฝ่ ายตรงข้าม กระทาด้วยการโฆษณาชวนเชื่อ และการ
ดาเนินการอื่นๆ ต่อทหารของฝ่ ายตรงข้าม เช่น การแพร่ ข่าวลือเพื่อบ่อนทาลายจุดอ่อนของฝ่ ายตรงข้าม ตลอดจนการ
เน้นย้าความพ่ายแพ้ของฝ่ ายตรงข้ามในบางพื้นที่ เพื่อเป็ นการข่มขวัญฝ่ ายตรงข้าม การทาลายขวัญและกาลังใจของ
ฝ่ ายตรงข้ามเป็ นการลดประสิ ทธิ ภาพการรบของข้าศึกได้วิธีหนึ่ง
ค. การขัดขวางบัน่ ทอนการปฏิบตั ิของฝ่ ายตรงข้ามในการ ปปส./การต่อสูเ้ พื่อเอาชนะการก่อการร้าย เป้ าหมาย
ในการปฏิบตั ิจะมุ่งเน้นที่ประชาชนเป็ นหลัก เนื่องจากประชาชนเปรี ยบเสมือนผูต้ ดั สิ นการแพ้ชนะของฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่ง ถ้าเราสามารถที่จะดึงประชาชนมาเป็ นฝ่ ายเราได้ ก็จะสามารถหยุดยั้งขัดขวางการขยายตัวของฝ่ ายตรงข้ามได้
ข. การต่อต้าน /ตอบโต้การปฏิบตั ิการจิตวิทยาของฝ่ ายตรงข้าม กระทาเพื่อให้ทหารและประชาชนทราบ
ข้อเท็จจริ งต่างๆ ในการปฏิบตั ิการของฝ่ ายตรงข้าม โดยกระทาได้หลายลักษณะ เช่น การอบรมให้ความรู ้หรื อชี้แจง
แนวทางเกี่ยวกับภัยคุกคามตลอดจนกลวิธีในการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้ามที่จะปฏิบตั ิต่อฝ่ ายเราให้กาลังพล
ทราบ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ข่าวสาร เพื่อตอบโต้การปฏิบตั ิการจิตวิทยาของฝ่ ายตรงข้าม การกาหนดมาตรการ
ต่อต้าน ฯลฯ
๒.๔ หัวใจของความสาเร็จในการปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา

การปฏิบตั ิการจิตวิทยา จะประสบความสาเร็ จสมบูรณ์ได้กโ็ ดยการ

ก. เตรี ยมฐานข้อมูลที่มีรายละเอียดที่ถกู ต้องสมบูรณ์ ซึ่ งต้องเตรี ยมไว้ก่อนและควรต้องมีความง่ายแก่การ


ใช้โดยทุกระดับหน่วย
ข. ข่าวกรองที่มีรายละเอียดทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะการณ์

ค. รวมการควบคุม

ง. วางแผนที่เหมาะสมกับเวลา

จ. วางแผนรวมการและแยกการปฏิบตั ิ

ฉ. ใช้ทรัพยากรการปฏิบตั ิการจิตวิทยาที่มีอยูใ่ ห้เป็ นประโยชน์อย่างสูงสุ ด

๒.๕ ประเภทของการปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา


10

การปฏิบตั ิการจิตวิทยา สามารถแบ่งประเภทในลักษณะของการใช้งาน ซึ่ งพิจารณาจากความมุ่งหมาย


พื้นที่ และขอบเขตของการดาเนินงาน ได้เป็ น ๓ ประเภท

ก. การปฏิบตั ิการจิตวิทยาทางยุทธศาสตร์

วัตถุประสงค์ /ความมุ่งหมายในการปฏิบตั ิ เพื่อสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์ของชาติ โดยมีหว้ งเวลาใน


การปฏิบตั ิ /การหวังผลระยะยาว ปฏิบตั ิโดยหน่วยปฏิบตั ิการจิตวิทยาระดับรัฐบาล โดยมีเป้ าหมายอยูน่ อกพื้นที่การ
รบ มุ่งกระทาต่อกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นศัตรู เป็ นกลาง หรื อพันธมิตรฝ่ ายเรา หัวข้อโฆษณาชวนเชื่อต่อเป้ าหมายที่เป็ น
ศัตรู แสวงประโยชน์ได้จากจุดอ่อน หรื อความล่อแหลมทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และการทหาร
เพื่อลดประสิ ทธิ ภาพในการควบคุมภายในของประเทศนั้น ถ้าเป้ าหมายเป็ นกลางจะใช้การโฆษณาชวนเชื่อโน้มน้าว
ให้เข้ามาเป็ นพวก หรื ออย่างน้อยก็ให้มนั่ ใจว่าจะไม่เอนเอียงสนับสนุนฝ่ ายตรงข้าม หน่วยงาน ปจว.ระดับรัฐบาล
ดังกล่าว ได้แก่ สานักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิบตั ิการจิตวิทยาแห่งชาติ (สานักงานสารนิเทศ สานักผู ้
บัญชาการทหารสูงสุ ด ) กระทรวงการต่างประเทศ (ผ่านทางสถานทูตไทย ) กรมประชาสัมพันธ์ (สานัก
นายกรัฐมนตรี ) กองทัพบก กองทัพเรื อ กองทัพอากาศ (ผ่านทางสานักงานผูช้ ่วยทูตฝ่ ายทหาร ) ส่ วนราชการต่างๆ
และรัฐวิสาหกิจ (ผ่านสานักงานตัวแทนที่อยูใ่ นต่างประเทศ)

ข. การปฏิบตั ิการจิตวิทยาทางยุทธวิธี

การปฏิบตั ิการจิตวิทยาทางยุทธวิธี เป็ นการปฏิบตั ิการในเขตสงคราม/พื้นที่การรบ โดยมีความมุ่งหมาย


เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิการรบโดยตรง โดยการใช้การโฆษณาชวนเชื่อเป็ นหลัก ในการทาลายขวัญกาลังของฝ่ าย
ตรงข้าม สร้างความแตกแยก และก่อให้เกิดความสับสนในการปฏิบตั ิของฝ่ ายตรงข้าม เป้ าหมายในการปฏิบตั ิการ
จิตวิทยาทางยุทธวิธี จะต้องกาหนดความเร่ งด่วนในการปฏิบตั ิการต่อทหารฝ่ ายตรงข้ามเป็ นลาดับแรก (เป้ าหมาย
หลัก ) เป้ าหมายต่อมา ก็คือ ประชาชน การสนับสนุนในระดับนี้ เป็ นการใช้อุปกรณ์และเทคนิคของสื่ อทางโสต
ทัศนะ และโสตทัศนะเข้าสนับสนุนโดยตรงต่อหน่วยทางยุทธวิธี การสนับสนุนนี้อาจจะมีการเหลื่อมกันระหว่าง
ระดับยุทธศาสตร์และยุทธวิธี แต่ประเด็นสาคัญ คือ เพื่อให้ได้รับความร่ วมมือร่ วมใจจากประชาชน และเพื่อลด
ประสิ ทธิ ภาพและก่อให้เกิดความแตกแยกในความจงรักภักดีของกาลังทหารฝ่ ายตรงข้าม

๑) การปฏิบตั ิการจิตวิทยาต่อทหารฝ่ ายตรงข้าม กระทาเพื่อผลดังต่อไปนี้

ก) ทาลายขวัญ ด้วยการเผยแพร่ ข่าวความพ่ายแพ้ของฝ่ ายตรงข้าม การขาดแคลนอาวุธยุทโธปกรณ์


และระบบส่ งกาลังบารุ งที่ไม่ดี การเพิ่มเติมกาลังของฝ่ ายเราตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพดีกว่า
ทันสมัยกว่า และจานวนมากกว่าฝ่ ายตรงข้าม
ข) ส่ งเสริ มให้เอาใจออกห่าง ชี้นา ชักชวน ให้ฝ่ายตรงข้ามยอมจานนหนีทพั หรื อหลีกเลี่ยงการรบ
ด้วยการโฆษณาบ่อนทาลายผูน้ าทางทหารของฝ่ ายตรงข้าม ชี้ให้เห็นความเป็ นอยูท่ ี่แตกต่างของกลุ่มผูน้ าซึ่ งเป็ นชน
กลุ่มน้อยกับความเป็ นอยูข่ องทหารส่ วนใหญ่ เพื่อทาลายความเชื่อมัน่ ศรัทธาในตัวผูน้ าของฝ่ ายตรงข้าม
ค) ลดประสิ ทธิ ภาพการรบของฝ่ ายตรงข้ามลง การปฏิบตั ิการจิตวิทยาอย่างต่อเนื่องจะทาให้ขวัญ
และกาลังใจของฝ่ ายตรงข้ามเสื่ อมลง อันจะทาให้ผลการปฏิบตั ิการทางทหารและประสิ ทธิ ภาพในการรบลงด้วย
11

ง) การลวง การปฏิบตั ิการจิตวิทยาอาจนามาใช้สนับสนุนมาตรการลวงทางทหารได้ เช่น การส่ ง


ข่าวลวง การเผยแพร่ ข่าวว่าจะปฏิบตั ิการในพื้นที่หนึ่ง แต่ที่จริ งอาจจะไปปฏิบตั ิอีกพื้นที่หนึ่งก็ได้ เพื่อก่อให้เกิด
ความสับสนในการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายตรงข้าม
๒) การปฏิบตั ิการจิตวิทยาต่อประชาชนในพื้นที่การรบ กระทาเพื่อผลดังนี้
ก) กระทาให้พลเรื อนในพื้นที่ยึดครองของฝ่ ายตรงข้าม เกิดความหวาดกลัว เกิดการเสี ยขวัญ และ
กาลังใจ เลิกให้การสนับสนุนต่อฝ่ ายตรงข้าม
ข) สร้างความเชื่อมัน่ ต่อประชาชนที่เป็ นมิตร โดยการเสริ มสร้างขวัญ กาลังใจ ปลุกใจให้เกิดการ
ต่อต้าน การให้การช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการรบ
ค) ได้รับข่าวสารที่เป็ นประโยชน์กบั ฝ่ ายเรา ต่อประชาชนในพื้นที่การรบ
๓) ความสาเร็ จของการปฏิบตั ิการจิตวิทยาทางยุทธวิธี ขึ้นอยูก่ บั สภาวะและปัจจัยหลายๆ ประการ เช่น
ความถูกต้องของข่าวกรองของเป้ าหมายในการโฆษณาชวนเชื่อ ตัวอย่างเช่น การโฆษณาชวนเชื่อในการสร้างความ
แตกแยก จะต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับการแตกแยกจริ ง ๆ ไม่ใช่ผกู เรื่ องโดยพละการซึ่ งจะทาให้เกิดผลเสี ยต่อการโฆษณา
ชวนเชื่อ การโจมตีดว้ ยอาวุธร้ายแรง และมีประสิ ทธิ ผลสูงซึ่ งทาให้เกิดความเสี ยหายอย่างมากแก่ฝ่ายตรงข้าม ก็จะทา
ให้เป็ นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสาเร็ จอีกประการหนึ่ง สถานการณ์ฝ่ายตรงข้ามที่เลวร้าย เช่น เกิดการสูญเสี ย เกิดการ
ขาดแคลนสิ่ งอุปกรณ์ต่างๆ ระบบการส่ งกาลังบารุ งที่บกพร่ อง การบริ การทางการแพทย์ที่ไม่ดี เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้การ
ปฏิบตั ิการจิตวิทยาของฝ่ ายเราเป็ นไปอย่างได้ผล
ค. การปฏิบตั ิการจิตวิทยาเพื่อเสริ มความมัน่ คง
กระทาในพื้นที่ หรื อดินแดนที่ฝ่ายเรายึดครองอยู่ หรื อพื้นที่ปลดปล่อย เพื่อก่อให้เกิดความสะดวกในการ
ปฏิบตั ิการ และให้ประชาชนให้ความร่ วมมือกับฝ่ ายเราให้มากที่สุด นอกจากนั้น ยังกระทาในพื้นที่ฝ่ายเรายึด
กลับคืนมาได้ เช่น พื้นที่ที่ฝ่ายเราถูกฝ่ ายตรงข้ามเข้ามายึดครอง ไม่วา่ จะเป็ นทหารฝ่ ายตรงข้าม หรื อผูก้ ่อการร้ายก็
ตาม ก็จะต้องสถาปนาความมัน่ คงในด้านต่างๆ ดังนั้นจะต้องมีการปฏิบตั ิการจิตวิทยา เพื่อให้ประชาชนสนับสนุน
และให้ความร่ วมมือกับฝ่ ายรัฐบาล
๒.๖ ขอบเขต และประเภทของการดาเนินงาน
ก. การดาเนินงานการปฏิบตั ิการจิตวิทยาในทัศนะของฝ่ ายทหาร มีขอบเขตในการดาเนินงานที่สาคัญ
๔ ประการ คือ
๑) การโฆษณาชวนเชื่อ
๒) การแสดงกาลัง หรื อการคุกคามที่จะใช้กาลัง
๓) การปฏิบตั ิการทางยุทธวิธีที่หวังผลทางจิตวิทยา
๔) การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
ข. ประเภทการดาเนินงานการปฏิบตั ิการจิตวิทยา แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท ได้แก่ การดาเนินงานแบบเปิ ดเผย
และแบบปกปิ ด
๑) การดาเนินงานแบบเปิ ดเผย หมายถึง การดาเนินงานที่ผดู ้ าเนินงานเปิ ดเผยตัวเอง ยอมรับผิดชอบการ
กระทาของตนอย่างเต็มที่ ถ้าหากจะมีผเู ้ สี ยหายประท้วง หรื อจะเรี ยกร้องค่าเสี ยหาย การดาเนินการแบบนี้ ส่ วนใหญ่
รัฐบาล/หน่วยงานของรัฐบาลเป็ นผูด้ าเนินการ เช่น กรมประชาสัมพันธ์ กรมสารนิเทศ (กระทรวงการต่างประเทศ )
เป็ นต้น การดาเนินงานในลักษณะนี้ตอ้ งอาศัยความจริ งเป็ นมูลฐานมากที่สุด
12

๒) การดาเนินงานแบบปกปิ ด มีวตั ถุประสงค์เพื่อบ่อนทาลายฝ่ ายตรงข้าม การดาเนินงานในลักษณะนี้ จะ


ปกปิ ดผูด้ าเนินการ เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโฆษณาชวนเชื่อ เพราะใช้ความจริ งเพียง
บางส่ วน ลักษณะเช่นนี้ไม่ควรใช้หน่วยงานของรัฐเป็ นผูด้ าเนินการโดยตรง แต่อาจอยูเ่ บื้องหลังโดยใช้องค์การบัง
หน้าเป็ นผูด้ าเนินการ

๓ การประชาสั มพันธ์
๓.๑ กล่ าวทั่วไป

มนุษย์ตอ้ งอยูร่ ่ วมกันเป็ นพวกเป็ นหมู่ ซึ่ งเรี ยกว่า สังคมมนุษย์ การอยูร่ ่ วมกันจะต้องมีความเข้าใจกัน หรื อความ
ร่ มเย็นเป็ นสุ ขของกลุ่ม โดยเฉพาะถ้าเป็ นกลุ่มขนาดใหญ่ระดับประเทศ ซึ่ งอาจจะประกอบด้วยกลุ่มต่างๆ ที่มีความ
แตกต่างกันในด้านเชื้อชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี แล้ว ยังมีความจาเป็ นที่จะต้องสร้างความสัมพันธ์อย่าง
แน่นแฟ้ นยิ่งขึ้น เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าวแล้ว จะได้จดั หน่วยงานซึ่ งเรี ยกว่า หน่วยประชาสัมพันธ์ข้ ึน ให้
ทาหน้าที่สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรัฐบาลกับประชาชนภายในประเทศ การประชาสัมพันธ์กล่าวโดยทัว่ ไปแล้ว
หมายถึง การดาเนินการอย่างสุ ขมุ รอบคอบ ในการเผยแพร่ ข่าวสาร ข้อเท็จจริ ง และมีแผนอย่างต่อเนื่อง เพื่อ
ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีของบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน หน่วยงานกับหน่วยงาน ตลอดจนรัฐบาลกับ
ประชาชนในชาติ เพื่อให้เกิดความสามัคคี ความเข้าใจ และความเห็นสอดคล้องกันในอันที่จะทาให้ประชาชนใน
ชาติให้ความร่ วมมือกับรัฐบาล เพื่อสนองตอบวัตถุประสงค์ของชาติ
สาหรับกิจการทหารนั้น ก็มีความจาเป็ นต้องมีการประชาสัมพันธ์เช่นเดียวกัน เพราะทหารก็เป็ นกลุ่มขนาด
ใหญ่ที่ใช้งบประมาณของประเทศ ซึ่ งมาจากภาษีอากรของประชาชน ถ้าประชาชนไม่สนับสนุนกิจการทหาร ทหาร
ก็อยูไ่ ม่ได้ ดังนั้นทหารจึงจาเป็ นจะต้องเผยแพร่ กิจกรรมของตนให้ประชาชนได้ทราบข้อเท็จจริ งต่างๆ เท่าที่กระทา
ได้ โดยไม่เป็ นการเปิ ดเผยความลับของทางราชการ และต้องสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันภายในวงการทหารเองด้วย
การดาเนินการดังกล่าวนี้ เรี ยกว่า การประชาสัมพันธ์

๓.๒ ความหมาย

การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การดาเนินการอย่างสุ ขมุ รอบคอบ ต่อเนื่อง และมีแผนการที่จะดารงความ


พยายามในอันที่จะสร้างและรักษาไว้ซ่ ึ งความเข้าใจอันดีต่อกันภายในสถาบันทหาร และระหว่างสถาบันทหารกับ
สถาบันอื่น รวมทั้งสถาบันทหารกับกลุ่มชนที่เกี่ยวข้อง

๓.๓ วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ทหาร ก็เพื่อรวมพลังทหารกับสถาบันอื่น และประชาชนให้เป็ น


อันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่ งจะเป็ นการเสริ มสร้างความมัน่ คงของชาติทางหนึ่ง

๓.๔ นโยบาย

เพื่อให้การประชาสัมพันธ์ทหารบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว จึงควรกาหนดนโยบายดังต่อไปนี้

ก. สนับสนุนการดาเนินงานของชาติ
13

ข. เผยแพร่ กิจกรรมทหารให้สถาบันอื่นและประชาชนทราบ

ข. ต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้าม

๓.๕ วิธีการ

เพื่อให้บรรลุความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์และนโยบายดังกล่าว จึงแบ่งลักษณะการดาเนินการออกเป็ น

๓ ประเภท คือ

ก. ประชาสนเทศ คือ ความเกี่ยวพันระหว่างทหารกับประชาชน เป็ นหน้าที่ของทหารที่จะต้องเผยแพร่ ผลงาน


ให้ประชาชนทราบว่า ทหารได้ใช้จ่ายงบประมาณไปทาอะไรบ้าง คุม้ ค่าหรื อไม่ ควรสนับสนุนเพียงใด
ข. เสนาสนเทศ คือ การผูกพันระหว่างผูบ้ งั คับบัญชาทหาร กับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ตั้งแต่ระดับสูงสุ ดกับระดับ
ต่าสุ ด ให้เกิดความเข้าอันดีต่อกัน
ค. ชุมนุมสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยทหารกับชุมชนที่อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงกับหน่วยทหาร

๔ การปลูกฝังอุดมการณ์ ทางการเมือง
๔๑ กล่ าวทั่วไป

กองทัพบก มีหน้าที่เตรี ยมกาลังพลกองทัพบก ป้ องกันราชอาณาจักร และเพื่อการพัฒนาประเทศ การที่


กองทัพบกจะบรรลุภารกิจนี้อย่างมีประสิ ทธิ ผล ย่อมขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยสองประการ คือ ยุทโธปกรณ์ และ คน ปัจจัยทั้ง
สองนี้ ปัจจัยคนสาคัญที่สุด เพราะคนเป็ นผูใ้ ช้ยทุ โธปกรณ์เหล่านี้ ดังนั้น กองทัพบกจึงได้เพ่งเล็งในการพัฒนากาลัง
พลรายบุคคล ทั้งกาลังพลประจาการ ทหารกองหนุน และกองเกินที่เข้ารับการฝึ กวิชาทหาร ตามหลักสูตรของ
กระทรวงกลาโหม ให้เป็ นกาลังพลที่มีคุณภาพสูง ทั้งในด้านความรู ้ ความชานาญงานในหน้าที่ ความสามารถ ความ
ประพฤติ และที่สาคัญที่สุด คือ มีจิตใจยึดมัน่ ในอุดมการณ์ อุดมการณ์ในที่น้ ี หมายถึง อุดมการณ์ทางการเมือง หรื อ
การปกครองประเทศ คนทุกคนหรื อทุกกลุ่มย่อมจะมีความเชื่อทั้งที่เหมือนกันและต่างกัน หากเราสามารถปลูกฝัง
ความเชื่อในกลุ่มบุคคลในชาติให้ตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วมกัน มีจิตใจยึดมัน่ ในอุดมการณ์ที่จะต่อสู ้ เพื่อปกป้ อง
สถาบันอันสาคัญยิง่ ของคนไทย คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขแล้ว ย่อมนาไปสู่ความอยูร่ อดของชาติ
ซึ่ งเป็ นความปรารถนาสูงสุ ด
การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง เป็ นขอบเขตการดาเนินงานประการหนึ่งของงานกิจการ
พลเรื อน ตามหลักนิยมกิจการพลเรื อน พุทธศักราช ๒๕ ๕๒ มีความสาคัญอย่างยิ่งในการดาเนินงาน
กิจการพลเรื อนในยามปกติ โดยพยายามปลูกฝังความเชื่อมัน่ ให้กบั ทหารแต่ละคน ตลอดจนประชาชนภายในชาติ
ให้มีความเข้าใจและศรัทธาเชื่อถือในระบอบการปกครองแบบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
ตลอดจนมุ่งเสริ มสร้างกาลังใจในการต่อสูใ้ ห้แก่คนในชาติ เพื่อให้เกิดความหวงแหนและพร้อมที่จะต่อสูท้ าลายล้าง
ผูท้ าตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อระบอบการปกครองและสถาบันอันเป็ นที่เคารพเทอดทูนของตนโดยไม่ยอ่ ท้อและไม่หวัน่
เกรงต่ออันตรายทั้งปวง
14

๔.๒ ความหมายของอุดมการณ์
ก. อุดมการณ์ คือ ระบบความคิดหรื อแนวความคิดที่มีส่วนผลักดันให้เกิดพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้
บรรลุจุดๆ หนึ่งซึ่ งถือว่าดีเลิศ หรื อทาให้คนเราเว้นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นการทาลายสถานการณ์ที่
เราถือว่าดีเลิศนั้น
ข. อุดมการณ์ เป็ นสิ่ งที่มีความหมายมากสาหรับผูย้ ึดถือ ผูย้ ึดถืออุดมการณ์ใดก็คิดว่าอุดมการณ์ของตนดีเลิศ
ประณามอุดมการณ์อื่นว่าไม่ดี เลวร้าย มอมเมา หลงผิด และต้องการโน้มน้าวให้ผอู ้ ื่นมายึดถือหรื อคล้อยตาม
อุดมการณ์ของตน ตั้งแต่ระดับอภิปรายโต้เถียง หรื อความเป็ นปรปักษ์ซ่ ึ งกันและกันในสังคมหรื อในชาติจะมีมาก
ขาดความสามัคคี เป็ นการทอนพลังอานาจของสังคมหรื อชาติลง
ค. อุดมการณ์ที่สามารถจูงใจกลุ่มตนในสังคมได้น้ นั ควรจะมีลกั ษณะดังนี้
๑) ต้องเป็ นระบอบความคิดที่มีสถาบันหลักในสังคมยอมรับ หรื อสามารถวางรู ปความคิดเป็ นทฤษฎีหรื อ
ปรัชญาทางสังคมได้
๒) เป็ นระบบความคิดที่อธิ บายถึงสภาพที่ดีในสังคมอันพึงรักษา
๓) เป็ นระบบความคิดที่อธิ บายถึงการปฏิบตั ิและพึงยึดถือ เพื่อให้สงั คมเข้าสู่ภาวะที่ดีเลิศ
๔) เป็ นระบบความคิดที่ต้ งั อยูบ่ นหลักของเหตุผลซึ่ งสามารถพิสูจน์ได้
๕) เป็ นระบบความคิดที่นาไปปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลดีชดั เจนอันจะส่ งผลให้เกิดมีการปฏิบตั ิ
อย่างแน่วแน่
๖) เป็ นระบบความคิดที่สอดคล้องกับความนึกคิด และความต้องการของคนส่ วนใหญ่ในสังคม
ง. อุดมการณ์ทางการเมือง หมายถึง ความเชื่อศรัทธาในลัทธิ การเมืองใดลัทธิ การเมืองหนึ่ง โดยเชื่อว่าลัทธิ
การเมืองนั้นๆ จะทาให้สงั คมมีความเป็ นอยูท่ ี่ดี มีความเจริ ญก้าวหน้ารุ่ งเรื องทั้งในปัจจุบนั และอนาคต เป็ นกรอบ
กาหนดความประพฤติและความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคม จะเป็ นสิ่ งเชื่อมโยงยึดเหนี่ยวให้บุคคลในสังคมอยู่
ร่ วมกันโดยปกติสุข อุดมการณ์ทางการเมืองในลักษณะนี้จึงทาหน้าที่เป็ นศูนย์รวมทุกอย่าง
จ. การที่คนในสังคมหนึ่งยอมรับเอาลัทธิ การเมืองมาเป็ นเครื่ องมือในการปกครอง ควบคุมและพัฒนาสังคม
ให้เจริ ญก้าวหน้ามีสนั ติสุข ไม่ได้หมายความว่า คนส่ วนใหญ่ในสังคมนั้นจะยอมเชื่อถือ หรื อมีความเชื่อกันทัว่ ไป
อาจจะมีเพียงผูน้ าประเทศหรื อกลุ่มผูน้ าเท่านั้นที่มีความศรัทธาในลัทธิ การเมืองนั้นๆ จึงเป็ นหน้าที่ของผูน้ าประเทศ
หรื อกลุ่มบุคคลที่ปกครองประเทศจะต้องหาทางชักจูงให้คนในสังคมเห็นด้วย และคล้อยตามความคิดเห็นของตน ที่
เห็นว่าอุดมการณ์ทางการเมืองนั้นดี ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องมีการปลูกฝังอบรมบ่มเพาะอุดมการณ์ทางการเมืองให้เกิดขึ้น
โดยยึดถือหลักสาคัญ ๒ ประการ คือ ผลประโยชน์ของชุมชนมาก่อนผลประโยชน์อื่นใด และความร่ วมมือของชน
ในชาติ
ฉ. อุดมการณ์ของชาติเป็ นเรื่ องที่สาคัญ หากชาติใดไร้อุดมการณ์ของชาติ ย่อมเปรี ยบเสมือนร่ างกายที่ไร้จิตใจ
ลักษณะอุดมการณ์ของชาติที่ดีน้ นั จะต้องเป็ นจุดร่ วมเพื่อให้ทุกคนในชาติได้ไปสู่จุดหมายที่แน่นอน เป็ นการสร้าง
ความหวังร่ วมกันให้แก่ประชาชนในชาติ เป็ นแนวทางให้การศึกษาอบรมบ่มเพาะเยาวชนของชาติในอนาคตอย่าง
ต่อเนื่อง การกาหนดอุดมการณ์ของชาติน้ นั จะต้องสอดคล้องกับค่านิยมของคนไทย จะต้องสอดคล้องกับ
ผลประโยชน์ของคนในชาติ อุดมการณ์ของชาติจึงเป็ นที่ยอมรับของคนทัว่ ไป
๔.๓ การปลูกฝังอุดมการณ์ ทางการเมือง หมายถึง การปลูกฝังทางความเชื่อในระบอบการ
ปกครองของสังคมหนึ่งกับระบอบการปกครองของอีกสังคมหนึ่ง ว่าใครจะเหมาะสมกว่ากัน
15

ก. หลักในการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองก็คือ พยายามปลูกฝังความเชื่อมัน่ ที่มีคุณค่าอย่างยิ่งให้กบั ทหาร


แต่ละคน ตลอดจนประชาชนทั้งชาติ ให้เป็ นสังคมที่เพียบพร้อมไปด้วยคุณธรรม มีระเบียบวินยั ขยัน อดทน
เสี ยสละ มีความเข้าใจ และศรัทธาเชื่อถือในระบอบการปกครองอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข มุ่งเสริ มสร้าง
อุดมการณ์และความสมัครสมานสามัคคีในการต่อสูใ้ ห้กบั คนในชาติ เพื่อให้เกิดความสานึกที่ดีงาม ความภาคภูมิใจ
และพร้อมที่จะต่อสูเ้ พื่อป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อระบอบการปกครอง และสถาบันอันเป็ นที่เคารพเทอดทูน
ของเราโดยไม่ยอ่ ท้อ และไม่หวัน่ เกรงต่ออันตรายทั้งปวง
ข. การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองในหน่วยทหารของกองทัพบกนั้น เป็ นการดาเนินงานของกองทัพบกต่อ
กาลังพลเป็ นรายบุคคล เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในภัยคุกคามจากฝ่ ายตรงข้าม สร้างความสานึกในหน้าที่ให้กบั
ทหาร ในการที่จะประพฤติปฏิบตั ิตนให้เหมาะสม เพื่อให้พน้ จากการโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้าม สร้างสรร
กาลังใจและความสามัคคี ตลอดจนความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันในการต่อสูป้ ้ องกันการรุ กรานจากฝ่ ายตรงข้ามทุก
รู ปแบบ เพื่อปกป้ องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อันมี
พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข เสริ มสร้างและรักษาไว้ซ่ ึ งระเบียบวินยั อย่างเคร่ งครัด เพื่อให้เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่
ประชาชนทัว่ ไป รวมทั้งเสริ มสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในบทบาททางทหาร
ค. การดาเนินงานในการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองในหน่วยทหาร มีขอบเขตในการดาเนินงานที่สาคัญ
คือ การให้การศึกษาอบรมทางการเมืองและทางคุณธรรมแก่กาลังพล โดยเน้นพิเศษในการอบรมให้มีความเข้าใจ
และปฏิบตั ิตามคุณธรรม ๔ ประการ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานให้ชาวไทยทุกคน เนื่องในพระ
ราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบุรพมหากษัตริ ยาธิ ราช ณ ท้องสนามหลวง เมื่อ ๕ เมษายน ๒๕๒๐ คือ การรักษาความ
สัจ , การรู ้จกั ข่มตน , การอดทน อดกลั้น อดออม และการรู ้จกั ละวางความชัว่ ความทุจริ ต รู ้จกั สละประโยชน์ส่วน
น้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง และให้เข้าใจในคาสัง่ สานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๖/๒๕๒๓
ง. อุดมการณ์เกิดขึ้นได้อย่างไร อุดมการณ์เป็ นเรื่ องของความเชื่อความศรัทธายึดมัน่ และได้มีการปฏิบตั ิตาม
ความเชื่อความศรัทธานั้น ที่มาหรื อแหล่งกาเนิดของอุดมการณ์น้ นั คือ ความคิดและความสานึกในจิตใจของมนุษย์
นัน่ เอง
จ. อุดมการณ์ของมนุษย์ในสังคมหนึ่ง จะแตกต่างกันกับอุดมการณ์ของอีกสังคมหนึ่ง เพราะสิ่ งแวดล้อมในแต่
ละสังคมไม่เหมือนกัน เป็ นผลทาให้คิดไม่เหมือนกัน ผลสุ ดท้ายก็มีอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน ยึดมัน่ ศรัทธาใน
อุดมการณ์ทาให้คนในสังคมคิดว่าอุดมการณ์ของตนถูกต้อง ของคนอื่นสังคมอื่นไม่ถกู ต้อง ด้วยเหตุน้ ีจึงมีการ
ขัดแย้งกันขึ้นระหว่างอุดมการณ์
ฉ. อุดมการณ์สามารถปลูกฝังได้โดย
๑) จากการได้รับการสัง่ สอนอบรมถ่ายทอดทีละน้อยๆ จากชนรุ่ นหนึ่งไปสู่ชนอีกรุ่ นหนึ่งไปโดย
ธรรมชาติ ไม่มีการขึ้นๆ ที่แน่นอน ปล่อยให้พลังทางสังคมและการเมืองส่ งอิทธิ พลต่อสมาชิกในสังคมอย่างค่อยเป็ น
ค่อยไป
๒) จากการฉี ดป้ อนความเชื่อนั้นอย่างมีระบบ ด้วยการวางแผนและควบคุมการถ่ายทอดความเชื่อมัน่ โดย
ความเชื่อจะถ่ายทอดไปยังสมาชิกของสังคมอย่างมีเอกภาพและมีทิศทาง มีองค์การเฉพาะ มีคณะบุคคลที่ทาบทบาท
หน้าที่เฉพาะอย่างในการถ่ายทอดอุดมการณ์ทางการเมือง
๔.๔ ประโยชน์ ของอุดมการณ์ มีลกั ษณะอยู่ ๖ ประการ คือ
ก. ผูกพันคนในชาติเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดความคิดเห็นสอดคล้องต้องกัน
16

ข. ทาให้คนในสังคมคานึงถึงความสัมพันธ์และปรารถนาที่จะปรับปรุ งความเป็ นธรรมและความเป็ นอยูข่ อง


สังคมให้ดีข้ ึน
ค. ชี้ให้สมาชิกในสังคมเห็นถึงความเสื่ อมโทรมของสภาวะของสังคมปัจจุบนั และแนวทางที่จะปรับปรุ ง
สภาวะสังคมให้ดีข้ ึนในอนาคต
ง. ทาให้สงั คมเฉื่ อยชา เป็ นสังคมที่มีพลังผลักดันภายใน สามารถปรับตัวให้เข้ากับกาลเวลาและสภาวะ
แวดล้อมได้
จ. ช่วยให้สมาชิกในสังคมใช้อา้ งอิงสาหรับการปฏิบตั ิ เพื่อนาไปสู่สิทธิ เสรี ภาพ และความยุติธรรมภายใน
สังคม
ฉ. ช่วยจูงใจให้เลื่อมใสศรัทธาต่อการกระทาในสิ่ งดี เว้นการประพฤติในสิ่ งที่จะเป็ นอุปสรรคขัดขวางการ
พัฒนาสู่สงั คมที่ดีกว่า
๔.๕ ความมุ่งหมายในการปลูกฝังอุดมการณ์ ทางการเมืองในหน่ วยทหาร ดังนี้
ก. เพื่อเสริ มสร้างความรู ้ ความเข้าใจ ตลอดจนจริ ยธรรมความประพฤติปฏิบตั ิของกาลังพลแต่ละคนให้รู้เท่า
ทันกลอุบายอันลึกซึ้ งของกลุ่มบุคคลและลัทธิ การเมืองที่เป็ นภัยร้ายแรงต่อระบอบการปกครองของประเทศไทย
กวดขันความประพฤติปฏิบตั ิของกาลังพลทุกคนในหน่วยทหารและส่ วนราชการทุกระดับชั้นให้เป็ นไปโดยชอบ
และสุ จริ ต กาจัดเงื่อนไขความไม่เป็ นธรรมต่างๆ ที่จะเป็ นช่องทางให้กลุ่มบุคคลที่ไม่หวังดีต่อชาติมายุแหย่ ก่อกวน
บ่อนทาลาย ให้เกิดความแตกแยกกันเอง
ข. เพื่อให้มีความเข้าใจอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับลัทธิ การปกครอง และสามารถเปรี ยบเทียบได้เด่นชัดว่า การ
ปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขดีกว่าระบอบการปกครองแบบอื่นๆ เพราะ
เหมาะสมกับลักษณะประจาชาติและอุปนิสยั ของประชาชนชาวไทย ทั้งยังสามารถแก้ปัญหาสังคมได้ โดยมิตอ้ งใช้
กาลังบังคับ ข่มขู่ นอกจากนั้นยังต้องทาให้เกิดความเชื่อมัน่ ว่าการปกครองระบอบนี้จะสามารถนาประเทศชาติไปสู่
ความเจริ ญรุ่ งเรื องในอนาคตได้อย่างแน่นอน
ค. เพื่อเสริ มสร้างกาลังใจในการต่อสู ้ ในอันที่จะปกป้ องเอกราชและสถาบันต่างๆ ของไทยไว้โดยไม่คิดชีวิต
ไม่คานึงถึงความเหนื่อยยาก เสี ยสละ และไม่หวังผลผลตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้ น
ง. เพื่อถ่ายทอดความรู ้สึกยึดมัน่ ในอุดมการณ์ ตลอดจนอบรมให้เกิดความรู ้ความเข้าใจกับกลวิธีในการ
ดาเนินงานของกลุ่มบุคคลที่คิดร้ายต่อประเทศชาติ เสริ มสร้างกาลังใจในการต่อสูไ้ ปสู่ประชาชนชาวไทยทั้งมวลโดย
อาศัยเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็ นสื่ อนาเข้าหามวลชนที่มีความผูกพันทางครอบครัว เครื อญาติ และเพื่อนฝูง ทั้งนี้เพื่อเป็ น
การผนึกกาลังความรู ้ ความคิด ความสามารถ และการกระทาของประชาชนในชาติให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การดาเนินการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองในหน่วยทหารนั้น มิได้มุ่งหมายจะสนับสนุนให้มีการจัดตั้งพรรค
หรื อสมาคมทางการเมืองใดๆ ขึ้นในหน่วยทหาร ทหารจะต้องวางตัวให้เป็ นหลักมัน่ อย่างไม่หวัน่ ไหว เป็ นกลไกที่
จะโน้มน้าวพลังมวลชนทั้งชาติให้บรรลุถึงความมุ่งหมายทั้งปวงดังกล่าวมาแล้ว ควรสอดส่ องและควบคุมให้เกิด
ความเป็ นธรรมในสังคม ย่อมมีความสาคัญมาก และเป็ นทางที่จะทาให้คุณค่าของประชาธิ ปไตยสูงเด่นขึ้นในใจของ
ทหารและประชาชน
๔.๖ วัตถุประสงค์ ในการปลูกฝังอุดมการณ์ ทางการเมืองในหน่ วยทหาร
ก. เพื่อยึดเหนี่ยวความคิด ความเชื่อของกาลังพลภายในหน่วยให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความซาบซึ้ ง
ในคุณค่าและความสาคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และกา รปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมี
พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
17

ข. เพื่อเสริ มสร้างความแข็งแกร่ งและกาลังใจในการต่อสูข้ องกาลังพลรายบุคคล และเสริ มสร้างความสามัคคี


ภายในหน่วย
ค. เพื่อเสริ มสร้างและรักษาไว้ซ่ ึ งระเบียบวินยั อย่างเคร่ งครัดของกาลังพลและคนในชาติ
ง. เพื่อดาเนินการตอบโต้การโฆษณาชวนเชื่อของฝ่ ายตรงข้าม
จ. เพื่อเสริ มสร้างความเข้าใจอันดีแก่ประชาชนในบทบาทของทหาร
ฉ. เพื่อเสริ มสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์
๔.๗ ปัจจัยสาคัญในการปลูกฝังอุดมการณ์ ทางการเมือง เพื่อให้การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองบรรลุ
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนด ปัจจัยที่ตอ้ งนามาใช้เพื่อการปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง ควร
ประกอบด้วยการดาเนินการในเรื่ องต่างๆ ดังนี้
ก. การเสริ มสร้างคุณธรรมแห่งจิตใจ
ข. การเสริ มสร้างความมีวินยั
ค. การเสริ มสร้างความเข้าใจระบอบการปกครองต่างๆ และชี้ให้เห็นข้อดี ข้อเสี ย เมื่อเปรี ยบเทียบกับการ
ปกครองของเรา
ง. การเสริ มสร้างศรัทธาในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
จ. การเสริ มสร้างความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์
ฉ. การเสริ มสร้างกาลังใจในการต่อสู ้
๔.๘ การเสริมสร้ างศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย
ก. สอนให้รู้ให้เข้าใจหลักการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย
ข. ชี้ให้เห็นข้อดีของระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข เปรี ยบเทียบกับการปกครอง
ระบอบอื่นๆ
ค. ชี้ให้เห็นว่าประชาชนมีสิทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาค
ง. ชี้ให้เห็นถึงอันตรายอย่างใหญ่หลวงที่เกิดจากลัทธิ คอมมิวนิสต์
๔.๙. การเสริมสร้ างความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ก. ชาติ คือ จุดรวมอันยิ่งใหญ่ของประชาชน เพื่อให้เราคานึงถึงประโยชน์ร่วมกันและเป็ น
เครื่ องเตือนใจให้ประชาชนระลึกไว้เสมอว่า เราเป็ นชนชาติไทย ไม่ร่วมกันรักษาผลประโยชน์ร่วมกันแล้ว ใครเล่า
จะคอยมาดูแลรักษา เราต้องพร้อมอยูเ่ สมอที่จะต่อสูด้ ว้ ยชีวิต เพื่อปกป้ องเอกราชของชาติให้คงอยูต่ ลอดไป
ข. ศาสนา คนไทยเราทุกคนถือว่าความเชื่อในศาสนาเป็ นเรื่ องของความคิดเห็นส่ วนตัวของแต่ละคน การนับ
ถือศาสนาเป็ นเสรี ภาพอันสาคัญ ถึงแม้วา่ บ้านเมืองจะมีกฎหมายอยูแ่ ล้ว แต่ความเป็ นสุ ขของประเทศชาติกย็ งั ต้อง
อาศัยหลักจริ ยธรรมของศาสนาด้วย
ค. พระมหากษัตริ ย ์ คือ ศูนย์รวมพลังประชาชนทั้งชาติ ทรงมีคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวงต่อประเทศชาติใน
กรณี ที่มีวิกฤตการณ์ทางการเมือง เช่น กรณี วนั มหาวิปโยค ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ หากประเทศไทยไม่มีองค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั แล้วไซร้ เหตุการณ์นองเลือดคงจะไม่ยตุ ิลงอย่างรวดเร็ วเป็ นแน่ ถ้าประเทศไทยอยูใ่ น
ระบอบการปกครองแบบอื่น เราก็ไม่อาจรักษาสถาบันสูงสุ ดทั้งสามนี้ไว้ได้

………………………………………………..

You might also like