Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

Flash evaporator

To: A. Ampai Chanachai


From: Suparuk Nawakitsupakorn Student I.D. 63070500064
Urasaya Sawatdiwong Student I.D. 63070500076
Jiratchaya Vorathepnantakij Student I.D. 63070500079
Regarding: CHE482 Lab#2 – Flash evaporator
Date: 11th March 2024
Summary:
กระบวนการ Flash evaporator คือกระบวนการที่ใชcแยกสารสองชนิดออกจากกันโดยการลดความ
ดันของระบบเพื่อเปsนการลดจุดเดือดของสารลงใหcสามารถกลายเปsนไอไดcโดยไมxตcองใชcความรcอนที่สูง ซึ่งจะมี
ประโยชน}ในอุตสาหกรรมอาหารที่มีสารจำพวกวิตามินที่ยxอยสลายไดcงxายที่อุณหภูมิสูง การทดลองครั้งนี้จึงไดc
ทำการศึกษากระบวนการ Flah evaporator โดยการป„อนสารละลายน้ำตาลความเขcมขcน 3 brix ที่อัตราการ
ไหล 30 L/h ในเวลาทั้งหมด 20 นาทีเขcา Evaporating tube ที่ความดัน -0.6 barg และมี steam 1 barg ใหc
ความรcอนกับระบบ น้ำในสารละลายจะถูกระเหยขึ้นดcานบนกxอนจะถูกทำใหcควบแนxนตกลงมาที่ Condensate
reservoir สxวนที่ไมxระเหยที่ประกอบไปดcวยสารละลายน้ำตาลเขcมขcน ก็จะตกลงมาที่ Concentrate reservoir
ซึ่งการทดลองครั้งนี้ศึกษาการถxายเทความรcอนจากการกำหนดความเร็วรอบของใบกวน ที่ 200, 300 และ 400
rpm และดูคxา Overall heat transfer coefficient กับความเขcมขcนของ Concentrate เพื่อหาความเร็วรอบ
ของใบกวนที่เหมาะสม ทำการทดลองครั้งละ 20 นาทีเมื่อจบแตxละการทดลองวัดคxาอุณหภูมิและปริมาตรสาร
ใน Condensate reservoir และทำการวัดคxาอุณหภูมิ, ปริมาตรสาร และความเขcมขcนใน Concentrate
reservoir เพื่อใชcในการคxา Overall heat transfer coefficient ที่แตxละความเร็วของใบกวน ซึ่งไดcผลมาวxา ที่
ความเร็วรอบใบกวน 200, 300 และ 400 rpm ใหcคxา Overall heat transfer coefficient และความเขcมขcน
ของ Concentrate มีคxาเปsน 629.85, 690.94 และ 757.4 W/m2 K และ 12, 13.4 และ 15 Brix ตามลำดับ
Results and Discussion:
จากการทดลองการเพิ่มความเขcมขcนของสารละลายน้ำตาลโดยใชcเครื่อง Flash Evaporator ในระบบที่ถูกลด
ความดันใหcอยูxที่ประมาณ -0.6 barg ป„อนสารละลายน้ำตาลความเขcมขcนเริ่มตcน 3 brix ดcวยอัตราการไหลเชิง
ปริ ม าตรเทx า กั บ 30 L/h พรc อ มทั ้ ง ใหc ค วามรc อ นจากการป„ อ น Steam 1 barg และทำการทดลองเพื่ อ
เปรียบเทียบผลของความเร็วรอบที่มีตxอความเขcมขcนสุดทcายของสารละลายน้ำตาล และคxาสัมประสิทธิ์การ
ถxายเทความรcอนในแตxละสภาวะโดยการปรับอัตราเร็วรอบใบกวนทั้งหมด 3 คxา ไดcแกx 200, 300 และ 400
rpm ทำการบันทึกคxาความเขcมขcน อุณหภูมิ และปริมาตรของสารละลายน้ำตาลสุดทcาย (Concentrate) และ
บันทึกคxาอุณหภูมิ และปริมาตรสำหรับ Condensate ที่ไดcมาจากการควบแนxนของไอน้ำ เมื่อนำคxาความ
เขcมขcนของ Concentrateมาสรcางกราฟแสดงความสัมพันธ}กับคxาความเร็วรอบใบกวนจะมีแนวโนcมตามรูปที่ 1

รูปที่ 1 ความสัมพันธ}ระหวxางความเขcมขcนของ Concentrate (%brix) และความเร็วรอบใบกวน (rpm)


จากรู ป ที ่ 1 พบวx า เมื ่ อ ความเร็ ว รอบของใบกวนมากขึ ้ น จะทำใหc แ นวโนc ม ความเขc ม ขc น ของ
Concentrate เพิ่มมากขึ้นตาม ซึ่งเปsนไปตามในทางทฤษฎียิ่งความเร็วรอบมากจะทำใหcเกิดชั้นฟ–ล}มของ
สารละลายน้ำตาลใน Evaporating Tube นั้นบางลง มีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนความรcอนเพิ่ม จึงมีการถxายเท
ความรcอนจาก Stream ไปยังสารละลายน้ำตาลไดcมากขึ้น ทำใหcไอน้ำที่ไดcจากการระเหยของน้ำในสารละลาย
น้ำตาลสามารถระเหยไดcมากขึ้น ความเขcมขcนของ Concentrate จึงสูงขึ้น และเมื่อคำนวณหาอัตราการไหล
เชิงมวลของ Condensate ซึ่งสามารถคำนวณไดcจากการวัดปริมาตรของ Condensate จริง และอีกวิธีคือ
คำนวณจากการทำ Mass balance ระหวxางสารละลายที่ป„อนเขcากับอัตราการไหลเชิงมวลของ Concentrate
เมื่อนำมาสรcางกราฟแสดงความสัมพันธ} ระหวxางอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate ที่ไดcจากการวัดและ
การทำMass balance กับความเร็วรอบใบกวนไดcดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 ความสัมพันธ}ระหวxางอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate ที่ไดcจากการวัดและการทำ Mass


balance (kg/s) และความเร็วรอบใบกวน (rpm)
จากรูปที่ 2 พบวxาอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate จากการคำนวณทั้งสองวิธีมีแนวโนcมที่
คลcายกับความสัมพันธ}ระหวxางความเขcมขcนของ Concentrate และความเร็วรอบใบกวน และดcวยเหตุผล
เดียวกันจึงทำใหcแนวโนcมทั้งสองมีลักษณะที่คลcายกัน จากรูปที่ 2 จะเห็นไดcวxามีอัตราการไหลเชิงมวลของ
Condensate จากการวัดมีคxามากกวxาการคำนวณ Mass balance ซึ่งคxา Error ที่เกิดขึ้นอาจเปsนผลมาจาก
การที ่ อุ ปกรณ} ที ่ ใ ชc ใ นการวั ดปริ มาตรเปs นบี กเกอร} และกระบอกตวงขนาดใหญx ทำใหc คx าที ่ วั ดไดc มี ความ
คลาดเคลื่อน รวมถึงอาจเกิดจาก Condensate ที่ยังคงคcางอยูxใน Condenser และReservoir คxาที่ไดcจากการ
วัดมีคxาต่ำกวxา และเมื่อคำนวณคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนของแตxละรอบความเร็วใบกวนจะไดcกราฟ
ความสัมพันธ}ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 ความสัมพันธ}ระหวxางคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอน (W/m2 K) และความเร็วรอบใบกวน (rpm)


จากรูปที่ 3 พบวxาลักษณะกราฟความสัมพันธ}ของคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนและความเร็ว
รอบใบกวนนั้นมีแนวโนcมที่คลcายกับกราฟความสัมพันธ}ระหวxางความเขcมขcนของ Concentrate และความเร็ว
รอบใบกวน คือ มีคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเปsนเหตุผลเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของความ
เขcมขcน Concentrate จากการทดลองพบวxาที่ความเร็วรอบใบกวนเทxากับ 400 rpm เปsนความเร็วรอบใบกวน
ที่ไดcความเขcมขcนของ Concentrate คxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนสูงที่สุด และมีอัตราการไหลเชิงมวล
ของ Condensate สู ง ที ่ ส ุ ด หมายความวx า มี ก ารถx า ยเทความรc อ นไดc ด ี ท ี ่ ส ุ ด ในการทำการทดลอง Flash
Evaporator
Conclusion
จากการทดลองเรื่อง Flash Evaporator เพื่อเพิ่มความเขcมขcนของสารละลายน้ำตาล โดยการลด
ความดันของระบบใหcเขcาใกลcสภาวะสุญญากาศมากที่สุด พบวxาเมื่อเพิ่มความเร็วรอบของใบกวนสxงผลใหcความ
เขcมขcนของ Concentrate และคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนรวมมีคxาเพิ่มขึ้น โดยความเร็วรอบใบกวนที่
400 rpm เปsนความเร็วรอบใบกวนที่ไดcความเขcมขcนของ Concentrate และคxาสัมประสิทธิ์การถxายเทความ
รcอนสูงที่สุด ซึ่งมีอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate สูงที่สุด หมายความวxามีการถxายเทความรcอนไดcดี
ที่สุดในการทำการทดลอง Flash Evaporator
Appendix
Appendix ก : สัญลักษณMที่ใชPในการทดลอง
CPL = คxาความจุความรcอนของอากาศ kJ/kg•K
CPV = คxาความจุความรcอนของไอน้ำ kJ/kg•K
CPW = คxาความจุความรcอนของน้ำ kJ/kg•K

Ĥ1 = Enthalpy ของอากาศขาเขcา kJ/kg Dry air

Ĥ2 = Enthalpy ของอากาศขาออก kJ/kg Dry air

∆Ĥvap = Heat of Vaporization kJ/kg

𝑚̇L = อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศแหcง kg/s


mW = อัตราการไหลเชิงมวลของน้ำที่สูญเสียไป kg/s

∆P = Pressure Drop ภายในคอลัมน} Pa


Qk = Convective Cooling Capacity ของอากาศ kJ/s
QV = Evaporative Cooling Capacity ของอากาศ kJ/s
QW = Heat Load kJ/s

Tf1 = อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศขาเขcา °C
Tf2 = อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศขาออก °C
T1 = อุณหภูมิกระเปาะแหcงของอากาศขาเขcา °C

T2 = อุณหภูมิกระเปาะแหcงของอากาศขาออก °C
TW1 = อุณหภูมิของน้ำขาเขcา °C

TW2 = อุณหภูมิของน้ำขาออก °C
VW = อัตราการไหลเชิงปริมาตรของน้ำ m3/s
x1 = ความชื้นสัมบูรณ}ของอากาศขาเขcา kg Water/kg Dry air
x2 = ความชื้นสัมบูรณ}ของอากาศขาออก kg Water/kg Dry air

ρair = ความหนาแนxนของอากาศ kg/m3

ρW = ความหนาแนxนของน้ำ kg/m3

𝜂 = Cooling Coefficient
Appendix ข : ตารางบันทึกผลการดลอง
ตารางที ่ ข-1 ตารางบั น ทึ ก ผลการดลองอุ ณ หภู มิ , ความเขc ม ขc น , และปริ ม าตรของ Feed Steam,
Concentrated Solution และ Condensate Solution
Feed Steam Concentrated Solution Condensate Solution
อัตราเร็ว
ความ ความ
ของการ อุณหภูมิ อุณหภูมิ ปริมาตร อุณหภูมิ ปริมาตร
เขcมขcน เขcมขcน
กวน (rpm) (°C) (°C) (mL) (°C) (mL)
(brix) (brix)
200 30 3 38 12 2347 32 6343
300 30 3 43 13.4 2181 32 6500
400 30 3 46 15 1853 32 6790

Appendix ค : ขPอมูลที่ไดPจากการทดลอง
ตารางที่ ค-1 ผลการคำนวณอัตราการไหลเชิงมวลของน้ำที่ระเหย, Concentrated solution, Condensate
อัตราการไหลเชิงมวล (kg/s)
อัตราเร็วของการกวน
(rpm) Feed Concentrated solution Condensate

200 0.0073 0.0020 0.00524


300 0.0073 0.0019 0.00537
400 0.0072 0.0016 0.00561
ตารางที่ ค-2 ผลการคำนวณอัตราการไหลเชิงมวลของน้ำที่ระเหยที่วัดไดcจากการทดลองทฤษฎี
อัตราการไหลเชิงมวลของ อัตราการไหลเชิงมวลของ
อัตราเร็วของการกวน
Condensate จากทฤษฎี Condensate %Error
(rpm)
(kg/s) จากการทดลอง (kg/s)
200 0.00525 0.00524 0.39
300 0.00539 0.00537 0.46
400 0.00563 0.00561 0.36

ตารางที่ ค-3 ผลการคำนวณ ∆Tlm


อัตราเร็วของการกวน
∆Tlm1 (°C) ∆T2 (°C) ∆Tlm (°C)
(rpm)
200 85.94 82.00 82.07
300 83.33 77.00 77.17
400 81.74 74.00 74.24

ตารางที่ ค-4 ผลการคำนวณสัมประสิทธิ์การถxายเทความรcอนรวม


อัตราการถcายเทความรfอน
อัตราเร็วของการกวน อัตราการถcายเทความรfอน สัมประสิทธิ์การถcายเทความ
แบบ Latent
(rpm) แบบ Sensible heat (W) รfอนรวม (W/m2 K)
heat (W)
200 243.71 12,679.48 629.85
300 395.61 12,929.18 690.64
400 484.78 13,573.02 757.40

Appendix ง : ตัวอยcางการคำนวณ
ตัวอยcางการคำนวณ
อัตราการไหลเชิงปริมาตรสารละลายน้ำตาลขาเขcา 30 L/h

อุณหภูมิของสารละลายน้ำตาลขาเขcา (TiF) 30 °C
ความหนาแนxนของสารละลายน้ำตาลขาเขcา 1.0064 g/mL
ปริมาตรของ Concentrate solution 2,347 mL
อุณหภูมิของ Concentrate solution (Tb) 38 °C
ความหนาแนxนของ Concentrate solution 1.0473 g/mL
ปริมาตรของ Condensate solution 6,343 mL

อุณหภูมิของ Condensate solution (Tb) 32 °C


คxาความจุความรcอนจำเพาะของสารละลายน้ำตาล (CpF) 4.18 kJ/kg °C
ความรcอนแฝงของการกลายเปsนไอของน้ำ (λ0 ) 2,410.7 kJ/kg

1. การหาอัตราการไหลเชิงมวลของสารขาเขPา (LF)

LF = V̇ ρ
g L h 1,000 mL kg
= 1.0064 × 30 × × ×
mL h 3,600 s L 1,000 g

= 0.0073 kg/s
2. การหาอัตราการไหลเชิงมวลของ Concentrate solution

R0 = V̇ ρ
g 2347 mL min kg
= 1.0064 × × ×
mL 20 min 60 s 1,000 g

= 0.0020 kg/s
3. การหาอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate solution ที่ไดPจากการทดลอง
V0 = V̇ ρ
g 6343 mL min kg
= 0.995 × × ×
mL 20 min 60 s 1,000 g

= 0.00526kg/s
4. การหาอัตราการไหลเชิงมวลของ Condensate solution ที่ไดPจากทฤษฎี
V0 = LF - R0
= (0.0073-0.0020) kg/s
= 0.00525 kg/s
5. การหา ∆Tlm
5.1 การหา Sensible heat
Q = LFCpF(Tb-TiF)
kg kJ J
= ( 0.0073 )( 4.17 )( 38-30 °C )( 1,000 )
s kg kJ

= 243.71 W
5.2 การหา Latent heat
Q = V0λ0
kg kJ J
= ( 0.00526 )( 2410.7 )()( 1,000 )
s kg kJ

= 12679.48 W

5.3 การหา ∆Tlm1


(Ts,in -TiF )-(Ts,b -Tb )
∆Tlm1 = T -T
ln( Ts,in-TiF )
s,b b

(120-38) - (120-30) °C
= (120-38) °C
ln(120-30) °C

= 85.94 °C

5.4 การหา ∆T2


∆T2 = Ts,out - Tb

= ( 120– 38 ) °C
= 82 °C
5.5 การหา ∆Tlm
Q1 +Q2
∆Tlm = Q1 Q2
+
∆Tlm1 ∆T2

243.71+12679.48
= 243.71 12679.48
+
85.94 °C 82 °C

= 82.07 °C
6. การหาสัมประสิทธิ์การถcายเทความรPอนรวม (U)
Q
U =
As ∆Tlm
(243.17+12679.48)
=
0.25 m2 ×82.07 °C

= 629.85 W/m2°C

You might also like