Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 143

CHE 454 CHEMICAL ENGINEERING DESIGN PROJECT

ALLYL CHLORIDE PRODUCTION

GROUP D10

MISS JIWASA NAWAREE


MISS CHITPAKORN BANLANGDET
MISS NUTTIDA THONGKUM
MISS PHATTHAPHAN MONTHAPHONG
MISS MATIMON KONTEING
MISS NARTSUPANG CHONGCHAROEN

THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING (CHEMICAL ENGINEERING)


FACULTY OF ENGINEERING
KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

ACADEMIC YEAR 2022


Allyl Chloride Production

Group D10
Miss Jiwasa Nawaree
Miss Chitpakorn Banlangdet
Miss Nuttida Thongkum
Miss Phatthaphan Monthaphong
Miss Matimon Konteing
Miss Nartsupang Chongcharoen

A Chemical Engineering Design Project Submited in Partial Fulfillment of the Requirements


for
the Degree of Bachelor of Engineering (Chemical Engineering)
Faculty of Engineering
King Mongkut’s University of Technology Thonburi
2022

Project Approved:
……………………………………………………. Design Project Coordinator
(Asst. Prof. Paritta Prayoonyong, Ph.D.)

…………………………………………………….. Examinor
(Assoc. Prof. Dr. Piyabutr Wanichpongpan, Ph.D.)

…………………………………………………….. Examinor
(Asst. Prof. Dr. Bunyaphat Suphanit, Ph.D.)

…………………………………………………….. Examinor
(Asst. Prof. Dr. Wimolsiri Pridasawas, Ph.D.)

…………………………………………………….. Examinor
(Dr. Kiattinatapon Juengchareonpoon, Ph.D.)

Copyright reserve

Course CHE 454 Chemical Engineering Design Project


Credit 1
Group D10
Members Miss Jiwasa Nawaree 62070500007
Miss Chitpakorn Banlangdet 62070500010
Miss Nuttida Thongkum 62070500017
Miss Phatthaphan Monthaphong 62070500049
Miss Matimon Konteing 62070500055
Miss Nartsupang Chongcharoen 62070500085
Program Bachelor of Engineering (Regular Program)
Field of Study Chemical Engineering
Department Chemical Engineering
Faculty Engineering
Academic Year 2022

Abstract
Allyl Chloride is a significant raw material utilized within the adhesive industry. It
serves as an intermediate compound in the synthesis of various chemicals, including Allyl
Alcohol and Ketone, among others. Furthermore, it holds considerable importance as a raw
material in the production of synthetic resin drugs, fragrance fixatives, pesticides,
pharmaceuticals, synthetic adhesives, plastics, and lubricants. The primary objective of this
project is to devise a production process for Allyl Chloride using Propylene and Chlorine.
This process aims to yield an annual output of 18,554,880 pounds of Allyl Chloride, with a
mass purity of 28%. The design methodology is based on simulation utilizing the Aspen Plus
V10 software program.
Allyl Chloride is industrially synthesized through the thermal chlorination of
Propylene, employing high temperatures and low pressures. This p rocess results in the
generation of two by-products, namely 1,2-Dichloropropane and 1,3-Dichloropropene. The
manufacturing facility is situated in the Map Ta Phut Industrial Estate, located in Rayong
Province. The process operates for a duration of 8,000 hours annually, with a projected
operational lifetime of 10 years. The investment cost amounts to $14,243,632.92per year, while
the public utility price stands at $416,462.13 per year. The production cost price is estimated
to be $31,607,207.6 per year. The revenue from products, including by-products, is accounted
for as $28,346,674 per year.

หัวข้อโครงงาน ชื่อโครงงาน
รายวิชา CHE 454 โครงงานออกแบบวิศวกรรมเคมี
หน่วยกิต 1
กลุ่ม D10
สมาชิก นางสาวจิวสา นาวารี 62070500007
นางสาวชิตภากร บรรลังเดช 62070500010
นางสาวณัฐธิดา ทองคา 62070500017
นางสาวพัสตราพรรณ มณฑาพงศ์ 62070500049
นางสาวมติมนต์ คนเที่ยง 62070500055
นางสาวนาถสุ ภางค์ จงเจริ ญ 62070500085
หลักสู ตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา วิศวกรรมเคมี
ภาควิชา วิศวกรรมเคมี
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
ปี การศึกษา 2565
บทคัดย่อ
Allyl Chloride เป็ นวัตถุดิบสาคัญที่ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกาวประเภทต่าง ๆ ใช้เป็ นตัวกลางใน
การผลิ ต สารเคมี อี ก หลายชนิ ด เช่ น Allyl Alcohol และ Ketone เป็ นต้น นอกจากนี้ เป็ นวัต ถุ ดิ บที่ สาคัญ
สาหรับยาเรซินสังเคราะห์สารตรึ งกลิ่นน้ าหอม และเป็ นวัตถุดิบของยาฆ่าแมลง ยา สังเคราะห์กาว พลาสติก
และน้ ามันหล่อลื่น โครงงานนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อออกแบบกระบวนการผลิต Allyl Chloride จาก Propylene
และ Chlorine ซึ่งในโครงการนี้สามารถผลิต Allyl chloride ได้ 18,554,880 ปอนด์ต่อปี ได้ความบริ สุทธิ์ร้อย
ละ 28 โดยมวล โดยกระบวนการออกแบบมาจากการจาลองผ่านโปรแกรม Aspen Plus V10
Allyl Chloride ผลิตโดยกระบวนการ Thermal Chlorination of Propylene ที่อุณหภูมิสูงและความ
ดั น ต่ า และมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ เ ป็ น 1,2-Dichloropropane และ1,3-Dichloropropene เป็ นหลั ก โดย
กระบวนการนี้ ต้ งั อยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง กระบวนการผลิตนี้ ใช้เวลาดาเนิ นการ
8,000 ชัว่ โมงต่อปี มีอายุการผลิตทั้งสิ้ น 10 ปี ใช้เงินลงทุน 14,243,632.92$/yr ราคาสาธารณูโภค 416,462.13
$/yr ราคาต้นทุนในการผลิต 31,607,207.6 $/yr รายได้จากผลิตภัณฑ์รวมถึงผลพลอยได้คิดเป็ น 28,346,674
$/yr

PROJECT TITLE:

ALLYL CHLORIDE PRODUCTION PROJECT

PROJECT LOCATION:

MAP TA PHUT, RAYONG


สารบัญ
Abstract...........................................................................................................................................................3
บทคัดย่อ .........................................................................................................................................................4
CHAPTER 1 INTRODUCTION .................................................................................................................1
1.1 Allyl chloride .................................................................................................................................1
1.1.1 Information [1] ..............................................................................................................................1
1.1.2 Application [2].......................................................................................................................1
1.2 Methods for Production of Allyl Chloride .....................................................................................2
1.3 Explanation of the choice of the production method............................................................................2
1.4 Plant location [6] ..................................................................................................................................3
1.5 Environmental Issues, Toxicity of Chemicals and Potential Safety Problems [7] ...............................3
1.5.1 Environmental Issues ....................................................................................................................3
1.5.2 Toxicity of Chemicals ...................................................................................................................3
1.5.3 Extinguishing ................................................................................................................................3
1.5.4 Special hazards arising from the substance or mixture .................................................................3
1.5.5 Accidental release measures..........................................................................................................4
1.5.6 Personal Protective Equipment .....................................................................................................4
1.6 Market Trend [8] ..................................................................................................................................4
1.6.1 Asia Pacific ...................................................................................................................................4
1.6.2 North America ...............................................................................................................................5
1.6.3 Europe ...........................................................................................................................................5
1.6.4 South America and Middle East & Africa ....................................................................................5
1.7 Design basis ..........................................................................................................................................5
1.7.1 Reaction information .....................................................................................................................5

สารบัญ (ต่ อ)
1.7.2 Operating constraints.....................................................................................................................6
1.7.3 Design constraints .........................................................................................................................6
1.7.4 Economic data from problem statement........................................................................................6
CHAPTER 2 PROCESS DEVELOPMENT ...............................................................................................7
2.1 Level 1: Batch vs continuous ...............................................................................................................7
2.2 Level 2: Input-output structure and overall material balance...............................................................7
2.3 Level 3: Recycle Structure .................................................................................................................17
2.4 Level 4: Separation System ................................................................................................................26
2.4.1 Level 4/1: Consideration of the vapor recovery system..............................................................26
2.5 Level 5: Heat Recovery System .........................................................................................................55
CHAPTER 3 PROCESS FLOW DIAGRAM AND MATERIAL BALANCES ......................................57
3.1 Process flow diagram .........................................................................................................................57
3.2 Material balances ................................................................................................................................57
CHAPTER 4 PROCESS DESCRIPTION .................................................................................................59
4.1 Process description .............................................................................................................................59
4.1.1 Feed preparation section..............................................................................................................59
4.1.2 Thermal Chlorination section ......................................................................................................59
4.1.3 Separation section .......................................................................................................................59
CHAPTER 5 ENERGY BALANCE AND UTILITY REQUIREMENTS ...............................................60
5.1 Energy balance ...................................................................................................................................60
5.2 Process improvement..........................................................................................................................63
5.3 Utility requirements ............................................................................................................................64
CHAPTER 6 EQUIPMENT LIST AND UNIT DESCRIPTIONS ...........................................................66

สารบัญ (ต่ อ)
6.1 Heat exchangers..................................................................................................................................69
6.2 Pumps .................................................................................................................................................72
6.3 Distillation columns............................................................................................................................73
6.4 Reactor................................................................................................................................................74
CHAPTER 7 SPECIFICATION SHEETS ................................................................................................75
7.1 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน ..........................................................................................75
CHAPTER 8 EQUIPMENT COST SUMMARY .....................................................................................85
CHAPTER 9 FIXED–CAPITAL INVESTMENT SUMMARY ..............................................................87
9.1 Fixed Capital Investment....................................................................................................................87
9.1.1 ทุนทางตรง (Direct costs) ............................................................................................................89
9.1.2 ทุนทางอ้อม (Indirect costs).........................................................................................................89
9.1.3 Fixed Capital Investment ............................................................................................................89
9.1.4 Working capital ...................................................................................................................90
9.1.5 แผนภาพกระแสเงินสด (Cash flow diagram) ..............................................................................90
CHAPTER 10 OPERATING COST AND ECONOMIC ANALYSIS ..................................................93
CHAPTER 11 OTHER IMPORTANT CONSIDERATIONS ................................................................95
11.1 ผลกระทบของกระบวนการผลิตที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม ..........................................................................95
11.1.1 Propene ......................................................................................................................................95
11.1.2 Propane [17] ..............................................................................................................................95
11.1.3 Chlorine [19] .............................................................................................................................96
11.1.5 Hydrochloric Acid [20] .............................................................................................................96
11.1.6 Wastewater [21] ...................................................................................................................97
11.1.7 1,2-Dichloropropane [24] ....................................................................................................99

สารบัญ (ต่ อ)
11.1.8 1,3-Dichloropropene [26] ..................................................................................................100
11.2 ระบบความปลอดภัยของกระบวนการ .......................................................................................102
11.3 อุปกรณ์และการควบคุมกระบวนการ .............................................................................................107
CHAPTER 12 CONCLUSIONS AND RECOMMENDATIONS ........................................................109
REFERENCES ...........................................................................................................................................110
APPENDIX ................................................................................................................................................113
B.1 ตัวอย่างคานวณ Reactor ...................................................................................................................114
B.2 ตัวอย่างการคานวณ Heat Exchanger................................................................................................117
B.3 ตัวอย่างการคานวณหาค่าใช้จ่ายส่วนอุปกรณ์ ...................................................................................125

รายการตาราง
ตารางที่ 1-1 The conversion vs selectivity data ..............................................................................................6
ตารางที่ 2-1 Destination codes and component classifications.......................................................................7
ตารางที่ 2-2 Total variables ............................................................................................................................9
ตารางที่ 2-3 สรุ ปการคานวณแต่ละตัวแปร ...................................................................................................12
ตารางที่ 2-4 Estimations of kinetics parameters of high-temperature kinetics model ..................................12
ตารางที่ 2-5 Component flow rate (lbmol/h) ................................................................................................14
ตารางที่ 2-6 molecular weight and economic data .......................................................................................15
ตารางที่ 2-7 Costs, price, credit and EP2 (million$/yr) ................................................................................16
ตารางที่ 2-8 Destination codes and component classifications.....................................................................18
ตารางที่ 2-9 สายขาเข้า Reactor .....................................................................................................................22
ตารางที่ 2-10 Specific heat ของแต่องค์ประกอบที่อุณหภูมิ 800°F ...............................................................22
ตารางที่ 2-11 Flow rate, annualized compressor cost and electricity cost....................................................24
ตารางที่ 2-12 Total annualized compressor cost and EP3 (million$/yr).......................................................25
ตารางที่ 2-13 Mole Fraction..........................................................................................................................27
ตารางที่ 2-14 Overhead vapor mole fraction ................................................................................................29
ตารางที่ 2-15 Overhead vapor mole fraction ................................................................................................31
ตารางที่ 2-16 Loss in purge and EP4/1 .........................................................................................................37
ตารางที่ 2-17 Overall material balance .........................................................................................................37
ตารางที่ 2-18 Overhead vapor mole fraction ................................................................................................38
ตารางที่ 2-19 Bottom liquid mole fraction....................................................................................................38
ตารางที่ 2-20 Ki .............................................................................................................................................39
ตารางที่ 2-21 Flow rate .................................................................................................................................40
ตารางที่ 2-22 Total vapor flow of column sequencing .................................................................................41
ตารางที่ 2-23 Overall material balance .........................................................................................................43
ตารางที่ 2-24 Bottom liquid mole fraction....................................................................................................45
ตารางที่ 2-25 Overall material Blance .......................................................... Error! Bookmark not defined.
ตารางที่ 2-26 Overhead vapor mole fraction ................................................ Error! Bookmark not defined.
ตารางที่ 2-27 Economic potential at level 4 (million$/yr) ............................................................................49

รายการตาราง (ต่ อ)
ตารางที่ 2-28 Input parameters and some results of heater and cooler models ............................................52
ตารางที่ 2-29 Input parameters and some results of flash drum model ........................................................52
ตารางที่ 2-30 Input parameters and some results of compressor model .......................................................52
ตารางที่ 2-31 Input parameters and some results of RCSTR model.............................................................53
ตารางที่ 2-32 Input parameters and some results of RADFRAC model ......................................................53
ตารางที่ 2-33 Stream summary ของ process ในรู ปที่ 2.20 ...........................................................................54
ตารางที่ 2-34 ข้อมูล Stream สายต่าง ๆ .........................................................................................................55
ตารางที่ 3-1 Stream summary สาหรับกระบวนการผลิต Allyl chloride ใน รู ปที่ 3.1 ...................................58
ตารางที่ 5-1 ข้อมูลของ Pump........................................................................................................................60
ตารางที่ 5-2 ข้อมูลของ Heat exchanger ........................................................................................................61
ตารางที่ 5-3 ข้อมูลของ Reactor ....................................................................................................................61
ตารางที่ 5-4 ข้อมูลของ Distillation column ..................................................................................................62
ตารางที่ 5-5 ข้อมูลของ Absorber column .....................................................................................................62
ตารางที่ 5-6 ข้อมูลของ Flash drum ...............................................................................................................63
ตารางที่ 5-7 Utility ที่ใช้ในกระบวนการผลิต Allyl Chloride สาหรับกรณี Improved case ..........................65
ตารางที่ 6-1 Equipment list and unit description ..........................................................................................66
ตารางที่ 6-2 List of heat exchangers and their details...................................................................................70
ตารางที่ 6-3 List of pumps and their details..................................................................................................72
ตารางที่ 6-4 List of distillation column and their details ..............................................................................73
ตารางที่ 6-5 Detail of reactor ........................................................................................................................74
ตารางที่ 7-1 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-100 .....................................................................75
ตารางที่ 7-2 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-101 .....................................................................76
ตารางที่ 7-3 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-102......................................................................77
ตารางที่ 7-4 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-103......................................................................78
ตารางที่ 7-5 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-104......................................................................79
ตารางที่ 7-6 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-105......................................................................80
ตารางที่ 7-7 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-106......................................................................81
ตารางที่ 7-8 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-107......................................................................82

รายการตาราง (ต่ อ)
ตารางที่ 7-9 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-108......................................................................83
ตารางที่ 7-10 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-109....................................................................84
ตารางที่ 8-1 ราคาเครื่ องเครื่ องปฏิกรณ์ ..........................................................................................................85
ตารางที่ 8-2 ราคา Pump ................................................................................................................................85
ตารางที่ 8-3 ราคา Compressor ......................................................................................................................85
ตารางที่ 8-4 ราคาหอกลัน่ ..............................................................................................................................85
ตารางที่ 8-5 ราคาเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน ..............................................................................................86
ตารางที่ 9-1 ค่าเสื่ อมราคา..............................................................................................................................90
ตารางที่ 9-2 การวิเคราะห์กระแสเงินสด .......................................................................................................92
ตารางที่ 10-1 ค่าใช้จ่ายของ Raw materials ...................................................................................................93
ตารางที่ 10-2 ค่าใช้จ่ายของ Utility ................................................................................................................93
ตารางที่ 10-3 รายได้จากผลผลิตและผลพลอยได้ ..........................................................................................93
ตารางที่ 10-4 ข้อมูลสาหรับการคานวณแรงงานที่ตอ้ งการ ............................................................................94
ตารางที่ 11-1 Safety Data ขององค์ประกอบต่าง ๆ .....................................................................................102
ตารางที่ 11-2 Area Classification/Electrical Code......................................................................................103
ตารางที่ 11-3 Extinguisher media ...............................................................................................................104
Appendix A
ตารางที่ A. 1 Exchanger summary of the heat-integrated PFD ..................................................................113
Appendix B
ตารางที่ B. 1 Sand for fluidization purpose ................................................................................................114
ตารางที่ B. 2 Physical properties ................................................................................................................114
ตารางที่ B. 3 Design parameter...................................................................................................................118
ตารางที่ B. 4 Recommended Tube pass (Np) as a function of Shell diameter ...........................................118
ตารางที่ B. 5 Guthrie Material and pressure factor of Pressure vessels......................................................127
ตารางที่ B. 6 Guthrie Material and pressure factor of Compressor ............................................................127
ตารางที่ B. 7 Guthrie Material and pressure factor of Pump .....................................................................127
ตารางที่ B. 8 Guthrie Material and pressure factor of Tray stacks .............................................................127

รายการตาราง (ต่ อ)
ตารางที่ B. 9 Guthrie Material and pressure factor of Heat exchangers .....................................................128

รายการรูปภาพประกอบ
รู ปที่ 1.1 Structure of Allyl Chloride [1] .........................................................................................................1
รู ปที่ 1.2 Allyl Chloride Market Regional Insights [6] ...................................................................................4
รู ปที่ 2.1 Input-output structure of flowsheet ..................................................................................................8
รู ปที่ 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion ของ Chlorine และ Selectivity 1 (S1) .......................................13
รู ปที่ 2.3 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion ของ Chlorine และ Selectivity 2 (S2) .......................................13
รู ปที่ 2.4 Economic potential at level 2 ........................................................................................................17
รู ปที่ 2.5 Recycle structure of flowsheet .......................................................................................................18
รู ปที่ 2.6 Chlorine recycle material balance ..................................................................................................19
รู ปที่ 2.7 Propene recycle material balance ...................................................................................................20
รู ปที่ 2.8 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion (x) และอุณหภูมิขาออกของ Reactor (TR,out) ........................23
รู ปที่ 2.9 Economic potential at level 3 .........................................................................................................25
รู ปที่ 2.10 1st Distillation column (T-100).....................................................................................................26
รู ปที่ 2.11 Component balance รอบ Condenser............................................................................................29
รู ปที่ 2.12 Component balance รอบ Reboiler ...............................................................................................30
รู ปที่ 2.13 The graphical correlation .............................................................................................................32
รู ปที่ 2.14 Absorber (T-101) .........................................................................................................................36
รู ปที่ 2.15 Flash drum (T-102) ......................................................................................................................39
รู ปที่ 2.16 การจัดเรี ยงหอกลัน่ .......................................................................................................................41
รู ปที่ 2.17 Overall separator system ..............................................................................................................42
รู ปที่ 2.18 2nd Distillation column (T-103) ...................................................................................................42
รู ปที่ 2.19 3rd Distillation column (T-104) .................................................... Error! Bookmark not defined.
รู ปที่ 2.20 PFD ของกระบวนการ ..................................................................................................................50
รู ปที่ 2.21 Composite Curve..........................................................................................................................56
รู ปที่ 2.22 Grid Diagram ...............................................................................................................................56
รู ปที่ 3.1 Process flow diagram for Allyl chloride production ......................................................................57
รู ปที่ 5.1 Composite Curve............................................................................................................................63
รู ปที่ 5.2 Grid Diagram .................................................................................................................................64
รู ปที่ 9.1 กระแสเงินสดสะสมในแต่ละปี .......................................................................................................92

รายการรูปภาพประกอบ (ต่อ)
รู ปที่ 11.1 ของเสี ยที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต Allyl Chloride .................................................................101
รู ปที่ 11.2 Relief system ณ อุปกรณ์ต่าง ๆ ..................................................................................................104
รู ปที่ 11.3 Fire and Explosion Index ...........................................................................................................105
รู ปที่ 11.4 Dow Fire and Explosion Index ..................................................................................................106
รู ปที่ 11.5 P&ID ของกระบวนการผลิต Ally Chloride................................................................................107
Appendix B
รู ปที่ B. 1 Reactor R-100.............................................................................................................................114
รู ปที่ B. 2 ขาเข้าและขาออก Cooler .............................................................................................................117
1

CHAPTER 1
INTRODUCTION
1.1 Allyl chloride
1.1.1 Information [1]

รูปที่ 1.1 Structure of Allyl Chloride [1]


Allyl Chloride เป็ นวัตถุดิบสาคัญที่ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกาวประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีสูตรทางเคมีคือ
C3H5Cl สารนี้จะประกอบด้วยสารตั้งตั้งต้นที่สาคัญ 2 ชนิด ได้แก่ Propene (C3H6) กับ Chlorine (Cl2)
Molecular Weight : 76.53
Shelf Life : 60 Months
Physical State at 20 °C : Liquid
Colour : Clear Colorless
Odour : Pungent Odour
Flammability (Solid, Gas) : Flammable
Autoignition Temperature : 390 °C
Boiling Point : 45 °C
Melting Point : -135 °C
Flash Point : -29 °C
1.1.2 Application [2]
ใช้เป็ นตัวกลางในการผลิต N-Epichlorohydrin, Glycidyl Ether, Allyl Amine, Propylene Glycol,
Glycerol, Dimethylacrylamide, Pyrethroid Intermediate, Allyl Alcohol และ Ketone เป็ นวัตถุดิบที่สาคัญ
สาหรับยาเรซิ นสังเคราะห์สารตรึ งกลิ่นน้ าหอม นอกจากนี้ ยงั ใช้เป็ นวัตถุดิบของยาฆ่าแมลง ยา สังเคราะห์
กาว พลาสติก และน้ ามันหล่อลื่น
2

1.2 Methods for Production of Allyl Chloride


การออกแบบการผลิต Allyl Chloride ด้วยการ Chlorination ของ Propylene ที่สภาวะ Exothermic ที่
อุณหภูมิสูง โดยเกิดปฏิกิริยา ดังนี้
C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (1.1)
r1 = 3301562 exp(-15118/RT) pC3H6 pCl2 ; reaction velocity [kmoleCl2 ,reacted /h m³]
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (1.2)
r2= 185500 exp(-13811/RT) pC3H6pCl2 ; reaction velocity [kmoleCl2 ,reacted /h m³]
ที่อุณหภูมิ 300-600 ℃ การ Chlorination จะเกิดขึ้นผ่านกลไก radical ซึ่งอะตอมของ hydrogen ใน
ตาแหน่ง allylic จะถูกแทนที่ดว้ ย Chlorine และได้เป็ น Allyl Chloride ที่อุณหภูมิต่ากว่า 200 ℃ Propylene
จะทาปฏิกิริยากับ Chlorine ด้วยการ Addition ที่พนั ธะคู่โดยส่ วนใหญ่และได้ 1,2-Dichloropropane ที่
อุณหภูมิสูงกว่า 300 ℃ ปฏิกิริยานี้จะไม่เกิด และจะเกิด Allyl Chloride ดังนั้น 1,2-Dichloropropane จึงเป็ น
เพียง by-product และสารประกอบ cis- และ trans-1,3-Dichloropropane เกิดจากปฏิกิริยาขั้นที่สองของ Allyl
Chloride ซึ่งเกิดจากการแทนที่ของอะตอม hydrogen ด้วย Chlorine [3]
การ Chlorination ของ Propylene ที่อุณหภูมิต่า พบว่าต่างจากอุณหภูมิสูงอย่างมาก โดย product ที่
ได้ส่วนมากคือ 1,2-Dichloropropane เป็ นหลัก และ Trichloropropane (1,2,2-C3H5Cl3, 1,1,2-C3H5Cl3, และ
1,2,3-C3H5Cl3) และ Tetrachloropropane (1,2,2,3-C3H4Cl4 และ 1,1,2,3- C3H4Cl4) ในขณะที่เกิ ด Allyl
chloride น้อยมาก โดยเกิดปฏิกิริยา ดังนี้ [4]
C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (1.3)
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (1.4)
1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) C3H5Cl3 + HCl (1.5)
C3H5Cl3 + Cl2 C3H4Cl4 + HCl (1.6)

1.3 Explanation of the choice of the production method


Allyl Chloride ผลิตโดยกระบวนการ Thermal Chlorination of Propylene ที่อุณหภูมิสูงและความ
ดันต่า โดย Allyl Chloride ใช้เป็ นสารตั้งต้นในการผลิต Allyl Alcohol, Glycerin และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีก
หลากหลายที่ใช้ในอุตสาหกรรมยา ปฏิกิริยาแสดงดังนี้ [5]
C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (1.7)
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (1.8)
Allyl chloride (C3H5Cl) + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl (1.9)
3

1.4 Plant location [6]


โรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยนิยมตั้งอยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรม ซึ่ งกระจายอยูต่ ามพื้นที่ต่าง ๆ
ของประเทศโดยเฉพาะพื้นที่ฝั่งตะวันออกซึ่งเป็ นที่ต้ งั ของนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง จึงทาให้ภูมิภาคแห่ง
นี้ ได้รั บ ฉายาว่า “เมื อ งแห่ ง นิ ค มอุ ต สาหกรรมของประเทศไทย” ซึ่ ง หนึ่ ง ในอุ ต สาหกรรมที่ ข ับ เคลื่ อ น
เศรษฐกิจของภาคตะวันออก คือ อุตสาหกรรมการผลิต ที่มีมูลค่าสู งกว่า 1.5 ล้านล้านบาท ที่เป็ นแบบนี้ ก็
เพราะว่าภาคตะวันออกมีท่าเรื อเชิงพาณิ ชย์หลายแห่ง เช่น ท่าเรื อแหลมฉบัง ท่าเรื อมาบตาพุด และที่ต้ งั ของ
ภูมิภาคยังมีระยะทางไม่ไกลจากกรุ งเทพฯ อีกทั้งยังมีเส้นทางการขนส่ งที่สะดวกทั้งทางถนน และทางอากาศ
ดัง นั้น จึ ง เลื อ กตั้ง โรงงานผลิ ต Allyl Chloride ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุด จัง หวัด ระยอง
เนื่องจากมีระบบสาธารณูปโภค และสิ่ งอานวยความสะดวกอย่างครบวงจร มีท่าเทียบเรื อสาหรับเรื อสิ นค้า
เพื่อการส่ งออกหรื อนาเข้าที่มีปริ มาณมาก

1.5 Environmental Issues, Toxicity of Chemicals and Potential Safety Problems [7]
1.5.1 Environmental Issues
- มลพิษทางน้ า : เป็ นพิษร้ายแรงต่อสิ่ งมีชีวิตในน้ า
1.5.2 Toxicity of Chemicals
- การหายใจรับสารนี้เข้าไปในระดับสู ง มีผลทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน เกิดความผิดปกติต่อ
ระบบทางเดินหายใจหากได้รับสารในระดับความเข้มข้นสู ง
- การสัม ผัส ถู ก ผิว หนัง จะก่ อ ให้เ กิ ด การระคายเคื อ งมาก ท าอัน ตรายต่ อ อวัย วะเมื่ อ สัม ผัส เป็ น
เวลานาน
- การกลืนหรื อกินเข้าไปจะก่อให้เกิดอันตราย
- การสัมผัสถูกตา ก่อการระคายเคืองต่อดวงตา ตาบวม ม่านตาอักเสบ
- ผลกระทบต่อการสัมผัสในระยะยาวอาจก่อให้เกิดมะเร็ งประเภทย่อย 2
1.5.3 Extinguishing
- สารดับเพลิงที่เหมาะสม : Carbon dioxide, Dry powder, Foam, Water spray,
- สารดับเพลิงที่ไม่เหมาะสม : Water
- การป้ องกันในระหว่างการผจญเพลิง : อย่าเข้าไปในบริ เวณเพลิงไหม้โดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันที่
เหมาะสม รวมทั้งการป้องกันระบบทางเดินหายใจ
1.5.4 Special hazards arising from the substance or mixture
ความเป็ นอันตรายจากไฟไหม้ : ของเหลวและไอระเหยไวไฟสู ง
อันตรายจากการระเบิด : อาจก่อให้เกิดสารผสมไอระเหย-อากาศที่ไวไฟ/ระเบิดได้
4

1.5.5 Accidental release measures


- ย้ายแหล่งจุดติดไฟ
- ใช้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิต
- ห้ามมีเปลวไฟเปลือย
- ห้ามสู บบุหรี
- เมื่อมีสารหกรั่วไหลให้อพยพคนพนักงานที่ไม่จาเป็ นออกจากพื้นที่
- สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล
1.5.6 Personal Protective Equipment
- การป้องกันมือ : ถุงมือป้องกันสารเคมี
- การป้องกันดวงตา : แว่นครอบตาป้องกันสารเคมีหรื อแว่นตานิรภัย
- การป้องกันผิวหนังและร่ างกาย : สวมชุดป้องกันที่เหมาะสม
- การป้องกันระบบหายใจ : สวมอุปกรณ์ช่วยหายใจ
1.6 Market Trend [8]

รูปที่ 1.2 Allyl Chloride Market Regional Insights [6]

1.6.1 Asia Pacific


ภูมิภาคเอเชี ยแปซิ ฟิกมีส่วนแบ่งที่ใหญ่ที่สุดในตลาด Allyl Chloride และคาดว่าจะเป็ นตลาดที่
เติบโตเร็ วที่สุดในช่วงปี 2022-2027 เนื่ องจากความต้องการการใช้งานจากประเทศต่าง ๆ เช่น จีน อินเดีย
และประเทศญี่ปุ่น ตามการประมาณการเกือบ 69% ของการเติบโตจะมาจาก APAC สาหรับตลาด Allyl
Chloride ทัว่ โลก ความต้องการโพลิเมอร์ พลาสติก และสารเคมีอื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้นในจีน อินเดีย และตลาดเกิด
ใหม่อื่น ๆ ในเอเชียกาลังผลักดันความต้องการ Allyl Chloride จากอุตสาหกรรมเคมี ยา และโพลิเมอร์ ส่ งผล
ให้จีนและอินเดียเป็ นตลาดหลักสาหรับตลาด Allyl Chloride ในเอเชี ยแปซิ ฟิก การเติบโตของตลาดใน
ภูมิภาคนี้จะเร็ วกว่าการเติบโตของตลาดในภูมิภาคอื่น
5

1.6.2 North America


ในช่วงไม่กี่ปีที่ผา่ นมา อเมริ กาเหนือล้าหลังกว่าเอเชียแปซิฟิกในแง่ของความต้องการอัลลิลคลอไรด์
1.6.3 Europe
ภูมิภาคยุโรปมีการเติบโตอย่างช้า ๆ ในแง่การใช้งาน Allyl Chloride ในช่วงที่ผา่ นมา
1.6.4 South America and Middle East & Africa
คาดว่าความต้องการ Allyl Chloride จะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญจากภูมิภาคตะวันออกกลางและ
แอฟริ กาในช่วงปี 2022-2027 การกระจายตัวของเศรษฐกิจในตะวันออกกลางและสภาวะที่เอื้ออานวยใน
ประเทศเกิดใหม่ในแอฟริ กาคาดว่าจะช่วยเพิ่มอุปสงค์สาหรับตลาด Allyl Chloride ในช่วงเวลาที่คาดการณ์
ไว้
1.7 Design basis
1.7.1 Reaction information
Allyl Chloride ผลิตโดยกระบวนการ Thermal Chlorination of Propylene ที่อุณหภูมิสูงและความดันต่า โดย
แสดงดังปฏิกิริยาที่ (1.10)
C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (1.10)
ปฏิกิริยาระหว่าง C3H6 และ Cl2 จะเกิด Side Reaction ซึ่งจะทาให้ลด selectivity of the reactant to the main
product ซึ่ง side reaction ที่จะทาการพิจารณาแสดงปฏิกิริยาที่ (1.11) และ (1.12)
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (1.11)
Allyl chloride (C3H5Cl) + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl (1.12)
Conversion and Selectivity มีนิยามดังนี้
Conversion per pass คือ ค่าปริ มาณการเกิดปฏิกิริยา คิดจากปริ มาณสารตั้งต้นที่เกิดปฏิกิริยาต่อปริ มาณสาร
ตั้งต้นทั้งหมดที่ป้อนเข้าสู่ ระบบ
Selectivity คือ ค่าการเลือกเกิด คือสัดส่ วนของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่เกิดขึ้นต่อปริ มาณสารตั้งต้นที่ทา
ปฏิกิริยาไป โดยกระบวนการผลิตนี้จะมี Selectivity ดังนี้

Selectivity of Allyl Chloride (S1) = molesmoles


of Allyl chloride produced
of Cl2 Converted

Selectivity of 1,2-Dichloropropane (S2) = moles of moles


1,2−Dichloropropane produced
of Cl2 Converted
6

ตารางที่ 1-1 The conversion vs selectivity data

Conversion/ pass 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9

Selectivity, S1 0.95824 0.94438 0.93052 0.91666 0.9028 0.88894 0.87508 0.86122 0.84736

Selectivity, S2 0.02721 0.02702 0.02683 0.02664 0.02645 0.02626 0.02607 0.02588 0.02569

เมื่อ Conversion per pass เพิ่มขึ้น ค่า Selectivity, S1 และ S2 จะค่อย ๆ ลดลงแต่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นไม่
มากนัก ซึ่งเป็ นความสัมพันธ์แบบเส้นตรง (Linear relationship)
1.7.2 Operating constraints
Raw materials are supplied by pipeline at 80 °F, 60 psig
The propene is 99.8 wt. % pure, containing 0.2 wt. % propane
The chlorine is 99.5 wt. % pure, containing 0.5 wt. % inert gases of molecular weight 28
The crude allyl chloride produced must be available at 120 °F, 9 psig minimum
1.7.3 Design constraints
For chlorination reactor design use the following operating conditions:
Reaction temperature: Minimum 750 °F
Maximum 1040 °F
Best range 950 to 990 °F
Reactor pressure: Maximum 45 psig
Normal 30 psig (inlet)
Space velocity: 2.61 s-1 (at 32 °F, 14.7 psia)
1.7.4 Economic data from problem statement
Manufacturing costs
Fuel oil: $0.45/mm Btu
Cooling water: $0.022/1,000 gal
Steam: $1.00/1,000 lb.
7

CHAPTER 2
PROCESS DEVELOPMENT
2.1 Level 1: Batch vs continuous
• ในกระบวนการผลิตสามารถผลิต Allyl chloride ได้ท้ งั หมด 22.3 million pounds/year ซึ่งเป็ น
กาลังการผลิตที่มากเมื่อเทียบกับการผลิตแบบ Batch process ที่สามารถผลิตได้เพียง 1 million
pounds/year [9]
• ในกระบวนการผลิตมีอุปกรณ์หลายอุปกรณ์ โดยแต่ละอุปกรณ์ทางานเฉพาะของแต่ละอุปกรณ์
และทางานพร้อมกันอย่างต่อเนื่อง [10]
• Allyl chloride เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตได้ท้ งั ปี เนื่ องจากสามารถจัดหาสารตั้งต้นได้ง่าย
เช่น Propene สามารถหาได้จากแก๊สธรรมชาติและปิ โตรเลียม [11][12][13]
• Allyl chloride เป็ น long product life time (60 months) สามารถผลิตได้ต่อเนื่อง โดยผลิตภัณฑ์
จะไม่หมดอายุก่อนนาไปขาย [14]
• เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาไม่นาน โดยมี space velocity เท่ากับ 2.61 s-1
Level 1 Decision: Design this plant as a continuous process.

2.2 Level 2: Input-output structure and overall material balance


Determine all components involved and the number of product streams:
เรี ยงลาดับสารประกอบทั้งหมดในระบบจากจุดเดือดต่าไปสู ง กาหนด Component classification
และ Destination code จากนั้นจัดกลุ่มสารประกอบที่มี Destination code เดียวกัน ได้ผลดังตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2-1 Destination codes and component classifications

NBP Output
Component Component classification Destination code
(°C) stream
N2 -195.8 gaseous impurity recycle and purge 1
HCl -85.05 gaseous by-product valuable by-product (I) 2
C3H6 -47.6 gaseous reactant recycle and purge
C3H8 -42 gaseous impurity recycle and purge 1
Cl2 -34.6 gaseous reactant recycle and purge
Allyl chloride 45 liquid product primary product 3
1,2-Dichloropropane 96 Liquid by- product valuable by-product (II) 4
1,3-Dichloropropene 112 liquid by-product valuable by-product (III) 5
8

จากการจัดกลุม่ destination code จะได้วา่ มีท้งั หมด 5 product streams


Draw an input-output structure:
สามารถสร้าง input-output structure ได้ดงั รู ปที่ 2.1

Recycle and purge: Propene, Propane, Chlorine, Nitrogen

HCl
Propene, Propane
Allyl chloride
Process 1,2-Dichloropropane
Chlorine, Nitrogen 1,3-Dichloropropene

รูปที่ 2.1 Input-output structure of flowsheet

Develop an overall material balance model:


C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (2.1)
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (2.2)
Allyl chloride (C3H5Cl) + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl (2.3)
Additional assumptions:
• From the input-output structure, the level of conversion and the amount of reactant recycles
are not show
• กาหนดให้ PCl2 = 0.101 lbmol/h เนื่องจาก Chlorine เป็ น Limiting reactant จึงเหลือไป Purge
น้อยมาก
• Production rate of allyl chloride (PA) เป็ น 22.3 million pounds/year
22.3 × 106 lbs 1 lbmol 1 yr
• PA = × × =36.42 lbmol/h
1 yr 76.53 lbs 8,000 h
9

Determine total number of variables:


ตารางที่ 2-2 Total variables

Variables Description Given/specified


FFP Feed propene and propane flow rate x
yF,C3H6 Mole fraction of propene in feed √
yF,C3H8 Mole fraction of propane in feed √
FFC Feed chlorine and inert flow rate X
yF,Cl2 Mole fraction of chlorine in feed √
yF,N2 Mole fraction of nitrogen in feed √
PC3H6 Propene flow rate in purge gas X
PC3H8 Propane flow rate in purge gas X
PCl2 Chlorine flow rate in purge gas X
PN2 Nitrogen flow rate in purge gas X
PA Allyl chloride flow rate √
PHCl HCl flow rate X
PII 1,2-Dichloropropane flow rate X
PIII 1,3-Dichloropropene flow rate X

Determine the number of degrees of freedom:

No. of degrees of freedom = No. of unknown labeled variables (9)


+ No. of independent chemical reactions (3)
- No. of independent molecular species balances (8)
- No. of other equations relating unknown variables (0)
No. of degrees of freedom = 9 + 3 - 8 - 0 = 4
ดังนั้นจะต้องกาหนด Design variables จานวน 4 ตัว ได้แก่
• Selectivity of Allyl Chloride (S1) = molesmoles
of Allyl chloride produced
of Cl2 Converted

• Selectivity of 1,2-Dichloropropane (S2) = moles of moles


1,2−Dichloropropane produced
of Cl2 Converted

• PC3H6
• PCl2
10

Overall material balance:


1) จัดรู ปสมการเคมีเพื่อให้ได้ปฏิกิริยาหลักที่ประกอบไปด้วยสารตั้งต้นหลักและผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งการ
และปฏิกิริยาข้างเคียงที่ประกอบไปด้วยสารตั้งต้นหลักและผลิตภัณฑ์ที่ไม่ตอ้ งการ (By-product)
โดยปฏิกิริยาหลักคือ (2.1) และปฏิกิริยาข้างเคียงคือ (2.2) และ (2.1) รวมกับ (2.3) ซึ่ งจะได้เป็ นดัง
สมการเคมี (2.4)
1 1
C3H6 + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl (2.4)
2 2
2) Based on stoichiometry of each-equation, firstly complete the species balance on the main
reaction.
S1(FFC yF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl
PA PA PA PA

Cl2 S2(FFC yF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6C2)

1 1
(1-S1-S2)(FFCyF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl
2 2

S1(FFC yF,Cl2 – PCl2) = PA


1 P
FFC = [ A + PCl2 ] (2.5)
yF,Cl2 S1
3) Then, complete the species balance on the side reaction
S1(FFC yF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl
PA PA PA PA

Cl2 S2(FFC yF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6C2)


P P P
S2 A S2 A S2 A
S1 S1 S1

1 1
(1-S1-S2)(FFCyF,Cl2 – PCl2) C3H6 + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl
2 2

1 PA PA 1 PA PA
(1-S1-S2) (1-S1-S2) (1-S1-S2) (1-S1-S2)
2 S1 S1 2 S1 S1
11

PA
PHCl = PA + (1-S1-S2) (2.6)
S1
P
PII = S2 A (2.7)
S1
1 PA
PIII = (1-S1-S2) (2.8)
2 S1
4) Calculate the impurity in inlet and outlet flows for the feed streams in which the reactants are
completely recovered and recycle.
N2 balance
Amount of N2 in feed = Amount of N2 in purge gas
yF,N2 FFC = PN2
1 P
PN2 = [ A +PCl2 ] yF,N2 (2.9)
yF,Cl2 S1
5) Calculate the outlet flows of reactions in term of a specified amount of excess (above the reaction
requirements) for the streams in which the reactants are not recovered and recycled (recycle and
purge or air or water).
C3H6 balance
Amount of C3H6 in feed = Amount of C3H6 in purge gas + Amount of C3H6 reacted
PA 1 PA
yF,C3H6 FFP = PC3H6 + [PA +S2 + (1-S1-S2) ]
S1 2 S1
1 1 P
FFP = [PC3H6 + [PA + [1-S1 +S2 ] A ]] (2.10)
yF,C3H6 2 S1

6) Calculate the inlet and outlet flows the impurities entering the reactant streams in previous step.
C3H8 balance
Amount of C3H8 in feed = Amount of C3H8 in purge gas
yF,C3H8 FFP = PC3H8
PC3H8 = yF,C3H8 FFP (2.11)
7) Combining eq. (10) and (11) yields
yF,C3H8 1 P
PC3H8 = [PC3H6 + [PA + [1-S1 +S2 ] A ]] (2.12)
yF,C3H6 2 S1

At any specified value of S1, S2, P C3H6 and P Cl2, the values of the others unknowns can be
determined as follows:
12

ตารางที่ 2-3 สรุ ปการคานวณแต่ละตัวแปร

Variables Eq. used


FFP (10)
FFC (5)
PC3H8 (12)
PN2 (9)
PHCl (6)
PII (7)
PIII (8)

Selectivity vs conversion:
ในการทา Overall material balance จาเป็ นต้องกาหนด Selectivity (S1, S2) ซึ่งเป็ น Design variable
โดย Selectivity จะขึ้นอยูก่ บั Conversion ของ Chlorine ซึ่ งสามารถหาความสัมพันธ์ของ Conversion ของ
chlorine และ Selectivity ได้จากการทา Simulation ในโปรแกรม Aspen plus V10 โดยใช้ขอ้ มูลจาก Problem
statement และ Kinetic data ซึ่งได้ผลดังรู ปที่ 2.2 และ 2.3
Additional data:
Kinetic data of the reaction of propylene with chlorine at high temperature
C3H6 + Cl2 Allyl chloride (C3H5Cl) + HCl (1)
C3H6 + Cl2 1,2-Dichloropropane (C3H6Cl2) (2)
Allyl chloride (C3H5Cl) + Cl2 1,3-Dichloropropene (C3H4Cl2) + HCl (3)
For reaction (1): r1 = k1 pCl2 pC3H6
For reaction (2): r2 = k2 pCl2 pC3H6
For reaction (3): r3 = k3 pCl2 pC3H5Cl
ตารางที่ 2-4 Estimations of kinetics parameters of high-temperature kinetics model
Rate constant, k = k0exp(-Ea/RT)
Rate constant, k k0 Ea [kJ/mol]
k1 7.382 ×10-11 kmol/m3× s× Pa2 0
k2 2.0797 × 10-12 kmol/m3× s× Pa2 0
k3 4.262 × 10-11 kmol/m3× s× Pa2 0
Abbreviations: k0, pre-exponential factor, Ea, activation energy
13

0.96

0.94

0.92
Selectivity 1 (S1)

0.90

0.88

0.86

0.84

0.82
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1

x, Conversion of Cl2

รูปที่ 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion ของ Chlorine และ Selectivity 1 (S1)


S1 = -0.1386x + 0.9721
0.0272

0.0270

0.0268

0.0266
Selectivity 2 (S2)

0.0264

0.0262

0.0260

0.0258

0.0256

0.0254
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1

x, Conversion of Cl2

รูปที่ 2.3 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion ของ Chlorine และ Selectivity 2 (S2)


S2 = -0.0019x + 0.0274
14

Component flow rates:


Component flow rate ของ Raw material และ Product streams สามารถคานวณได้จากการใช้ Overall
material balance equations และความสัมพันธ์ของ Selectivity โดยยกตัวอย่างการคานวณ flow ที่ เปลี่ยนค่า
Conversion, PC3H6 = 139.334 lbmol/h and PCl2 = 0.101 lbmol/h ดังตารางที่ 2.5
จะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อ Conversion (x) เพิ่มขึ้น Propene fresh feed และ Chlorine fresh feed จะ
เพิ่มขึ้นด้วย เพื่อชดเชยสารตั้งต้นที่กลายไปเป็ น By-product และนอกจากนี้ Impurity purge flow rate ก็
เพิ่มขึ้นด้วย
ตารางที่ 2-5 Component flow rate (lbmol/h)

x S1 S2 FFP FFC PC3H8 PN2 PHCl PII PIII


0.1 0.95824 0.02721 177.41 38.29 0.3548 0.1914 36.97 1.034 0.27
0.2 0.94438 0.02702 177.70 38.86 0.3554 0.1943 37.52 1.042 0.55
0.3 0.93052 0.02683 177.99 39.43 0.3559 0.1971 38.08 1.050 0.83
0.4 0.91666 0.02664 178.29 40.03 0.3565 0.2001 38.67 1.058 1.12
0.5 0.9028 0.02645 178.60 40.64 0.3572 0.2032 39.27 1.067 1.42
0.6 0.88894 0.02626 178.92 41.27 0.3578 0.2063 39.89 1.075 1.73
0.7 0.87508 0.02607 179.25 41.92 0.3585 0.2096 40.53 1.085 2.05
0.8 0.86122 0.02588 179.59 42.60 0.3591 0.2130 41.19 1.094 2.38
0.9 0.84736 0.02569 179.94 43.29 0.3598 0.2164 41.87 1.104 2.72

Costs, price, credit and EP2 calculations:

flow ของ Raw material และ Product streams จาก Overall material balance model สามารถใช้หา
cost และ price ของแต่ละสาย input หรื อ output ดังนี้
Additional data:
15

ตารางที่ 2-6 molecular weight and economic data [15]

Component MW Unit cost ($/lb) Heating value (BTU/lb) Fuel cost ($/million BTU)
Propene 42.08 0.445 19630 28.4
Propane 44.09 - 19834 34.04
Chlorine 70.906 0.077 - -
Nitrogen 28.014 - - -
HCl 36.46 0.115 - -
Allyl chloride 76.53 8.722 - -
1,2-Dichloropropane 112.99 2.268 - -
1,3-Dichloropropene 110.98 22.67985 - -
36.42 lbmol $ 8.722 76.53 lb 8,000 h
Allyl chloride price ($/yr) = | | | = $ 194.48 ´ 106 /yr
h lb lbmol yr

PHCl lbmol $ 0.115 36.46 lb 8,000 h


HCl price ($/yr) = | | |
h lb lbmol yr

PII lbmol $ 2.268 112.99 lb 8,000 h


1,2-Dichloropropane price ($/yr) = | | |
h lb lbmol yr

PIII lbmol $ 22.67985 110.98 lb 8,000 h


1,3-Dichloropropene price ($/yr) = | | |
h lb lbmol yr

PC3H6 lbmol $ 28.4 42.08 lb 19,630 BTU 8,000 h


Fuel propene price in purge ($/yr) = | | | |
h 106 BTU lbmol lb yr

PC3H8 lbmol $ 34.04 44.09 lb 19,834 BTU 8,000 h


Fuel propane price in purge ($/yr) = | | | |
h 106 BTU lbmol lb yr

FFP lbmol $ 0.445 42.08 lb 8,000 h


Propene feed cost ($/yr) = | | |
h lb lbmol yr

FFC lbmol $ 0.077 70.906 lb 8,000 h


Chlorine feed cost ($/yr) = | | |
h lb lbmol yr

EP2 = Allyl chloride price + HCl price + 1,2-Dichloropropane price + 1,3-Dichloropropene price + Fuel
propene price in purge + Fuel propane price in purge - Propene feed cost - Chlorine feed cost
16

ตัวอย่างของการคานวณ Raw material costs, product prices, fuel credits และ EP2 (million$/yr) ที่
เปลี่ยนค่า conversion, PC3H6 = 139.334 lbmol/h and PCl2 = 0.101 lbmol/h ได้ดงั ตารางที่ 2.7 โดยหาแนวโน้ม
ของ ค่า EP2 ที่ PC3H6 อื่น ๆ ด้วย
ตารางที่ 2-7 Costs, price, credit and EP2 (million$/yr)

1,2- 1,3-
Allyl
HCl Dichloro Dichloro Propene Propane Propene Chlorine
x chloride EP2
price propane propene credit credit feed cost feed cost
price
price price
0.1 0.701 33.477 0.327 0.111 27.185 0.0845 26.585 1.664 33.607
0.2 0.711 33.477 0.330 0.222 27.185 0.0846 26.627 1.689 33.664
0.3 0.722 33.477 0.332 0.336 27.185 0.0848 26.671 1.714 33.722
0.4 0.733 33.477 0.335 0.454 27.185 0.0849 26.716 1.740 33.783
0.5 0.745 33.477 0.338 0.575 27.185 0.0851 26.762 1.766 33.845
0.6 0.756 33.477 0.340 0.700 27.185 0.0852 26.810 1.794 33.910
0.7 0.768 33.477 0.343 0.829 27.185 0.0854 26.860 1.822 33.976
0.8 0.781 33.477 0.346 0.962 27.185 0.0855 26.911 1.852 34.045
0.9 0.794 33.477 0.349 1.100 27.185 0.0857 26.963 1.882 34.115
17

3.E+07 PC3H6
139.334
3.E+07
125
3.E+07
110
3.E+07 95
EP2 ($/yr)

3.E+07 80

3.E+07 65
50
3.E+07
35
3.E+07
20
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1
Conversion of chloride, x

รูปที่ 2.4 Economic potential at level 2


เมื่อพิจารณาโปรไฟล์ EP2 ที่ Conversion ตั้งแต่ 0.1 ถึง 0.9 และ PC3H6 ตั้งแต่ 20 ถึง 139.334 lb-mol/hr
พบว่ามีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน เมื่อเพิม่ Conversion จะส่ งผลให้ค่า EP2 เพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากเมื่อเพิ่มค่า
Conversion จะส่ งผลให้สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็ น Allyl Chloride มากขึ้น และได้ By-product ได้แก่ 1,2-
Dichlropropane และ 1,3-Dichloropropene มากขึ้นซึ่งสามารถนาไปขายต่อได้ท้งั Allyl Chloride และ By-
product ทาให้กาไรมากขึ้น นอกจากนี้เมื่อเพิ่ม Conversion จะส่ งผลให้มีการ Purge Gas มากขึ้น ทาให้ได้
Fuel credit มากขึ้นไปด้วย

2.3 Level 3: Recycle Structure


จานวน Recycle stream สามารถหาได้จากการใช้ขอ้ มูล Destination code จาก level ก่อนหน้านี้ โดย
N2, Propene, Propane และ Chlorine อยูใ่ น Recycle and purge streams ดังนั้นจึงมี 1 Recycle stream ดัง
ตารางที่ 2.8 และสามารถสร้าง Recycle structure ได้ดงั รู ปที่ 2.5
18

ตารางที่ 2-8 Destination codes and component classifications

recycle
NBP and
Component Component classification Destination code
(°C) purge
stream
N2 -195.8 gaseous impurity recycle and purge
HCl -85.05 gaseous by-product valuable by-product (I)
1
C3H6 -47.6 gaseous reactant recycle and purge
C3H8 -42 gaseous impurity recycle and purge
Cl2 -34.6 gaseous reactant recycle and purge
Allyl chloride 45 liquid product primary product
1,2-Dichloropropane 96 Liquid by- product valuable by-product (II) -
1,3-Dichloropropene 112 liquid by-product valuable by-product (III)

Compressor

Recycle and purge: Propene, Propane, Chlorine,


Compressed recycle and purge.
Nitrogen

Propene, Propane HCl


Separator Allyl chloride
Reactor 1,2-Dichloropropane (I)
System
1,3-Dichloropropene (II)

Chlorine, Nitrogen

รูปที่ 2.5 Recycle structure of flowsheet

จากรู ปที่ 2.5 สามารถเห็นรายละเอียดของกระบวนการได้จาก Recycle structure การแยกส่ วนของ


Reactor และ Separator และจาเป็ นต้องมี Gas compressor ใน Gas recycle stream โดยที่ level นี้ ต้นทุนของ
19

Reactor ที่ประกอบด้วย utility ที่ตอ้ งการในส่ วนของ Reactor และต้นทุนของ Gas compressor จะถูกนาเข้า
มาคิด EP3
เพื่อประมาณค่าต้นทุนของ Reactor และ Compressor จาเป็ นต้อง sizing ก่อน ขนาดของ Reactor
และ Compressor สามารถหาได้จาก Flow ของสารที่ผา่ นอุปกรณ์ท้ งั คู่ ทา Recycle material balance เพื่อหา
Inlet flow ที่เข้า Reactor และ Recycle gas flow ที่เข้า Compressor
Gas recycle material balance (Chlorine)

FCl2(1-x)
Compressor

Recycle and purge: Propene, Propane, Chlorine,


Compressed recycle and purge.
Nitrogen

Propene, Propane FCl2 FCl2(1-x) HCl


Separator Allyl chloride
Reactor 1,2-Dichloropropane (I)
System
1,3-Dichloropropene (II)
yF,Cl2FFC

Chlorine, Nitrogen
รูปที่ 2.6 Chlorine recycle material balance

จากโครงสร้างรี ไซเคิลดังรู ปด้านบน Flow rate ของ Chlorine ที่เข้าทาปฏิกิริยาใน Reactor (FCl2) เกิด
จากการรวมกันของ Feed flow rate ของ Chlorine (yF,Cl2FFC) และ Recycle flow rate ของ Chlorine ซึ่ งจาก
การประเมินเบื้องต้น Chlorine ที่เหลือจากฏิกิริยา และออกที่ขาออกของ Reactor มี Flow rate เป็ น FCl2(1-x)
โดยตั้งสมมติฐานสามารถแยก Chlorine ออกจากผลิตภัณฑ์ได้ท้ งั หมดที่ Separator system และรี ไซเคิลเข้าสู่
Reactor ต่อไป สามารถเขียน Material balance ของ Chlorine ณ จุดผสมก่อนเข้า Reactor ได้ดงั สมการ (2.13)
Cl2 feed + Cl2 recycle = Cl2 feed into reactor
yF,Cl2FFC + FCl2(1-x) = FCl2
yF,Cl2 FFC
FCl2 = (2.13)
x
20

Gas recycle material balance (Propene)

yP,C3H6 RG
Compressor

Recycle and purge: Propene, Propane, Chlorine,


Compressed recycle and purge
Nitrogen
yF,C3H6FFP
Propene, Propane FC3H6 HCl
Separator Allyl chloride
FCl2 Reactor 1,2-Dichloropropane (I)
System
1,3-Dichloropropene (II)

Chlorine, Nitrogen
รูปที่ 2.7 Propene recycle material balance

จากโครงสร้างรี ไซเคิลดังรู ปด้านบน Flow rate ของ Propene ที่เข้าทาปฏิกิริยาใน Reactor (FC3H6)
เกิ ดจากการรวมกันของ Feed flow rate ของ Propene (yF,C3H6FFP) และ Recycle flow rate ของ Propene
(yP,C3H6 RG) ซึ่ ง Flow rate ของ Propene ที่เข้าทาปฏิกิริยาใน Reactor จะถูกกาหนดด้วย Mole ratio (MR) ที่
เป็ นอัตราส่ วนของ Mole ของ Chlorine ที่เข้าทาปฏิกิริยาและ Mole ของ Propene ที่เข้าทาปฏิกิริยา ดังนั้น
Flow rate ของ Propene ที่เข้าทาปฏิกิริยาใน Reactor จะสามารถหาได้จาก MR คูณกับ FCl2 สามารถเขียน
Material balance ของ Propene ณ จุดผสมก่อนเข้า Reactor ได้ดงั สมการ (2.14)
C3H6 feed + C3H6 recycle = C3H6 feed into reactor
yF,C3H6 FFP + yP,C3H6 RG = FC3H6
yF,C3H6 FFP + yP,C3H6 RG = MRFCl2
แทนค่า FFP จากสมการ (2.13) และ FCl2 จากสมการ (2.10) จากนั้นจัดรู ปเพื่อให้ได้ RG ที่อยูใ่ นรู ป
Design variable

1 yF,Cl2 FFC 1 1 P
RG = [MR ( ) - yF,C3H6 [PC3H6 + [PA + [1-S1 +S2 ] A ]]] (2.14)
yP,C3H6 x yF,C3H6 2 S1
21

จากการทา Material balance จะสามารถหา Flow rate ทั้งหมดที่เข้า Reactor เท่ากับ (FCl2 + FC3H6)
หรื อ FR ได้ ซึ่ งจะนาไปคานวณขนาดของ Reactor ต่อไป ในกระบวนการนี้ เลือก Reactor ชนิ ด Adiabatic
เนื่ องจากมีความง่าย เมื่อเทียบ Reactor ชนิ ด Isothermal ที่จาเป็ นต้องใช้ Hot utility และ Cold utility เพื่อ
ควบคุมอุณหภูมิ อย่างไรก็ตามอุณหภูมิของ Adiabatic reactor จะเปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของปฏิกิริยา และ
เพิ่มขึ้นหรื อน้อยลงขึ้นกับ Heat of reaction ในกระบวนนี้ปฏิกิริยาทั้ง 3 ปฏิกิริยาเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน
(Exothermic reaction) อุณหภูมิของ Reactor จะเพิ่มสู งขึ้น อย่างไรก็ตามเงื่อนไขอุณหภูมิของ Reactor ต้อง
ไม่เกิน 1040°F ดังนั้นจึงต้องทาการตรวจสอบสภาวะการทางานของ Reactor เพื่อให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่
กาหนด โดยในขั้นตอนนี้จะสามารถตัดบางกรณี ที่ไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขได้
Investigate reactor heat effect on the reactor outlet temperature
การคานวณ Heat load ของ Reactor สามารถคานวณบนสมมติ ฐานว่า Side reactions ทั้งสอง
ปฏิกิริยาเกิดขึ้นน้อยมาก จึงไม่นามาพิจารณาในการคานวณ Heat load โดยปริ มาณที่ Chlorine เปลี่ยนไป
เป็ นผลิตภัณฑ์มีค่าเท่ากับ Feed chlorine (yF,Cl2FFC) สามารถเขียนได้ดงั สมการ (2.15)
P
QR = ∆HRyF,Cl2FFC = ∆HR[ A + PCl2 ] (2.15)
S1

Heat of reaction ของปฏิกิริยาหลักที่ 76.73°F


∆HR = -48.255 Btu/lbmol chlorine
Heat load ของ Reactor สามารถหาได้จากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปจาก Operate adiabatic reactor ซึ่งจะ
มีค่าเท่ากับปริ มาณความร้อนที่เกิดจากการเปลี่ยนอุณหภูมิที่ขาเข้า Reactor ไปยังขาออกของ Reactor ดัง
สมการ (2.16)

QR = ∑i Fi Cp,i (TR,in -TR,out ) (2.16)


โดยที่ i คือองค์ประกอบ I ที่ขาเข้า Reactor
อุณหภูมิขาออกของ Reactor สามารถเขียนเป็ นฟังก์ชนั กับ Flow ขาเข้าและ Design variables
22

ตารางที่ 2-9 สายขาเข้า Reactor

Stream Composition Fi (lbmol/h)

Propene feed 99.8%wt C3H6, 0.2%wt C3H8 FFP

Chlorine feed 99.5%wt Cl2, 0.5%wt N2 FFC

Recycle 99.5%wt C3H6, 0.5%wt Cl2 RG


ตารางที่ 2-10 Specific heat ของแต่องค์ประกอบที่อุณหภูมิ 800°F

Component Cp,i (Btu/lbmol°F) [16]

Propene 30.74

Propane 36.95

Chlorine 8.86

Nitrogen 7.504

Hydrochloric acid 7.26

Allyl chloride 25.18

1,2-Dichloropropane 34.01
1,3-Dichloropropene 29.41

รวมสมการที่ (2.15) และ (2.16) แทนค่า Fi และ Cp,i จะสามารถหาอุณหภูมิ ขาออกของ


Reactor และนามาสร้างกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion (x) และ PC3H6 = 139.334 lbmol/h
ดังรู ปที่ 2.8
23

970

970
TR,out (F) 970

970

970

970

970

970
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
Conversion of chlorine, x

รูปที่ 2.8 ความสัมพันธ์ระหว่าง Conversion (x) และอุณหภูมิขาออกของ Reactor (TR,out)


จากรู ปที่ 2.8 พบว่าที่ PC3H6 = 139.334 lbmol/h ในทุก ๆ Conversion อุณหภูมิขาออกของ
Reactor ไม่เกิน 1040°F ซึ่งเป็ นไปตามเงื่อนไข
Reactor sizing and costing
จาก Problem statement ก าหนดให้ใ ช้ Fluidized bed reactor ในกระบวนการ โดย
รายละเอียดการออกแบบขนาดและประเมินราคาของ Reactor อยูใ่ น Appendix B
Recycle gas compressor sizing and costing
ต้นทุนทั้งหมดของสาย Gas Recycle ประกอบด้วยต้นทุนรายปี ของ Compressor กับต้นทุน
การดาเนินการของ Compressor ที่ประกอบไปด้วยต้นทุนค่าไฟ ส่ วนต้นทุนรายปี ของ Compressor
สามารถคานวณได้จากสัดส่ วนของต้นทุนการติดตั้ง Compressor กับ Life time ของอุปกรณ์ ใน
ส่ วนของต้นทุนการติ ดตั้ง Compressor ขึ้นอยู่กับ Brake horsepower ซึ่ งคานวณได้จากสมการ
ดังต่อไปนี้
M&S
Installed cost, $ = ( ) 517.5(bhp)0.82 (2.11+Fd)
280
สมมติให้ Compressor type คือ Motor-driven centrifugal compressor โดยที่ Fd = 1
hp
bhp =
Mech. efficiency
24

3.03x10-5 Pout γ
hp = ( ) Pin Qin [( ) -1]
γ Pin

Assumptions:
- Molar density สาย Recycle ขาเข้า Compressor (จาก Simulation) = 0.008088 lb-mol/ft3
- อุณหภูมิสาย Recycle ขาเข้า Compressor (จาก Simulation) = 77.45 °F
- Mechanical efficiency = 90%
- Motor efficiency = 80%
1 lbmol (460+32) Pin
ρin = ( )
359 ft3 (460+Tin ) 14.7
RG 1h 144 in2
Qin (ft /min) =
3
x x
ρin 60 min 1 ft2

bhp $0.165 1 kW 7,884 h


Electricity, $/yr = x x x
Motor efficiency kw.h 1.341 hp yr

ตารางที่ 2-11 Flow rate, annualized compressor cost and electricity cost

Ann. comp. cost Electricity cost


x Qin (ft3/min) Bhp
(million$/yr) (million$/yr)
0.1 1285.419 146.828 0.0573 0.1807
0.2 502.444 57.392 0.0265 0.0706
0.3 303.248 34.639 0.0175 0.0426
0.4 203.689 23.267 0.0126 0.0286
0.5 143.986 16.447 0.0095 0.0202
0.6 104.212 11.904 0.0073 0.0146
0.7 75.828 8.662 0.0056 0.0107
0.8 54.563 6.233 0.0043 0.0077
0.9 38.046 4.346 0.0032 0.0053
25

ประเมิน EP3
คานวณ EP3 ได้ดงั นี้:
EP3 = EP2 – Ann. Reactor cost – Ann. Comp. cost – electricity cost
ตัวอย่างการคานวณหาค่า EP3 ที่ Conversion 0.1 – 0.9 และ PC3H6 = 139.334 lb-mol/hr โดยค่า
PCl2 = 0.101 lb-mol/hr คงที่ทุก conversion ซึ่งแสดงได้ดงั ตาราง
ตารางที่ 2-12 Total annualized compressor cost and EP3 (million$/yr)

x EP2 Total compressor cost Reactor cost EP3


0.1 33.6 0.2379 0.0067 33.3619
0.2 33.7 0.0971 0.0067 33.5598
0.3 33.7 0.0601 0.0067 33.6555
0.4 33.8 0.0413 0.0067 33.7349
0.5 33.8 0.0298 0.0067 33.8088
0.6 33.9 0.0219 0.0067 33.8810
0.7 34.0 0.0163 0.0067 33.9530
0.8 34.0 0.0120 0.0067 34.0259
0.9 34.1 0.0085 0.0067 34.1000

3.500E+07

3.400E+07
PC3H6
3.300E+07 139.334
125
3.200E+07
110
EP2 ($/yr)

3.100E+07 95
80
3.000E+07
65
2.900E+07 50
35
2.800E+07
20
2.700E+07
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
Conversion of Chlorine, x

รูปที่ 2.9 Economic potential at level 3


26

เมื่ อ พิ จ ารณาโปรไฟล์ EP3 ที่ Conversion ตั้ง แต่ 0.1 ถึ ง 0.9 และ PC3H6 ตั้ง แต่ 20 ถึ ง 139.334 lb-
mol/hr พบว่าเมื่อคานวณค่า EP3 จะมีค่าน้อยกว่า EP2 เนื่ องจากมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง Compressor ค่าไฟ
ของ Compressor

2.4 Level 4: Separation System


สายที่เข้า separation system คือ Reactor effluent ซึ่งได้มาจากการคานวณจาก Excel โดยมี
Operating constraint คือ อุณหภูมิ Reactor ต้องอยูใ่ นช่วง 950 to 990 °F และความดันของ Reactor ต้อง
มีค่าไม่เกิน 45 psig และค่า Space velocity มีค่า 2.61 s-1 และสถานะของ Reactor effluent เป็ นไอเท่านั้น
และถูกทาให้เย็นลงด้วย Cooler ส่ งผลให้สารมีสถานะเป็ นทั้งของเหลวและไอ โดย Cooler จะทางานที่
อุณหภูมิ 30.2 °F และสารจะถูกป้อนเข้าหอกลัน่ ต่อไปเพือ่ แยก Allyl Chloride
2.4.1 Level 4/1: Consideration of the vapor recovery system
2.4.1a. Reactant column (DIST1)

รูปที่ 2.10 1st Distillation column (T-100)


องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ ออกจาก Reactor จะถูกทาให้เย็นลงด้วย Cooler ก่ อนที่ จะเข้าสู่
Distillation column (T-100) เพื่อแยก Reactant กลับไปรี ไซเคิลในกระบวนการ
• Overall material balance
กาหนด %Recoveries for light-ends removal จากนั้นสามารถคานวณ Overall
material balance ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h ได้ผลดังนี้
27

ตารางที่ 2-13 Mole Fraction

Feed mole %Recoveries in Distillate mole Bottom product


Component
fraction liquid distillate fraction mole fraction
Propene 0.748 54.654 0.750 0.746
Propane 0.002 45.609 0.001 0.002
Chlorine 0.001 31.292 0.001 0.002
Nitrogen 0.045 98.934 0.081 0.001
Hydrochloric acid 0.104 86.908 0.166 0.030
Allyl chloride 0.090 4.70710-22 7.77010-25 0.198
1,2-Dichloropropane 0.003 2.01810-41 1.00910-45 0.006
1,3-Dichloropropene 0.007 1.11610-45 1.37410-49 0.015
• Distillation temperature and liquid reflux compositions
Distillation temperature สามารถหาได้จาก Equilibrium relationship ดังสมการ
yi,D
xi,L =
Ki (T)
∑ xi,L = 1
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Condensing temperature
เท่ากับ -2.23°F
• Reboiling temperature and boilup vapor compositions
Reboling temperature สามารถหาได้จาก Equilibrium relationship ดังสมการ
yi,B = Ki(T)xi,B
∑ yi,B = 1
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Reboiling temperature
เท่ากับ 16.13 °F
• Minimum and actual reflux calculation
1 x x
Rmin = (α-1)
( xLK,D - α xHK,D )
LK,F HK,F

α คือ Relative volatility of LK with respect to HK โดยในการแยกนี้ LK คือ Chlorine และ


HK คือ Allyl chloride โดยใช้สมการของ Underwood ในการคานวณหา Minimum number of
28

stages ซึ่ งสมมติให้ α มีค่าคงที่ เท่ากับ และที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101
lbmol/h มี Actual reflux ratio เท่ากับ 0.5
• Minimum number of stages
The minimum number of stages (Nmin) สามารถคานวณได้จากสมการของ Fenske ดัง
สมการ
xLK,D x
ln (( ⁄xHK,D ) × ( HK,B⁄xLK,B ))
Nmin =
ln(αLK-HK )
• Number of theoretical stages
The number of theoretical stages สามารถประมาณได้จากสมการของ Gilliland ซึ่งพัฒนา
โดย Eduljee ดังสมการ
N - Nmin R - Rmin 0.5688
= 0.75 [1- ( ) ]
N+1 R+1
• Actual number of stages
The actual number of stages สามารถประมาณได้จากการปรับค่า Theoretical stages ด้วย
Overall tray efficiency ดังสมการ
N
Nact =
E0

สามารถใช้ O’Connell’s correlation ในการประมาณค่า Overall tray efficiency ได้ดงั


สมการ โดยความหนืดของของเหลวส่ วนมากที่จุด Normal boiling point ทีค่าเท่ากับ 0.3 cP
0.5
E0 = (0.3α)0.226

ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Nact เท่ากับ 19 stages
• Overhead vapor and liquid reflux flow
The overhead vapor and liquid reflux flow สามารถคานวณได้จาก Overall material
balance รอบ Partial condenser ดังสมการ
29

V = (R+1)D
L=RD
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Overhead vapor and liquid
reflux flow เท่ากับ 24,231.741 และ 24,012.594 lbmol/h ตามลาดับ
• Overhead vapor compositions and overhead vapor temperature
The overhead vapor composition (yi,V) สามารถหาได้จากการทา Component balance รอบ
Condenser

รูปที่ 2.11 Component balance รอบ Condenser


yi,VV = yi,DD + xi,LL
จากการคานวณ The overhead vapor temperature ด้วย Excel ได้ผลดังตาราง
ตารางที่ 2-14 Overhead vapor mole fraction

Overhead vapor mole


Component
fraction
Propene 0.750
Propane 0.001
Chlorine 0.001
Nitrogen 0.081
Hydrochloric acid 0.166
Allyl chloride 7.77010-25
1,2-Dichloropropane 1.00910-45
1,3-Dichloropropene 1.37410-49
30

• Condensing duty
ในการประมาณ Condensing duty สามารถทาได้โดยทา Energy balance รอบ Condenser
โดยใช้ Specific enthalpy ของแต่ละสาร
The specific enthalpy of vapor distillate (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ
hD = ∑ hi,V (TD )MWi
The specific enthalpy of liquid reflux (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ

hL = ∑ hi,L (TL )MWi

The specific enthalpy of overhead vapor (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ

hV = ∑ hi,V (TV )MWi

จากนั้นสามารถหา Condensing duty ได้จากสมการ Energy balance รอบ Condenser ดัง


สมการ
QC = hVV – hDD - hLL
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Condensing duty เท่ากับ -
815,644.946 Btu/h
• Bottom liquid compositions and bottom liquid temperature
The bottom liquid composition (xi,L) สามารถหาได้จากการทา Component balance รอบ
Reboiler

รูปที่ 2.12 Component balance รอบ Reboiler

xi,LL’ = yi,VV’ + xi,BB


31

จากการคานวณ The overhead vapor temperature ด้วย Excel ได้ผลดังตาราง


ตารางที่ 2-15 Overhead vapor mole fraction

Bottom liquid mole


Component
fraction
Propene 0.748
Propane 0.002
Chlorine 0.002
Nitrogen 0.001
Hydrochloric acid 0.030
Allyl chloride 0.198
1,2-Dichloropropane 0.006
1,3-Dichloropropene 0.015

• Condenser area
Condenser area สามารถหาได้ดงั สมการ
QC
AC =
U∆TLM

Log-mean temperature difference สามารถหาได้จาก Condensing temperature (TC) และ


อุณหภูมิของ Refrigerant ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Condenser
area เท่ากับ 470.35 ft2
• Column diameter and column height
เส้นผ่านศูนย์กลางของหอกลัน่ สามารถหาจาก Hydraulic calculation ของอัตราการไหล
ของของเหลวและไอในแต่ ล ะชั้น ของหอกลั่น โดยเส้ น ผ่า นศู น ย์ก ลางที่ ม ากที่ สุ ด จะถู ก น ามา
ออกแบบหอกลัน่ ในการออกแบบนี้จะใช้อตั ราการไหลของของเหลวและไอที่ดา้ นล่างของหอกลัน่
ในการคานวณ โดยทัว่ ไปเส้นผ่านศูนย์กลางของหอกลัน่ ชนิด Sieve tray จะกาหนดจาก Empirical
flooding correlation ดังนั้นในการออกแบบหอกลัน่ ทั้งหมดในกระบวนการนี้ จะใช้หอกลัน่ ชนิ ด
Sieve tray โดย Flooding correlation จะสามารถเขียนในรู ป Capacity parameter (CSB) และ Flow
parameter (FLV) ดังรู ปด้านล่าง
32

0.02 0.2 ρ
CSB = Umax ( ) √ V
σ ρL - ρV

โดย Umax คือ Maximum vapor velocity หรื อ Flooding velocity


σ คือ แรงตึงผิว (N/m)
ρV คือ ความหนาแน่นของไอ
ρL คือ ความหนาแน่นของของเหลว

รูปที่ 2.13 The graphical correlation


โดย Flow parameter มีนิยามดังสมการ
L ρ
FLV = √ V
V ρ L

โดย L คือ อัตราการไหลของของเหลว


G คือ อัตราการไหลของไอ
จากรู ปที่ 2.13 Graphical correlation สามารถเขียนเป็ นสมการความสัมพันธ์ได้ดงั สม
[Treybal, R. E., “Mass-transfer Operations”, McGraw-Hill Inc, 1984]
1
CSB = [α log ( ) + β]
FLV
โดย α = 0.0744ZP + 0.01173

β = 0.0304ZP + 0.015
33

ZP คือ ระยะห่างระหว่าง Tray (m)


ถ้า FLV มีค่าน้อยกว่า 0.1 จะได้ CSB เท่ากับ 0.1
ถ้า ε มีค่าน้อยกว่า 0.1 จะต้องคูณ CSB ด้วย (5ε + 0.5) โดยที่ ε คือ Fractional
free area หรื ออัตราส่ วนระหว่าง Hole area ต่อ Active area
Umax ซึ่งอยูใ่ นหน่วย m/s สามารถคานวณได้ดงั สมการ

σ 0.2 ρL - ρV
Umax = CSB ( ) √
0.02 ρV

ในการออกแบบ กาหนดให้ระยะห่างระหว่าง Tray เท่ากับ 2 ft และแรงตึงผิวเท่ากับ 0.04


N/m ความหนาแน่นของไอสามารถประมาณโดยสมมติให้เป็ นแก๊สในอุดมคติ ซึ่งสามารถคานวณ
ได้ดงั สมการ
1 lbmol (460+32) P
ρV = MWV,avg ( )
359 ft3 (460+T) 14.7

ความหนาแน่นของของเหลวสามารถประมาณโดยสมมติให้เป็ นของเหลวในอุดมคติ ซึ่ง


สามารถคานวณได้ดงั สมการ
1
ρL =
x
∑ ( m,i )
ρm,i

โดย xm,i คือ Mass fraction ขององค์ประกอบ i ในของเหลว


ρm,i คือ Liquid mass density ขององค์ประกอบ i
โดยทัว่ ไปแล้ว จะตั้ง Operating condition อยูท่ ี่ 80% ของ Flooding condition ดังนั้นจะ
สามารถคานวณ Design velocity ได้ดงั สมการ
Udes =Fraction to flooding × Umax
โดย Design velocity ขึ้นอยูก่ บั Net area ซึ่งสามารถคานวณจากอัตราการไหลเชิงปริ มาตร
ของไอและ Design velocity ดังสมการ
34

VQ
An =
Udes
โดย VQ คือ อัตราการไหลเชิงปริ มาตรของไอ
An คือ Net area
Net area จะน้อยกว่า Cross-sectional area ตาม Downcomer area ดังนั้นสามารถหา Cross-
sectional area ได้ดงั สมการ
An
At =
(1 - DC)
โดย At คือ Cross-sectional area ของ Tray
DC คือ สัดส่ วนของ Downcomer area ในกรณี น้ ีกาหนดให้เท่ากับ 0.1
เส้นผ่านศูนย์กลางสามารถคานวณได้จาก Cross-sectional area ดังสมการ
4At
D=√
π
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มีเส้นผ่านศูนย์กลางของหอ
เท่ากับ 1.89 ft
ความสู งของหอสามารถคานวณได้จากจานวน Actual number of stages และระยะห่ าง
ระหว่าง Tray ดังสมการ
H = ZPN + XP
โดย H คือ ความสูงของหอ
XP คือ ความสู งในส่ วนด้านบนและด้านล่างของหอ นอกเหนือจาก Tray
ในกรณี น้ ีสมมติฐานให้มีค่าเท่ากับ 15 ft
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มีความสู งของหอเท่ากับ 36
ft
35

• Utility cost
ราคาของ Refrigerant ที่ใช้ใน Condenser สามารถคานวณได้ดงั สมการ
$ Btu $ 1 ft3 1 lb Op. hours
Refrigerant cost ( ) = QC |CRefrig 3 | ⌋ |
yr h ft ρRefrig lb Cp,Refrig (TRefrig,out -TRefrig,in ) Btu yr
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h ใช้ Refrigerant ทั้งหมด
119,920 $/yr
• Capital costs of condenser, reboiler, column shell and tray
Capital cost รายปี ของ Condenser และ Reboiler สามารถประมาณได้ดงั สมการ
M&S
( 280 ) 101.3A0.65 (2.29+Fm (Fd +Fp ))
Annual Installed cost ($/yr) =
plant life
กาหนดให้ Fm มีค่าเท่ากับ 1 เนื่ องจากวัสดุเป็ น CS, Fd สาหรับ Condenser และ Reboiler
เท่ากับ 0.8 (Fixed-tube sheet) และ 1 (Kettle reboiler) ตามลาดับ และ Fp เท่ากับ 0 (Column
operating up to 150 psi)
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Capital cost รายปี ของ
Condenser เท่ากับ 88,300 $/yr
การคานวณ Capital cost รายปี ของ Column shell สามารถประมาณได้ดงั สมการ
M&S
( 280 ) 101.9D1.066 H0.802 (2.18+ Fm Fp )
Annual Installed cost ($/yr) =
Plant life
กาหนดให้ Fm มีค่าเท่ากับ 1 เนื่องจากวัสดุเป็ น CS และ Fp เท่ากับ 1 (Column operating up
to 50 psi)
การคานวณ Capital cost รายปี ของ Tray สามารถประมาณได้ดงั สมการ
M&S
( 280 ) 4.7D1.55 H(Fs + Fm +Fp )
Annual Installed cost ($/yr) =
Plant life
กาหนดให้ Fs เท่ากับ 1 (24-in tray spacing), Ft เท่ากับ 0 เนื่องจากเป็ นชนิด Sieve tray และ
Fm เท่ากับ 0 เนื่องจากวัสดุเป็ น CS
36

ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Capital cost รายปี ของ
Column เท่ากับ 248,500 $/yr
• Annualized cost of 1st Distillation column
Annualized cost ของ 1st Distillation column ประกอบไปด้วย Capital cost รายปี ของ
อุปกรณ์และสาธารณูปโภค
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Annualized cost ของ 1st
Distillation column เท่ากับ 460,100 $/yr
2.4.1b. Removing HCl (Absorber)

รูปที่ 2.14 Absorber (T-101)


เนื่ องจากผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยา ทาให้มี Hydrochloric acid ซึ่ งเป็ นแก๊สเบา
และมีความเป็ นกรดติดมากับ Reactant ดังนั้นจึงควรแยก Hydrochloric acid ออกก่อนด้วย Absorber
โดยใช้น้ าเป็ นตัวทาละลาย เมื่อแยก Hydrochloric acid ออกจาก Reactant แล้ว จะทาการ Purge ออก
บางส่ วนเพื่อลดการสะสมของ Impurities และเนื่องจากไม่มีการติดตั้ง Vapor recovery system ทา
ให้ Reactant บางส่ วนหายไปกับสาย Purge โดยสามารถคานวณหาปริ มาณของ Reactant loss in
purge ได้ดงั สมการ
PG
Propene loss in purge = νPropene (
RG +PG )
P
Chlorine loss in purge = νChlorine ( G )
RG +PG
37

ปริ มาณของ Reactant loss in purge และ Economic potential at level 4 (EP4/1)
หลังจากคานวณในส่ วน loss in purge แล้วที่ Conversion ต่าง ๆ, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2
= 0.101 lbmol/h ดังตารางด้านล่าง
ตารางที่ 2-16 Loss in purge and EP4/1

EP3 Propene loss Chlorine loss Total loss value EP4/1


x
(million$/yr) value in purge value in purge in purge (million$/yr)
0.1 33.3502 1.393646 0.000294 1.39394 32.315
0.2 33.5540 2.802842 0.000591 2.803433 32.518
0.3 33.6521 4.227298 0.000891 4.22819 32.616
0.4 33.7328 5.666673 0.001195 5.667868 32.697
0.5 33.8076 7.120567 0.001502 7.122069 32.772
0.6 33.8803 8.588523 0.001811 8.590334 32.845
0.7 33.9527 10.07001 0.002124 10.07214 32.917
0.8 34.0259 11.56444 0.002439 11.56688 32.990
0.9 34.1003 13.07112 0.002756 13.07388 33.065
• Overall material balance
ตารางที่ 2-17 Overall material balance

Feed mole fraction %Recoveries Distillate Bottom


Component in liquid mole product mole
Vapor Liquid
distillate fraction fraction
Propene 0.750 0 99.945 0.888 0.0003
Propane 0.001 0 0.945 0.002 1.13810-7
Chlorine 0.0009 0 99.516 0.0009 4.412110-6
Nitrogen 0.081 0 99.878 0.097 3.10110-6
Hydrochloric acid 0.166 0 92.549 0.002 0.011
Allyl chloride 7.76810-25 0 0 0 0
1,2-Dichloropropane 1.00810-45 0 0 0 0
1,3-Dichloropropene 1.37310-49 0 0 0 0
Water 0 1 0.0108 0.011 0.988
38

• Actual number of stages


Actual number of stages เท่ากับ 9 stages
• Overhead vapor compositions and overhead vapor temperature
ตารางที่ 2-18 Overhead vapor mole fraction

Overhead vapor mole


Component
fraction
Propene 0.887
Propane 0.002
Chlorine 0.001
Nitrogen 0.097
Hydrochloric acid 0.002
Allyl chloride 0
1,2-Dichloropropane 0
1,3-Dichloropropene 0
Water 0.011
• Bottom liquid compositions and bottom liquid temperature
ตารางที่ 2-19 Bottom liquid mole fraction

Bottom liquid mole


Component
fraction
Propene 0.0002
Propane 1.10610-7
Chlorine 4.27210-6
Nitrogen 3.03510-6
Hydrochloric acid 0.014
Allyl chloride 0
1,2-Dichloropropane 0
1,3-Dichloropropene 0
Water 0.986
39

• Column diameter and column height


เส้นผ่านศูนย์กลางและความสู งหอเท่ากับ 1.843 และ 40 ft ตามลาดับ
• Water cost
Water cost รายปี ที่ใช้ใน Absorber เท่ากับ 24,867 $/yr
• Capital costs of column shell and tray
Capital cost รายปี ของ Column and tray เท่ากับ 176,200 $/yr
• Annualized cost of absorber
Annualized cost ของ Absorber เท่ากับ 201,067 $/yr
2.4.1c. Removing water (Flash drum)

รูปที่ 2.15 Flash drum (T-102)


หลังจากทาการแยก Hydrochloric acid ออกจาก Reactant โดยการใช้น้ าเป็ นตัวทา
ละลาย ทาให้อาจมีน้ าบางส่ วนติดมากับ Reactant ที่จะนาไปรี ไซเคิลได้ ดังนั้นจึงทาการ
แยกน้ าออกโดยลดอุณหภูมิลงด้วย Cooler ก่อนเข้า Flash drum น้ าที่ถูกลดอุณหภูมิลงจน
ควบแน่ นบางส่ วน จะถูกแยกออกมาทางด้านล่างของ Flash drum เพื่อไม่ให้ติดเข้าไปใน
Compressor ที่จะส่ ง Reactไปรี ไซเคิลในกระบวนการต่อไป
ตารางที่ 2-20 Ki

Component Ki
Propene 7.002
Propane 5.827
Chlorine 4.843
Nitrogen 280.101
Hydrochloric acid 26.274
Allyl chloride 0.343
1,2-Dichloropropane 0.0513
1,3-Dichloropropene 0.0308
40

จากค่า K จะเห็นได้วา่ สามารถแยก Component ของสายที่เข้า Flash drum ได้เป็ น


สองกลุ่มคือ Component light, i (Ki > 10) และ heavy, j (Kj < 0.1) และสามารถทา Flash
calculation ได้ โดย Flow rate ของ Light component ใน Liquid phase และ Vapor phase
สามารถคานวณได้ดงั สมการ
fi ∑ fj
li =
Ki ∑ fi
vi = fi - li
และสามารถคานวณ Flow rate ของ Heavy component ใน Liquid phase และ
Vapor phase ได้ดงั สมการ
Kj fj ∑ fi
vi =
∑ fj
lj = fj - vj
จากการคานวณ Flow rate ของ Light component และ Heavy component ใน
Liquid phase และ Vapor phase ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101
lbmol/h ได้ผลดังตาราง
ตารางที่ 2-21 Flow rate
Component fi (lbmol/h) Vi (lbmol/h) Li (lbmol/h)
Propene 164.122 161.820 2.301
Propane 0.297 0.292 0.005
Chlorine 0.177 0.173 0.004
Nitrogen 18.001 17.996 0.005
Hydrochloric acid 0.351 0.350 0.001
Allyl chloride 0 0 0
1,2-Dichloropropane 0 0 0
1,3-Dichloropropene 0 0 0
Water 1.999 0.127 1.873
41

2.4.2 Level 4/2: Consideration of the liquid separation system

22.4.2a. Column sequencing

รูปที่ 2.16 การจัดเรี ยงหอกลัน่


Bottom product จาก 1 st Distillation column (T-100) จะถู ก แยกออกเป็ น 3
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ Allyl chloride, 1,2-Dichloropropane และ 1,3-Dichloropropene การ
จัดเรี ยง Distillation column สามารถจัดได้ 2 แบบ ดังรู ปที่ 2.16 คือแบบ Direct และ
Indirect โดยการเลือกการจัดเรี ยง Distillation column นั้นสามารถเลือกจากการหา Total
vapor flow ที่นอ้ ยที่สุดที่หาได้จากวิธี Shortcut method
Vapor flow ในแต่ละ Column สามารถประมาณได้จากสมการของ Underwood ดัง
สมการ
R/Rmin
V=D+ F
(αLK-HK-1 )
โดยกาหนดให้ R/Rmin เท่ากับ 1.2 ผลการคานวณ Total vapor flow ของ Column
ในการจัดเรี ยงแบบ Direct และ Indirect ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 =
0.101 lbmol/h ได้ผลดังตาราง
ตารางที่ 2-22 Total vapor flow of column sequencing

Vapor flow (lbmol/h) Direct Indirect


Column 1 44.91 110.09
Column 2 8.01 44.34
Total vapor flow 52.92 154.43
42

จากการคานวณ Total vapor flow พบว่าการจัดเรี ยง Column แบบ Direct ได้ Total
vapor flow น้อยกว่าแบบ Indirect ดังนั้นจึงเลือกการจัดเรี ยง Column แบบ Direct โดย
สามารถเขียน Final flowsheet ได้ดงั รู ป

รูปที่ 2.17 Overall separator system

2.4.2b. Allyl chloride column (DIST2)

รูปที่ 2.18 2nd Distillation column (T-103)


43

การคานวณขนาดและประเมินราคาเบื้องต้นของ Allyl chloride column สามารถใช้วิธี


เดียวกันกับ Absorber โดยผลการคานวณที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101
lbmol/h ได้ดงั นี้
• Overall material balance
ตารางที่ 2-23 Overall material balance

Liquid
Feed mole %Recoveries in Vapor distillate Bottom product
Component distillate mole
fraction liquid distillate mole fraction mole fraction
fraction
Propene 0.746 93.173 0.846 0.764 0.557
Propane 0.00193 92.833 0.002 0.002 0.002
Chlorine 0.00225 93.687 0.002 0.002 0.002
Nitrogen 0.00105 99.854 0.036 0.001 1.67310-5
Hydrochloric acid 0.0299 96.257 0.063 0.032 0.012
Allyl chloride 0.198 83.919 0.049 0.183 0.348
1,2-Dichloropropane 0.00598 70.649 0.0004 0.005 0.019
1,3-Dichloropropene 0.0147 66.507 0.0008 0.011 0.054
• Distillation temperature and liquid reflux compositions
Condensing temperature เท่ากับ 221 °F
• Reboiling temperature and boilup vapor compositions
Reboiling temperature เท่ากับ 316.78 °F
• Minimum number of stages and actual reflux calculations
Actual reflux ratio มีค่าเท่ากับ 0.01
• Actual number of stages
Actual number of stages เท่ากับ 9 stages
• Overhead vapor and liquid reflux flow
Overhead vapor and liquid reflux flow เท่ากับ 442.654 และ 276.401 lbmol/h ตามลาดับ
44

• Overhead vapor compositions and overhead vapor temperature


ตารางที่ 2-24 Overhead vapor mole fraction
Overhead vapor mole
Component
fraction
Propene 0.846
Propane 0.002
Chlorine 0.002
Nitrogen 0.036
Hydrochloric acid 0.063
Allyl chloride 0.049
1,2-Dichloropropane 0.0004
1,3-Dichloropropene 0.0008
45

Condensing duty
Condensing duty เท่ากับ -929,014.856 Btu/h
• Bottom liquid compositions and bottom liquid temperature
ตารางที่ 2-24 Bottom liquid mole fraction

Bottom liquid mole


Component
fraction
Propene 0.764
Propane 0.002
Chlorine 0.002
Nitrogen 0.001
Hydrochloric acid 0.0316
Allyl chloride 0.183
1,2-Dichloropropane 0.005
1,3-Dichloropropene 0.011

• Reboiling duty
ในการประมาณ Reboiling duty สามารถทาได้โดยทา Energy balance รอบ Reboiler โดย
ใช้ Specific enthalpy ของแต่ละสาร

The specific enthalpy of bottom product (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ


hB = ∑ hi,l (TB )MWi
The specific enthalpy of liquid reflux (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ
hv' = ∑ hi,v (Tv' )MWi
The specific enthalpy of bottom liquid (Btu/lbmol) สามารถหาได้จากสมการ
hL' = ∑ hi,l (TL' )MWi
46

จากนั้นสามารถหา Reboiling duty ได้จากสมการ Energy balance รอบ Condenser ดังสมการ


QR = hV’V’ – hBB - hL’L’
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Reboiling duty เท่ากับ
2,238,809.4 Btu/h
• Condenser and reboiler areas
ในการหา Condenser area สามารถหาได้เ หมื อ นกับ การหา Condenser area ที่ 1 st
Distillation column
Reboiler area สามารถหาได้ดงั สมการ
QR
AR =
Heat flux
ที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101 lbmol/h มี Condenser area เท่ากับ
40.12750949 ft2
• Column diameter and column height
เส้นผ่านศูนย์กลางและความสู งของหอเท่ากับ 1.068 และ 14 ft ตามลาดับ
• Stream and cooling water cost
Utility cost สาหรับ Reboiler และ Condenser เท่ากับ 21.259 $/yr
• Capital costs of condenser, reboiler, column shell and tray
Capital cost รายปี ของ Condenser, Reboiler และ Column เท่ากับ 62,400, 134,100 และ
160,100 $/yr ตามลาดับ
• Annualized cost of 2nd Distillation column
Annualized cost ของ 2nd Distillation column เท่ากับ 455,300 $/yr
47

2.4.2c. 1,2-Dichloropropane and 1,3-Dichloropropene column (DIST3)

รูปที่ 2.19 3rd Distillation column (T-104)


การคานวณขนาดและประเมินราคาเบื้องต้นของ Allyl chloride column สามารถใช้วิธี
เดียวกันกับ Absorber โดยผลการคานวณที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 =
0.101 lbmol/h ได้ดงั นี้
• Overall material balance
ตารางที่ 2-25 Overall material Blance

Bottom
%Recoveries in liquid Distillate
Component Feed mole fraction product mole
distillate mole fraction
fraction
Propene 0.557 99.30 0.617 0.038
Propane 0.002 99.23 0.002 0.0001
Chlorine 0.002 99.44 0.002 8.47810-5
Nitrogen 1.67610-5 99.99 1.86810-5 1.46510-8
Hydrochloric acid 0.012 99.73 0.014 0.0003
Allyl chloride 0.348 94.48 0.366 0.187
1,2-Dichloropropane 0.019 1.3610-15 2.91310-19 0.187
1,3-Dichloropropene 0.054 6.6510-20 4.02210-23 0.525

• Distillation temperature and liquid reflux compositions


Condensing temperature เท่ากับ 50.68 °F
48

• Reboiling temperature and boilup vapor compositions


Reboiling temperature เท่ากับ 285.50 °F
• Minimum number of stages
Actual reflux มีค่าเท่ากับ 2
• Actual number of stages
Actual number of stages เท่ากับ 40 stages
• Overhead vapor and liquid reflux flow
Overhead vapor and liquid reflux flow เท่ากับ 465 และ 450 lbmol/h ตามลาดับ
• Overhead vapor compositions and overhead vapor temperature
ตารางที่ 2-26 Overhead vapor mole fraction

Overhead vapor mole


Component
fraction
Propene 0.617
Propane 0.002
Chlorine 0.002
Nitrogen 1.86810-5
Hydrochloric acid 0.014
Allyl chloride 0.366
1,2-Dichloropropane 2.91310-19
1,3-Dichloropropene 4.02210-23
• Condensing duty
Condensing duty เท่ากับ -486323.9 Btu/h
• Reboiling duty
Reboiling duty เท่ากับ 363993.211 Btu/h
49

• Condenser and reboiler areas


Condenser เท่ากับ 50.968 ft2
• Column diameter and column height
เส้นผ่านศูนย์กลางและความสู งของหอเท่ากับ 0.779 และ 76 ft ตามลาดับ
• Stream and cooling water cost
Utility cost สาหรับ Reboiler และ Condenser เท่ากับ 3.946 $/yr
• Capital costs of condenser, reboiler, column shell and tray
Capital cost รายปี ของ Condenser, Reboiler และ Column เท่ากับ 68,000, 62,900 และ
641,000 $/yr ตามลาดับ
• Annualized cost of 3rd Distillation column
Annualized cost ของ 3rd Distillation column เท่ากับ 875,100 $/yr
คานวณ EP4
EP4 = EP3 – Propylene loss and chlorine loss in purge – Ann. Absorber cost – Ann. First column
cost - Ann. Second column cost - Ann. Third column cost – Ann. Flash drum cost
(million$/yr)
ตารางที่ 2-27 Economic potential at level 4 (million$/yr)

X EP4/1 Absorber Column 1 Column 2 EP4/2


0.9 33.065 0.201 0.460 0.455 31.949
เนื่ องจาก EP2 และ EP3 สู งที่สุดที่ x = 0.9, P C3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101
lbmol/h ดังนั้นใน EP4 จึ งพิจารณาเพียงที่ x = 0.9, PC3H6 = 139.334 lbmol/h และ PCl2 = 0.101
lbmol/h
50

Preliminary PFD:

รูปที่ 2.20 PFD ของกระบวนการ


จากรู ปที่ 2.20 Basic non-integrated process flowsheet ที่ได้พฒั นามาในโปรแกรม Aspen
plus v.10 Optimum condition ที่ได้จาก EP4 ได้เลือก Conversion ของ Chlorine เท่ากับ 0.9, Purge
gas rate ของ Chlorine เท่ากับ 0.101 lbmol/h และ Purge gas rate ของ Propene เท่ากับ 139.334
lbmol/h จาลองกระบวนการโดยใช้ NRTL-RK เนื่องจากสารในกระบวนการประกอบด้วยสารมีข้ วั
(Polar)และไม่มีข้วั (Non-polar) มีขอ้ มูล Interaction parameter และเกิด LL equilibrium
กระบวนการเริ่ มจากป้อน Propylene กับ Chlorine ที่ความดัน 60 psig อุณหภูมิ 80°F ผสม
กันพร้อมกับสาย Recycle gas ที่เพิ่มความดันไว้ 60 psig หลังจากผสมกันแล้วจะถูกให้ความร้อน
ด้วย Furnace (F-100) ไปถึง 970°F แล้วค่อยเกิดปฏิกิริยาต่อที่ Reactor (R-100) ณ ความดัน 45 psig
โดย Reactor (R-101) ที่ต่อแบบอนุกรมกับ Reactor (R-100) จะมีขนาดและการทางานที่เหมือนกัน
แต่จะเปิ ดการใช้งานทีละเครื่ อง เพื่อให้กระบวนการสามารถดาเนินต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก
จาเป็ นต้องทาความสะอาด Reactor ทุก ๆ 2 สัปดาห์
ทาการจาลองปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยใช้ RCSTR Model แทน Fluidized bed reactor สาหรับ
3 ปฏิกิริยา เพื่อหาความสัมพันธ์ของ Selectivity และ Conversion of chlorine ได้ใน Level 2 จากนั้น
สามารถคานวณขนาดของ Reactor ที่ Optimum condition ได้ใน Level 3
อุณหภูมิขาออกของ Reactor อยู่ที่ 970°F จะถูกทาให้เย็นลงด้วย Cooler (E-100) จนมี
อุณหภูมิเท่ากับ 30.2°F ที่ 45 psig ก่อนที่จะเข้าสู่ Distillation column (T-100) ซึ่งเป็ น Rectification
51

column แบบ Partial condenser เพื่อแยก Reactant ออกจาก Product โดย Vapor distillate จะออกที่
ส่ วนบนของหอจะถูกส่ งไปเข้า Absorber (T-101) เพื่อแยก Hydrochloric acid ออก จากนั้น Reactant
จะถูกนาไป Recycle ต่อไปโดยมีการกาจัดน้ าออกก่อนจะส่ งเข้า Compressor ด้วย Flash drum (T-
102) นอกจากนี้ จะมี การ Purge ออกเพื่อลดการสะสมของ Nitrogen ด้วยอัตราการไหล 0.101
lbmol/h
ในส่ ว นของ Bottom product ที่ ส่ ว นล่ า งของ Distillation column (T-100) จะเข้า สู่
กระบวนการแยกเพื่อให้ได้ Allyl chloride ที่บริ สุทธิ์ ต่อไป โดยจะเพิ่มความดันให้เท่ากับ 550 psig
ก่อนเข้าสู่ Distillation column (T-103) โดยแยก Propene ออกเป็ น Vapor distillate และแยก Allyl
chloride ออกเป็ น Liquid distillate โดยในการจาลอง Distillation columns และ Absorber จะใช้
DSTWU model ในการจ าลองตอนเริ่ ม ต้น จากนั้น จึ ง น าข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการจ าลองมาใช้กับ
RADFRAC model

รูปที่ 2.21 PFD ของกระบวนการ


หลังจากทาการ Simulation ในโปรแกรม Aspen plus พบว่าหอกลัน่ T-104 ไม่สามารถแยก
1,2-Dichloropropane และ 1,3-Dichloropropene ออกจากกันได้ดงั นั้นจึงทาการตัดหอกลัน่ ธ-104
ออกได้ PFD ของกระบวนการใหม่ดงั รู ปที่ 2.21 นอกจากนี้ ผลจากการ Simulation ไม่ตรงกันกับ
Material balance ใน Level 2 โดย Production capacity ของ Allyl chloride ที่ได้จากการ Simulation
ลดลงเมื่อเทียบกับ Material balance ใน Level 2 เนื่องจากไม่สามารถแยกออกจากองค์ประกอบอื่น
ๆ ได้ท้งั หมด โดยมีขอ้ มูลที่ได้จากการจาลองดังตาราง
52

ตารางที่ 2-28 Input parameters and some results of heater and cooler models

Heater/Cooler EFF-COOL FURNACE


Specified pressure or pressure drop [psig] 45 45
Specified temperature [oF] 30.2 970
Calculated vapor fraction 0.752 1
Calculated heat duty [x106 Btu/hr] -1.10 7.75

ตารางที่ 2-29 Input parameters and some results of flash drum model

Flash drum EFF-FLSH


Pressure drop [psia] 0
Specified heat duty [Btu/hr] 0
Outlet temperature [F] 25.0
Outlet pressure [psia] 44.69
Vapor fraction 0.977
ตารางที่ 2-30 Input parameters and some results of compressor model

Compressor GAS-COMP
Model Type ISENTROPIC
Specified discharge pressure [psia] 74.7
Net work required [hp] 42.92
Efficiency (polytropic / isentropic) used 0.8
Outlet temperature [F] 72.25
53

ตารางที่ 2-31 Input parameters and some results of RCSTR model

RCSTR BYD-PROD
Specified pressure [psia] 0
Specified heat duty [Btu/hr] 0
Outlet temperature [F] 1150.54
Outlet pressure [psia] 59.7
Calculated heat duty [x106 Btu/hr] 0

ตารางที่ 2-32 Input parameters and some results of RADFRAC model

RADFRAC T-100 T-103 T-104


Number of stages 19 9 40
Condenser PARTIAL-V PARTIAL-V-L TOTAL
Reboiler KETTLE KETTLE
Top stage pressure [psig] 45 550 60
Specified reflux ratio 0.5 0.01 2
Specified distillate rate [lbmol/hr] 15
Calculated molar reflux ratio 0.5 0.01 2
Calculated distillate rate [lbmol/hr] 219.147 166.253 15
Condenser / top stage temperature [F] -2.23 221.0 50.68
Condenser / top stage pressure [psia] 45 550 60
Reboiler pressure [psia] 550 60
Reboiler temperature [F] 16.13 316.78 285.50
Condenser heat duty [x106 Btu/hr] -0.82 -0.93 -0.49
Reboiler heat duty [x106 Btu/hr] 2.24 0.36
54

ตารางที่ 2-33 Stream summary ของ process ในรู ปที่ 2.20

15-
1-C3H6- 2-Cl2- 21-Di-
Stream data Units RECY 11-PURGE 8-HCL 19-Allyl 22-Di-pene
FEED FEED pane
GAS

Temperature F 80 80 25 80.22 75.44 221.0 50.68 285.5

Pressure psig 60 60 30 30 30 550 60 60

Mole Flows lbmol/hr 179.95 43.3 179.97 0.101 3173.28 165.4 15 1.72

Mole Fractions

NITROGEN 0 0.005 0.0987 0.0965 3.1× 10-6 0.00097 1.8× 10-5 1.5× 10-8

HCL 0 0 0.00190 0.00187 0.0114 0.0316 0.0136 0.00032

PROPYLENE 0.998 0 0.896 0.882 0.00025 0.764 0.617 0.037

PROPANE 0.002 0 0.00162 0.00161 1.1× 10-7 0.00198 0.00168 0.00011

CHLORINE 0 0.995 0.00094 0.00094 4.4× 10-6 0.00232 0.00172 8.4× 10-5

ALLYL
0 0 0 0 0 0.183 0.366 0.187
CHLORIDE

DICHLORO
0 0 0 0 0 0.00467 2.9× 10-19 0.186
PROPANE

DICHLORO
0 0 0 0 0 0.0108 4.0× 10-23 0.525
PROPENE

Water 0 0 0.126 0.0108 0.988 0.000107 1.4× 10-18 0.0629

โดย flowsheet นี้ มี Hot utility requirement สาหรับ Furnace และ Reboiler ทั้งหมด คือ 10.350
MMBtu/h และ Cold utility requirement สาหรับ Cooler และ Condenser ทั้งหมด คือ 13.430 MMBtu/h จะ
เห็นว่ามีการใช้ utility มากทั้งคู่ สามารถลดการใช้ utility ได้ดว้ ยการออกแบบ Heat Recovery System
55

2.5 Level 5: Heat Recovery System


Preliminary flowsheet ที่ได้จาก Level 4 นามาออกแบบ Heat Recovery system โดยเริ่ มจากเลือก
ข้อมูล Stream data จากการจาลองใน Aspen plus แล้วส่ งข้อมูลไปยัง Aspen Energy Analyzer (EA)
สามารถสรุ ปข้อมูลได้ดงั ต่อไปนี้
ตารางที่ 2-34 ข้อมูล Stream สายต่าง ๆ

Stream Tin (°F) Tout (°F) CPavg (x103 Btu/h . °F) H (x106 Btu/h)
Feed - Ph-Feed 76.5 970.0 8.670 7.747
Effluent - Cout 1150.5 30.2 9.825 11.01
Recy-mix – F-flash 80.2 25.0 3.514 0.1915
Con Dist1 1.6 -2.2 217.933 0.8156
Con Dist2 315.7 221.0 8.902 0.929
Reb Dist2 316.8 317.7 2,488 2.239

ในกระบวนการประกอบด้วยสายร้ อน 4 สาย และสายเย็น 2 สาย ซึ่ งแต่ละสาย Stream มีหลาย


ส่ วนย่อย (Multiple segments) ที่ถูกกาหนดโดย Aspen EA จากตารางที่ 2.35 ได้มีการคานวณค่า CP เฉลี่ย
ของแต่ละสาย

ในการทา Pinch Analysis ได้กาหนดค่า Minimum Temperature Approach (Tmin) เท่ากับ 10 C


(50 F) เนื่องจากอุตสาหกรรมเคมีนิยมใช้ค่า Tmin ช่วง 10-20 C จากการจาลองพบว่า ค่า QH,min กับ QC,min
มีค่าเท่ากับ 7.75 และ 13.43 MMBtu/h ตามลาดับ ส่ วนตาแหน่ง Pinch point มี TH,pinch เท่ากับ 334.8 F และ
TC,pinch เท่ากับ 316.8 F
ในการออกแบบ MER Network สามารถลดปริ มาณการใช้สาธารณูปโภค (Utility) ได้ เมื่อเทียบกับ
ตอนแรกที่ ย งั ไม่มี Heat Integrated สามารถลดการใช้สาธารณู ปโภคร้ อนและเย็น ได้ถึง 7.45 และ 9.7
MMBtu/h ตามลาดับ ดังนั้นลดการใช้สาธารณูปโภคร้อนและเย็นได้ 95.1 % และ 72.2 % ตามลาดับ
กราฟ Composite Curve จากการจาลอง Base case ที่ได้จากโปรแกรม Aspen EA ของกระบวนการ
แสดงดังรู ปที่ 2.22
56

1200
1000
800
Temperature (°F)

600
400
200
0
-200
0.00E+00 5.00E+06 1.00E+07 1.50E+07
Enthalpy (Btu/h)
Hot Composite Curve Cold Composite Curve

รูปที่ 2.22 Composite Curve


จากการออกแบบ Heat Exchanger Network สามารถแสดง Grid Diagram ดัง รู ป ที่ 2.22
ประกอบด้วย Process exchanger 3 เครื่ อง และ Utility exchanger 5 เครื่ อง

รูปที่ 2.23 Grid Diagram


จากรู ปที่ 2.23 พบว่า Heat Exchanger ที่ได้ทาการจับคู่ระหว่างสาย Process ในส่ วน ABOVE MER
design ประกอบด้วย Exchanger A และ B โดยใช้ Model เป็ น Heat Exchanger และในส่ วน BELOW MER
design ประกอบด้วย Exchanger D โดยใช้ Model เป็ น Heat Exchanger ด้วยเช่นกัน และมี Utility Exchanger
ได้แก่ H1 C1 C2 C4 และ C5 ที่ใช้ Model เป็ น Heater/Cooler
57

CHAPTER 3
PROCESS FLOW DIAGRAM AND MATERIAL BALANCES
3.1 Process flow diagram
Process flow diagram สาหรับการผลิต Allyl chloride achieved จาก level 5 ใน Chapter 2 แสดงดัง
รู ปที่ 3.1 โดยคาอธิบายกระบวนการอยูใ่ น Chapter 4

รูปที่ 3.1 Process flow diagram for Allyl chloride production

3.2 Material balances


การคานวณ Material balance สาหรับกระบวนการในรู ปที่ 3.1 ถูกแสดงใน Aspen Plus v.12 โดย
ค่า input parameters ได้อธิบายใน Section 2.4 และ Stream summary ดังตารางที่ 3.1
58

ตารางที่ 3-1 Stream summary สาหรับกระบวนการผลิต Allyl chloride ใน รู ปที่ 3.1


Stream No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Temperature (oC) 80 80 76.5 970 1150.5 30.2 -2.29 75.4 77 77.2
Pressure (psia) 74.7 74.7 74.7 59.7 59.7 59.7 59.7 44.7 59.7 44.7
Vapor fraction 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 0.77 1.0 0.0 0.0 1.0
Mass flow (lb/hr) 7,572 3,060 17,957 17,957 17,957 17,957 8,772 57,852 56,538 7,458
Molar flow (lbmol/hr) 179.9 43.3 403.2 403.2 402.1 402.1 219.1 3,173 3,138 184.2
NITROGEN 0 0.22 17.98 17.98 17.98 17.98 17.79 0.00983 0 17.78
HCL 0 0 0.3426 0.3426 41.89 41.89 36.41 36.06 0 0.344
PROPYLENE 179.5 0 340.85 340.8 300.9 300.9 164.4 0.7967 0 163.6
PROPANE 0.35 0 0.6513 0.6513 0.6513 0.6513 0.2970 0.000361 0 0.2967
CHLORINE 0 43.08 43.25 43.25 0.6004 0.6004 0.1878 0.01399 0 0.1738
ALLYLCHLORIDE 0 0 0 0 36.16 36.16 1.7028 0 0 0
DIPROPANE 0 0 0 0 1.094 1.094 2× 10-43 0 0 0
DI PROPENE 0 0 0 0 2.696 2.696 3× 10-45 0 0 0
Water 0 0 0.126 0.126 0.1260 0.1260 2× 10-56 3136 56,538 1.992
Stream No. 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
o
Temperature ( C) 80.2 80.2 25 25 25 72.2 16.1 19.9 221 316.8
Pressure (psia) 44.7 44.7 44.7 44.7 44.7 74.7 59.7 564.7 564.7 564.7
Vapor fraction 0.99 0.99 0.98 0.0 1.0 1.0 0.0 0.0 0.0 0.0
Mass flow (lb/hr) 4.088 7,454 7,454 4.178 7,323 7,323 9,184 9,184 8,160 985.9
Molar flow (lbmol/hr) 0.101 184.1 184.1 130.9 180.0 180.0 183.0 183.0 165.4 16.72
NITROGEN 0.00974 17.77 17.77 0.00511 17.76 17.76 0.1917 0.1917 0.1600 0.0003
HCL 0.00018 0.3438 0.3438 0.00128 0.3425 0.3426 5.485 5.485 5.224 0.2052
PROPYLENE 0.0897 163.5 163.56 2.296 161.27 161.27 136.4 136.4 126.39 9.314
PROPANE 0.00016 0.2965 0.2965 0.00509 0.2914 0.2914 0.3542 0.3542 0.3270 0.0253
9.5× 10- 0.1737 0.1737 0.00375 0.170 0.170 0.4125 0.4125 0.3843 0.0260
5
CHLORINE
ALLYLCHLORIDE 0 0 0 0 0 0 36.16 36.16 30.305 5.815
DIPROPANE 0 0 0 0 0 0 1.094 1.094 0.7730 0.3213
DIPROPENE 0 0 0 0 0 0 2.696 2.696 1.792 0.9031
Water 0.00109 1.991 1.991 1.865 0.126 0.126 0.126 0.126 0.0178 0.1082
59

CHAPTER 4
PROCESS DESCRIPTION
4.1 Process description
จาก Process flow diagram ในรู ปที่ 3.1 แสดงการผลิต Allyl Chloride ด้วยกระบวนการ Thermal
Chlorination of Propylene ที่อุณหภูมิสูงและความดันต่า โดยกระบวนการสามารถแบ่งเป็ น 3 Section คือ
Feed preparation section, Thermal Chlorination section และ Separation section
4.1.1 Feed preparation section
กระบวนการเริ่ มจากป้อน Propylene กับ Chlorine ที่ความดัน 60 psig อุณหภูมิ 80°F ทั้งสองสายจะ
ถูกผสมกันที่ Mixer พร้อมกับสาย Recycle gas ที่ถูกเพิ่มความดันไว้ 60 psig จากนั้นสารที่ผ่านการผสมกัน
(สาย 3) จะถูกให้ความร้อนด้วย Furnace (F-100) ไปถึง 970°F เพื่อเตรี ยมพร้อมเข้าทาปฏิกิริยาใน Reactor
4.1.2 Thermal Chlorination section
Reactor (R-100) เป็ น Reactor ประเภท Fluidized bed reactor ที่สามารถใช้ทาปฏิกิริยาเคมีแบบ
หลายเฟสได้หลากหลาย มีลกั ษณะการเคลื่อนที่การไหลตามแนวดิ่ งระหว่างของไหล (สารตั้งต้น) และ
ของแข็ง (Sand bed) ช่วยให้เกิดการถ่ายเทความร้อนได้ดีข้ ึน โดย Reactor นี้จะ Operate แบบ Adiabatic สาร
ตั้งต้นจะทาปฏิกิริยากัน ณ ความดัน 45 psig, 970 °F ปฏิกิริยาเป็ นแบบ Exothermic reaction เกิดเป็ น Allyl
chloride และ By-product อีก 2 ตัว คือ 1,2-Dichloropropane และ 1,3-Dichloropropene และเนื่ องจาก
จาเป็ นต้องทาความสะอาด Reactor ทุก ๆ 2 สัปดาห์ จึงมี Reactor อีกหนึ่งตัว คือ Reactor (R-101) ที่ต่อแบบ
อนุ กรมกับ Reactor (R-100) จะมีขนาดและการทางานที่เหมือนกัน แต่จะเปิ ดการใช้งานทีละเครื่ อง เรี ยก
Reactor (R-101) ว่า Stand-by reactor
4.1.3 Separation section
อุณหภูมิขาออกของ Reactor อยูท่ ี่ 1150.54°F จะถูกทาให้เย็นลงด้วย Cooler (E-100) จนมีอุณหภูมิ
เท่ากับ 30.2°F ที่ 45 psig ก่อนที่จะเข้าสู่ Distillation column (T-100) ซึ่ งเป็ น Rectification column แบบ
Partial condenser เพื่อแยก Reactant ออกจาก Product โดย Vapor distillate จะออกที่ส่วนบนของหอจะถูก
ส่ งไปเข้า Absorber (T-101) เพื่อแยก Hydrochloric acid ออก จากนั้น Reactant จะถูกนาไป Recycle ต่อไป
ในส่ วนของ Bottom product ที่ส่วนล่างของหอจะเข้าสู่ กระบวนการแยกเพื่อให้ได้ Allyl chloride ที่บริ สุทธิ์
ต่อไป
60

CHAPTER 5
ENERGY BALANCE AND UTILITY REQUIREMENTS
5.1 Energy balance
From energy balance equation
dEsystem
= Ein – Eout
dt
Assume steady state ;
0 = Ein – Eout
v2 v2
0 = ṁ in (H + gy + ) - ṁ out (H + gy + ) + Q̇ - Ẇ s
2 2
v2
Due to Ek and Ep do not change so, gy and equal to zero ;
2
0 = ṁ in Hin - ṁ out Hout + Q̇ - Ẇ s
Pump
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Ẇ s = ṁ (Hin – Hout)
ตารางที่ 5-1 ข้อมูลของ Pump

Molar flowrate (lbmol/h) Molar enthalpy (Btu/lbmol) Enthalpy change Net duty
Unit
Inlet Outlet Inlet Outlet (Btu/h) (Btu/h)
P-100 182.973 182.973 -5258.57 -5119.84 25383.8 7.439

Heat exchanger
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Q = ṁ (Hout - Hin )
61

ตารางที่ 5-2 ข้อมูลของ Heat exchanger

Molar flowrate Molar enthalpy


Enthalpy Net duty
Unit (lbmol/h) (Btu/lbmol)
change (Btu/h) (Btu/h)
Inlet Outlet Inlet Outlet
E-100 402.12 402.12 26297.27 -1076.13 -1.1E+07 -1.1E+07
E-101 184.15 184.15 6352.74 5312.74 -191514 -191514.4
Furnace 403.22 403.22 7011.88 26225.77 7747326 7747325.77

Reactor
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Q = ṁ out Hout - ṁ in Hin
ตารางที่ 5-3 ข้อมูลของ Reactor

Molar flowrate Molar enthalpy


Enthalpy Net duty
Unit (lbmol/h) (Btu/lbmol)
change (Btu/h) (Btu/h)
Inlet Outlet Inlet Outlet
R-100 403.22 402.12 26225.76 26297.27 42.80 0

Distillation column
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Q = ṁ out Hout - ṁ in Hin
62

ตารางที่ 5-4 ข้อมูลของ Distillation column

Molar flowrate Molar enthalpy


Enthalpy Net duty
Unit (lbmol/h) (Btu/lbmol)
change (Btu/h) (Btu/h)
Inlet Outlet Inlet Outlet
219.15 -1305.98 146531.5
T-100 402.12 -1076.13 -815644.95
182.97 -5258.57 -529443
182.97 165.37 2295.34 1316385
T-103 -5119.84 1309793
16.72 -695.55 925163.5
16.72 15 -695.55 -5065.77 -64357.1
T-104 -122330
1.72 -33709.83 -46343.8

Absorber column
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Q = ṁ out Hout - ṁ in Hin
ตารางที่ 5-5 ข้อมูลของ Absorber column

Molar flowrate Molar enthalpy Enthalpy


Net duty
Unit (lbmol/h) (Btu/lbmol) change
(Btu/h)
Inlet Outlet Inlet Outlet (Btu/h)
184.25 6352.74 387070380
T-101 3357.529 -124176 0
3173.28 -121978.02 -1170491

Flash drum
Energy balance equation ;
0 = ṁ in Hin – ṁ out Hout + Q̇ – Ẇ s
Q = ṁ out Hout - ṁ in Hin
63

ตารางที่ 5-6 ข้อมูลของ Flash drum

Molar flowrate Molar enthalpy


Enthalpy Net duty
Unit (lbmol/h) (Btu/lbmol)
change (Btu/h) (Btu/h)
Inlet Outlet Inlet Outlet
179.97 6713.21 229849.953
T-102 184.15 5312.74 0
4.18 -55020.97 -1208180.8

5.2 Process improvement


การพัฒนากระบวนการผลิตสามารถทาได้โดยใช้เทคนิค Pinch analysis เพื่อหาค่าพลังงานที่
ใช้ในการแลกเปลี่ยนความร้อนในกระบวนการผลิตที่นอ้ ยที่สุด โดยการใช้อุณหภูมิและเอนทาลปี ในแต่ละ
สายเพื่อวาดกราฟ Composite curve โดยใช้โปรแกรม Aspen energy analyzer ในการวาด Composite curve
ของกระบวนการผลิต Allyl chloride แสดงดังรู ปที่ 5.1

1200
1000
800
Temperature (°F)

600
400
200
0
-200
0.00E+00 5.00E+06 1.00E+07 1.50E+07
Enthalpy (Btu/h)
Hot Composite Curve Cold Composite Curve

รูปที่ 5.1 Composite Curve


64

จากการทา Pinch analysis จะได้ค่าพลังงานของ Hot utility ที่ตอ้ งใช้นอ้ ยที่สุด คือ 7.75 MMBtu/h
และค่าพลังงานของ Cold utility ที่ตอ้ งใช้นอ้ ยที่สุด คือ 13.43 MMBtu/h อุณหภูมิของ Hot pinch และ Cold
pinch คือ 334.8 และ 316.8 ˚F ตามลาดับ
จากการออกแบบ Heat Exchanger Network สามารถแสดง Grid Diagram ดังรู ปที่ 5.2 ประกอบด้วย
Process exchanger 3 เครื่ อง และ Utility exchanger 5 เครื่ อง

รูปที่ 5.2 Grid Diagram

5.3 Utility requirements


โรงงานอุตสาหกรรมทุกแห่ งจาเป็ นที่จะต้องใช้พลังงานไฟฟ้า และพลังงานความร้อนในรู ปแบบ
ของเชื้อเพลิง และไอน้ าเพื่อลด หรื อเพิ่มอุณหภูมิให้กระบวนการผลิตดาเนินไปอย่างสมบูรณ์ โดยพลังงานที่
ถูกนาเข้ามาจากภายนอกจะถูกแปลงให้อยูใ่ นรู ปแบบและสถานะที่เหมาะสมก่อนนาไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
ทั้งในส่ วนของกระบวนการผลิต ส่ วนงานสนับสนุน และส่ วนสานักงาน
สาหรับกระบวนการผลิต Allyl Chloride กรณี Improved case จาเป็ นต้องใช้ Utility ในอุปกรณ์ท้ งั สิ้ น 8
อุปกรณ์ ซึ่งรายละเอียดของ Utility ที่ตอ้ งใช้ในกรณี Improved case แสดงดังตารางที่ 5.7
65

ตารางที่ 5-7 Utility ที่ใช้ในกระบวนการผลิต Allyl Chloride สาหรับกรณี Improved case

Heat exchanger Mass flow rate (kg/h) Utility


E-100 Heater 198 Fired heat (2000)
E-104 Cooler 1.504 x 105 Refrigerant
E-105 Cooler 1.504 x 105 Refrigerant
E-106 Cooler 1.504 x 105 Refrigerant
E-108 Cooler 1.917 x 105 Cold air
66

CHAPTER 6
EQUIPMENT LIST AND UNIT DESCRIPTIONS
This chapter presents the equipment list and unit descriptions of the process in Figure 3.1. The list

of equipment in the process is shown in Table 6.1. The details of each equipment type are described below.

ตารางที่ 6-1 Equipment list and unit description

Unit number Unit Unit description

Heat Exchanger นี้ทาหน้าที่เป็ น Preheater ทาความร้อน

ให้กบั Stream ก่อนเข้า Reactor จาก 502.3 to 521.1 °C โดย


E-100 Heater
สายร้อนคือ fired heat เป็ น Utility ให้ความร้อนแก่ Process

อุณหภูมิ 2000 to 545.5 °C

ทาความเย็นให้กบั Process stream ที่ไหลออกจาก Reactor

E-101 Heat Exchanger จาก 621.4 to 297.5 °C โดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับ

Process stream ที่ออกจาก E-103 จาก 24.7 to 158.2 °C

ทาความเย็นให้กบั Process stream ที่ไหลออกจาก E-101

จาก 297.5 to 168.2 °C โดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับ


E-102 Heat Exchanger
Process stream ที่ออกจาก Reboiler ตรง T-103 จาก 158.7

to 158.2 °C

ทาความเย็นให้กบั Process stream ที่ไหลออกจาก E-102

E-103 Heat Exchanger จาก 168.2 to 73.72 °C โดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับ

Process stream ที่ออกจาก Mixer จาก 24.7 to 158.2 °C


67

Unit number Unit Unit description

ทาความเย็นให้กบั Stream ที่ออกจาก E103 เพื่อให้ Stream

เย็นลง จาก 73.72 เป็ น -1 °C ก่อนที่จะป้อนเข้าหอกลัน่ เพือ่


E-104 Cooler
ไปแยก Product ต่อไป โดยสายเย็นคือ Refrigerant ที่เป็ น

Utility มาให้ความเย็นแก่ Process stream

ทาความเย็นให้กบั Stream ที่ออกจาก Conderser ที่หอ T-

100 เพื่อให้ Stream เย็นลง จาก -16.91 เป็ น -19.02 °C ก่อน


E-105 Cooler
จะเข้าสู่ Absorber โดยสายเย็นคือ Refrigerant ที่เป็ น Utility

มาให้ความเย็นแก่ Process stream

ทาความเย็นให้กบั Stream ที่ออกจาก Abbsorber เพื่อให้

Stream เย็นลง จาก 26.79 เป็ น -3.889°C ก่อนเข้า Flash


E-106 Cooler
drum โดยสายเย็นคือ Refrigerant ที่เป็ น Utility มาให้ความ

เย็นแก่ Process stream

ทาความเย็นให้กบั Stream ที่ออกจาก E-107 เพื่อให้ Stream

เย็นลง จาก 156.9 เป็ น 105 °C ก่อนที่จะได้ Product ออกมา

โดยสายเย็นคือ Cold air ที่เป็ น Utility มาให้ความเย็นแก่

Process stream
E-108 Cooler
68

Unit number Unit Unit description

Distillation column (T-100) เป็ น Rectification column


Distillation
T-100 แบบ Partial condenser เพื่อแยก Reactant ออกจาก Product
Column
โดยทางานที่ความดัน 45 psig

Absorber (T-101) แยก Hydrochloric acid ออก จากนั้น

T-101 Absorber Reactant จะถูกนาไป Recycle ต่อไป โดยทางานที่ความดัน

30 psig

Flash Drum (T-102) แยกน้ าออกจาก Reactant ก่อนไป


T-102 Flash Drum
Recycle โดยทางานที่ความดัน 30 psig

Distillation column (T-100) เป็ น Rectification column

Distillation แบบ Partial condenser เพื่อแยก Allyl Chloride ออกจาก


T-103
Column By- product โดยทางานที่ความดัน 550 psig และ อุณหภูมิ

105 °C

Compressor (C-100) เป็ น Type แบบ Isentropic เพิม่ ความ

C-100 Compressor ดันจาก T-102 จาก 30 psig เป็ น 60 psig โดยตัว Compressor

ทางานที่ความดัน 60 psig และมี Efficiency เท่ากับ 0.8

ปั๊ม P-100 ปั๊มสารจากหอกลัน่ T-100 เพื่อเพิ่มความดันจาก

60 psia เป็ น 565 psia โดยตัวปั๊ม P-100 ทางานที่ความดัน


Centrifugal
P-100 550 psig และมี Efficiency เท่ากับ 0.8
Pump
69

Unit number Unit Unit description

Reactor (R-100) นี้จะ Operate แบบ Adiabatic สารตั้งต้นจะ

ทาปฏิกิริยากัน ณ ความดัน 45 psig, 970 °F ปฏิกิริยาเป็ น


Fluidized Bed
R-100 แบบ Exothermic reaction เกิดเป็ น Allyl chloride และ By-
Reactor
product อีก 2 ตัว คือ 1,2-Dichloropropane และ 1,3-

Dichloropropene

Reactor (R-101) ต่อแบบอนุกรมกับ Reactor (R-100) จะมี


Fluidized Bed
R-101 ขนาดและการทางานที่เหมือนกัน แต่จะเปิ ดการใช้งานทีละ
Reactor
เครื่ อง เรี ยก Reactor (R-101) ว่า Stand-by reactor

6.1 Heat exchangers


All the heat exchangers in the process are designed using Aspen EDR. The details of heat exchangers

are shown in Table 6.2. Carbon steel is selected as the material of construction because suitable for

substances with low corrosion resistance, low cost.

The detailed design of condenser E-104 is demonstrated in Appendix B to demonstrate how a heat

exchanger is design.
70

ตารางที่ 6-2 List of heat exchangers and their details

Unit number E-100 E-101 E-102 E-103 E-104

Unit Type Heater Heat Exchanger Heat Exchanger Heat Exchanger Cooler
Design type Shell and tube Shell and tube Shell and tube Shell and tube Shell and tube

Material of construction Carbon steel Carbon steel Carbon steel Carbon steel Carbon steel

Shell side fluid Process stream Process stream Process stream Process stream Process stream

Tube side fluid Fired Heat Process stream Process stream Process stream Refrigerant

Shell operating
502.3 to 521.1 621.4 to 297.22 297.5 to 168.2 168.2 to 73.72 73.72 to -1
temperature ( C)
o

Tube operating
2000 to 545.5 158.2 to 502.18 158.2 to 158.7 24.7 to 158.2 -39.47 to -39
temperature ( C)
o

Shell design pressure


25 59 59 55 55
(psia)

Tube design pressure


75 75 564 75 55
(psia)

Duty (Btu/h) 3.486 x 106 5.728 x 106 2.287 x 106 1.671 x 106 1.321 x 106

8.169 485.3 137.3 620.1 32.39


Heat transfer areas (m2)
71

ตารางที่ 6.2 List of heat exchangers and their details (Con’t)

Unit number E-105 E-106 E-108

Unit Type Cooler Cooler Cooler


Design type Shell and tube Shell and tube Shell and tube

Material of construction Carbon steel Carbon steel Carbon steel

Shell side fluid Process stream Process stream Process stream

Tube side fluid Refrigerant Refrigerant Cold air

Shell operating temperature (oC) -16.91 to -19.02 26.79 to -3.89 156.9 to 105

Tube operating temperature (oC) -10 to -39.72 -39.71 to -39.64 30 to 40

Shell design pressure (psia) 59 44 564

Tube design pressure (psia) 75 75 75

Duty (KW) 8.156 x 105 1.915 x 105 1.141 x 105

21.53 16.82 28.21


Heat transfer areas (m2)
72

6.2 Pumps
ตารางที่ 6-3 List of pumps and their details

Unit number P-100

Type Centrifugal pump

Material of construction Carbon steel

Driver type Centrifugal Pump

Flow (ft3/hr) 217.304

Discharge pressure (psig) 550

P (psi) 505

Power (KW) 7.543


73

6.3 Distillation columns


ตารางที่ 6-4 List of distillation column and their details

Unit number T-100 T-101 T-102 T-103

Unit Type Sieve tray Sieve tray - Sieve tray

Type of condenser Partial - - Partial

Material of construction Carbon steel Carbon steel Carbon steel Carbon steel

Reflux ratio 0.5 - - 0.01

Number of trays 19 9 - 9

Tray spacing (ft) 2 - - 2

Column diameter (ft) 1.891 1.843 3 1.069

Pressure (psig) 45 30 30 550

Temperature (°C) - - - 105


74

6.4 Reactor
ตารางที่ 6-5 Detail of reactor

Unit number R-100


Type Fluidized bed reactor
Orientation Vertical
Operating temperature (°F) 1150.54
Operating pressure (psig) 45
Vessel volume (ft3) 12.3752
Vessel diameter (ft) 2.507
Vessel height (ft) 24.646
Bed Sand
Material of construction Carbon steel
75

CHAPTER 7
SPECIFICATION SHEETS
7.1 เอกสารข้ อมูลเครื่ องแลกเปลีย่ นความร้ อน
ตารางที่ 7-1 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-100
76

ตารางที่ 7-2 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-101


77

ตารางที่ 7-3 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-102


78

ตารางที่ 7-4 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-103


79

ตารางที่ 7-5 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-104


80

ตารางที่ 7-6 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-105


81

ตารางที่ 7-7 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-106


82

ตารางที่ 7-8 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-107


83

ตารางที่ 7-9 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-108


84

ตารางที่ 7-10 เอกสารข้อมูลเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน E-109


85

CHAPTER 8
EQUIPMENT COST SUMMARY
ตารางที่ 8-1 ราคาเครื่ องเครื่ องปฏิกรณ์

Unit Number Unit type ราคาค่าอุปกรณ์ ($) ราคาค่าติดตั้ง ($)

R-100 Fluidized Bed Reactor 21102.78 67112.69

R-101 Fluidized Bed Reactor 21102.78 67112.69

ตารางที่ 8-2 ราคา Pump

Unit Number Unit type ราคาค่าอุปกรณ์ ($) ราคาค่าติดตั้ง ($)

P-100 Centrifugal Pump 55600 87600

ตารางที่ 8-3 ราคา Compressor

Unit Number Unit type ราคาค่าอุปกรณ์ ($) ราคาค่าติดตั้ง ($)

C-100 Compressor 577700 707000

ตารางที่ 8-4 ราคาหอกลัน่

Unit Number Unit type ราคาค่าอุปกรณ์ ($) ราคาค่าติดตั้ง ($)

T-100 Distillation Column 94600 413000

T-101 Absorber 48200 176200

T-102 Flash Drum 15600 107400

T-103 Distillation Column 122400 460100


86

ตารางที่ 8-5 ราคาเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน

Unit Number Unit type ราคาค่าอุปกรณ์ ($) ราคาค่าติดตั้ง ($)

E-100 Heater 2361 7294

E-101 Heat Exchanger 33574 103744

E-102 Heat Exchanger 14777 45660

E-103 Heat Exchanger 39373 121662

E-104 Cooler 5779 17858

E-105 Cooler 4432 13694

E-106 Cooler 3775 11664


E-108 Cooler 5283 16324
87

CHAPTER 9
FIXED–CAPITAL INVESTMENT SUMMARY
9.1 Fixed Capital Investment
เงินทุนคงที่ประกอบไปด้วย สิ นทรัพย์และการลงทุน เช่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่จาเป็ นในการ
เริ่ มต้นและดาเนินธุรกิจ สิ นทรัพย์เหล่านี้ถือเป็ นสิ นทรัพย์ถาวรโดยไม่ได้บริ โภคหรื อถูกทาลายในระหว่าง
การผลิตสิ นค้าหรื อบริ การจริ ง แต่มีมูลค่าที่นากลับมาใช้ใหม่ได้ การลงทุนแบบทุนคงที่มกั จะคิดค่าเสื่ อม
ราคาในใบแจ้งยอดบัญชีของบริ ษทั เป็ นระยะเวลานาน ไม่เกิน 20 ปี หรื อมากกว่า
เงินทุนคงที่สามารถเปรี ยบเทียบได้กบั ทุนผันแปร ต้นทุนและระดับที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และ
ขนาดของผลผลิตของบริ ษทั ตัวอย่างเช่น เครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตถือเป็ นทุนคงที่ เนื่องจากจะยังคงอยูก่ บั
บริ ษทั โดยไม่คานึงถึงระดับผลผลิตในปัจจุบนั วัตถุดิบจะผันผวนตามระดับผลผลิต
ข้อกาหนดเงินทุนคงที่ จานวนเงินทุนคงที่ที่จาเป็ นในการจัดตั้งธุรกิจค่อนข้างเฉพาะเจาะจงในแต่ละ
สถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอุตสาหกรรมสู่ อุตสาหกรรม ธุ รกิจบางประเภทต้องการสิ นทรัพย์ทุน
ถาวรจานวนมาก ตัวอย่างทัว่ ไป ได้แก่ ผูผ้ ลิตอุตสาหกรรม ผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคม และบริ ษทั สารวจน้ ามัน
อุตสาหกรรมที่ให้บริ การเป็ นหลัก เช่น สานักงานบัญชี มีความต้องการเงินทุนคงที่ที่จากัดมากกว่า ซึ่ งอาจ
รวมถึงอาคารสานักงาน คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครื อข่าย และอุปกรณ์สานักงานมาตรฐานอื่น ๆ แม้ว่าธุ รกิจ
การผลิตมักจะเข้าถึงสิ นค้าคงคลังที่จาเป็ นในการสร้างสิ นค้าที่ผลิตได้ง่ายกว่า การจัดหาเงินทุนคงที่อาจใช้
เวลานาน ธุ รกิ จอาจต้องใช้เวลาจ านวนมากในการสร้ างเงิ นทุน ที่ จ าเป็ นสาหรั บการซื้ อขนาดใหญ่ เช่ น
โรงงานผลิตใหม่ หากบริ ษทั ใช้เงินทุน อาจต้องใช้เวลาเช่นกันในการได้รับเงินกูท้ ี่เหมาะสม สิ่ งนี้ สามารถ
เพิ่มความเสี่ ยงของการสู ญเสี ยทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการผลิตต่า หากบริ ษทั ประสบกับความล้มเหลวของ
อุปกรณ์และไม่มีระบบสารองในตัว
โดยเงินทุนคงที่สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน ได้แก่
9.1.1 ทุนทางตรง (Direct costs)
เป็ นทุนที่เกิดจากอุปกรณ์ที่ซ้ื อ การติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องมือและการควบคุม การก่อสร้าง
อาคาร การเตรี ยมสถานที่ และสิ่ งอานวยความสะดวกในการบริ การ รวมถึงที่ดินในการก่อสร้าง
โรงงาน เป็ นต้น สามารถประมาณค่าทุนทางตรงจากค่าอุปกรณ์ได้
ค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้จะเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ซึ่งจะประกอบไปด้วย
- ค่าวัตถุดิบ (Raw Material)
88

- ค่าแรงงาน (Labor) ประกอบไปด้วย ค่าแรงงานสาหรับผูค้ วบคุมการผลิต (Operator) และผูด้ ูแล


ระบบ (Supervisor) สามารถคานวณได้จากความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
Number of Operator = 4.5 (NOL) (9.1)
NOL = (6.29 + 31.7P2 + 0.23Nnp)0.5 (9.2)
เมื่อ NOL คือ จานวนผูค้ วบคุมการผลิตต่อ 1 กะ
P คือ จานวนขั้นตอนของกระบวนการที่เกี่ยวกับอนุภาค
Nnp คือ จานวนขั้นตอนของกระบวนการที่ไม่เกี่ยวกับอนุภาค
- ค่าสาธารณูปโภค (Utility Cost) เป็ นค่าใช้จ่ายสาหรับระบบช่วยเหลือในการดาเนินการผลิต ทั้งการ
เพิ่ม และลดอุณหภูมิของแต่ละหน่วย
- ค่ า สิ ท ธิ บัต ร (Patents and Royalty) เป็ นค่ า ใช้จ่ า ยเกี่ ย วกับ การใช้เ ทคโนโลยีที่ ต้อ งมี ก ารเสี ย ค่ า
สิ ทธิบตั ร
- ค่าบารุ งรักษาและซ่ อมแซม (Maintenance and Repair) ค่าใช้จ่ายในการซ่ อมแซมเครื่ องจักรกล ซึ่ ง
รวมทั้งค่าแรงและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ตอ้ งใช้ในการซ่อมแซม
- ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเพิ่มเติม (Operating Supplies) เป็ นค่าวัตถุดิบอื่น ๆ ที่ไม่สามารถ จาแนก
ได้ว่าเป็ นสารตั้งต้นในกระบวนการผลิต สารที่อยูใ่ นกลุ่มของค่าบารุ งรักษาซ่อมแซมแล้วจะ ไม่จดั
อยูใ่ นค่าใช้จ่ายประเภทนี้

9.1.2 ทุนทางอ้อม (Indirect costs)


เป็ นทุนที่เกิดจากค่าก่อสร้าง ค่าผูร้ ับเหมา ค่าวิศวกรรมและการกากับดูแล การบริ หารและ
การออกแบบ การกากับดูแลและการตรวจสอบ และค่าใช้จ่ายฉุ กเฉิ น เป็ นต้น สามารถประมาณค่า
ทุนทางอ้อมจากค่าอุปกรณ์ หรื อสามารถเขียนสมการออกมาได้เป็ น
TCI = FCI + OO (9.3)
(Total Capital Investment = Fixed Capital Investment + Other Outlays: ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ)
FCI = DC + IC (9.4)
(Fixed Capital Investment = Direct Costs + Indirect Costs)
เมื่อ TCI คือ ต้นทุนในการลงทุนทั้งหมด
FCIL คือ ราคาทุนคงที่ไม่รวมค่าที่ดิน
89

9.1.1 ทุนทางตรง (Direct costs)


1) ค่าอุปกรณ์ท้งั หมดที่ใช้ในกระบวนการผลิต $ 2,428,581.913

2) ค่าติดตั้งคิดเป็ น 40% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 971,432.765


3) ระบบเครื่ องมือวัดและควบคุมคิดเป็ น 20% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 4885,716.383
4) ระบบท่อคิดเป็ น 60% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 1,457,149.148
5) ค่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์คิดเป็ น 15% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 364,287.287
6) ค่าอุปกรณ์สิ่งก่อสร้างเป็ น 45% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 1,092,861.861
7) การเตรี ยมพื้นที่ก่อสร้างเป็ น 20% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 485,716.383
8) ค่าสาธารณูปโภคเป็ น 75% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 1,821,436.435
9) ค่าที่ดินเป็ น 8% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 194,286.553
10) ค่าวัสดุที่ใช้ทาเป็ นฉนวนเป็ น 8% ของราคาอุปกรณ์ เท่ากับ $ 194,286.553
Total Direct Cost = $ 9,495,755.281
9.1.2 ทุนทางอ้อม (Indirect costs)
1) ค่าการจัดการและการกากับดูแลเป็ น 10% ของ Direct Cost เท่ากับ $ 949,575.528
2) ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างคิดเป็ น 12% ของ Direct Cost เท่ากับ $ 1,139,490.634
3) ค่าจ้างผูร้ ับเหมาคิดเป็ น 3% ของ Direct Cost เท่ากับ $ 284,872.658
4) ค่าใช้จ่ายกรณี ฉุกเฉินคิดเป็ น 10% ของ Direct Cost เท่ากับ $ 949,575.528
Total Indirect Cost = $ 3,323,514.348
9.1.3 Fixed Capital Investment
Fixed Cap = Direct Cost + Indirect Cost
= $ 9,495,755.281+ $ 3,323,514.348
= $ 12,819,269.63
90

9.1.4 Working capital


คือเงินลงทุนหมุนเวียน คิดเป็ นประมาณ 10-20% ของเงินลงทุนทั้งหมด ซึ่ งเป็ นเงินทุนที่
บริ ษทั ต้องใช้หมุนเวียนสาหรับการดาเนินงานในแต่ละวัน หรื อเงินทุนที่ใช้ในหมุนเวียนเพื่อดาเนิน
กิ จการภายในทัว่ ไป นั่นหมายความว่า ทุกบริ ษทั จาเป็ นต้องมีเงิ นทุนหมุนเวียนสารองไว้ใช้ใน
กิจการ เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานต่าง ๆ จนกว่าบริ ษทั จะได้รับเงินสดจากการขายสิ นค้า
และบริ การ หรื อการชาระหนี้จากลูกหนี้การค้า
โดยเงินลงทุนทั้งหมดประกอบไปด้วย Fixed capital investment รวมกับ Working capital
ดังนั้นจึ งสามารถคานวณหาเงิ นลงทุนทั้งหมดและ Working capital โดยกาหนดให้ Working
capital คิดเป็ น 10% ของเงินลงทุนทั้งหมด
Total capital investment = Fixed capital investment + Working capital
Total capital investment = 12,819,269.63+ 0.1(Total capital investment)
Total capital investment = $ 14,243,632.92
Working capital = $ 1,424,363.29
9.1.5 แผนภาพกระแสเงินสด (Cash flow diagram)
ในการคานวณค่าเสื่ อมราคาจะคานวณโดยคิดสัดส่ วนของค่าจัดซื้ออุปกรณ์และสิ่ งก่อสร้าง ซึ่งก็คือ
ต้นทุนคงที่ ไม่รวมค่าที่ดิน (FC) โดยการคิดค่าเสื่ อมราคาแบบ MACRS เป็ นเวลา 5 ปี สามารถแสดงได้ดงั นี้
ตารางที่ 9-1 ค่าเสื่ อมราคา

Depreciation Allowance
year
(% of Capital investment)
1 0.2
2 0.32
3 0.192
4 0.1152
5 0.1152
6 0.0576
91

กระแสเงินสดของโครงการประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ดังนี้


1. รายจ่าย (Expense) คือส่ วนที่ตอ้ งสู ญเสี ยไปกับต้นทุนในการดาเนินการผลิต รวมค่าเสื่ อมราคา
Expense = COMd + d (9.5)
2. รายได้ (Revenue) คือรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์
3. ภาษีเงินได้ (Income Tax) คือส่ วนที่คิดจากรายได้ เมื่อหักรายจ่ายแล้ว
Income tax = (R - COMd + d)t (9.6)
4. กระแสเงินสดหลังหักภาษี (After Tax Cash flow)
After Tax Cash flow = (R - COMd + d)×(1-t) (9.7)
5. อัตราคิดลด (Discounted rate) คืออัตราที่ใช้ในการแปลงมูลค่าในอนาคตมาเป็ นปัจจุบนั
Discounted rate = (1+real interest rate)×(1+inflation rate)-1 (9.8)
เมื่อ real interest rate = อัตราผลตอบแทนตัว๋ เงินคลังและพันธบัตรรัฐ
inflation rate = อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไป
6. การคิดลดกระแสเงินสด (Discounted Cash flow) คือการคานวณกระแสเงินสด โดยพิจารณาผล
ของเวลา ทาให้ค่าเงินเปลี่ยนแปลง คานวณได้จากสมการ
Cash flow
Discounted Cash flow = (1+i)n
(9.9)
เมื่อ i = อัตราคิดลด
n = จานวนปี ที่ลงทุน
การคานวณการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
เมื่อจบปี แรกการดาเนินการก่อสร้างโรงงานถึงจะเสร็ จสิ้ น และกาหนดให้มีรายได้หลังจากก่อสร้าง
เสร็ จ โดยคิดรวมราคาเสื่ อม การดาเนินงานของโรงงานมีอายุ 10 ปี โดยมีอตั ราภาษีเงินได้ร้อยละ 20
92

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
0

Cumulative Discounted cash flow ($)


-20,000,000

-40,000,000

-60,000,000

-80,000,000

-100,000,000

-120,000,000
Year

รูปที่ 9.1 กระแสเงินสดสะสมในแต่ละปี


จากรู ปภาพการวิเคราะห์กระแสเงินสดสะสมเทียบกับปี ที่ดาเนินการผลิต พบว่ากระแสเงินสดสะสม
มีแนวโน้มลดลงเรื่ อย ๆ โดยไม่มีการตัดแกน X ซึ่งหมายถึงไม่มีจุดที่จะคืนทุน
ตารางที่ 9-2 การวิเคราะห์กระแสเงินสด
Cumulative
Revenue Manufacturing After Tax Discounted
Year Investment dk FCI - Σdk Discounted cash
($) Cost (COMd) Cash cash flow
flow
0 -14243633 -14243633 -14243633 -14243633
1 1833156 10986114 28346674 42464395 -9827652 -9541410 -23785043
2 3140721 -3140721 28346674 42464395 -8781600 -8277500 -32062543
3 2243372 -2243372 28346674 42464395 -9499479 -8693369 -40755912
4 1602409 -1602409 28346674 42464395 -10012250 -8895754 -49651666
5 1140915 -1140915 28346674 42464395 -10381445 -8955125 -58606791
6 1140915 -1140915 28346674 42464395 -10381445 -8694296 -67301088
7 1140915 -1140915 28346674 42464395 -10381445 -8441065 -75742152
8 576867 -576867 28346674 42464395 -10832683 -8551420 -84293572
9 28346674 42464395 -11294177 -8656046 -92949618
10 28346674 42464395 -11294177 -8403928 -101353546
93

CHAPTER 10
OPERATING COST AND ECONOMIC ANALYSIS
10.1 ค่ าวัตถุดบิ (Raw Material: CRM)
ตารางที่ 10-1 ค่าใช้จ่ายของ Raw materials

Component อัตราการใช้ (tons/yr) ราคา ($/tons) ค่าใช้ จ่ายรายปี ($/yr)


Propene 33192.4 890 29,541,236
Chlorine 13415.4 154 2,065,971.6
รวม 31,607,207.6

10.2 ค่ าสาธารณูปโภค (Utility Cost: CUT)

ตารางที่ 10-2 ค่าใช้จ่ายของ Utility

Type Rate Rate Units ค่าใช้ จ่ายรายปี ($/yr)


Electricity 103.794 kW 70,465.79
Cooling water 0.00557 MMGAL/H 5,855.18
Low pressure steam 2.928484 KLB/H 131,321.16
Refrigerant 176.3643 KLB/H 208,820.00
รวม 416,462.13

ตารางที่ 10-3 รายได้จากผลผลิตและผลพลอยได้

Component อัตราการผลิต (tons/yr) ราคา ($/tons) รายได้ รายปี ($/yr)


Allyl chloride 9,222.24 3,000 27,666,720
HCl 5,230.42 130 679,954
รวม 28,346,674
94

10.3 ค่ าแรงงาน (Operating labor: COL)


ตารางที่ 10-4 ข้อมูลสาหรับการคานวณแรงงานที่ตอ้ งการ

Equipment Type Number of Equipment Nnp


Pump 1 -
Heat exchanger 10 10
Reactor 2 2
Distillation Tower 2 2
Absorber 1 1
Flash Drum 1 -
Total 15
จากสมการที่ 10.2 จะได้วา่
NOL = (6.29 + 31.7P2 + 0.23Nnp)0.5
NOL = (6.29 + 31.7(0)2 + 0.23(15))0.5
NOL = 3.121
แทนค่าในสมการที่ 10.1
Number of Operator = 4.5(NOL)
Number of Operator = 4.5 × 3.121 = 14.045 ≈ 15 operators
กาหนดให้เงินเดือนของผูค้ วบคุมการผลิตมีค่าเท่ากับ 25,000 THB/month ซึ่งจะสามารถคานวณ
ค่าแรงงานสาหรับผูค้ วบคุมการผลิตทั้งหมดต่อปี ได้เท่ากับ
COL = 15 x 50,000 x 12
COL = 9,0000,000 THB /yr = 281,250 $/yr
95

CHAPTER 11
OTHER IMPORTANT CONSIDERATIONS
11.1 ผลกระทบของกระบวนการผลิตที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม
ผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมของกระบวนการผลิต Allyl Chloride คือ การปลดปล่อยมลพิษออกสู่ บรรยากาศ
เกิดจากการที่มีการ purge ของสาร ได้แก่ Propene, Propane, Chlorine และ Hydrochloric Acid และการ
ปลดปล่อย 1,2-Dichloropropane , 1,3-Dichloropropene ที่ T-103 และ Wastewater ที่ T-102
11.1.1 Propene
เป็ นแก๊สที่ไม่มีสี ติดไฟง่าย อาจเกิดการระเบิดเมื่อผสมกับอากาศ และมีฤทธิ์ระคายเคืองต่อระบบ
ทางเดินหายใจ ตา และผิวหนัง
การบาบัด
1. ติดตั้ง Flare Stack: เป็ นอุปกรณ์ความปลอดภัย ที่ช่วยในการระบายแก๊สส่ วนเกินทิ้ง เพื่อไม่ให้
ความดันภายในระบบแก๊สเกินค่ามาตรฐาน และ Flare Stack จะทางาน 24 ชัว่ โมง เพื่อ Stand by
กรณี ที่มีแก๊สส่ วนเกินจากระบบออกมา Flare Stack จะทาหน้าที่เผาแก๊สไม่ให้ออกสู่ สิ่งแวดล้อม
และยังปลอดภัยต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนที่อยูโ่ ดยรอบ
11.1.2 Propane [17]
เป็ นแก๊สที่ไม่มีสี หนักกว่าอากาศ ติดไฟง่าย อาจเกิดการระเบิดเมื่อผสมกับอากาศ และเมื่อสู ดดม
Propane เข้าไป จะทาให้ปวดศี รษะ คลื่ นไส้ อ่อนแรง และเนื่ องจากเป็ นแก๊ส Asphyxiant จะไปแทนที่
ออกซิเจนในอากาศ ทาให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจน ส่ งผลให้หมดสติและเสี ยชีวิตได้
การบาบัด [18]
1. ติดตั้ง Flare Stack: เป็ นอุปกรณ์ความปลอดภัย ที่ช่วยในการระบายแก๊สส่ วนเกินทิ้ง เพื่อไม่ให้
ความดันภายในระบบแก๊สเกินค่ามาตรฐาน และ Flare Stack จะทางาน 24 ชัว่ โมง เพื่อ Stand by
กรณี ที่มีแก๊สส่ วนเกินจากระบบออกมา Flare Stack จะทาหน้าที่เผาแก๊สไม่ให้ออกสู่ สิ่งแวดล้อม
และยังปลอดภัยต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนที่อยู่โดยรอบ
96

11.1.3 Chlorine [19]


มีกลิ่นฉุ น เป็ นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ ทาให้อยู่ในระดับชั้นพื้นดินและทาให้ระยะเวลาที่สัมผัสกับ
แก๊สเกิดได้นานมากขึ้น และมีฤทธิ์ ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ตา และผิวหนัง โดยอาการที่พบได้
บ่อย ได้แก่ เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก ไอ อาการแสบร้อนที่ตา และจมูก
การบาบัด
1. Wet Scrubbing
โดยใช้สารดูดซับที่เป็ นน้ า เช่น Sodium Hydroxide หรื อ Calcium Hydroxide กระบวนการนี้
สารละลายอัลคาไลน์จะทาปฏิกิริยากับก๊าซคลอรี นเพื่อสร้างคลอไรด์ไอออน (Cl-) หรื อสารประกอบที่
ไม่เป็ นอันตรายอื่น ๆ
2. Dry Absorption
โดยใช้วสั ดุดูดซับที่เป็ นของแข็งที่สามารถทาปฏิกิริยากับ Cl2 ได้ เช่น ถ่านกัมมันต์ โซดาไลม์
กระบวนนี้สารดูดซับจะทาปฏิกิริยาทางเคมีกบั Cl2 โดยจับและดูดซับไว้บนพื้นผิว
11.1.5 Hydrochloric Acid [20]
มี ก ลิ่ น ฉุ น มี ฤ ทธิ์ ผุ ก ร่ อนอย่ า งรุ นแรง และท าให้ เ กิ ด ฝนกรด โดยเกิ ด จากการระเหยของ
Hydrochloric Acid จนไปสะสมอยูบ่ นชั้นบรรยากาศ ประกอบกับการควบแน่นของไอน้ า จนกลายเป็ นฝนที่
มีความเป็ นกรดสู ง รวมถึง Hydrochloric Acid ส่ งผลกระทบต่อร่ างกายทั้งระบบทางเดินหายใจ ตา และ
ผิวหนัง
การบาบัด
1. Wet Scrubbing
โดยใช้สารดูดซับที่เป็ นน้ า เช่น Sodium Hydroxide หรื อ Ammonia solution กระบวนการนี้
จะเกิดปฏิกิริยาที่สารดูดซับกับ HCl และทาให้เกิดเกลือหรื อสารอื่น ๆ ที่เป็ นตัวกาจัด HCl ได้
2. Dry Absorption
โดยใช้วสั ดุดูดซับที่เป็ นของแข็งที่สามารถทาปฏิกิริยากับ HCl ได้ เช่น ถ่านกัมมันต์ อะลูมิ
นา หรื อซิ ลิกาเจล กระบวนนี้ สารดูดซับจะทาปฏิกิริยาทางเคมีกบั HCl โดยจับและดูดซับไว้บน
พื้นผิว
97

11.1.6 Wastewater [21]

- กระทบต่อวงจรชี วิตของสัตว์น้ า เช่นน้ าเสี ยที่เกิดจากสารพิษอาจทาให้ปลาและสิ่ งมีชีวิตตาย


ทันที ส่ วนน้ าเสี ยที่เกิดจากออกซิเจนในน้ าลดต่าลง อาจทาลายพืชและสัตว์น้ าเล็กๆที่เป็ นอาหาร
ของปลา ทาให้ความอุดมสมบูรณ์หรื อแหล่งอาหารของสัตว์น้ าลดลง
- เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชน เพราะแพร่ ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิ วาตกโรค
บิด และท้องเสี ย
- มี ผ ลกระทบต่ อ การเพาะปลู ก เพราะน้ าเสี ย ที่ มี ค วามเป็ นกรดและด่ า งไม่ เ หมาะสาหรั บทา
การเกษตร
- มีผลต่อกระทบต่อทัศนียภาพ เพราะความสวยงามของแหล่งน้ าสามารถใช้เป็ นสถานที่พกั ผ่อน
หย่อนใจ หรื อจัดกิจกรรมทางน้ าเพื่อความบันเทิงได้
- ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เช่น มีกลิ่นเหม็นจากน้ าเน่าเสี ย

การบาบัด [22]

1. การบาบัดทางกายภาพ (Physical Treatment)

- การกาจัดตะกอนหนัก (Grit Removal)


ตะกอนหนักคือ พวกกรวด หิ น ทราย หรื อตะกอนต่าง ๆ ที่มีความถ่วมจาเพาะสู งตะกอน
หนักดังกล่าวนี้จาเป็ นต้องถูก กาจัดออกไปจากน้ าเสี ย
- การกาจัดน้ ามันและไขมัน (Oil and Grease Removal)
น้ ามัน และไขมันจะพบมากในน้ าทิ้งจากร้ านอาหารทัว่ ไป สถานี จาหน่ ายน้ ามัน อู่ซ่อม
รถยนต์ และโรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่มีไขมัน การกาจัดน้ ามันและไขมันมีอยูด่ ว้ ยกันหลายวิธี
คือ เติมคลอรี น ประมาณ 2-5 มก./ลิตร, เติมคลอรี นร่ วมกับการเป่ าอากาศ และการเพิ่มอุณหภูมิ
เพื่อช่วยลดค่าความถ่วงจาเพาะของน้ ามันหรื อไขมันทาให้ลอยขึ้นมาได้มาก
- การตกตะกอน (Sedimentation
การตกตะกอนเป็ นวิธีการแยกตะกอนแขวนลอยออกจากน้ าเสี ย โดยอาศัยการจมตัวลงของ
ตะกอนแขวนลอยที่มีค่าความถ่วงจาเพาะของตะกอนสู งกว่า น้ า ในระบบบาบัดน้ าเสี ยทั้วไปมักมีถงั
ตกตะกอนอยู่ 2 ชนิด คือ ถังตกตะกอนที่ทาหน้าที่แยกตะกอนต่างๆออกจากน้ าเสี ยก่อนที่จะไหลไป
ลงถังบาบัด น้ าเสี ยด้วยวิธีชีววิทยา ซึ่ งนิยมเรี ยกว่าถังตกตะกอนแรก (Primary Sedimentation tank)
98

และถังตกตะกอนอีกชนิ ดคือ ถังตกตะกอนที่ใช้แยกตะกอนชี วภาพหรื อตะกอนเคมีออกจากน้ า


เพื่อให้ได้น้ าใส สะอาดซึ่งนิยมเรี ยกว่าถังตกตะกอนที่สอง (Secondary Sedimentation Tank)
- การทาให้ตะกอนลอย (Flotation)
ระบบนี้มีหลักการคือ แยกตะกอนออกจากน้ าเสี ยด้วยวิธีทาให้ตะกอนต่างๆ ในน้ าเสี ยลอย
ขึ้ น สู่ บ ริ เ วณ ชั้น บนของผิว น้ า เพื่ อ ท าการกวาดตะกอนลอยทิ้ ง ออกไปวิธี น้ ี นิ ย มใช้กับ ตะกอน
ประเภทที่ยากต่อการ ตกตะกอน เช่น พวกไขมันสัตว์ ตะกอนเบาต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบนี้จะใช้พื่นที่
ในการแยกตะกอนน้อยกว่าวิธีตกตะกอน เพราะใช้เวลาน้อยกว่าในการแยกตะกอนออกจากน้ าเสี ย
แต่ระบบนี้ ตอ้ งใช้เครื่ อง จักรกลและพลังงานมากกว่าของวิธีตกตะกอน และอาจจาเป็ นต้องเติม
สารเคมีเข้าช่วยในการแยกตะกอนด้วย เช่น สารส้ม FeCl3 เป็ นต้น

2. การบาบัดทางเคมี (Chemical Treatment)


เป็ นวิธีการบาบัดน้ าเสี ยโดยใช้กระบวนการทางเคมี เพื่อทาปฏิกิริยากับสิ่ งเจือปนในน้ าเสี ย
วิธีการนี้ จะใช้สาหรับน้ าเสี ยที่มีส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้ คือ ค่าพีเอชสู งหรื อต่า
เกินไป มีสารพิษ มีโลหะหนัก มีของแข็งแขวนลอยที่ตกตะกอนยาก มีไขมันและน้ ามันที่ละลายน้ า
มีไนโตรเจนหรื อฟอสฟอรัสที่สูงเกินไป และมีเชื้อโรค ทั้งนี้อุปกรณ์ที่ใช้ในการบาบัดน้ าเสี ยด้วยวิธี
ทางเคมี ได้แก่ ถังกวนเร็ ว ถังกวนช้า ถังตกตะกอน ถังกรอง และถังฆ่าเชื้อโรค
3. การบาบัดทางชีวภาพ (Biological Treatment)
เป็ นวิธีการบาบัดน้ าเสี ยโดยใช้กระบวนการทาง ชี วภาพหรื อใช้จุลินทรี ย ์ ในการกาจัด
สิ่ งเจือปนในน้ าเสี ยโดยเฉพาะสารคาร์ บอนอินทรี ย ์ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส โดยความสกปรก
เหล่านี้จะถูกใช้เป็ นอาหารและเป็ นแหล่งพลังงานของจุลินทรี ยใ์ น ถังเลี้ยงเชื้อเพื่อการเจริ ญเติบโต
ท าให้น้ า เสี ย มี ค่ า ความสกปรกลดลง โดยจุ ลิ น ทรี ย ์เ หล่ า นี้ อาจเป็ นแบบใช้อ อกซิ เ จน (Aerobic
Organisms) หรื อไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Organisms) ก็ได้
- ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบโปรยกรอง (Trickling Filters)
ระบบโปรยกรอง เป็ นระบบทีมีจุลินทรี ยเ์ จริ ญเติบโตอยู่บนผิวตัวกลาง น้ าเสี ยที่ผ่านการ
บาบัดขั้นต้นแล้วจะถูกปล่อยให้ไหลผ่านชั้นของตัวกลาง จุลินทรี ยท์ ี่เกาะติดอยู่บนตัวกลางจะใช้
ออกซิ เจนทาปฏิกิริยาย่อยสลายสาร อินทรี ยใ์ นน้ าเสี ย น้ าที่ผ่านระบบจะถูกส่ งไปเข้าถังตกตะกอน
สุ ดท้ายเพื่อแยกสลัดจ์ออกให้ได้น้ า ทิ้งที่สามารถระบายทิ้งได้
องค์ป ระกอบที่ ส าคัญ ของระบบโปรยกรอง คื อ ระบบกระจายน้ า เข้า (Distribution
System) ตัวกรอง (Filter Media) และระบบระบายน้ าทิ้ง (Underdrain System) โดย ที่ระบบกระจาย
น้ าเข้ามีหน้าที่ทาให้พ้ืนที่ภาคตัดขวางของฟิ ลเตอร์ได้รับน้ า เสี ยเท่ากันทุกส่ วน วัสดุตวั กลางซึ่งอาจ
99

เป็ นหิ น หรื อพลาสติกจะใช้เป็ นที่เจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย ์ ระบบระบายน้ าซึ่ งอยู่ตอนล่างของ


ฟิ ลเตอร์มีหน้าที่รับน้ าเสี ยที่ไหลผ่านวัสดุ ตัวกลาง และระบายอากาศให้กบั ฟิ ลเตอร์
- ระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบเอเอส (Activated Sludge Process)
เป็ นวิธีบาบัดน้ าเสี ยด้วยวิธีการทางชีววิทยา โดยใช้แบคทีเรี ยพวกที่ใช้ออกซิ เจน (Aerobic
Bacteria) เป็ นตัวหลักในการย่อยสลายสารอินทรี ยใ์ นน้ าเสี ย ระบบเแอกทิเวเต็ดสลัดจ์เป็ นระบบ
บาบัดน้ าเสี ยที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลาย สามารถบาบัดได้ท้ งั น้ าเสี ยชุมชนและน้ าเสี ยจากโรงงาน
อุตสาหกรรม แต่การเดินระบบประเภทนี้ จะมีความยุ่งยากซับซ้อน เนื่ องจากจาเป็ นจะต้องมีการ
ควบคุมสภาวะแวดล้อมและลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ให้เหมาะสมแก่การทางานและการเพิ่ม
จานวนของจุลินทรี ย ์ เพื่อให้ระบบมีประสิ ทธิภาพในการบาบัดสู งสุ ด
11.1.7 1,2-Dichloropropane [24]
เป็ นสารกลุ่ม Volatile Organic Compounds ก่อให้เกิดอาการเวียนศรี ษะ คลื่นไส้ ทาลายตับ
ไต และส่ งผลให้เสี ยชี วิตได้ หากสู ดดมเป็ นระยะเวลานานจะทาลายตับ ไต และระบบหายใจ
รวมถึงส่ งผลกระทบต่อคุณภาพของแหล่งน้ าธรรมชาติ ทาให้เกิดความเป็ นพิษขึ้น ซึ่ งพืชและสัตว์
น้ าไม่สามารถอยูไ่ ด้ ส่ งผลให้ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศในแหล่งน้ าลดลง และส่ งผลถึงคุณภาพ
ของดิน ทำให้ดินปนเปื้ อน
การบาบัด
1. ไบโอฟิ ลเตอร์ (biofilter) [25]
เป็ นเทคโนโลยี ส าหรั บ การบ าบั ด มลสารที่ อ าศัย หลัก การย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพ
(biodegradation) โดยพึ่งกิจกรรมของจุลินทรี ยใ์ นการสลายโมเลกุลของ VOC ภายในไบโอฟิ ลเตอร์
จะมีองค์ประกอบสาคัญคือ ชั้นกรอง (filter bed) ที่มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาชี วภาพ และในชั้น
กรองเองก็จ ะประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 2 ส่ ว นคื อ วัสดุ ก รอง (packing material) และ
จุลินทรี ย ์ โดยทัว่ ไปวัสดุที่นิยมนามาใช้ บรรจุเป็ นชั้นกรองจะเป็ นวัสดุอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ดิน
และดิน ส่ วนจุลินทรี ยท์ ี่พบในชั้นกรองก็จะเป็ นจุลินทรี ยท์ ี่ปะปนมา กับวัสดุกรองโดยธรรมชาติ ใน
ชั้นกรองจึงมี จุลินทรี ยห์ ลากหลายชนิดเจริ ญร่ วมกันในลักษณะ ที่นกั จุลชีววิทยาเรี ยกว่า ชุมชนของ
จุลินทรี ย ์ (microbial consortia) และโดยทัว่ ไปจุลินทรี ยเ์ หล่า นั้นจะยึดเกาะอยูบ่ นอนุภาควัสดุกรอง
และผลิต โครงสร้างคล้ายเมือกบาง ๆ ที่เรี ยกว่า ไบโอฟิ ล์ม (biofilm) ขึ้นมาเคลือบที่ผิวนอกของ
อนุภาควัสดุกรอง
กระบวนการฟอกกรองจะเกิดขึ้นเมื่อ อากาศที่ปนเปื้ อนสาร VOC ถูกส่ งให้ไหลผ่านตัว
กรองชี ว ภาพ โมเลกุลของ VOC จะถู ก ซับโดยวัสดุ ก รองก่ อนจะแพร่ สู่ ช้ ัน ไบโอฟิ ล์ม จากนั้น
100

จุลินทรี ยใ์ นชั้นไบโอฟิ ล์มก็จะตรึ งโมเลกุลของ VOC เข้าสู่ เซลล์เพื่อย่อยสลายโดยกระบวนการเมตา


บอลิ ซึ ม ภายในเซลล์ก ลายเป็ นสารที่ ไ ม่ มี อ ัน ตรายหรื อ มี อ ัน ตรายน้อ ยลง โดยทั่ว ไป ก็ คื อ น้ า
คาร์ บอนไดออกไซด์ ด้วยกระบวนการเหล่านี้ เอง จึงทาให้ อากาศที่ผ่านออกจากไบโอฟิ ลเตอร์ มี
ความบริ สุทธิ์ข้ ึน
11.1.8 1,3-Dichloropropene [26]
เ ป็ น ส า ร ก ลุ่ ม V o l a t i l e O r g a n i c C o m p o u n d s ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ร ะ ค า ย เ คื อ ง ต่ อ
ดวงตาอย่างรุ นแรง ระคายเคืองต่อทางเดิ นหายใจ ระคายเคืองต่อผิวหนัง อาจทาให้เกิ ดการแพ้
ที่ผิวหนัง รวมถึงส่ งผลกระทบต่อคุณภาพของแหล่งน้ าธรรมชาติ ทาให้เกิดความเป็ นพิษขึ้น ซึ่ งพืช
และสัตว์น้ าไม่สามารถอยูไ่ ด้ ส่ งผลให้ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศในแหล่งน้ าลดลง และส่ งผลถึง
คุณภาพของดิน ทาให้ดินปนเปื้ อน
การบาบัด
1. ไบโอฟิ ลเตอร์ (biofilter) [25]
เป็ นเทคโนโลยี ส าหรั บ การบ าบั ด มลสารที่ อ าศัย หลัก การย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพ
(biodegradation) โดยพึ่งกิจกรรมของจุลินทรี ยใ์ นการสลายโมเลกุลของ VOC ภายในไบโอฟิ ลเตอร์
จะมีองค์ประกอบสาคัญคือ ชั้นกรอง (filter bed) ที่มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาชี วภาพ และในชั้น
กรองเองก็จ ะประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 2 ส่ ว นคื อ วัสดุ กรอง (packing material) และ
จุลินทรี ย ์ โดยทัว่ ไปวัสดุที่นิยมนามาใช้ บรรจุเป็ นชั้นกรองจะเป็ นวัสดุอินทรี ย ์ ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ดิน
และดิน ส่ วนจุลินทรี ยท์ ี่พบในชั้นกรองก็จะเป็ นจุลินทรี ยท์ ี่ปะปนมา กับวัสดุกรองโดยธรรมชาติ ใน
ชั้นกรองจึงมี จุลินทรี ยห์ ลากหลายชนิ ดเจริ ญร่ วมกันในลักษณะ ที่นกั จุลชีววิทยาเรี ยกว่า ชุมชนของ
จุลินทรี ย ์ (microbial consortia) และโดยทัว่ ไปจุลินทรี ยเ์ หล่า นั้นจะยึดเกาะอยูบ่ นอนุภาควัสดุกรอง
และผลิต โครงสร้างคล้ายเมือกบาง ๆ ที่เรี ยกว่า ไบโอฟิ ล์ม (biofilm) ขึ้นมาเคลือบที่ผิวนอกของ
อนุภาควัสดุกรอง
กระบวนการฟอกกรองจะเกิดขึ้นเมื่อ อากาศที่ปนเปื้ อนสาร VOC ถูกส่ งให้ไหลผ่านตัว
กรองชี ว ภาพ โมเลกุลของ VOC จะถู ก ซับโดยวัสดุ ก รองก่ อนจะแพร่ สู่ ช้ ัน ไบโอฟิ ล์ม จากนั้น
จุลินทรี ยใ์ นชั้นไบโอฟิ ล์มก็จะตรึ งโมเลกุลของ VOC เข้าสู่ เซลล์เพื่อย่อยสลายโดยกระบวนการเมตา
บอลิ ซึ ม ภายในเซลล์ก ลายเป็ นสารที่ ไ ม่ มี อ ัน ตรายหรื อ มี อ ัน ตรายน้อ ยลง โดยทั่ว ไป ก็ คื อ น้ า
คาร์ บอนไดออกไซด์ ด้วยกระบวนการเหล่านี้ เอง จึงทาให้ อากาศที่ผ่านออกจากไบโอฟิ ลเตอร์ มี
ความบริ สุทธิ์ข้ ึน
101

รูปที่ 11.1 ของเสี ยที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต Allyl Chloride


102

11.2 ระบบความปลอดภัยของกระบวนการ
11.2.1 SAFETY
ตารางที่ 11-1 Safety Data ขององค์ประกอบต่าง ๆ

Hydrochloric Allyl
Nitrogen Propene Propane Chlorine 1,2-Dichloropropane 1,3-Dichloropropene Water
acid chloride
Chemical
N2 HCl C3H6 C3H8 Cl2 C3H5Cl C3H6Cl2 C3H4Cl2 H2O
Formula
Molecular
28.014 36.458 42.081 44.097 70.9 76.523 112.98 110.97 18.015
Weight
Normal
boiling point -195.8 -85.05 -47.6 -42 -34.6 45 96 112 100
(°C)
Melting
point -210 –27.32 -185.2 -187.7 -101 -135 -100 -84.5 0
(°C)
Density
1.25 1.49 1.81 2.0098 3.214 939 1150 1.225 997
(kg/m3)
Vapor
Density
1.165 - 1.5 1.6 2.5 2.6 3.9 3.86 0.46
(air = 1)
(kg/m3)
Vapor
31517.59 7060 › 760 5100 367 54 mmhg 17.5
Pressure at 27.75 mmHg
mmHg mmHg mmHg mmHg mmHg (at 25°C ) mmHg
20°C
TLV-TWA 500 1000
- 5 ppm 0.5 1 ppm 75 ppm 1 ppm -
(ACGIH) ppm ppm
STEL 500 1000
- 10 ppm 1 2 ppm 200 ppm 0.5 ppm -
(ACGIH) ppm ppm
IDLH 2000 2100 250
40000 ppm 50 ppm 10 ppm 400 ppm 25 ppm -
(NIOSH) ppm ppm ppm
Odor 270-600 20000
- 1-5 ppm - › 1 ppm 23 ppm 1 – 3 ppm -
Threshold ppm ppm
2400- 5500-
5628 > 90000
LD50 - 250 mg/kg 6500 8000 1900 mg/kg 200-300 mg/kg
mg/kg mg/kg
mg/kg mg/kg
Autoignition
Temperature - - 455 450 300 390 557 480 -
(°C)
Flash Point
(closed cup) - - -107.78 -104 - 28.8889 16 28.5 -
(°C)
103

2% - 2.1% - 2.9% -
LFL-UFL - - - 3.4% -14.5 % 2.6%-12% -
11.1 % 10.1 % 11.1 %

Heat of -2057.8 -2207 -1904


- - - 170 × 105 J/kg -2032 kJ/mol -
combustion kJ/mol kJ/mol kJ/mol

Heat of 16.04 16.25 10.2 29.04 40.65


5.60 kJ/mol 16.2 kJ/mol 32.0 kJ/mol 33.3 kJ/mol
Vaporization kJ/mol kJ/mol kJ/mol kJ/mol kJ/mol

Material
Factor (Dow - - 21 21 1 16 - 16 -
F&EI)
NFPA
- - - - - - - - -
Rating
Health 0 3 1 2 4 3 2 2 0
Flammability 0 0 4 4 0 3 3 3 0
Instability 0 1 1 0 0ox 1 0 0 0

11.2.2 Ignition prevention


ตารางที่ 11-2 Area Classification/Electrical Code

LFL UFL LOC ALT NEC Temperature


Material Class Division
(Vol%fuel) (Vol%fuel) (Vol%O2) (°C) Group Class
Nitrogen - - - - - - - -
Hydrochloric acid - - - - - - - -
Propene 2 11 11.5 455 I 1 D T1
Propane 2.1 10.1 11.5 450 I 1 D T2
Chlorine - - - - - - - -
Allyl chloride 2.9 11.1 11.6 390 I 1 B T2
1,2- 3.4 14.5 23.8 557 I 1 D T1
Dichloropropane
1,3- 2.6 12 11.7 480 I 1 D T1
Dichloropropene
Water - - - - - - - -
104

11.2.3 Minimize damage


ตารางที่ 11-3 Extinguisher media

Class A Class B Class C Class D Class K


Water x
Foam x x
ABC Dry x x x
Powder
Dry Special x
Powder
CO2 Gas x
Wet Chemical x x

11.2.4 Relief system

รูปที่ 11.2 Relief system ณ อุปกรณ์ต่าง ๆ


105

11.2.5 Hazard survey


Dow Fire and Explosion Index (F&EI)

รูปที่ 11.3 Fire and Explosion Index


106

รูปที่ 11.4 Dow Fire and Explosion Index


เมื่อเทียบค่า Fire and Explosion Index ที่คานวณได้กบั ค่าจากรู ปที่ 11.4 พบว่า Degree of hazard คือ
Severe
11.2.6 Design mitigation
1. ลดอุณหภูมิและความดัน
2. ลดขนาดของ Reactor
3. ลด Production rate
107

11.3 อุปกรณ์ และการควบคุมกระบวนการ


Process and Instrumentation Diagram (P&ID)

รูปที่ 11.5 P&ID ของกระบวนการผลิต Ally Chloride


ความหมายของสัญลักษณ์ในรู ปที่ 11.5
C-100: Compressor
E-100: Cooler 1
E-101: Cooler 2
F-100: Furnace (Pre-heater)
P-100: Centrifugal Pump
R-100: Reactor 1
R-101: Reactor 2
T-100: Distillation column 1
T-101: Absorber
T-102: Flash drum
T-103: Distillation column 2
108

Instrumentation on P&ID
AC: Analysis Controller
FC: Flow Controller
FCV: Flow Control Valve
FT: Flow Transmitter
LC: Level Controller
LCV: Level Control Valve
PC: Pressure Controller
PCV: Pressure Control Valve
RC: Ratio Controller
TC: Temperature Controller
TCV: Temperature Control Valve
109

CHAPTER 12
CONCLUSIONS AND RECOMMENDATIONS
12.1 Conclusions
กระบวนการผลิต Allyl chloride นี้ สามารถ Allyl chloride ได้ 18,554,880 lb/yr ได้ความบริ สุทธิ์
ร้อยละ 28 โดยมวล กระบวนการผลิตนี้ใช้เวลาดาเนินการ 8,000 ชัว่ โมงต่อปี มีอายุการผลิตทั้งสิ้ น 10 ปี ใช้
เงินลงทุน 14,243,632.92 $/yr ราคาสาธารณู ปโภค 416,462.13 $/yr ราคาต้นทุนในการผลิต 31,607,207.6
$/yr รายได้จากผลิตภัณฑ์รวมถึงผลพลอยได้คิดเป็ น 28,346,674 $/yr
12.2 Recommendation
กระบวนการนี้สามารถผลิต Allyl chloride ที่มีความบริ สุทธิ์ ได้เพียงร้อยละ 28 โดยมวล ซึ่ งถือว่ามี
ความบริ สุทธิ์ น้อยเมื่อเทียบกับความต้องการตลาด [23] นอกจากนี้ ยงั ไม่สามารถควบคุมอัตราการผลิตให้
ตรงตามเป้ าหมายทาให้ได้รายได้จากผลิภณ ั ฑ์และผลพลอยได้น้อยลงไปด้วย เพื่อแนะนาแนวทางในการ
พัฒนาจาเป็ นต้องออกแบบหอกลัน่ ให้มีประสิ ทธิภาพในการแยกมากขึ้น รวมถึงนาสารตั้งต้นกลับมารี ไซเคิล
ในกระบวนการเพื่อให้ได้อตั ราการผลิตและความบริ สุทธิ์ที่มากขึ้น
110

REFERENCES
[1] Laboratory Reagents & Fine Chemicals, 2021, Allyl chloride For Synthesis [Electronics],
Available: https://www.lobachemie.com/allyl-halides-00877/ALLYL-CHLORIDE-CASNO-107-
05-1.aspx [2023, May 30].
[2] Zouping Mingxing Chemical Co., Ltd., ม.ป.ป., Allyl chloride [Electronics], Available:
http://th.zpmxchem.com/allyl-chloride-product/ [2023, May 30].
[3] Krähling L., Krey J., Jakobson G., Grolig J., Miksch L., Ltd., 2000, “Allyl Compounds”,
Ullmann’s Encyclopaedia of Industrial Chemistry, 7th Edition.
[4] Ming Li, Luchang Han, Xiao Luo, He'an Luo, 2021, “The kinetics modeling and reactor
simulation of propylene chlorination reaction process”, AIChE JOURNAL, Vol. 67, pp 5.
[5] Chaitanya Bolke, ม.ป.ป., Production of Allyl chloride [Electronics], Available:
https://dwsim.fossee.in [2023, May 30].
[6] Longtunman, ม.ป.ป., Overview of the Eastern Economic Region [Electronics], Available:
https://www.longtunman.com [2023, May 30].
[7] Sigma-Aldrich, ม.ป.ป., เอกสารข้ อ มู ล ความปลอดภั ย [Electronics], Available:
https://www.sigmaaldrich.com/TH/en/sds/ALDRICH/A30702 [2023, May 30].
[8] Stellar Market, ม.ป.ป., Allyl Chloride Market: Industry Analysis and Forecast (2022-2027)
Trends, Statistics [Electronics], Available: https://www.stellarmr.com/report/Allyl-Chloride-
Market/1134 [2023, May 30].
[9] Douglas J.M., 1988, Conceptual Design of Chemical Processes, McGraw-Hill, Singapore, pp.108-
111
[10] Fairbairn, A.W., H.A. Cheney, and A.J. Cherniavsky, Chem. Eng. Progr., 43, 280-290 (1947).
[11] ไ ม่ ป ร า ก ฏ ชื่ อ ผู ้ แ ต่ ง , C h e m i c a l p r o p e r t i es o f c h l o r i n e [ O n l i n e ] , A v a i l a bl e:
https://www.lenntech.com/periodic/elements/cl.htm [2023 January 31].
111

[12] ไม่ ป รากฏชื่ อ ผู ้แ ต่ ง , What is Propane and History of Propane [Online], Available:
http://lsa.colorado.edu/essence/texts/propane.html [2023 January 31].
[13] ไ ม่ ป ร า ก ฏ ชื่ อ ผู ้ แ ต่ ง , P r o p e n e [ O n l i n e ] , A v a i l a b l e :
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK507483/ [2023 January 31].
[14] ไม่ ป รากฏชื่ อผู ้ แ ต่ ง , ALLYL CHLORIDE For Synthesis [Online], Available:
https://www.lobachemie.com/allyl-halides-00877/ALLYL-CHLORIDE-CASNO-107-05-1.aspx
[2023 January 31].
[15] ไม่ปรากฏชื่อผูแ้ ต่ง, Chemicals [Online], Available: https://www.made-in-china.com/products-
search/hot-china-products/Hydrochloric_Acid_Price.html [2023 January 31].
[16] ไม่ ป รากฏชื่ อ ผู ้แ ต่ ง , Thermophysical Properties of Fluid Systems [Online], Available:
https://webbook.nist.gov/chemistry/fluid/ [2023 January 31].
[17] ACL Labscan, ม.ป.ป., เอกสารข้ อ มู ล ความปลอดภั ย [Electronics], Available:
https://rcilabscan.com/wp-content/uploads/2019/11/Propan-1-ol-T-010718.pdf [2023, May 30].
[18] E D R I - C M U , ม . ป . ป . , ร ะ บ บ เ ผ า ทิ้ ง ก๊ า ซ ส่ ว น เ กิ น [ E l e c t r o n i c s ] , A v a i l a b l e :
https://erdi.cmu.ac.th/?p=887 [2023, May 30].
[19] วุ ฒิ เ ช ฐ รุ่ ง เ รื อ ง , 2 5 6 5 , ภ า ว ะ พิ ซ จ า ก ก๊ า ซ ค ล อ รี น [ E l e c t r o n i c s ] , A v a i l a b l e :
file:///C:/Users/Mew/Downloads/TJHP_Vol32-3_25626.pdf [2023, May 30].
[20] Supp Cleaning, 2565, กรดไฮโดรคลอริ ก อัน ตรายในน้ ายาล้า งห้ อ งน้ าไม่ ป ลอดสารพิ ษ
[Electronics], Available: https://www.supp-cleaning.com/effects-of-hydrochloric-acid-in-
bathroom-cleaner [2023, May 30].
[21] Lux Loyal, 2558, สาเหตุ แ ละผลกระทบมลพิ ษ ทางน้ า [Electronics], Available:
https://lux.co.th/cpt_blog/cause-and-impact-of-water-pollution/ [2023, May 30].
[22] บริ ษทั กรี น วอเทอร์ ทรี ท จากัด, ม.ป.ป., การบาบัดน้ าเสี ยชี วภาพ [Electronics], Available:
https://www.greenwatertreat.com/15468410 [2023, May 30].
112

[23] ไม่ ป รากฎชื่ อ ผูแ้ ต่ ง , Allyl Chloride Market Size And Forecast [Electronics], Available:
https://www.marketresearchintellect.com/product/allyl -chloride-market-size-and-
forecast/?utm_source=Industrialit&utm_medium=111 [2023, May 30].
[24] S c i S p e c , ส า ร อิ น ท รี ย์ ร ะ เ ห ย ง่ า ย [ E l e c t r o n i c s ] , A v a i l a b l e :
https://www.scispec.co.th/learning/index.php/blog/chromatography/vocs-4 [2023, May 30].
[25] ศิ ริ รั ต น์ ศิ ริ พ ร วิ ศ า ล , ไ บ โ อ ฟิ ล เ ต อ ร์ [ E l e c t r o n i c s ] , A v a i l a b l e :
https://www.tpa.or.th/publisher/images/abstract/abstech51.pdf [2023, May 30].
[26] Chemtrack, ฐานความรู ้ เ รื่ องความปลอดภั ย ด้ า นสารเคมี [Electronics], Available:
http://www.chemtrack.org/chem-detail.asp?ID=08515 [2023, May 30].
113

APPENDIX
Appendix A: Exchanger summary of the heat-integrated PFD
ตารางที่ A. 1 Exchanger summary of the heat-integrated PFD

Exchanger TH,in (°F) T H,out (°F) TC,in (°F) T C,out (°F) Heat load (MMBtu/h)
A 1150.5 567.6 316.8 936.2 5.728
B 567.6 334.8 316.8 317.7 2.287
D 334.8 164.7 76.5 316.8 1.671
E 315.7 314.4 279.6 285.5 0.0149
H1 3632.0 1013.8 936.2 970.0 0.3486
C1 164.7 30.2 -39.0 -38.2 1.321
C2 314.4 221.0 86.0 104.0 0.9141
C3 155.2 50.7 -39.4 -39.0 0.4863
C4 80.2 25.0 -39.5 -39.4 0.1915
C5 1.6 -2.2 -40.0 -39.5 0.8156
114

Appendix B: การคานวณ
B.1 ตัวอย่างคานวณ Reactor
โดยจะเลือกแสดงตัวอย่างการคานวณของ Reactor R-100

รูปที่ B. 1 Reactor R-100

ตารางที่ B. 1 Sand for fluidization purpose

Screen analysis diameter Weight fraction in interval (μm)


100 – 125 0.167
125 – 150 0.250
150 - 175 0.330
175 - 200 0.167
200 - 225 0.083

ตารางที่ B. 2 Physical properties

Shape factor (ϕs) 0.86


Absolute density (ρ𝑠 ) 165 Ib/ft2
Thermal conductivity (k) 0.23 Btu/h-°F-ft
Voidage at minimum fluidization (εmf) 0.48
Heat capacity (Cps ) 0.17 Ib/ft2
Bulk density (ρB ) 86 Ib/ft2
115

1. คานวณเส้นผ่านศูนย์กลางอนุภาค (DP)
-1 x
จาก DP = ( ∑∞
i=1 ) dpi
0.167 0.250 0.330 0.167 0.083 -1
จะได้ DP = ( + + + + )
112.5 137.5 162.5 187.5 212.5

DP = 151.178 μm
DP = 0.0151 cm
2. คานวณ Void ของ Fixed bed (εfixed bed )
จาก ρB = ρ𝑠 (1 - εfixed bed )
Ib Ib
จะได้ 86 = 165 2 (1 - εfixed bed )
ft2 ft
εfixed bed = 0.479
3. คานวณเส้นผ่านศูนย์กลาง (D)
โดย Volume of reactor from simulation = 12.3752 ft3
จาก v = πr2 H
πD2 H
v = ; D:H=1:1
4
πD3
v =
4
3.14 (D)3
จะได้ 12.3752 ft = 3
4
D = 2.507 ft = H
4. คานวณความสู งของ Fixed bed (Lfixed bed)
Lfixed bed = H = 2.507 ft
5. คานวณความสู งที่ Minimum Fluidization (Lm)
Lfixed bed 1 - εm
จาก =
Lm 1 - εfixed bed
2.507 ft 1-0.48
จะได้ =
Lm 1- 0.479
116

Lm = 2.512 ft
6. คานวณ Minimum fluidization velocity (vom )
g
โดย ค่า μ ที่ 970 °F = 0.000212
cm·s
g
ค่า ρ ที่ 970 °F และ 45 psig = 0.0027
cm3
cm
ค่า g = 980
s2
150μVom (1 - εm ) 1.75ρv2om 1
จาก ϕ2s D2p ε3m
+ ϕs Dp ε3m
= g(ρp -ρ)
g g
150(0.000212 cm·s)(vom ) (1 - 0.48) 1.75(0.0027 cm3 )(vom )2 1 cm g
+ = 980 (2.643 - 0.0027)
(0.86)2 (0.0151 cm)2 0.483 (0.86)(0.051) (0.86)3 s2 cm3
cm
Vom = 2.917
s

7. คานวณ Reynolds number (Re)


ρ𝑣𝑜𝑚 Dp
จาก Re =
μ
g cm
(0.0027 cm3 )(2.917 s )(0.0151 cm)
จะได้ Re = g
0.000212
cm·s

Re = 0.561
8. คานวณ Terminal Velocity (vt)
ที่ low Reynolds number
vt 8.33(1 - εm )
จาก =
vom ϕ2s ε3m
vt 8.33(1 - 0.48 )
จะได้ cm =
2.917 (0.86)2 (0.48)3
s
cm
vt = 154.478
s
9. คานวณ Void (ε)
150μ ε3 ε3m
จาก 2 (vo - vom ) = 3-
(ρp -ρ)gϕ2s Dp 1-ε 1 - ε3m
g cm
150(0.000212 cm·s) (154.478+2.917) s cm ε3 0.483
จะได้ g cm ( - 2.917 ) = 3 -
(2.643 - 0.0027) 3 (980 2 )(0.86)2 (0.0151 cm)2 2 s 1-ε 1 - 0.483
cm s

ε = 0.947
117

10. คานวณหาความสู ง (L)


L 1- εm
จาก =
Lm 1-ε
L 1- 0.48
จะได้ =
2.512 ft 1 - 0.947
L = 24.646 ft
11. คานวณ Pressure drop
ΔP g
จาก = (1 - εm )(ρp -ρ)
Lm gc
cm
ΔP g (980 s2 )
จะได้ = (1 - 0.48)(2.643 - 0.0027) cm
76.566 cm cm3 (980 2 )
s

g
ΔP = 105.12
cm3
= 1.491 Psi

B.2 ตัวอย่างการคานวณ Heat Exchanger

รูปที่ B. 2 ขาเข้าและขาออก Cooler


Heat Exchanger (E-104) นี้ ทาหน้าที่เป็ น Cooler ทาความเย็นให้กบั Stream ที่ออกจาก Reactor
เพื่อให้ Stream เย็นลง และควบแน่นเป็ น Liquid ก่อนที่จะป้อนเข้าหอกลัน่ เพื่อไปแยก Product ต่อไป โดย
สายร้ อนคือ Mixed Gas ที่ ออกจาก Heat Exchanger (E-103) ซึ่ งจะให้ไหลเข้าสู่ Shell และสายเย็นคือ
Refrigerant ที่เป็ น Utility มาให้ความเย็นแก่ Process stream ใช้โครงสร้างของเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน
แบบ Shell and tube โดยมี Tema type แบบ BEM : Bonnet (Integral Cover), One Pass Shell, Fixed Tube
sheet bonnet
เหตุผลที่เลือกประเภทนี้ 1. เป็ นที่นิยม
2. ราคาถูก
118

3. การทาความสะอาดท่อเป็ นเรื่ องง่าย


4. Tube สามารถแยกเปลี่ยนได้
ตารางที่ B. 3 Design parameter

Parameter
Tube outside diameter (do) 0.75 inch
19.05 mm
Tube ID (di) 0.53 inch
13.462 mm
Tube pitch (PT) 0.9375 inch
Tube pattern (Tube layouts) 30 Triangular pitch
Double segmental
Baffle type (Segmental)

Baffle spacing (B) 0.8 m


Shell Diameter (Di) 0.304 m
Number of tube (Nt) 105

ตารางที่ B. 4 Recommended Tube pass (Np) as a function of Shell diameter

Shell diameter; Di (mm) 200 - 400 400 - 800 800 - 1200 > 1200
Shell diameter (inch) 7.88 - 15.76 15.76 - 31.52 31.52 - 47.28 > 47.28
Tube pass (Np) 2 4 ถึง 6 6 ถึง 8 8 ถึง 10

ตัวอย่างการคานวณ
คานวณปริ มาณความร้อนที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนความร้อน
Shell side; Q = ṁ Cp ∆T
Q = (2.26 kg/s)(1445.75 J/kg °C)(73.72 -(-1))°C
Q = 2.44 x 105 W
119

Tube side; Q = ṁ Cp ∆T
Q = (417.78 kg/s)(960 J/kg °C)(-39.47-(-39))°C
Q = 1.89 x 105 W
การคานวณค่าความแตกต่างของอุณหภูมิเฉลี่ยแบบล็อก
DT1 - DT2
Tlm = D T1
ln( )
D T2

(73.72 - (-39)) - (-1-(-39.47))


Tlm = 621.408 - (-39)
ln( )
-1-(-39.47)

Tlm = 219.63 °C

เมื่อ T1 คือ ผลต่างอุณหภูมิขาเข้าของ Hot side กับอุณหภูมิขาออกของ Cold side

T2 คือ ผลต่างอุณหภูมิขาออกของ Hot side กับอุณหภูมิขาเข้าของ Cold side


Shell side calculation
1. คานวณเส้นผ่านศูนย์กลาง Shell side สาหรับ Triangular pitch
√3P2T πd2o
4( - )
4 8
De =
πdo /2
√3(0.02542 m2 ) π(0.019052 m2 )
4( - )
4 8
De =
π (0.019905m) / 2
De = 0.018 m

เมื่อ PT = Tube pitch (m)


do = เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของท่อ (m)
2. คานวณ Bundle crossflow area at the center of the shell (AC,S)
BC'Di
AC,S =
PT
(0.8 m)(0.00635 m)(0.304 m)
AC,S =
0.0254 m

AC,S = 0.0608 m2
120

เมื่อ B = Baffle spacing (m)


Di = เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน Shell (m)
C’ = ระยะห่างระหว่างท่อ (m)
3. คานวณ Velocity

v =
ρAc,s
2.26 kg/s
v =
7.97 kg/m3 × 0.0608 m2

v = 4.67 m/s
เมื่อ ṁ = Mass flow rate (kg/s)
ρ = Density (kg/m3)
4. คานวณ Reynolds number
ρDe v
Re =
μ
7.97 kg/m3 × 0.018 m × 4.67 m/s
Re =
9.63 × 10-6 kg/m·s

Re = 71,475.74
เมื่อ μ = Viscosity of fluid in shell side
5. คานวณ Nusselt number
Nu = 0.36Re0.55Pr1/3
Nu = 0.36 (71,475.74)0.55(0.7)1/3
Nu = 149.436
เมื่อ Pr = Prandtl number (ไม่มีหน่วย)
121

6. คานวณ ho
Nuk
ho =
d
149.44 × 0.112 W/m·°C
ho =
0.01483 m

ho = 912.05 W/m2 °C
การคานวณหา Pressure Drop
คานวณ Friction factor
f = exp (0.576 – 0.19 ln Re)
f = exp (0.576 – 0.19 ln (71,475.74))
f = 0.213
คานวณ Number of baffle
Nb = L/B -1
3m
Nb = -1
8m

Nb = 2.75
คานวณ Pressure Drop
fV2S ρDi (Nb +1)
∆ PS =
2De

0.213((4.67m/s)2 )(7.97kg/m3 )(0.304m)(2.75+1)


∆ PS =
2(0.018m)

∆ PS = 1,150.91 Pa
∆ PS = 0.001 Bar
Tube side calculation
1. คานวณเส้นผ่านศูนย์กลาง Tube side สาหรับ Triangular pitch
De = di
122

De = 0.01483 m
2. คานวณ Bundle crossflow area at the center of the Tube
πd2i Nt
AC,t =
4 Np
π × (0.01483 m)2 94
AC,t = ×
4 2
AC,t = 0.0018 m 2

เมื่อ di = เส้นผ่านศูนย์กลางท่อ (m)


Nt = Number of tube pass
Np = Number of pass
3. คานวณ Velocity

v =
ρAc,t
417.78 kg/s
v =
1417 kg/m3 × 0.0018 m2
v = 36.335 m/s
เมื่อ ṁ = Mass flow rate (kg/s)
ρ = Density of liquid in tube (kg/m3)
4. คานวณ Reynolds number
ρdi v
Re =
μ
1417 kg/m3 × 0.01483 m × 36.335 m/s
Re =
0.0001505 kg/m·s
Re = 5,073.44
5. คานวณ Nusselt number
Nu = 0.023Re0.8Pr0.4
Nu = 0.023(5,073.44)0.8(6.9)0.4
Nu = 45.87
6. คานวณ ht
123

Nuk
ht =
di
45.87 × 0.15 W/m·°C
ht =
0.01483 m
ht = 463.94 W/m2 °C
การคานวณหา Pressure Drop
คานวณ Friction factor
0.125
f = 0.0014 +
Re0.32
0.125
f = 0.0014 +
5,073.440.32

f = 0.0096
คานวณ Pressure Drop
4fLNp ρV2t
∆ Pt = ( +4Np )
di 2

4(0.0096)(3m)(2) (1417kg/m3 )((36.335 m/s)2 )


∆ Pt = ( + 4(2))
0.01483m 2

∆ Pt = 21,941,456.61 Pa
∆ Pt = 21.94 bar
การคานวณหา Area required
คานวณ Uc
1 do do ln(do /di ) 1
= + +
UC di hi 2kwall ho
0.01905 m
1 0.01905 m 0.01905 m×ln(0.01483 m) 1
= 2 + +
UC 0.01483 m×243.885 W/m °C 2×60 W/m℃ 912.05 W/m℃
1
= 0.0039 m2°C/W
UC

จะได้ UC = 1/0.0039
UC = 256.08 W/m2 °C
124

คานวณ Uf
1 1 do Rfi
= + + Rfo
Uf UC di
1 1 0.01905 m (0.0002 m2 ℃/W)
= W + +0.0001 m2 ℃/W
Uf 256.08 2 0.01483 m
m℃
1
= 3.99 x 10-3 m2 °C/W
Uf

จะได้ Uf = 1/3.99 x 10-3


Uf = 250.322 W/m2 °C
คานวณ Area Required
Q
Areq =
Uf (LMTD)
2.44 × 105 W
Areq =
250.322 W/m2 °C × 69.068 ℃

Areq = 12.16 m2
125

B.3 ตัวอย่างการคานวณหาค่ าใช้ จ่ายส่ วนอุปกรณ์


Correlation for estimating cost of Reactor and Flash drum equation.
CEPCI
Installed Cost = × 101.9 × D1.066 × H0.802 × (2.18+ Fc )
119
CEPCI
Purchase Cost = × 101.9 × D1.066 × H0.802 × (Fc )
119

เมื่อ H = Height (ft)


D = Diameter (ft)
FC = Material and Pressure correction Factor = Fm × Fp
Fm = Shell material
Fp = Vessel pressure
Correlation for estimating cost of Compressor equation.
CEPCI
Installed Cost = × 517.5 × bhp0.82 × (2.11+ Fc )
119
CEPCI
Purchase Cost = × 517.5 × bhp0.82 × ( Fc )
119

เมื่อ bhp = Brake horsepower


FC = Material and Pressure correction Factor = Fd
Fd = Design Type
Correlation for estimating cost of Pump equation.
CEPCI
Installed Cost = × 517.5 × bhp0.82 × (2.11+ Fc ) × 2
119
CEPCI
Purchase Cost = × 517.5 × bhp0.82 × ( Fc ) × 2
119

เมื่อ bhp = Brake horsepower


FC = Material and Pressure correction Factor = Fm × Fo
Fm = Material Type
126

Fo = Operating Limits
Stand by pump = 2
Correlation for estimating cost of Distillation column and Absorber tower equation.
CEPCI
Installed Cost = × 4.7 × D1.55 × H × (3 × Fc )
119
CEPCI
Purchase Cost = × 4.7 × D1.55 × H × (Fc )
119

เมื่อ H = Height (ft)


D = Diameter (ft)
FC = Material and Pressure correction Factor = Fs + Ft + Fm
Fs = Tray spacing
Ft = Tray type
Fm = Tray material
Correlation for estimating cost of Heat exchanger equation.
CEPCI
Installed Cost = × 101.3 × A0.65 × (2.29 + Fc )
119
CEPCI
Purchase Cost = × 101.3 × A0.65 × (Fc )
119

เมื่อ A = Area (ft2)


FC = Material and Pressure correction Factor = (Fd + Fp)Fm
Fm = Shell and Tube Material
Fp = Vessel Pressure
Fd = Design Type
127

ตารางที่ B. 5 Guthrie Material and pressure factor of Pressure vessels

ตารางที่ B. 6 Guthrie Material and pressure factor of Compressor

ตารางที่ B. 7 Guthrie Material and pressure factor of Pump

ตารางที่ B. 8 Guthrie Material and pressure factor of Tray stacks


128

ตารางที่ B. 9 Guthrie Material and pressure factor of Heat exchangers

การคานวณหาราคาเครื่ องปฏิกรณ์ R-100


CEPCI
Installed Cost = × 101.9 × D1.066 × H0.802 × (2.18+ Fc )
119
708
= × 101.9 × 2.5071.066 × 24.6460.802 × (2.18+(1.00×1.00))
119

= 67112.69 $
CEPCI
Purchase Cost = × 101.9 × D1.066 × H0.802 × (Fc )
119
708
= × 101.9 × 2.5071.066 × 24.6460.802 × (1.00×1.00)
119

= 21102.78 $
การคานวณหาราคาเครื่ อง Heat exchanger
Heat Exchanger (E-101);
A = 485.3 m2
CEPCI
Installed Cost = × 101.3 × A0.65 × (2.29 + Fc )
119
708
= × 101.3 × 485.30.65 × (2.29 + 0.8)
119

= 103,743.50 $
CEPCI
Purchase Cost = × 101.3 × A0.65 × (Fc )
119
708
= × 101.3 × 485.30.65 × (0.8)
119

= 33,573.949 $

You might also like