Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

3-1

529312 Industrial Electricity

สวิตช์ เซนเซอร์ รีเลย์ และตัวสั มผัสแม่ เหล็ก


การควบคุมการทางานของกระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรมมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่
1. ชุดควบคุม (control unit) อาจจะเป็ นตัวควบคุมอย่างง่ายแบบ on-off แบบ proportional แบบ PI แบบ PID เป็ นต้น
2. ชุดตรวจวัด (sensor and actuator) อาจจะได้แก่ เซนเซอร์ วดั อุณหภูมิ วัดแรงดันไฟฟ้ า วันกระแสไฟฟ้ า วัดแรงกด วัดระยะ
กระจัด วัดแรงบิด วัดความเร็วรอบ เป็ นต้น
3. ชุดจ่ายกาลัง (power unit) อาจจะเป็ นตัวสร้างการเคลื่อนที่เชิงเส้น ได้แก่ อุปกรณ์จาพวกกระบอกสู บ ตัวสร้างการเคลื่อนที่ทาง
กล ได้แก่ อุปกรณ์จาพวกมอเตอร์ หรื ออื่น ๆ
ก่อนที่จะกล่าวถึงรู ปแบบการควบคุมซึ่ งจะเน้นไปที่การควบคุมมอเตอร์ จะกล่าวถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบควบคุ ม
เซนเซอร์ ทรานสดิวเซอร์ ที่เกี่ยวข้องดังนี้

1. สวิตช์ (switch)
สวิตช์เป็ นอุปกรณ์พ้นื ฐาน พบเห็นได้ทวั่ ไปในงานควบคุมทางอุตสาหกรรมหรื อเครื่ องใช้ไฟฟ้าในโรงงาน ในสานักงานอื่น ๆ
หน้า ที่ ห ลัก คื อ ควบคุ ม การจ่ า ยสั ญ ญาณควบคุ ม ก าลัง ไฟฟ้ า ก าลัง ทางกลหรื อ อื่ น ๆ ให้กับ อุ ป กรณ์ ห รื อ วงจรที่ เ กี่ ย วข้อ งเพื่อ
วัตถุประสงค์บางประการ เช่น เริ่ มต้นการทางาน สิ้ นสุ ดการทางาน หรื อปรับตั้งค่าตัวแปรควบคุม เป็ นต้น ถ้าแบ่งสวิตช์ตามลักษณะ

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-2

529312 Industrial Electricity


ของหน้า สัมผัส อาจจะแบ่งได้เป็ น สวิต ช์แ บบหน้าสัมผัสปิ ด (normally-closed switch: NC) และสวิตช์แบบหน้าสัมผัสเปิ ด
(normally-opened switch: NO) แต่ถา้ แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง การทางาน หรื ออื่น ๆ จะมีได้หลากหลาย

สวิตช์ปมกด ุ่ (push-button switches


https://www.bpx.co.uk/store/product/xald321

สวิตช์เลือก (selector switches)


https://dir.indiamart.com/impcat/selector-switches.html

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-3

529312 Industrial Electricity

SINGLE CIRCUIT
NO NC

R R

L1 L2 L1 L2

G G

RED (R)
R R
R

L1 OFF L2 L1 L2

G
G G
GREEN (G)

ตัวอย่างวงจรสวิตช์ปมกดส
ุ่ าหรับควบคุมหลอดไฟชี้นา (pilot lamp)
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-4

529312 Industrial Electricity


Piggyback plug
Pump cord

Pump

Pumping Range
on

Pump
off

Submersible Pump
with floating
switch

http://www.tankjrm.com/setting-process1/str/ https://www.duan-daw.com/product/-pett-2 https://www.amazon.com/MultiQuip-Single-Float-Switch-Pumps/dp/B00FZ315M4

สวิตช์ลอย (floating switch) และ proximity switch

inductive proximity switch capacitive proximity switch


http://www.eeeasyshop.com/product/166/proximity-switch-e2e2-x10mc1-2m
https://www.automationdirect.com/adc/overview/catalog/sensors_-z-
_encoders/capacitive_proximity_sensors
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-5

529312 Industrial Electricity

http://www.fonengineering.com/2011/07/03/limit-switch/

สวิตช์จากัดระยะ (limit switch)


Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-6

529312 Industrial Electricity

http://www.practicalmachinist.com/vb/tooling-parts-and-accessories-for-sale-or-wanted/fs-bridgeport-power-feed-258615/ http://www.cnczone.com/forums/vertical-mill-lathe-project-log/243250-forum-posts-2.html

http://www.cnczone.com/forums/haas-mills/110959-forum.html
ตัวอย่างการใช้งานสวิตช์จากัดระยะ
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-7

529312 Industrial Electricity


2. เซนเซอร์ และทรานสดิวเซอร์ (sensors and transducers)
เป็ นอุปกรณ์ตรวจวัดปริ มาณทางกายภาพต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แรงดัน กระแส ความเร็วรอบ การกระจัด ฯลฯ

• Thermocouple

https://www.slideshare.net/ns1047/thermocouple-as-a-transducer

https://en.wikipedia.org/wiki/Th
ermocouple
https://www.indiamart.com/proddetail/b-type-
thermocouple-16264233333.html

อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป เกิดจากความแตกต่างระหว่างแรงดันของ 2 ตัวนา (−180 to 2,320 °C)


Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-8

529312 Industrial Electricity

• Resistance Temperature Detector: RTD

http://www.dspe.nl/knowledge-base/thermomechanics/chapter-5---measurement/5-2-contact-
sensors/5-2-2--resistance-thermometers-ptc/

http://www.designworldonline.com/resistance-temperature-detector- อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปจะแปรผันตรงกับความต้านทานที่วดั ได้ และจะแปลงกลับ


sensors/
เป็ นค่าแรงดันไฟฟ้า ( -200 and 500 °C)
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-9

529312 Industrial Electricity

• IC temperature sensor ( - 55 and 150 °C)

http://www.ti.com/lit/ds/symlink/lm335.pdf

Sensor DS18B20
(-55 and 125 °C)
https://github.com/ellak-monades-aristeias/beescale/wiki/Temperature-Sensor

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-10

529312 Industrial Electricity

http://www.ussensor.com/precision-interchangeable-thermistors-05%C2%B0c-and-10%C2%B0c-accuracy

http://www.murata.com/en-sg/products/thermistor

(คล้าย RTD แต่ทามาจากวัศดุเซรามิก)


Thermistor (-90 °C to 130 °C)
มี 2 แบบ คื อ Negative Temperature Coefficient: NTC ต่ อ ขนานกับ ระบบ ส าหรั บ ป้ อ งกัน inrush overvoltage (Rลด
Tเพิ่ม) และแบบ Positive Temperature Coefficient: PTC ต่ออนุกรมกับระบบ สาหรับป้ องกัน overcurrent (Rเพิ่ม Tเพิ่ม)

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-11

529312 Industrial Electricity

pressure sensor

humidity sensor

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-12

529312 Industrial Electricity

เซนเซอร์วดั ปริ มาณทางไฟฟ้า

Proximity detection
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-13

529312 Industrial Electricity

Inductive proximity sensor

ใช้ตรวจจับวัตถุพวกโลหะหรื อวัตถุที่เป็ นตัวนาไฟฟ้า

ในตัว inductive proximity sensor จะ


ประกอบด้วยขดลวดและแกนเฟอร์ไรท์ ซึ่งจะเป็ น
ส่วนประกอบของวงจรกาเนิดสัญญาณ ในขณะทางาน
ปกติ ที่บริ เวณส่วนปลายตรวจจับ จะมีสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าสูง เมื่อมีโลหะหรื อวัตถุตวั นาเข้ามาใกล้บริ เวณ
ระยะการตรวจจับจะทาให้เกิดการถ่ายเทพลังงานไปใช้
ในวัตถุตวั นา และทาให้สนามแม่เหล็กไฟฟ้ายุบตัวลง
http://netra.lpru.ac.th/~chaloempong/files/ProximitySwitch.pdf จนกระทัง่ หมดไป
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-14

529312 Industrial Electricity

ใช้ตรวจจับวัตถุพวกโลหะ อโลหะ หรื อของเหลวทุกชนิด

ในตัว capacitive proximity sensor จะมีวงจร


กาเนิดสัญญาณความถี่สูง แต่ในสภาวะปกติบริ เวณหน้า
ของตัวตรวจจับจะเป็ นเพียงแผ่นธรรมดาของตัวเก็บประจุ
http://netra.lpru.ac.th/~chaloempong/files/ProximitySwitch.pdf
ส่วนอีกแผ่นจะเป็ นกราวด์ เมื่อวัตถุเป้าหมายเข้ามาใน
บริ เวณระยะการตรวจจับ ทาให้ค่าของ capacitance มีค่า
สู งขึ้น และทาให้สัญญาณความถี่สูงเกิดการ oscillate มาก
Capacitive proximity sensor ขึ้น จะทางานตรงข้ามกับ inductive proximity sensor

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-15

529312 Industrial Electricity

ตัวอย่างการใช้งาน inductive proximity


sensor และ capacitive proximity sensor

http://www.supremelines.co.th/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E
0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/2064-
%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8
%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0
%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%8A%E0%B9%8C-proximity-switches.html

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-16

529312 Industrial Electricity

https://www.factomart.com/th/factomartblog/structure-and-principle-of-
ultrasonic-sensor/

HC-SR04
http://cpre.kmutnb.ac.th/esl/learning/index.php?article=hc-sr04-ultrasonic

ทางานโดยอาศัยคลื่นเสี ยงที่มีความถี่สูงกว่า 20 kHz ซึ่งเป็ นคลื่นในย่านที่


มนุษย์ไม่สามารถได้ยนิ เสี ยง เซนเซอร์ ชนิดอัลตราโซนิกทางานโดยอาศัย
การกระจาย หรื อการเคลื่อนที่ของคลื่นเสี ยงไปกระทบกับพื้นผิวของตัวกลาง
ซึ่งอาจเป็ นของแข็งหรื อของเหลว บางส่ วนของคลื่นเสี ยงจะแทรกผ่านเข้าไป
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/4348/ultrasonic-sensor-
ในตัวกลางนั้น และส่ วนใหญ่ของคลื่นความถี่สูงนี้ จะสะท้อนกลับเรี ยกว่า
%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8
%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%
B8%87-
"Echo" โดยช่วงเวลาของการสะท้อนกลับของคลื่นเสี ยงเป็ นสัดส่ วนโดยตรง
%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8
%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0
%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81
กับระยะห่างระหว่างวัตถุกบั เซนเซอร์

Ultrasonic proximity sensor


Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-17

529312 Industrial Electricity


อุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ ทาหน้าที่เป็ นตัวกลางเพื่อแปลงสัญญาณให้อยูใ่ นรู ปแบบที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความดันของระบบของไหล
ถ้าใช้ hydraulic/pneumatic control, แรงดันหรื อกระแสไฟฟ้าถ้าใช้ตวั ควบคุมทางไฟฟ้า ดังนั้น จาเป็ นต้องนาสัญญาณทางออกของ
เซนเซอร์มาผ่านวงจรปรุ งแต่งสัญญาณ (signal conditioning circuit) เพื่อปรับระดับสัญญาณให้ตวั ประมวลผลหรื อชุดควบคุมตีความ
ได้อย่างถูกต้อง
Signal
Sensors Controller
conditioner

Thermal System
r(t) มวล m

Controller
ความจุความร้อน

source
Power
e(t) p(t) จาเพาะ CP
อุณหภูมิ T0
q(t)

(t)
Signal
Sensor
Conditioner

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-18

529312 Industrial Electricity


ตัวควบคุมโดยปกติ ได้แก่ ไมโครโปรเซสเซอร์ จะมีระดับสัญญาณอยูใ่ นช่วง -5 V, 0 V, +5 V และโดยปกติตอ้ งการสัญญาณดิจิตอล
ดัง นั้น ต้อ งผ่า นอุ ป กรณ์ ที่ เ รี ย กว่า Analog-to-Digital converter แต่ อุ ป กรณ์ น้ ี จะมี ก ารก าหนดช่ ว งการแปลงที่ จ ากัด เช่ น แปลง
สัญญาณไฟฟ้า 0 – 4 V ไปเป็ นสัญญาณดิจิตอลขนาด 8 บิต นัน่ คือ จะแบ่งแรงดันออกเป็ น 28 = 256 จุด หรื อ 28 – 1 = 255 ช่วง ช่วงละ
(ความละเอียด) 4 V/255 = 0.01569 V

ทดลองกาหนดระดับสัญญาณควบคุม r(t) (หรื อสัญญาณอ้างอิง) ตามระดับของอุณหภูมิจากเซนเซอร์ที่วดั ได้ดงั นี้


0V => 0 C
1V => 20 C
2V => 40 C
3V => 60 C
4V => 80 C

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-19

529312 Industrial Electricity

ออกแบบชุดตัวต้านทานปรับค่าได้ นัน่ คือ


ถ้าใช้ตวั ปรับตั้งค่าเป็ นตัวต้านทานปรับค่าได้ขนาด Rtotal = 20 k และใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 5 V
◼ 0 C  0V RX = 0 k
◼ 20 C  1 V RX = 4 k
◼ 40 C  2 V RX = 8 k
◼ 60 C  3 V RX = 12 k
◼ 80 C  4 V RX = 16 k
◼ 100 C  5 V RX = 20 k
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-20

529312 Industrial Electricity

ตัวปรับค่า

การปรุงแต่ งสั ญญาณด้ วยออปแอมป์ (Operational Amplifiers: Op-amp) จะได้ VT


o เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญสาหรับวงจรปรุ งแต่งสัญญาณ
o เป็ นตัวกลางในการดาเนินการสัญญาณแรงดันไฟฟ้า
▪ บวก, ลบ, ขยาย, อินติเกรต, ดิฟเฟอเรนชิเอต
o ราคาถูก

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-21

529312 Industrial Electricity

วงจรออปแอมป์
○ Inverting amplifier ตัวขยายกลับเฟส
○ Non-inverting amplifier ตัวขยายไม่กลับเฟส
○ Summing circuit วงจรบวก
○ Difference circuit วงจรผลต่าง
○ Integrator ตัวอินติเกรตสัญญาณ
○ Differentiator ตัวดิฟฟ์ สัญญาณ
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-22

529312 Industrial Electricity

Inverting Amplifier

Rf
Vout = − V1
R1

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-23

529312 Industrial Electricity

Non-inverting Amplifier

 Rf 
Vout = 1 + V1
 R1 

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-24

529312 Industrial Electricity

Summing Amplifier

Rf Rf Rf
Vout = − V1 − V2 − V3
R1 R2 R3

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-25

529312 Industrial Electricity

Difference Amplifier

Rf
Vout = (V2 − V1 )
R1

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-26

529312 Industrial Electricity

Integrator

1
RC 
Vout = − V1dt

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-27

529312 Industrial Electricity

Differentiator

dV1
Vout = − RC
dt

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-28

529312 Industrial Electricity

ตัวอย่างที่ 1 เซนเซอร์วดั อุณหภูมิมีความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิที่วดั กับแรงดันของเซนเซอร์เป็ น 2.5 mV/C นามาวัดอุณหภูมิ


ในช่วง 4C ถึง 100C จงออกแบบวงจรปรุ งแต่งสัญญาณให้ได้แรงดันโดยให้สัญญาณ 0 ถึง 5 V เทียบเคียงกับ 4 C ถึง 100 C
จากโจทย์ แรงดันที่เซนเซอร์ให้ออกมาจากการวัดอุณหภูมิในช่วง 4 C ถึง 100 C คือ 10 mV ถึง 250 mV
○ นัน่ คือ ออกแบบให้
o 10 mV  0 V
o 250 mV  5 V
○ คานวณสมการการแปลงโดยใช้สมการเส้นตรงได้ดงั นี้
o VT = aVSEN + b ➔ มาจาก y = mx + c
○ แทนค่าในสมการ
o 0 = a(10 mV) + b …(1)
o 5 = a(250 mV) + b …(2)
○ แก้สมการทั้ง 2 สมการ จะได้
o a = 20.83 , b = -0.2083
จะได้
○ VT = 20.83VSEN – 0.2083 V

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-29

529312 Industrial Electricity

Non-inverting
Amplifier

Difference
Amplifier

แบบฝึ กทักษะที่ 4 สวิตช์ และเซนเซอร์

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-30

529312 Industrial Electricity

รีเลย์ และตัวสั มผัสแม่ เหล็ก (electromechanical relays and contactors)

รี เลย์ ตัวสัมผัสแม่เหล็ก

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-31

529312 Industrial Electricity

https://mall.factomart.com/component-of-
N.O. magnetic-contactor/
N.O.

CO COIL COIL

N.C. N.C.

(ที่มา: https://www.inkoelektronik.com.tr/urun/hhc69a-1c-24-vdc)

รี เลย์และตัวสัมผัสแม่เหล็กมีโครงสร้างและการทางานที่คล้ายกัน ต่างกันที่พิกดั การทนกระแสของหน้าสัมผัส


โดยตัวสัมผัสแม่เหล็กทนกระแสได้สูง รี เลย์จะมีพิกดั สูงสุดประมาณไม่เกิน 10 A เท่านั้น ในขณะที่ตวั สัมผัส
แม่เหล็กมีพิกดั สู งได้หลายร้อยแอมแปร์
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-32

529312 Industrial Electricity

โซลิตสเตตรีเลย์ (solid-state relays)

LOAD

INPUT 120 Vac

โซลิตสเตตรี เลย์ (solid-state relays)

LOAD

INPUT Vdc

ทรานซิสเตอร์กาลังโซลิตสเตตรี เลย์ (power transistor solid-state relays)

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-33

529312 Industrial Electricity

รีเลย์หน่ วงเวลา (timing relay)

ON Delay Relay (Timer ON Delay)

INTERVAL ON Delay Relay

OFF Delay Relay

TURE OFF Delay Relay (Timer OFF Delay)


Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-34

529312 Industrial Electricity

รีเลย์ โหลดเกิน (overload relay)

https://www.imc-direct.com/product_p/3rb3016-2sb0.htm https://mall.factomart.com/what-is-a-overload-relay/

เป็ นอุปกรณ์ตรวจจับสภาวะการทางาน ถ้ากระแสที่ไหลเข้าสู่ อุปกรณ์ที่ได้รับการป้องกันเกินพิกดั ที่ต้ งั ไว้ รี เลย์โหลดเกิน


จะทางานโดยสั่งให้ตวั สัมผัสแม่เหล็กทางาน โดยการเปิ ดหน้าสัมผัสออก สาหรับมอเตอร์ที่ใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กติดตั้ง
ร่ วมกับรี เลย์โหลดเกิน จะเรี ยกว่า ตัวสตาร์ตมอเตอร์ (motor starter)
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-35

529312 Industrial Electricity


การควบคุมด้วยวงจรรีเลย์เบื้องต้น
24 VDC 220 VAC
L L

Lamp
Switch

Relay coil
(remote control) Relay contact

N N
(control circuit) (power circuit)

วงจรควบคุมการปิ ดเปิ ดหลอดไฟจากระยะไกลด้วยรี เลย์ชนิดทางานทันที

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-36

529312 Industrial Electricity

24 VDC 220 VAC


L L
Slow operate
Lamp
Switch

5 sec

Relay coil
(remote control) Relay contact

N N
(control circuit) (power circuit)

วงจรควบคุมการปิ ดเปิ ดหลอดไฟจากระยะไกลด้วยรี เลย์หน่วงเวลาทางาน

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-37

529312 Industrial Electricity

24 VDC 220 VAC


L L
Slow release
Lamp
Switch

5 sec การควบคุมระยะไกล
Relay coil
(remote control) Relay contact

N N
วง รควบคม (control circuit) วง ร า งั (power circuit)

วงจรควบคุมการปิ ดเปิ ดหลอดไฟจากระยะไกลด้วยรี เลย์หน่วงเวลาหยุดทางาน

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-38

529312 Industrial Electricity


การตั้งชื่ ออุปกรณ์และการแสดงขั้วของหน้ าสัมผัส ตามมาตรฐาน IEC 81346 Industrial system, installations and equipment and industrial products-
Structuring principles and reference designations
IEC 81346-1:2009 – Part 1: Basic rules
IEC 81346-2:2009 – Part 2: Classification of objects and codes for classes
ชื่อของอุปกรณ์จะแบ่งเป็ น 3 ส่ วนคือ
ส่ วนที่ 1 เป็ นตัวอักษร แสดงชนิดอุปกรณ์ (ต้องกาหนด)
F อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ฟิ วส์
H หลอดไฟสัญญาณ
K รี เลย์หรื อตัวสัมผัสแม่เหล็ก
M มอเตอร์
P อุปกรณ์วดั หรื ออุปกรณ์ทดสอบ
S สวิตช์ควบคุม
Q สวิตช์ตดั ต่อวงจร หรื อ เซอร์กิตเบรกเกอร์
ส่ วนที่ 2 เป็ นตัวเลข แสดงลาดับของอุปกรณ์ชนิดเดียวกันที่อาจจะมีได้หลายตัว (ต้องกาหนด)
ส่ วนที่ 3 เป็ นตัวอักษร แสดงหน้าที่การทางาน (อาจจะมีหรื อไม่มีก็ได้)
A หน้าที่ช่วย T การหน่วยเวลา
M หน้าที่หลัก C การนับ

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-39

529312 Industrial Electricity


ตัวอย่างเช่น
K1M เป็ นรี เลย์หรื อตัวสัมผัสใช้งานเป็ นหน้าที่หลัก
K4T เป็ นรี เลย์หรื อตัวสัมผัสแม่เหล็กใช้งานแบบหน่วงเวลา
F2 เป็ นรี เลย์โหลดเกินหรื อฟิ วส์
S1 เป็ นสวิตช์
H3 เป็ นหลอดไฟสัญญาณ

เครื่ องหมายขั้วอุปกรณ์ รี เลย์หรื อตัวสัมผัสแม่เหล็ก สามารถประกอบไปด้วยหน้าสัมผัสได้หลายชุด ดังนั้น การกาหนดขั้วมีความ


จาเป็ นเพือ่ ให้การทางานเป็ นไปอย่างถูกต้อง
11 21 33 43
หน้าสัมผัสปกติปิด (NC) .1 และ .2
หน้าสัมผัสปกติเปิ ด (NO) .3 และ .4
หน้าสัมผัสปกติปิดแบบหน่วงเวลา .5 และ .6 12 22 34 44
หน้าสัมผัสปกติเปิ ดแบบหน่วงเวลา .7 และ .8

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-40

529312 Industrial Electricity


มาตรฐานสากลสาหรับอุปกรณ์ตดั ต่อทางไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับรี เลย์และตัวสัมผัสแม่เหล็ก ได้แก่
IEC 60947 Low-voltage switchgear and control gear
IEC 60947-1 Part 1: General Rules
IEC 60947-4-1 Part 4-1: Contactors and Motor Starters

ตามมาตรฐานที่กาหนด สามารถแบ่งตัวสัมผัสแม่เหล็กออกเป็ นชั้นต่าง ๆ ได้ตามคุณลักษณะสมบัติของหน้าสัมผัส เพื่อวัตถุประสงค์


ในการจาแนกการใช้งานเฉพาะด้าน สาหรับชั้นการใช้งานกระแสสลับ ได้แก่
ชั้น AC1 ใช้กบั โหลดไฟฟ้ากระแสสลับได้ทุกชนิดที่มีตวั ประกอบกาลังไม่ต่ากว่า 0.95
ชั้น AC2 ใช้กบั โหลดมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบวงแหวนลื่นในตอนเริ่ มเดินเครื่ อง plugging, jogging โดยหน้าสัมผัสในชั้นนี้
ต้องทนกระแสในการปิ ด (making capacity) หรื อเปิ ด (breaking capacity) วงจรได้ 2.5 เท่าของพิกดั มอเตอร์
ชั้น AC3 สาหรับมอเตอร์ ไฟฟ้ าเหนี่ ยวนาแบบกรงกระรอก มีใช้งานแพร่ หลายที่สุดมีพิกดั การทนกระแสเริ่ มเดินเครื่ อง ได้
ประมาณ 5 – 7 เท่าของกระแสพิกดั และทนกระแสการเปิ ดวงจรได้ 1 เท่า เช่น ลิฟท์ สายพาน คอมเพรสเซอร์ ปั้ม เป็ นต้น
ชั้น AC4 สาหรับมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก มีพิกดั การทนกระแสเริ่ มเดินเครื่ องและกระแสในการเปิ ดวงจร ได้
ประมาณ 5 – 7 เท่าของกระแสพิกดั เหมาะสาหรับการควบคุมแบบ plugging หรื อ jogging เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องดึงลวด ปั้ นจัน่ เป็ น
ต้น

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-41

529312 Industrial Electricity


สาหรับชั้นการใช้งานกับไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งได้ดงั นี้
ชั้น DC1 ใช้กบั โหลดไฟฟ้ากระแสตรงได้ทุกชนิดที่มีค่าคงตัวเวลาน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 1 ms เช่น โหลดความต้านทาน
ชั้น DC2 ใช้สาหรับการหยุดมอเตอร์แบบขนานที่กาลังเดินเครื่ อง โดยมีค่าคงตัวเวลาประมาณ 7.5 ms ในการปิ ดหน้าสัมผัสต้อง
ทนกระแสได้ 2.5 เท่าของพิกดั ในการเปิ ดวงจรจะทนกระแสที่ค่าพิกดั
ชั้น DC3 ใช้สาหรับเริ่ มเดินเครื่ อง, plugging หรื อ jogging มอเตอร์แบบขนาน มีคา่ คงตัวเวลาน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 2 ms ในการ
ปิ ดหน้าสัมผัสต้องทนกระแสได้ 2.5 เท่าของพิกดั ในการเปิ ดวงจรจะทนกระแสที่ 2.5 เท่าของค่าพิกดั เช่นกัน
ชั้น DC4 ใช้สาหรับหยุดมอเตอร์แบบอนุกรมที่กาลังทางาน มีค่าคงตัวเวลาประมาณ 10 ms ในการปิ ดหน้าสัมผัสต้องทน
กระแสได้ 2.5 เท่าของพิกดั ในการเปิ ดวงจรจะทนกระแสที่ 1/3 เท่าของค่าพิกดั
ชั้น DC5 ใช้สาหรับเริ่ มเดินเครื่ อง, plugging หรื อ jogging มอเตอร์แบบอนุกรม มีค่าคงตัวเวลาน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 7.5 ms ใน
การปิ ดหน้าสัมผัสต้องทนกระแสได้ 2.5 เท่าของพิกดั ในการเปิ ดวงจรจะทนกระแสที่ 2.5 เท่าของค่าพิกดั เช่นกัน

การสั่งการให้หน้าสัมผัสทางานต้องใช้วงจรควบคุม ซึ่งประกอบด้วยชุดขดลวดและหน้าสัมผัสช่วยตัดต่อวงจรควบคุม อาจจะทางาน


ด้วยไฟกระแสตรงหรื อกระแสสลับก็ได้ โดยปกติ วงจรควบคุมจะทางานเมื่อมีการจ่ายไฟเข้าที่วงจรควบคุมในช่วง 85 – 110% ของค่า
พิกดั โดยมีพิกดั ดังนี้
DC (V): 12, 24, 48, 110, 125, 220, 250
AC (Vrms): 12, 24, 48, 110, 127, 220, 380

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-42

529312 Industrial Electricity


การใช้ งานตัวสัมผัสแม่เหล็กในระบบไฟฟ้ากาลัง
○ ระบบจาหน่ายกาลังไฟฟ้า (electric power distribution systems)
ใช้สาหรับ line contactor หรื อ feeder contactor ตัดต่อวงจรในระบบจาหน่าย มีพิกดั การทนกระแสสูง ใช้ช้ นั AC1
○ วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง (lighting circuits)
การตัดต่อวงจรหลอดไฟฟ้าจะขึ้นอยูก่ บั ชนิดของหลอดที่ใช้ โดยพิจารณาจากพิกดั ของหลอดไฟหรื อของวงจรเป็ นสาคัญ
ในกรณี ของหลอดไส้น้ นั ให้เลือกใช้ช้ นั การใช้งาน AC1 และให้มีพิกดั กระแสปิ ดวงจร 15 – 20 เท่า ในการออกแบบอาจจะ
เลือกใช้ที่ 18 เท่าก็ได้
ในกรณี ของหลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดี ยมความดันสู ง และหลอดเมทอลฮาไลด์ ที่ไม่มีการปรับปรุ งตัวประกอบกาลัง ให้
เลือกใช้ช้ นั การใช้งาน AC3 ซึ่งปกติจะทนกระแสปิ ดวงจรได้สูงถึง 6 เท่า ในขณะที่วงจรหลอดประเภทนี้มีกระแสปิ ดวงจร ที่ประมาณ
1.6 เท่า
ในกรณี ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดียมความดันสู ง และหลอดเมทอลฮาไลด์ ที่มีการปรับปรุ ง ตัว
ประกอบกาลัง กระแสปิ ดวงจรจะสู งได้ประมาณ 15 – 20 เท่า เนื่องจากผลของตัวเก็บประจุในการชดเชยตัวประกอบกาลัง ดังนั้น ให้
เลือกใช้เหมือนกรณีหลอดไส้

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-43

529312 Industrial Electricity


ตัวอย่ างที่ 2 จงเลือกขนาดของตัวสัมผัสแม่เหล็กสาหรับตัดต่อวงจรหลอดแสงจันทร์ ขนาด 400 W, 220 V ทางานที่ตวั ประกอบกาลัง
ล้าหลัง 0.6 จานวน 12 หลอดต่อวงจร

400 W
คานวณกระแสพิกดั ของหลอด In = = 3.03 A / lamp
220 V  0.6
ได้กระแสรวมทั้งสิ้น IT = 123.03 A = 36.36 A
ดังนั้นเลือกใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กชั้น AC3 ที่คา่ กระแสพิกดั อย่างน้อย 36.36 A มี making capacity อย่างน้อย 1.636.36 = 58.18 A

ตัวอย่ างที่ 3 จงเลือกขนาดของตัวสัมผัสแม่เหล็กสาหรับตัดต่อวงจรหลอดเมทอลฮาไลด์ ขนาด 250 W, 380 V ทางานที่ตวั ประกอบ


กาลังล้าหลัง 0.95 จานวน 8 หลอดต่อวงจร

250 W
คานวณกระแสพิกดั ของหลอด In = = 1.196 A / lamp
220 V  0.95

ได้กระแสรวมทั้งสิ้น IT = 81.196 A = 9.568 A


พิกดั การปิ ดวงจร making capacity = 189.568 A = 172.2 A
ดังนั้น เลือกใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กชั้น AC1 ที่ค่ากระแสพิกดั อย่างน้อย 9.568 A มี making capacity อย่างน้อย 172.2 A
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-44

529312 Industrial Electricity


○ ตัดต่อวงจรทางด้านปฐมภูมิของหม้อแปลง (primary-side )
เมื่อเริ่ มจ่ายไฟให้กบั หม้อแปลง จะเกิดกระแสขนาดประมาณ 25 – 30 เท่าของค่าพิกดั ไหลผ่านหน้าสัมผัส (เป็ นกระแสค่ายอด: peak
current) ดังนั้น การเลือกตัวสัมผัสแม่เหล็กต้องคานึงถึงประเด็นนี้ดว้ ย

ตัวอย่างที่ 4 จงเลือกขนาดตัวสัมผัสแม่เหล็กสาหรับหม้อแปลง 3 เฟส ขนาด 12.5 kVA ใช้งานที่แรงดัน 380/220 V

12.5 kVA
คานวณกระแสพิกดั ของหม้อแปลง In = = 18.99 A
3  380 V
พิกดั การปิ ดวงจร making capacity = 3018.99 A = 569.7 A (peak) = 402.8 A (rms)
ดังนั้น เลือกใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กชั้น AC1 ที่ค่ากระแสพิกดั อย่างน้อย 18.99 A
มี making capacity อย่างน้อย 402.8 A

○ ตัดต่อวงจรตัวเก็บประจุ (capacitor circuit)


เมื่อเริ่ มจ่ายไฟให้กบั ตัวเก็บประจุที่ไม่มีประจุสะสมอยู่ จะทาให้มีกระแสพุ่งเข้าสู งเนื่ องจากตัวเก็บประจุจะประพฤติตวั เหมือนถูก
ลัดวงจร ตามมาตรฐานการออกแบบพิกดั การทนกระแสต่อเนื่องของตัวสัมผัสแม่เหล็กจะคิดที่ 1.43 เท่าของกระแสพิกดั

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-45

529312 Industrial Electricity


ตัวอย่างที่ 4 จงเลือกขนาดตัวสัมผัสแม่เหล็กสาหรับตัวเก็บประจุ 3 เฟส ขนาด 80 kvar ที่แรงดัน 400 V

80 k var
คานวณกระแสพิกดั ของตัวเก็บประจุ In = = 115 .5 A
3  400 V
พิกดั กระแสต่อเนื่องของตัวสัมผัสแม่เหล็ก 1.43115.5 A = 165.2 A
ดังนั้น เลือกใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กชั้น AC1 ที่ค่าพิกดั กระแสต่อเนื่อง อย่างน้อย 165.2 A

การใช้ ตัวสั มผัสแม่ เหล็กสาหรับวงจรมอเตอร์

การเริ่ มเดินเครื่ องมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนา


การเริ่ มเดินเครื่ องมอเตอร์ ไฟฟ้ าเหนี่ ยวนามีได้หลายวิธี แต่ละวิธีมีคุณลักษณะสมบัติที่แตกต่างกันออกไป และเหมาะสาหรับการ
ประยุกต์ใช้ที่ต่างกันด้วย เช่ น การเริ่ มเดินเครื่ องแบบ DOL (direct on-line) เป็ นการป้ อนไฟค่าพิกดั ให้กับมอเตอร์ โดยตรง ทาให้
กระแสเริ่ มเดินเครื่ องมีค่าสู ง แต่เป็ นวิธีที่ง่าย และประหยัดที่สุด ในขณะที่การเริ่ มเดินเครื่ องด้วยวิธีลดแรงดัน เช่น การใช้หม้อแปลง
ออโต (auto-transformer start) การเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์ เดลตา (star-delta start) แบบใช้ตวั ต้านทาน (resistor start) แบบใช้วงจร
สวิตช์สารกึ่งตัวนา ที่อาจจะเรี ยกย่อ ๆ ว่า soft start

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-46

529312 Industrial Electricity


➢ การเริ่มเดินเครื่ องแบบ DOL
การเริ่ มเดินเครื่ องแบบนี้ จะให้กระแสและแรงบิดที่สูงในขณะเริ่ มเดินเครื่ อง มีขอ้ เสี ยคือ กระแสเริ่ มเดินเครื่ องมีค่าสูง ทาให้อายุการใช้
งานของมอเตอร์ส้ นั กว่าแบบอื่น ๆ แนะนาให้ใช้ตวั สัมผัสแม่เหล็กชั้นการใช้งาน AC3 หรื อ AC4 โดยมีโครงสร้างวงจรดังนี้
380/220 V, 50 Hz
L1
L2
L3
N
Line
PE

F1 F2
F2 Power circuit
S1
A1
K1M
A2
S2 K1A
S2
K1A
A1
K1
S1
M A2

Neutral
Control circuit
DOL start with fuse

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-47

529312 Industrial Electricity


380/220 V, 50 Hz
L1
L2
L3
N
Line
PE F2
F1
F2 Power circuit F3

A1 S1
K1M DOL:
A2 1) ทาให้เกิดไฟแสงสว่างวูบ หรื อกระพริ บ
F3
S2 2) ทาให้อป
ุ กรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้าตกทางาน
S2 K1A
3) อาจเกิด over load แก่ระบบจ่ายไฟเข้าโรงงาน เช่น
K1A หม้อแปลงไฟฟ้า
A1 4) อาจจทาให้ฟิวส์แรงสู งที่ระบบจ่ายไฟขาดได้
K1 5) กระทบต่อการทางานของมอเตอร์ตวั อื่น ๆ ในโรงงาน ที่
S1
M A2 ทางานในสภาวะใกล้ over load อาจจะดับหรื อหยุด
ทางานได้ เพราะเกิดไฟตก
Neutral
Control circuit
DOL start with overload relay

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-48

529312 Industrial Electricity

การนาวงจรควบคุมการเริ่ มเดินเครื่ องแบบ DOL ไปใช้งานมีดงั นี้


○ วงจรควบคุมการทางานของปั๊มน้ าด้วยสวิตช์การไหล (flow switch control)

L
Control circuit F2
F2
F3

K1A S1
Power circuit

F3 S2

M Pump S3 K1A

Flow switch K1
S1
N

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-49

529312 Industrial Electricity


○ วงจรควบคุมการทางานของมอเตอร์หลายสถานีดว้ ยสวิตช์กดติดปล่อยจาก (multiple station control with push-button switches)
เป็ นวงจรที่ใช้ควบคุมการเปิ ดปิ ดมอเตอร์โดยใช้สถานีควบคุมหลายจุด มีแผนภาพวงจรควบคุมดังนี้
L
F2

F3

S1a

S1b

S1c

S2a S2b S2c K1A

K1

N วงจรควบคุมนี้ประกอบด้วยสถานีควบคุม 3 แห่ง ได้แก่ สถานี a, b และ c


Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-50

529312 Industrial Electricity


○ วงจรอินเตอร์ลอ็ กสาหรับการกลับทางหมุนมอเตอร์ (interlocking methods for reversing control)
วงจรอินเตอร์ล็อกถูกนามาใช้เพื่อป้องกันการทางานที่อาจจะทาให้เกิดการลัดวงจรของมอเตอร์ได้ เช่น การควบคุมการกลับทางหมุน
ของมอเตอร์ มีรายละเอียดดังนี้
380/220 V, 50 Hz
L1
L2 L
L3
N F2
PE
Control
F1
F3 circuit

K1M K2M
K1 K2 S1 S2

u v w u v w

K2A K1A
F3

u v w
K1 K2
Power
circuit
M N
1 2

การกลับทางหมุนแบบนี้มีขอ้ เสี ยคือ ถ้าสวิตช์ S1 และ S2 ถูกกดพร้อมกันจะทาให้เกิดลัดวงจร ดังนั้น วงจรแบบนี้ไม่นิยมใช้ อีกวิธีที่


ทาให้การกลับทางหมุนทาได้ คือ การใช้สวิตช์ปรับได้ 2 ทาง โดยไม่ใช้หน้าสัมผัสช่วย
Course Notes in Electrical Power Engineering
รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-51

529312 Industrial Electricity


380/220 V, 50 Hz
L1
L2
L3 L
N
PE F2

F1
F3

K1M K2M
K1 K2 Control
S1
u v w u v w circuit

S2
F3

u v w
K1 K2
Power
M circuit
N
1 2

ตัวอย่างการจาลองผล http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module11/direct.html
http://moodleplc.krutechnic.com/Zlab4_1.html

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-52

529312 Industrial Electricity


○ วงจรควบคุมการทางานแบบลาดับของมอเตอร์ (sequence control)
380/220 V, 50 Hz
L1 L
L2
L3 F2
N
PE
F31
F11 F12

F32 Control circuit


K1M K2M
K1 K2
S1
u v w u v w

K1A K3T (5 s)
F31 F32 S2
K1A

u v w u v w K1A
5 sec
Power circuit
K1 K3 K2

M1
M M2
M
N
1 2 3

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-53

529312 Industrial Electricity


○ วงจรควบคุมการทางานของมอเตอร์แบบ jogging หรื อ inching (jogging or inching control)
ตามมาตรฐาน NEMA ระบุไว้วา่ jogging (inching) คือ การควบคุมให้มอเตอร์ทางานจากหยุดนิ่งอย่างรวดเร็ว เพื่อวัตถุประสงค์ในการ
ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ไปยังตาแหน่งการกระจัดเล็ก ๆ โดย jogging เป็ นการเดินเครื่ องแบบ across-the-line starter หรื อ DOL
ในขณะที่ inching เป็ นการเดินเครื่ องแบบ reduced voltage starter
L L
F2 F2

F3 F3

S1
S1

JOG

RUN CR JOG
RUN K1A
CR

CR K1
K1

N N

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-54

529312 Industrial Electricity


○ วงจรควบคุมการหยุดทางานของมอเตอร์แบบ plugging (plugging control)
นิ ยามตามมาตรฐาน NEMA การทา plugging หมายถึง การเบรกมอเตอร์ ดว้ ยการต่อสายไฟเข้ามอเตอร์ในทิศทางตรงข้าม ทาให้เกิด
แรงบิ ด ในทิ ศทางตรงข้า มกับการหมุน ของมอเตอร์ ช่วยหน่ วงให้มอเตอร์ ห ยุด หมุนได้เร็ วขึ้ น ในการหยุด มอเตอร์ ต ามปกติน้ ัน
ดาเนินการโดยใช้การตัดไฟที่จ่ายให้มอเตอร์ แต่มอเตอร์จะไม่หยุดหมุนในทันที จะค่อย ๆ ลดความเร็วเนื่องจากความเฉื่อย จนกระทัง่
หยุด การทา plugging นี้ จะสร้าง retarding torque ไปหน่วงให้มอเตอร์ หยุดหมุนได้อย่างรวดเร็ ว การหยุดหมุนแบบนี้ ต้องมีการนา
สวิตช์ zero-speed มาใช้เนื่ องจากการสร้ างแรงบิดหน่ วงนี้ จะทาให้มอเตอร์ หยุดหมุนเร็ วมาก เมื่อความเร็ วของมอเตอร์ เป็ นศูนย์
จะต้องตัดไฟที่ป้อนออกทันที เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการกลับทางหมุนของมอเตอร์ที่อาจจะทาความเสี ยหายต่ออุปกรณ์อื่น ๆ หรื อตัว
มอเตอร์เองได้ นอกจากนี้ การเบรกด้วยวิธีน้ ี อาจจะใช้แหล่งจ่ายไฟกระแสตรงจ่ายให้คู่เฟสที่ทาให้เกิด การหมุนแรงบิดต้านกลับได้อีก
ด้วย สาหรับในชั้นนี้ จะนาเสนอการเบรกโดยใช้แหล่งจ่ายสามเฟสเท่านั้น

นอกจากการเบรกแบบนี้ แล้ว ยังมีการเบรกด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การเบรกพลวัต (dynamic braking) โดยการตัดไฟที่ป้อนให้ มอเตอร์


ออกไป จากนั้น ทาการต่อตัวต้านทานคร่ อมขั้วมอเตอร์ ส่ งผลให้พลังงานสะสมในรู ปของแรงเคลื่อนไฟฟ้า ต้านกลับจะจ่ายไฟให้กบั
ตัวต้านทาน ส่งผลให้เกิดการการคายพลังงานออกมาก ทาให้มอเตอร์ถูกหน่วงให้หยุดอย่างรวดเร็ว

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-55

529312 Industrial Electricity


รู ปต่อไปนี้ นาเสนอวงจร plugging ที่ใช้คู่กบั zero-speed switch

380/220 V, 50 Hz L
L1
L2
L3 F2
N
PE
F3 Control circuit
F1

S1
K1M K2M
K1 K2 K2A

u v w u v w

S2 K1A K1A K3A


K3A
F4 x y
F3
J>0
K2A
u v w Power circuit K1A

K3
M
K1 K2
J>0

N 1 2 3

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-56

529312 Industrial Electricity


○ การเริ่มเดินเครื่ องแบบ reduced voltage
เป็ นการลดแรงดันที่ป้อนให้กบั มอเตอร์ในขณะเริ่ มเดินเครื่ อง ได้แก่ การเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์เดลตา การเริ่ มเดินเครื่ องโดยใช้หม้อ
แปลงออโต หรื อการเริ่ มเดินเครื่ องโดยใช้ตวั ต้านทานเริ่ มเดินเครื่ อง เป็ นต้น
○ การเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์เดลตา (star-delta start) เป็ นการเริ่ มเดินเครื่ องด้วยวิธีลดแรงดันที่ง่ายที่สุด ใช้ได้สาหรับมอเตอร์
แบบกรงกระรอกเท่านั้น
380/220 V, 50 Hz
L1
L2
L3
N
L
PE

F2
F1

F3

K1M K2M K3M


K1 K2 K3
S1 Control
circuit

S2 K1A
F3
K1A

w1 w2 K4T K4T
10
sec

M
v1 v2 K1 K4 K2 K3
Power N
u1 u2 circuit 1 2 3 4

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-57

529312 Industrial Electricity


นอกจากนี้แล้ว การเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์เดลตาอาจจะมีหลายขั้น ถ้าขดลวดสเตเตอร์มีการแบ่งเป็ นส่วน ๆ ดังรู ป
U1 V1 U1

U3 V3
U3 V2
U2
V2
W2
U2 V3
W1
W3 W3 W2
U2 V2 W2 V1
W1
L1 L3 L2
L1 L3 L2
U3 V3 W3
1 2
U2 U2 W1
U1 V1 W1

U3 W1 U3 W3

U1 W3 U1 W2
V2
V3 V1 V2 V3 V1
W2

L3 L1 L2 L1 L2 L3
3 4

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-58

529312 Industrial Electricity


ตัวอย่างของวงจรเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์เดลตา 2 ขั้น เหมาะกับงานที่ขบั โหลดที่มีแรงเฉื่ อยไม่มากนัก ใช้ช่วงเวลาในการเริ่ มต้นเดินเครื่ องน้อย แต่ตอ้ งการแรงบิดสู ง
U1
380/220 V, 50 Hz
L1
U3 V2
L2
L3
N U2 V3
W1
PE W3 W2
F1 V1

L1 L3 L2

L U2 W1

K1M K2M K3M K4M K5M F2 U3 W3


K1 K2 K3 K4 K5
F3 U1 W2
V2 V3 V1

S1 Control circuit L1 L2 L3

F3 S2 K3A
U1 V1 W1
Power circuit K3A
K3A
U3 U2
10 sec K6T K6T

W3
V3
M V2
W2
K3 K6 K4 K1 H1
N
1 2 3 4 5

การเลือกขนาดของตัวสัมผัสสาหรับการเริ่ มเดินเครื่ องแบบสตาร์เดลตาขั้นเดี่ยว ในกรณี ที่ช่วงเวลาการเริ่ มเดินเครื่ อง (run-up time) ไม่เกิน 15 s และมี
รอบการการเริ่ มเดินเครื่ องไม่เกิน 12 รอบต่อชัว่ โมง: พิกดั K1M = K2M = 0.58IL, K3M = 0.34IL, Overload relay F3= 0.58IL

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-59

529312 Industrial Electricity


○ การเริ่ มเดินเครื่ องโดยใช้หม้อแปลงออโต (autotransformer start) เป็ นการเริ่ มเดินเครื่ องแบบลดแรงดันที่นิยมใช้อย่างแพร่ หลาย
เหมาะสาหรับมอเตอร์ที่ไม่มีการแยกขดลวดสเตเตอร์ไว้ให้ใช้งาน นัน่ คือ ขดลวดสเตเตอร์ถูกต่อเชื่อมกันภายในเรี ยบร้อยแล้ว
ทาให้มีข้วั ต่อเพียง 3 ขั้วเท่านั้น การเริ่ มเดินเครื่ องแบบนี้ จะต่อขั้วทั้ง 3 ขั้วเข้ากับตาแหน่งแท็บของหม้อแปลงออโต โดยปกติ
หม้อแปลงออโตจะมีตาแหน่งแท็บให้ตอ่ ได้ 3 ตาแหน่งได้แก่ ตาแหน่ง 80% 65% และ 50% พิกดั กระแสของตัวสัมผัสต่าง ๆ
ขึ้นอยูก่ บั ตาแหน่งแท็บที่ต่อดังนี้ (ใช้ตวั สัมผัสชั้น AC3)
===============================================================================
Contactor 10s run-up 10s run-up 25s run-up
Ist/IL = 6 Ist/IL = 8 Ist/IL = 8
==============================================================================
K3M IL IL IL
K2M (Autotransformer)
Tap 80% 0.65IL 0.8IL 1.2IL
Tap 65% 0.45IL 0.55IL 0.8IL
Tap 50% 0.30IL 0.37IL 0.55IL
K1M 0.45IL 0.55IL 0.55IL
Overload relay IL IL IL
Operating cycle 30 30 12
===============================================================================

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-60

529312 Industrial Electricity

380/220 V, 50 Hz
L1
L2 L
L3
N
F2
PE
F1
F3

K2M K3M K1M S1


K2
K3
K1 Control circuit
autotransformer

F3 S2 K2A K3A

K3A K4T K5T


10 sec 10 sec
K2 K1 K3
u v
w Power circuit N
K4 K5

M 1 2 3 4 5

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3-61

529312 Industrial Electricity

แบบฝึกทักษะที่ 5 รีเลย์และตัวสัมผัสแม่เหล็ก

Course Notes in Electrical Power Engineering


รศ.ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ และ ผศ.ดร.ทศพล รั ตน์ นิยมชัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

You might also like